SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 55
Downloaden Sie, um offline zu lesen
หน่วยการเรี ยนรู ้ที่1
สมบัติของเลขยกกาลัง
1. ความหมายของเลขยกกาลัง
 พิจารณาการคูณต่อไปนี้
 3x3x3x3x3x3x3x = 37
 การเขียน 3x3x3x3x3x3x3x ในรู ป 37 เรี ยกว่าการเขียนจานวนในรู ปเลขยกกาลัง
 สาหรับ 37 เรี ยก 3 ว่า ฐาน และเรี ยก 7 ว่า เลขชี้กาลัง
 บทนิยามของเลขยกกาลัง
 ให้ a เป็ นจานวนใดๆ และ n เป็ นจานวนเต็มบวก
 “ a ยกกาลัง n ’’ เขียนแทนด้วย an
หมายเหตุ
  1. เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็ น 1 ไม่นิยมเขียนเลขชี้กาลัง 1 แต่จะเขียนเฉพาะฐาน
  เช่น 31 เขียนเป็ น 3
  261 เขียนเป็ น 26
  จานวนทุกจานวนเป็ นเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็ น 1
  2. การเขียนเลขยกกาลังที่มีฐานเป็ นจานวนลบหรื อเศษส่ วน ควรเขียนจานวนที่เป็ นฐานไว้ใน
      วงเล็บเพื่อไม่ให้สบสน
                        ั
  เช่น ( -5 )2 หมายถึง (-5) x (-5) = 25
  แต่ -52 หมายถึง –(5x5) = -25
  จะเห็นว่า (-5)2 ≠ -52
ตัวอย่างการเขียนจานวนในรู ปเลขยกกาลัง

   (1) 32 = 2x2x 2x2x2
           = 25
   (2) -27 = (-3) x (-3) x (-3) x
           = (-3)3
   (3) 625= 5x5x5x5
           = 54
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1
จงเขียนจานวนต่อไปนี้ในรู ปเลขยกกาลัง
1. 81 2. 128 3. -125 4. -1000

2.สมบัติของเลขยกกาลัง
2.1 สมบัติของเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลัง
  เป็ นจานวนเต็มบวก
พิจารณาการหาผลคูณต่อไปนี้
34x33 = (3x 3x 3x 3) x (3x 3x 3)
        = 37
การหาผลคูณตามแบบตัวอย่างข้างต้นเป็ นไปตามสมบัติขอที่ 1 ดังนี้
                                                           ้
สมบัติขอที่ 1 ให้aเป็ นจานวนใดๆ m และ n เป็ นจานวนเต็มบวกแล้ว
         ้
am x an = a m + n
หมายเหตุ am x an อาจเขียนในรู ป am an หรื อ (am) (an) หรื อ am .an
พิจารณาการหาผลคูณต่อไปนี้
(1) (3x6)3 = (3x6) x (3x6) x (3x6)
           = (3x3x3)x (6x6x6)
           = 3 3 x 36
           = 27 x 216
           = 5,832
(2) [2x(-3)]4 = [2x(-3)] x [2x(-3)] x [2x(-3)] x [2x(-3)]
              = (2x2x2x2)x[(-3) x (-3) x (-3) x (-3) ]
              = 24 x (-3)4
              = 16 x 81
              = 1,296
การหาผลคูณตามแบบตัวอย่างข้างต้นเป็ นไปตามสมบัติขอที่ 2 ดังนี้
                                                ้

สมบัติขอที่ 2 ถ้าaและb เป็ นจานวนใดๆ และ n เป็ นจานวนเต็ม
         ้
   บวก (a x b) n = an x b n
ตัวอย่างที่ 4 จงทาให้เป็ นผลสาเร็ จ
(1) [(-3)x2]5
(2) [(-5)x2]4
วิธีทา (1) [(-3)x2]5 = (-3)x25
= (-243)x32
= -7,776
(2) [(-5)x2]4 = (-5)x24
= 625x16
= 10,000
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 3
จงทาให้เป็ นผลสาเร็ จ
1. [(-1)x5]6        2. [(-3)x(-2)]5
พิจารณาการหาผลคูณต่อไปนี้
(1) (23)2 = 23x23
= 26
= 23x2
(2) [(-3)3]3 = (-3)3 x (-3)3 x (-3)3
= (-3)9
= (-3)3x3
การหาผลคูณตามแบบตัวอย่างข้างต้นเป็ นไปตามสมบัติขอที่ 3 ดังนี้
                                                ้

สมบัติขอที่ 3 ถ้า a เป็ นจานวนใดๆ m และ n เป็ นจานวนเต็มบวกแล้ว (am) n = a m n
       ้
ตัวอย่างที่ 5 จงทาให้เป็ นผลสาเร็ จ
(1) (52)3           (2) [(-4)3]3
วิธีทา (1) (52)3 = 52x3
= 56
(2) [(-4)3]3 = (-4)3x3
= (-4)9
พิจารณาการหาผลคูณต่อไปนี้
(1) 48             4x4x4x4x4x4x4x4
     43                 4x4x4
           = 4x4x4x4x4
           = 45
           = 48-3
(2) 34             3x3x3x3
    36            3x3x3x3x3x3
          = 1
            32
          = 1
            36-4
ตัวอย่างที่ 7 จงทาให้เป็ นผลสาเร็ จ
(1) 27          (2) 36
     22             310
(3) 105
    105
วิธีทา (1) 27              2
                             7-2

                22
                       = 25
                      = 32
(2) 36            1
   310       310-6
          = 1
              34
          = 1
            81
(3) 105       1
    105
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 6
จงทาให้เป็ นผลสาเร็ จ
1. 4 7 2. 36 3. 23 4. 43 5. 103

   42 33         25 46 103
พิจารณาการหาคาตอบของ 43
                     46
          43 = 1 (ใช้สมบัติขอที่ 5 กรณี m <n)
                            ้
               46 46-3
                  =1
                     43
ถ้าใช้สมบัติขอที่ 5 โดยเขียนเป็ น am = am-n ในกรณี ที่ m < n
             ้
                                  an
จะได้             43 = 43-6
                  46
                     = 4-3
นันคือ
  ่              4-3 = 1
                        43
บทนิยาม ถ้า a เป็ นจานวนใดๆ ที่ a ≠ 0 และ n เป็ นจานวนเต็มบวกแล้ว
                               a-n = 1
                                     an
ตัวอย่างที่ 8 จงเขียนจานวนต่อไปนี้ให้มีเลขชี้กาลังเป็ นจานวนเต็มบวก
                (1) 4-5                     (2) (-8)-11
วิธีทา          (1)           4-5 = 1
                                          45
                (2)          (-8)-11 = 1
                                        (-8)11
กิจกรรมตรวจสอบความเข้ าใจ 7
จงเขียนจานวนต่ อไปนีให้ มเี ลขชี้กาลังเป็ นจานวนเต็มบวก
                    ้
1. 3-6                2. 5-3
พิจารณาการเปลียน 1 ให้ อยู่ในรูปเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็ นจานวนเต็มบวก
                   ่
                     4-3 = 1 [ 4-3 = 1 ]
                                         43
                            1
                           43
                          =1: 1
                                43
                         = 1x 43
                              1
                         = 43
นั่นคือ        1         = 43
               4-3
ในรูปทั่วไปเราสามารถแสดงได้ ว่า
ถ้ า a เป็ นจานวนใดๆ ที่ a = 0 และ nเป็ นจานวนเต็มบวกแล้ว 1 =an
                                                              a-n
ตัวอย่างที่ 9 จงเขียนจานวนต่อไปนี้ให้มีเลขชี้กาลังเป็ นจานวนเต็มบวก
     (1) 1                   (2) 1
           3-4                  (-2)-5
วิธีทา (1) 1          = 34
               3-4
        (2) 1 = (-2)5
               (-2)-5
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 8
จงเขียนจานวนต่อไปนี้ให้มีเลขชี้กาลังเป็ นจานวนเต็มบวก
1. 1           2.         1
    5-2                   3-6
พิจารณา 103
         103
         103
         103 = 1 เนื่องจากตัวเศษเท่ากับตัวส่ วน
ถ้าใช้สมบัติขอที่ 5 โดยเขียน am = am-n เมื่อ a เป็ นจานวนใดๆ ที่ a ≠ 0 ในกรณี ที่ m = n
             ้
                              an
จะได้ 103 =103-3
         103
               = 30
นันคือ 30 =1
  ่
บทนิยาม ถ้า a เป็ นจานวนใดๆ ที่ a ≠ 0 แล้ว a0=1
ตัวอย่างที่ 10 จงทาให้เป็ นผลสาเร็ จ
(1) 40          (2) (-7)0
วิธีทา (1) 40 =1
             (2) (-7)0 =1
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 9
จงทาให้เป็ นผลสาเร็จ
1. 30                 2. 50
จากบทนิยามทั้งสองที่ได้กล่าวไปแล้วทาให้สามารถสรุ ปสมบัติขอที่ 5 ได้เป็ น
                                                              ้
   เมื่อ a เป็ นจานวนใดๆที่ a ≠ 0 และ m , n เป็ นจานวนเต็มบวกแล้ว am ≠ am-n
                                                                  an
2.2 สมบัติของเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็ นจานวนเต็ม
จากสมบัติของเลขยกกาลังเป็ นจานวนเต็มบวกที่ได้กล่าวไปแล้วต่อไปนี้จะพิจารณา
    สมบัติดงกล่าวเมื่อเลขชี้กาลังเป็ นจานวนเต็มใดๆ
           ั
 พิจารณาการหาผลคูณของเลขยกกาลังต่อไปนี้ เมื่อ a เป็ นจานวนใดๆ และ a ≠ 0
1. a0x a4 = 1x a4
             = a4 หรื อ a0 + 4
2. a-5 x a0 = 1 x1
                 a5
             = 1
                a5
             =a-5 หรื อ a-5+0
3.a4 x a-6 = a 4 x 1
                   a6
            = a4-6
            = a-2 หรื อ a4+(-6)
4.a-5 x a-3 = 1 x 1
               a5 a3
            = 1
              a8
            = a-8 หรื อ a-5+(-3)
จากการหาผลคูณของเลขยกกาลังข้างต้นจะเห็นว่าการคูณเลขยกกาลังที่มีฐานเป็ นจานวนใดๆ ที่ไม่
     เท่ากับศูนย์ จะได้ผลคูณเป็ นเลขฐานเดิมที่มีเลขชี้กาลังเป็ นผลบวกเลขชี้กาลังของเลขยกกาลังที่
     นามาคูณกัน ซึ่งเป็ นไปตามสมบัติการคูณของเลขยกกาลัง ดังนี้
เมื่อ a เป็ นจานวนใดๆ ที่ a ≠ 0 และ m , n เป็ นจานวนเต็มแล้ว am x a n = a m + n
 ตัวอย่างที่ 11 จงหาผลคูณต่อไปนี้ในรู ปสมของเลขยกกาลัง
    (1) 128 x 2-10                        (2) (-5)-4 x 5 -6
วิธีทา (1) 128 x 2-10 = 27 x 2 -10
                            = 2 7+(-10)
                            = 2-3
         (2) (-5)-4 x 5-6 = 1 x 5-6
                                (-5)-4
                            = 1 x 5-6
                                 54
                            = 5-4 x 5-6
                            = 5-4+(-6)
                            = 5-10
ตัวอย่างที่ 12 จงหาค่าของ 45 x (-64) x (-4)-3 ในรู ปของเลขยกกาลัง
วิธีทา 45 x (-64) x (-4)-3 = 45 x 42 x (-4) x (-4)-3
                                  = 45+2 x (-4)1+(-3)
                                 = 47x(-4)-2
                                 = 47 x 4-2
                                 = 47+(-2)
                                 = 45
จากสมบัติของการหารเลขยกกาลังเมื่อเลขชี้กาลังเป็ นจานวนเต็มบวกที่ได้กล่าวไปแล้ว
   ต่อไปนี้จะพิจารณาสมบัติดงกล่าวในเมื่อเลขชี้กาลังเป็ นจานวนเต็มใดๆ
                              ั
พิจารณาการหารเลขยกกาลังต่อไปนี้ เมื่อ a เป็ นจานวนใดๆ ที่ a ≠ 0
(1) a 0 = 1 = a -4 หรื อ a 0-4
      a4 a4
(2) a -4 = a-4 = a -4 หรื อ a-4-0
     a0      1
(3) a 6 = a 6 = a6 x a3 = a9 หรื อ a 6-(-3)
     a-3     1
              a3
(4) a-5 = a -5 = a-5 x a2 =a-3 หรื อ a -5-(-2)
      a-2 1
             a2
จากการหาผลหารของเลขยกกาลังข้างต้นพบว่า การหารเลขยกกาลังทีมีฐานของ
  เลขยกกาลังเป็ นจานวนใดๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ จะได้ผลหารเป็ นเลขฐานเดิมที่
  มีเลขชี้กาลังเป็ นผลลบของเลขชี้กาลังของตัวตั้งกับเลขชี้กาลังของตัวหาร ซึ่ ง
  เป็ นไปตามสมบัติการหารของเลขยกกาลังดังนี้
 เมื่อ a เป็ นจานวนใดๆ ที่ a ≠ 0 และ m , n เป็ นจานวนเต็มแล้ว
                   a m = a m-n
                   an
ตัวอย่างที่ 13 จงหาผลหารต่อไปนี้ในรู ปเลขยกกาลัง
        (1) 75                   (2) -216
               7-3                        64
วิธีทา (1)               75 = 7 5-(-3)
                         73
                             = 78
         (2)            -216 = (-6) 3
                         64            64
                             = (-6)3
                                     (-6)4
                             = (-6)3-4
                             = (-6)-1
                             = -1
                                       6
ตัวอย่างที่ 14 จงหาค่าของ 125 x 5-5 ในรู ปของเลขยกกาลัง
                            55 x 5-6
วิธีทา           125 x 5-5 = 53 x 5-5
                 55 x 5-6 55 x 5-6
                            = 5 3+(-5)
                               5 5+(-6)
                            = 5-2
                               5-1
                            = 5 -2-(-1)
                            = 5-1
                            = 1
                                5
จากที่นกเรี ยนได้เรี ยนมาแล้วว่า เมื่อ a เป็ นจานวนใดๆ ที่ a ≠ 0 และ n เป็ นจานวนเต็มบวก
       ั
                             a-n = 1
                                         an
                                       ่
   เราสามารถแสดงให้เห็นจริ งได้วา a-n = 1 เมื่อ n เป็ นจานวนเต็มได้ดงนี้    ั
                                                an
จากสมบัติการหารเลขยกกาลัง am = a m – nเมื่อ a เป็ นจานวนใดๆที่ a ≠ 0และm , nเป็ นจานวนเต็ม
                                an

เมื่อ m = 0 จะได้ a0 = a0-n = a-n
                      an
              และ a0 = 1
                  an a n
        นันคือ a-n = 1
          ่
                     an
                                  ่
        ถ้าให้ n = -p จะสรุ ปได้วา a p = 1
                                           a-p
เมื่อ a เป็ นจานวนใดๆ ที่ a = 0 และ n เป็ นจานวนเต็มแล้ว
                       a-n = 1
                             an
ตัวอย่างที่ 15 จงเขียนจานวนต่อไปนี้
      (1) 6-4                           (2) (0.3)-5
วิธีทา (1)            6-4 = 1
                                 64
         (2) (0.3)-5 = 1
                                (0.3)5
    สมบัติอื่นๆของเลขยกกาลัง
สาหรับสมบัติอื่นๆของเลขยกกาลังที่มีฐานเป็ นจานวนใดๆ และไม่เท่ากับศูนย์ ให้นกเรี ยน
                                                                           ั
    พิจารณาการหาผลลัพธ์ของเลขยกกาลังต่อไปนี้
       (1) (53)4 ซึ่ งมี 53 เป็ นฐานและมี 4 เป็ นเลขชี้กาลัง
            และ                   (53)4 = 53x53x53x53
                                        = 53+3+3+3
                                        = 512
                                        = 53x4
(2) (7-2)3 ซึ่งมี 7-2 เป็ นฐานและมี 3 เป็ นเลขชี้ยกกาลัง
    และ                           (7-2)3 = 7-2x7-2x7-2
                                    = 7(-2)+(-2)+(-2)
                                    = 7-6
                                    = 7(-2)x3
(3) (32)-4 ซึ่งมี 32 เป็ นฐานและมี -4 เป็ นเลขชี้กาลัง
    และ                    (32)-4 = 1 = 1x1x1x1x
                                      (32)4         32323232
                                     =              1
                                            32x32x32x32
                                     =         1
                                         32+2+2+2
                                     = 1
                                         38
                                     =3-8
                                     =3 2x(-4)
(4) (7-3)-4 ซึ่ งมี 7-3 เป็ นฐานและมี -4 เป็ นเลขชี้กาลัง
   และ                      (7-3)-4 = 1
                                       (7-3)-4
                                    = 1x1x1x1
                                       7-37-37-37-3
                                     =       1
                                       7-3x7-3x7-3x7-3
                                    =           1
                                         7(-3)+(-3)+(-3)+(-3)
                                    = 1
                                        7-12
                                    = 712
                                    = 7(-3)x(-4)
่
        จากการหาผลลัพธ์ของเลขยกกาลังข้างต้น สรุ ปได้วาผลลัพธ์ของเลขยกกาลังที่มีฐานเป็ นเลขยกกาลังจะมี
    เลขชี้กาลังเท่ากับผลคูณของเลขชี้กาลังของฐานกับเลขชี้กาลังของเลขยกกาลังนั้น ซึ่งเป็ นไปตามสมบัติของ
    เลขยกกาลังดังนี้
             เมื่อ a เป็ นจานวนใดๆ ที่ a ≠ 0 และ m , n เป็ นจานวนเต็มแล้ว
                                   (a m ) n = am n
ตัวอย่างที่ 16 จงหาผลลัพธ์ต่อไปนี้ในรู ปเลขยกกาลัง
        (1) (27) 4 x (3-2) 5                        (2)     (125)4
                                                           (5-3)2 x (54)3
วิธีทา (1)            (27) 4x (3-2) 5 = (33)4 x(3-2)5
                                         = 312 x 3-10
                                         = 32
      (2)             (125)4            = (53)4
                    (5-3)2 x (54)3          (5-3)2 x (54)3
                                         = 512
                                              5-6x512
                                         = 1
                                               5-6
                                         = 56
พิจารณาค่าของเลขยกกาลังต่อไปนี้
(1) (3x7)4 ซึ่งเป็ นเลขยกกาลังที่มี3x7 เป็ นฐาน และ 4 เป็ นเลขชี้กาลัง
   และ                   (3x7)4 = (3x7)x(3x7)x(3x7)x(3x7)
                                 = 3x3x3x3x7x7x7x7
                                 = 34x74
   นันคือ
     ่                  (3x7)4 = 34x74
(2) (2x5)-3 ซึ่งเป็ นเลขยกกาลังที่มี2x5 เป็ นฐาน และ-3 เป็ นเลขชี้กาลัง
   และ                  (2x5)-3 = 1
                                   (2x5)3
                                 =             1
                                     (2x5)x(2x5)x(2x5)
                                =            1
                                      (2x2x2)x(5x5x5)
                                = 1 x 1
                                    23 53
   นันคือ
       ่               (2x5)-3 = 2-3 x 5-3
• (3) (4x9)0 ซึ่ งเป็ นเลขยกกาลังที่มี 4x9 เป็ นฐานและ 0 เป็ นเลขชี้กาลัง
                                 ( 4x9 )0 = 1 หรื อ 40 x 90
                                              ่                        ่
     จากค่าของเลขยกกาลังข้างต้นสรุ ปได้วาเลขยกกาลังที่มีฐานอยูในรู ปผลคูณของ
                               ่
จานวนหลายๆ จานวน จะมีคากับจานวนต่างๆ ที่คูณกันนั้นมีเลขชี้กาลังเท่ากับเลขชี้
กาลังของเลขยกกาลังนั้น ซึ่ งเป็ นไปตามสมบัติของเลขยกกาลัง ดังนี้
     เมื่อ a และ b เป็ นจานวนใดๆ ที่ a ≠ 0 , b ≠ 0 และ n เป็ นจานวนเต็มแล้ว
                                 (ab) n = anbn
                                        ่
 ตัวอย่างที่ 17 จงเขียน(210) -5 ให้อยูรูปเลขยกกาลังที่มีฐานเป็ นจานวนเฉพาะ
 วิธีทา                          (210) -5 = ( 2x3x5x7) -5
                                            = 2 -5 x 3 -5 x 5 -5 x 7 -5
สรุ ปสมบัติของเลขยกกาลัง
เมื่อ a และ b เป็ นจานวนใดๆ ที่ a ≠ 0 , b ≠ 0 และ m , nเป็ นจานวนเต็มแล้ว
            1. am × an = a m+ n                2. (am)n = am n
            3. (a b)n = an b n 4. am = am-n
                                      an
       ต่อไปนี้เป็ นการนาสมบัติของเลขยกกาลังข้างต้นไปใช้ในการคานวณเกี่ยวกับการดาเนินการของเลข
     ยกกาลัง
                          ่
ตัวอย่างที่ 20 จงทาให้อยูในรู ปอย่างง่ายและมีเลขชี้กาลังเป็ นบวก
      (1) (8-2x25x2-1)2                  (2) (92x3-2x273)-2
วิธีทา (1) (8-2x25x2-2)2        = [(23)x-2x25x2-1]2
                                = (2-6x25x2-1)2
                                = (2-2)2
                                =1
                             24
(2) (92x3-2x273)-2       = [(32)2x3-2x(33)3]-2
                         = (34x3-2x39)-2
                         = (311)-2
                         = 3-22
                         = 1
                             322
ตัวอย่างที่ 21 จงหาผลลัพธ์ต่อไปนี้
    (1) (a3b-2xa4b5)     = (a7b3) : (a6b-1)
                         = a7b3
                             a6b-1
                         = ab4
(2) 3x5y6 x 6x-1y-3    = (3x5y6) x (6x-1y-3)
       2       9               24x32
                           = 18x4y3
                               24x32
                           = x4y3
                                23
  จากบทนิยามและสมบัติของเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็ นจานวนเต็มสามารถสร้าง
  สมบัติของเลขยกกาลังเพิ่มเติมได้ดงต่อไปนี้
                                     ั
 สาหรับจานวน a และ b ใดๆที่ไม่เป็ นศูนย์ และ m , n และ p เป็ นจานวนเต็มแล้วจะได้
(1) (am x b n) p = amp x b n p         (2) a-m = b n
                                            b -n am
่
  ตัวอย่างที่ 22 จงทาให้อยูในรู ปอย่างง่ายและมีเลขชี้กาลังเป็ นบวก
(1) (3a4)(9a-2)                (2) 36a-8
                                   60a-5
วิธีทา (1) (3a4)(9a-2) = (3x9)(a4xa-2)
                             = 27xa4+(-2)
                             = 27a2
        (2) 36a-8         = 3
                60a-5         5a-5+8
                             = 3
                                5a3
3. การเขียนจานวนในรู ปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
 ในการเขียนจานวนที่มีค่ามากๆหรื อจานวนที่มีค่าน้อยมากๆมักเขียนในรู ปสัญกรณ์
  วิทยาศาสตร์ คือการเขียนในรู ป A x10n เมื่อ 1 < A < 10 และ n เป็ นจานวนเต็ม
 ให้นกเรี ยนสังเกตการเขียนจานวนในรู ป A x 10n เมื่อ 1< A< 10และ n เป็ นจานวนเต็ม
      ั
  ดังนี้
               4=4          = 4x100
              40 = 4x10     = 4x101
             400 = 4x100 = 4x102
           4,000 = 4x1,000 = 4x103
          40,000 = 4x10,000 = 4x104
ตัวอย่างที่ 1 342,000,000 = 3.42000000 x108

                            เลื่อนจุดไปทางซ้าย 8 ตาแหน่ง
                      = 3.42x108
                        เลขชี้กาลังเป็ น 8
 ข้อสังเกต จานวนตาแหน่งของจุดทศนิยมที่เลื่อนไปทางซ้ายจะเท่ากับเลขชี้กาลังของ 10
   ที่เป็ นบวก
 กิจกรรรมตรวจสอบความเข้าใจ 17
จงเขียนจานวนในรู ปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
1.960,000,000          2.6,700,000,000
3.71,231,000,000       4.976,200,000,000
n
ให้นกเรี ยนสังเกตการเขียนจานวนในรู ป Ax10 เมื่อ 1< A< 10 และnเป็ นจานวนเต็ม
       ั
ดังนี้
             4 = 4 = 4x10
                   0.4 = 4      = 4x10-1
                           10
                 0.04 = 4 = 4x10-2
                          100
                0.004 = 4 = 4x10-3
                         1000
              0.0004 = 4       = 4x10-4
                         10000
 ตัวอย่างที่ 2 0.00000758 = 000007.58x10-6

                           เลื่อนจุดไปทางขวา 6 ตาแหน่ง
                        = 7.58 x 10-6
                          เลขชี้กาลังเป็ น -6
ข้อสังเกต จานวนตาแหน่งของจุดทศนิยมที่เลื่อนไปทางขวาจะเท่ากับเลขชี้กาลังของ 10
  ที่เป็ นลบ
การหาผลคูณของจานวนที่เขียนในรู ป A x 10n เมื่อ 1< A < 10
   เช่น 1) (5x108) x (2x103) = 5x108x2x103
                               = (5x2)x(108x103)
                               = 10x1011
                               = 1012
          2) (4.3x107)x(3.02x105) = 4.3x107x3.02x105
                                    = (4.3x3.02)x(107x105)
                                    = 12.986x1012
                                    = 1.2986x1013
การหาผลบวกของจานวนที่เขียนในรู ป A x10 n เมื่อ 1< A < 10
    การหาผลบวกของเลขยกกาลังสองจานวนที่มีฐานและเลขชี้กาลังเท่ากันให้นาตัวเลขที่เป็ นค่าของ A มา
   บวกกัน แล้วคูณด้วยเลขยกกาลังตัวเดิม
 เช่น         (6x104)+(9x104) = (6+9)x104
                                 = 15x104
                                 = 1.5x10x104
                                 = 1.5x105
  การหาผลบวกของเลขยกกาลังสองจานวนที่มีฐานเท่ากันแต่เลขชี้กาลังไม่เท่ากันเราจะต้องเขียนจานวน
   สองจานวนให้มีเลขชี้กาลังเท่ากันก่อน
 เช่น         (3x109)+(8x107) = (3x102x107)+(8x107)
                                 = (300x107)+(8x107)
                                 = (300+8)x107
                                 = 308x107
                                 = 3.08x102x10 9
                                 = 3.08x109
หมายเหตุ สาหรับกรณี นาเลขยกกาลังมาลบกัน สามารถทาได้โดยอาศัยหลักการเดียวกันกับ
  การบวก
  เช่น (36x105)-(21x104) = (36x10x104)-(21x104)
                                = (360x104)-(21x104)
                                = (360-21)x104
                                = 339x104
                                = 3.39x102x104
                                = 3.39x106
ตัวอย่างที่ 3 จงหาค่าของ (18x1028)+(15x1026)-(41x1027) โดยตอบในรู ป Ax10n เมื่อ 1< A <
    10
วิธีทา (18x1028)+(15x1026)-(41x1027)
            = (18x102x1026)+(15x1026)-(41x10x1026)
            = (1,800x1026)+(15x1026)-(410x1026)
            = (1,800+15-410)x1026
            = 1,405x1026
            = (1,405x103)x1026
            = 1,405x1029
ตัวอย่างที่ 4 ในปี พ.ศ.2550 บริ ษทร่ วมมิตร จากัด มียอดขายสิ นค้า 6.47x107เสริ มสุ ขภาพ
                                      ั
    จากัด มียอดขายสิ คา 8.521x106
                             ้
      (1) บริ ษทใดมียอดขายสู งกว่าและสู งกว่าเท่าไร
                ั
          (2) ทั้งสองบริ ษทมียอดขายรวมกันกี่บาท
                               ั
วิธีทา (1) บริ ษท ร่ วมมิตร จากัด มียอดขายสิ คา 6.78x107 = 67.8x106 บาท
                  ั                             ้
            บริ ษท เสริ มสุ ขภาพ จากัด มียอดขายสิ นค้า 8.521x106 บาท
                      ั
            บริ ษท ร่ วมมิตร จากัด มียอดขายมากกว่าบริ ษท เสริ มสุ ขภาพ จากัด
                    ั                                     ั
                        (67.8x106)-(8.521x106) = (67.8-8.521)x106     บาท
                                                = 59.279x106           บาท
                                                = 59,279,000            บาท
(2) บริ ษท ร่ วมมิตร จากัด มียอดขายสิ นค้า 6.78x107 = 67.8x106 บาท
               ั
     บริ ษท เสริ มสุ ขภาพ จากัด มียอดขายสิ นค้า 8.521x106 บาท
           ั
     บริ ษท ร่ วมมิตร จากัด และบริ ษท เสริ มสุ ขภาพ จากัด มียอดขายรวมกัน
             ั                       ั
                 (6.78x106)+(8.521x106) = (67.8+8.521)x106                  บาท
                                            = 76.321x106                    บาท
                                            = 76,321,000                    บาท
       ตัวอย่างที่ 5 แบคทีเรี ยชนิดหนึ่งแต่ละตัวมีความยาวเฉลี่ย 3.2x10-5 เซนติเมตร ถ้าแบคทีเรี ยชนิดนี้ต่อ
    กันเป็ นสายยาว 4.8x10-2 เซนติเมตร จะมีแบคทีเรี ยประมาณกี่ตว    ั
  วิธีทา แบคทีเรี ยแต่ละตัวมีความยาว 3.2x10-5 เซนติเมตร
          เรี ยงต่อกันเป็ นสายยาว 4.8x10-2 เซนติเมตร
          จะมีแบคทีเรี ยประมาณ
                                        4.8 x 10-2 = 4.8 x 10-2(-5)
                                        3.2 x 10-5        3.2
                                                      = 1.5x103
                                                      = 1,500 ตัว
ดังนั้น มีแบคทีเรี ยประมาณ 1,500 ตัว
นาเสนอ
อาจารย์ กฤษตยช ทองธรรมชาติ
ด.ช. ณัฐพล จันทรศร เลขที่ 5
ด.ช. ศุภชัย คาวิสูตร เลขที่ 9
ด.ช. อภิวฒน์ กิ่งก้าน เลขที่ 12
           ั
ด.ญ. ธัญญารัตน์ สุ วิชา        เลขที่ 22
ด.ญ. นุชจิรา พงษ์ชาง เลขที่ 27
                        ้
ด.ญ. ปิ่ นทิพย์ ใจปู         เลขที่ 28
ด.ญ. วนิดา       ธรคาหาร เลขที่ 29
ด.ญ. ศิริรัตน์ บ้วนนอก เลขที่ 32
ด.ญ. สริ ดา จิตต์เอื้อเฟื้ อ เลขที่ 33
ด.ญ. สิ รินรัตน์ สิ ริสุรชัชวาล เลขที่ 42
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสkrurutsamee
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวsontayath
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรJiraprapa Suwannajak
 
ใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่าใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่าkanjana2536
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วนInmylove Nupad
 
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมแผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมKamolthip Boonpo
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวDestiny Nooppynuchy
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3 Prang Donal
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนKanlayaratKotaboot
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์krurutsamee
 
ทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือTeraporn Thongsiri
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์eakbordin
 

Was ist angesagt? (20)

ข้อสอบพหุนาม
ข้อสอบพหุนามข้อสอบพหุนาม
ข้อสอบพหุนาม
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัส
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
 
ใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่าใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่า
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมแผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
 
ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์
 
ทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือ
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
 

Andere mochten auch

การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละนายเค ครูกาย
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรJiraprapa Suwannajak
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนามkrookay2012
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนามkrookay2012
 
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตkrookay2012
 
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละkrookay2012
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรนายเค ครูกาย
 
กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3krookay2012
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์krookay2012
 
คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 krookay2012
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34krookay2012
 
เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์dadaranee
 
เกมคณิตศาสตร์
เกมคณิตศาสตร์เกมคณิตศาสตร์
เกมคณิตศาสตร์Nannat Noiy
 
ค่ายคณิตศาสตร์
ค่ายคณิตศาสตร์ค่ายคณิตศาสตร์
ค่ายคณิตศาสตร์guestf4034a
 

Andere mochten auch (20)

การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
 
เอกนามและพหุนาม
เอกนามและพหุนาม เอกนามและพหุนาม
เอกนามและพหุนาม
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนาม
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
 
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
คณิตศาสตร์กับเพลง
คณิตศาสตร์กับเพลงคณิตศาสตร์กับเพลง
คณิตศาสตร์กับเพลง
 
เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์
 
กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2
 
คณิต
คณิตคณิต
คณิต
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34
 
เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
เกมคณิตศาสตร์
เกมคณิตศาสตร์เกมคณิตศาสตร์
เกมคณิตศาสตร์
 
ค่ายคณิตศาสตร์
ค่ายคณิตศาสตร์ค่ายคณิตศาสตร์
ค่ายคณิตศาสตร์
 

Ähnlich wie เลขยกกำลัง

6.2ฐาน6 2 เลขยกกำลัง
6.2ฐาน6 2  เลขยกกำลัง6.2ฐาน6 2  เลขยกกำลัง
6.2ฐาน6 2 เลขยกกำลังChitpol Kamthep
 
6.2ฐาน6 2 เลขยกกำลัง
6.2ฐาน6 2  เลขยกกำลัง6.2ฐาน6 2  เลขยกกำลัง
6.2ฐาน6 2 เลขยกกำลังlongman12
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionThanuphong Ngoapm
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์PumPui Oranuch
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวพัน พัน
 
PAT1 54 march
PAT1 54 marchPAT1 54 march
PAT1 54 marchpoppysone
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57krurutsamee
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมภัชรณันติ์ ศรีประเสริฐ
 

Ähnlich wie เลขยกกำลัง (20)

6.2ฐาน6 2 เลขยกกำลัง
6.2ฐาน6 2  เลขยกกำลัง6.2ฐาน6 2  เลขยกกำลัง
6.2ฐาน6 2 เลขยกกำลัง
 
6.2ฐาน6 2 เลขยกกำลัง
6.2ฐาน6 2  เลขยกกำลัง6.2ฐาน6 2  เลขยกกำลัง
6.2ฐาน6 2 เลขยกกำลัง
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real
RealReal
Real
 
112
112112
112
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm function
 
Pat1 55-10+key
Pat1 55-10+keyPat1 55-10+key
Pat1 55-10+key
 
Math9
Math9Math9
Math9
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
 
Pat1 57-04+key
Pat1 57-04+keyPat1 57-04+key
Pat1 57-04+key
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
ลำดับ11
ลำดับ11ลำดับ11
ลำดับ11
 
Math1
Math1Math1
Math1
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Pat1 54-03+key
Pat1 54-03+keyPat1 54-03+key
Pat1 54-03+key
 
PAT1 54 march
PAT1 54 marchPAT1 54 march
PAT1 54 march
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
 
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
 

Mehr von krookay2012

เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนามkrookay2012
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้ายkrookay2012
 
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตรเอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตรkrookay2012
 
คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31krookay2012
 
คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32krookay2012
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33krookay2012
 
อสมการ2
อสมการ2อสมการ2
อสมการ2krookay2012
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการkrookay2012
 
พื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตรพื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตรkrookay2012
 
ค่ากลาง
ค่ากลางค่ากลาง
ค่ากลางkrookay2012
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
การแจกแจงความถี่
การแจกแจงความถี่การแจกแจงความถี่
การแจกแจงความถี่krookay2012
 
งานคณิตศาสตร์อาจารย์เค
งานคณิตศาสตร์อาจารย์เคงานคณิตศาสตร์อาจารย์เค
งานคณิตศาสตร์อาจารย์เคkrookay2012
 
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์krookay2012
 
งานนำเสนอ12
งานนำเสนอ12งานนำเสนอ12
งานนำเสนอ12krookay2012
 
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์krookay2012
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึมkrookay2012
 

Mehr von krookay2012 (18)

เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตรเอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
 
คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31
 
คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33
 
อสมการ2
อสมการ2อสมการ2
อสมการ2
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
พื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตรพื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตร
 
ค่ากลาง
ค่ากลางค่ากลาง
ค่ากลาง
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
การแจกแจงความถี่
การแจกแจงความถี่การแจกแจงความถี่
การแจกแจงความถี่
 
งานคณิตศาสตร์อาจารย์เค
งานคณิตศาสตร์อาจารย์เคงานคณิตศาสตร์อาจารย์เค
งานคณิตศาสตร์อาจารย์เค
 
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์
 
งานนำเสนอ12
งานนำเสนอ12งานนำเสนอ12
งานนำเสนอ12
 
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์
 
Graph
GraphGraph
Graph
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึม
 

เลขยกกำลัง

  • 2. 1. ความหมายของเลขยกกาลัง พิจารณาการคูณต่อไปนี้ 3x3x3x3x3x3x3x = 37 การเขียน 3x3x3x3x3x3x3x ในรู ป 37 เรี ยกว่าการเขียนจานวนในรู ปเลขยกกาลัง สาหรับ 37 เรี ยก 3 ว่า ฐาน และเรี ยก 7 ว่า เลขชี้กาลัง บทนิยามของเลขยกกาลัง ให้ a เป็ นจานวนใดๆ และ n เป็ นจานวนเต็มบวก “ a ยกกาลัง n ’’ เขียนแทนด้วย an
  • 3. หมายเหตุ 1. เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็ น 1 ไม่นิยมเขียนเลขชี้กาลัง 1 แต่จะเขียนเฉพาะฐาน เช่น 31 เขียนเป็ น 3 261 เขียนเป็ น 26 จานวนทุกจานวนเป็ นเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็ น 1 2. การเขียนเลขยกกาลังที่มีฐานเป็ นจานวนลบหรื อเศษส่ วน ควรเขียนจานวนที่เป็ นฐานไว้ใน วงเล็บเพื่อไม่ให้สบสน ั เช่น ( -5 )2 หมายถึง (-5) x (-5) = 25 แต่ -52 หมายถึง –(5x5) = -25 จะเห็นว่า (-5)2 ≠ -52
  • 4. ตัวอย่างการเขียนจานวนในรู ปเลขยกกาลัง (1) 32 = 2x2x 2x2x2 = 25 (2) -27 = (-3) x (-3) x (-3) x = (-3)3 (3) 625= 5x5x5x5 = 54
  • 5. กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1 จงเขียนจานวนต่อไปนี้ในรู ปเลขยกกาลัง 1. 81 2. 128 3. -125 4. -1000 2.สมบัติของเลขยกกาลัง 2.1 สมบัติของเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลัง เป็ นจานวนเต็มบวก
  • 6. พิจารณาการหาผลคูณต่อไปนี้ 34x33 = (3x 3x 3x 3) x (3x 3x 3) = 37 การหาผลคูณตามแบบตัวอย่างข้างต้นเป็ นไปตามสมบัติขอที่ 1 ดังนี้ ้ สมบัติขอที่ 1 ให้aเป็ นจานวนใดๆ m และ n เป็ นจานวนเต็มบวกแล้ว ้ am x an = a m + n หมายเหตุ am x an อาจเขียนในรู ป am an หรื อ (am) (an) หรื อ am .an
  • 7. พิจารณาการหาผลคูณต่อไปนี้ (1) (3x6)3 = (3x6) x (3x6) x (3x6) = (3x3x3)x (6x6x6) = 3 3 x 36 = 27 x 216 = 5,832 (2) [2x(-3)]4 = [2x(-3)] x [2x(-3)] x [2x(-3)] x [2x(-3)] = (2x2x2x2)x[(-3) x (-3) x (-3) x (-3) ] = 24 x (-3)4 = 16 x 81 = 1,296
  • 8. การหาผลคูณตามแบบตัวอย่างข้างต้นเป็ นไปตามสมบัติขอที่ 2 ดังนี้ ้ สมบัติขอที่ 2 ถ้าaและb เป็ นจานวนใดๆ และ n เป็ นจานวนเต็ม ้ บวก (a x b) n = an x b n ตัวอย่างที่ 4 จงทาให้เป็ นผลสาเร็ จ (1) [(-3)x2]5 (2) [(-5)x2]4
  • 9. วิธีทา (1) [(-3)x2]5 = (-3)x25 = (-243)x32 = -7,776 (2) [(-5)x2]4 = (-5)x24 = 625x16 = 10,000
  • 10. กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 3 จงทาให้เป็ นผลสาเร็ จ 1. [(-1)x5]6 2. [(-3)x(-2)]5 พิจารณาการหาผลคูณต่อไปนี้ (1) (23)2 = 23x23 = 26 = 23x2 (2) [(-3)3]3 = (-3)3 x (-3)3 x (-3)3 = (-3)9 = (-3)3x3
  • 11. การหาผลคูณตามแบบตัวอย่างข้างต้นเป็ นไปตามสมบัติขอที่ 3 ดังนี้ ้ สมบัติขอที่ 3 ถ้า a เป็ นจานวนใดๆ m และ n เป็ นจานวนเต็มบวกแล้ว (am) n = a m n ้ ตัวอย่างที่ 5 จงทาให้เป็ นผลสาเร็ จ (1) (52)3 (2) [(-4)3]3 วิธีทา (1) (52)3 = 52x3 = 56 (2) [(-4)3]3 = (-4)3x3 = (-4)9
  • 12. พิจารณาการหาผลคูณต่อไปนี้ (1) 48 4x4x4x4x4x4x4x4 43 4x4x4 = 4x4x4x4x4 = 45 = 48-3 (2) 34 3x3x3x3 36 3x3x3x3x3x3 = 1 32 = 1 36-4
  • 13. ตัวอย่างที่ 7 จงทาให้เป็ นผลสาเร็ จ (1) 27 (2) 36 22 310 (3) 105 105 วิธีทา (1) 27 2 7-2 22 = 25 = 32
  • 14. (2) 36 1 310 310-6 = 1 34 = 1 81 (3) 105 1 105
  • 16. พิจารณาการหาคาตอบของ 43 46 43 = 1 (ใช้สมบัติขอที่ 5 กรณี m <n) ้ 46 46-3 =1 43 ถ้าใช้สมบัติขอที่ 5 โดยเขียนเป็ น am = am-n ในกรณี ที่ m < n ้ an จะได้ 43 = 43-6 46 = 4-3 นันคือ ่ 4-3 = 1 43
  • 17. บทนิยาม ถ้า a เป็ นจานวนใดๆ ที่ a ≠ 0 และ n เป็ นจานวนเต็มบวกแล้ว a-n = 1 an ตัวอย่างที่ 8 จงเขียนจานวนต่อไปนี้ให้มีเลขชี้กาลังเป็ นจานวนเต็มบวก (1) 4-5 (2) (-8)-11 วิธีทา (1) 4-5 = 1 45 (2) (-8)-11 = 1 (-8)11
  • 18. กิจกรรมตรวจสอบความเข้ าใจ 7 จงเขียนจานวนต่ อไปนีให้ มเี ลขชี้กาลังเป็ นจานวนเต็มบวก ้ 1. 3-6 2. 5-3 พิจารณาการเปลียน 1 ให้ อยู่ในรูปเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็ นจานวนเต็มบวก ่ 4-3 = 1 [ 4-3 = 1 ] 43 1 43 =1: 1 43 = 1x 43 1 = 43 นั่นคือ 1 = 43 4-3 ในรูปทั่วไปเราสามารถแสดงได้ ว่า ถ้ า a เป็ นจานวนใดๆ ที่ a = 0 และ nเป็ นจานวนเต็มบวกแล้ว 1 =an a-n
  • 19. ตัวอย่างที่ 9 จงเขียนจานวนต่อไปนี้ให้มีเลขชี้กาลังเป็ นจานวนเต็มบวก (1) 1 (2) 1 3-4 (-2)-5 วิธีทา (1) 1 = 34 3-4 (2) 1 = (-2)5 (-2)-5
  • 20. กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 8 จงเขียนจานวนต่อไปนี้ให้มีเลขชี้กาลังเป็ นจานวนเต็มบวก 1. 1 2. 1 5-2 3-6 พิจารณา 103 103 103 103 = 1 เนื่องจากตัวเศษเท่ากับตัวส่ วน ถ้าใช้สมบัติขอที่ 5 โดยเขียน am = am-n เมื่อ a เป็ นจานวนใดๆ ที่ a ≠ 0 ในกรณี ที่ m = n ้ an จะได้ 103 =103-3 103 = 30 นันคือ 30 =1 ่
  • 21. บทนิยาม ถ้า a เป็ นจานวนใดๆ ที่ a ≠ 0 แล้ว a0=1 ตัวอย่างที่ 10 จงทาให้เป็ นผลสาเร็ จ (1) 40 (2) (-7)0 วิธีทา (1) 40 =1 (2) (-7)0 =1
  • 22. กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 9 จงทาให้เป็ นผลสาเร็จ 1. 30 2. 50 จากบทนิยามทั้งสองที่ได้กล่าวไปแล้วทาให้สามารถสรุ ปสมบัติขอที่ 5 ได้เป็ น ้ เมื่อ a เป็ นจานวนใดๆที่ a ≠ 0 และ m , n เป็ นจานวนเต็มบวกแล้ว am ≠ am-n an
  • 23. 2.2 สมบัติของเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็ นจานวนเต็ม จากสมบัติของเลขยกกาลังเป็ นจานวนเต็มบวกที่ได้กล่าวไปแล้วต่อไปนี้จะพิจารณา สมบัติดงกล่าวเมื่อเลขชี้กาลังเป็ นจานวนเต็มใดๆ ั พิจารณาการหาผลคูณของเลขยกกาลังต่อไปนี้ เมื่อ a เป็ นจานวนใดๆ และ a ≠ 0 1. a0x a4 = 1x a4 = a4 หรื อ a0 + 4 2. a-5 x a0 = 1 x1 a5 = 1 a5 =a-5 หรื อ a-5+0
  • 24. 3.a4 x a-6 = a 4 x 1 a6 = a4-6 = a-2 หรื อ a4+(-6) 4.a-5 x a-3 = 1 x 1 a5 a3 = 1 a8 = a-8 หรื อ a-5+(-3)
  • 25. จากการหาผลคูณของเลขยกกาลังข้างต้นจะเห็นว่าการคูณเลขยกกาลังที่มีฐานเป็ นจานวนใดๆ ที่ไม่ เท่ากับศูนย์ จะได้ผลคูณเป็ นเลขฐานเดิมที่มีเลขชี้กาลังเป็ นผลบวกเลขชี้กาลังของเลขยกกาลังที่ นามาคูณกัน ซึ่งเป็ นไปตามสมบัติการคูณของเลขยกกาลัง ดังนี้ เมื่อ a เป็ นจานวนใดๆ ที่ a ≠ 0 และ m , n เป็ นจานวนเต็มแล้ว am x a n = a m + n ตัวอย่างที่ 11 จงหาผลคูณต่อไปนี้ในรู ปสมของเลขยกกาลัง (1) 128 x 2-10 (2) (-5)-4 x 5 -6 วิธีทา (1) 128 x 2-10 = 27 x 2 -10 = 2 7+(-10) = 2-3 (2) (-5)-4 x 5-6 = 1 x 5-6 (-5)-4 = 1 x 5-6 54 = 5-4 x 5-6 = 5-4+(-6) = 5-10
  • 26. ตัวอย่างที่ 12 จงหาค่าของ 45 x (-64) x (-4)-3 ในรู ปของเลขยกกาลัง วิธีทา 45 x (-64) x (-4)-3 = 45 x 42 x (-4) x (-4)-3 = 45+2 x (-4)1+(-3) = 47x(-4)-2 = 47 x 4-2 = 47+(-2) = 45
  • 27. จากสมบัติของการหารเลขยกกาลังเมื่อเลขชี้กาลังเป็ นจานวนเต็มบวกที่ได้กล่าวไปแล้ว ต่อไปนี้จะพิจารณาสมบัติดงกล่าวในเมื่อเลขชี้กาลังเป็ นจานวนเต็มใดๆ ั พิจารณาการหารเลขยกกาลังต่อไปนี้ เมื่อ a เป็ นจานวนใดๆ ที่ a ≠ 0 (1) a 0 = 1 = a -4 หรื อ a 0-4 a4 a4 (2) a -4 = a-4 = a -4 หรื อ a-4-0 a0 1 (3) a 6 = a 6 = a6 x a3 = a9 หรื อ a 6-(-3) a-3 1 a3 (4) a-5 = a -5 = a-5 x a2 =a-3 หรื อ a -5-(-2) a-2 1 a2
  • 28. จากการหาผลหารของเลขยกกาลังข้างต้นพบว่า การหารเลขยกกาลังทีมีฐานของ เลขยกกาลังเป็ นจานวนใดๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ จะได้ผลหารเป็ นเลขฐานเดิมที่ มีเลขชี้กาลังเป็ นผลลบของเลขชี้กาลังของตัวตั้งกับเลขชี้กาลังของตัวหาร ซึ่ ง เป็ นไปตามสมบัติการหารของเลขยกกาลังดังนี้ เมื่อ a เป็ นจานวนใดๆ ที่ a ≠ 0 และ m , n เป็ นจานวนเต็มแล้ว a m = a m-n an
  • 29. ตัวอย่างที่ 13 จงหาผลหารต่อไปนี้ในรู ปเลขยกกาลัง (1) 75 (2) -216 7-3 64 วิธีทา (1) 75 = 7 5-(-3) 73 = 78 (2) -216 = (-6) 3 64 64 = (-6)3 (-6)4 = (-6)3-4 = (-6)-1 = -1 6
  • 30. ตัวอย่างที่ 14 จงหาค่าของ 125 x 5-5 ในรู ปของเลขยกกาลัง 55 x 5-6 วิธีทา 125 x 5-5 = 53 x 5-5 55 x 5-6 55 x 5-6 = 5 3+(-5) 5 5+(-6) = 5-2 5-1 = 5 -2-(-1) = 5-1 = 1 5
  • 31. จากที่นกเรี ยนได้เรี ยนมาแล้วว่า เมื่อ a เป็ นจานวนใดๆ ที่ a ≠ 0 และ n เป็ นจานวนเต็มบวก ั a-n = 1 an ่ เราสามารถแสดงให้เห็นจริ งได้วา a-n = 1 เมื่อ n เป็ นจานวนเต็มได้ดงนี้ ั an จากสมบัติการหารเลขยกกาลัง am = a m – nเมื่อ a เป็ นจานวนใดๆที่ a ≠ 0และm , nเป็ นจานวนเต็ม an เมื่อ m = 0 จะได้ a0 = a0-n = a-n an และ a0 = 1 an a n นันคือ a-n = 1 ่ an ่ ถ้าให้ n = -p จะสรุ ปได้วา a p = 1 a-p เมื่อ a เป็ นจานวนใดๆ ที่ a = 0 และ n เป็ นจานวนเต็มแล้ว a-n = 1 an
  • 32. ตัวอย่างที่ 15 จงเขียนจานวนต่อไปนี้ (1) 6-4 (2) (0.3)-5 วิธีทา (1) 6-4 = 1 64 (2) (0.3)-5 = 1 (0.3)5 สมบัติอื่นๆของเลขยกกาลัง สาหรับสมบัติอื่นๆของเลขยกกาลังที่มีฐานเป็ นจานวนใดๆ และไม่เท่ากับศูนย์ ให้นกเรี ยน ั พิจารณาการหาผลลัพธ์ของเลขยกกาลังต่อไปนี้ (1) (53)4 ซึ่ งมี 53 เป็ นฐานและมี 4 เป็ นเลขชี้กาลัง และ (53)4 = 53x53x53x53 = 53+3+3+3 = 512 = 53x4
  • 33. (2) (7-2)3 ซึ่งมี 7-2 เป็ นฐานและมี 3 เป็ นเลขชี้ยกกาลัง และ (7-2)3 = 7-2x7-2x7-2 = 7(-2)+(-2)+(-2) = 7-6 = 7(-2)x3 (3) (32)-4 ซึ่งมี 32 เป็ นฐานและมี -4 เป็ นเลขชี้กาลัง และ (32)-4 = 1 = 1x1x1x1x (32)4 32323232 = 1 32x32x32x32 = 1 32+2+2+2 = 1 38 =3-8 =3 2x(-4)
  • 34. (4) (7-3)-4 ซึ่ งมี 7-3 เป็ นฐานและมี -4 เป็ นเลขชี้กาลัง และ (7-3)-4 = 1 (7-3)-4 = 1x1x1x1 7-37-37-37-3 = 1 7-3x7-3x7-3x7-3 = 1 7(-3)+(-3)+(-3)+(-3) = 1 7-12 = 712 = 7(-3)x(-4)
  • 35. จากการหาผลลัพธ์ของเลขยกกาลังข้างต้น สรุ ปได้วาผลลัพธ์ของเลขยกกาลังที่มีฐานเป็ นเลขยกกาลังจะมี เลขชี้กาลังเท่ากับผลคูณของเลขชี้กาลังของฐานกับเลขชี้กาลังของเลขยกกาลังนั้น ซึ่งเป็ นไปตามสมบัติของ เลขยกกาลังดังนี้ เมื่อ a เป็ นจานวนใดๆ ที่ a ≠ 0 และ m , n เป็ นจานวนเต็มแล้ว (a m ) n = am n ตัวอย่างที่ 16 จงหาผลลัพธ์ต่อไปนี้ในรู ปเลขยกกาลัง (1) (27) 4 x (3-2) 5 (2) (125)4 (5-3)2 x (54)3 วิธีทา (1) (27) 4x (3-2) 5 = (33)4 x(3-2)5 = 312 x 3-10 = 32 (2) (125)4 = (53)4 (5-3)2 x (54)3 (5-3)2 x (54)3 = 512 5-6x512 = 1 5-6 = 56
  • 36. พิจารณาค่าของเลขยกกาลังต่อไปนี้ (1) (3x7)4 ซึ่งเป็ นเลขยกกาลังที่มี3x7 เป็ นฐาน และ 4 เป็ นเลขชี้กาลัง และ (3x7)4 = (3x7)x(3x7)x(3x7)x(3x7) = 3x3x3x3x7x7x7x7 = 34x74 นันคือ ่ (3x7)4 = 34x74 (2) (2x5)-3 ซึ่งเป็ นเลขยกกาลังที่มี2x5 เป็ นฐาน และ-3 เป็ นเลขชี้กาลัง และ (2x5)-3 = 1 (2x5)3 = 1 (2x5)x(2x5)x(2x5) = 1 (2x2x2)x(5x5x5) = 1 x 1 23 53 นันคือ ่ (2x5)-3 = 2-3 x 5-3
  • 37. • (3) (4x9)0 ซึ่ งเป็ นเลขยกกาลังที่มี 4x9 เป็ นฐานและ 0 เป็ นเลขชี้กาลัง ( 4x9 )0 = 1 หรื อ 40 x 90 ่ ่ จากค่าของเลขยกกาลังข้างต้นสรุ ปได้วาเลขยกกาลังที่มีฐานอยูในรู ปผลคูณของ ่ จานวนหลายๆ จานวน จะมีคากับจานวนต่างๆ ที่คูณกันนั้นมีเลขชี้กาลังเท่ากับเลขชี้ กาลังของเลขยกกาลังนั้น ซึ่ งเป็ นไปตามสมบัติของเลขยกกาลัง ดังนี้ เมื่อ a และ b เป็ นจานวนใดๆ ที่ a ≠ 0 , b ≠ 0 และ n เป็ นจานวนเต็มแล้ว (ab) n = anbn ่ ตัวอย่างที่ 17 จงเขียน(210) -5 ให้อยูรูปเลขยกกาลังที่มีฐานเป็ นจานวนเฉพาะ วิธีทา (210) -5 = ( 2x3x5x7) -5 = 2 -5 x 3 -5 x 5 -5 x 7 -5
  • 38. สรุ ปสมบัติของเลขยกกาลัง เมื่อ a และ b เป็ นจานวนใดๆ ที่ a ≠ 0 , b ≠ 0 และ m , nเป็ นจานวนเต็มแล้ว 1. am × an = a m+ n 2. (am)n = am n 3. (a b)n = an b n 4. am = am-n an ต่อไปนี้เป็ นการนาสมบัติของเลขยกกาลังข้างต้นไปใช้ในการคานวณเกี่ยวกับการดาเนินการของเลข ยกกาลัง ่ ตัวอย่างที่ 20 จงทาให้อยูในรู ปอย่างง่ายและมีเลขชี้กาลังเป็ นบวก (1) (8-2x25x2-1)2 (2) (92x3-2x273)-2 วิธีทา (1) (8-2x25x2-2)2 = [(23)x-2x25x2-1]2 = (2-6x25x2-1)2 = (2-2)2 =1 24
  • 39. (2) (92x3-2x273)-2 = [(32)2x3-2x(33)3]-2 = (34x3-2x39)-2 = (311)-2 = 3-22 = 1 322 ตัวอย่างที่ 21 จงหาผลลัพธ์ต่อไปนี้ (1) (a3b-2xa4b5) = (a7b3) : (a6b-1) = a7b3 a6b-1 = ab4
  • 40. (2) 3x5y6 x 6x-1y-3 = (3x5y6) x (6x-1y-3) 2 9 24x32 = 18x4y3 24x32 = x4y3 23 จากบทนิยามและสมบัติของเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็ นจานวนเต็มสามารถสร้าง สมบัติของเลขยกกาลังเพิ่มเติมได้ดงต่อไปนี้ ั สาหรับจานวน a และ b ใดๆที่ไม่เป็ นศูนย์ และ m , n และ p เป็ นจานวนเต็มแล้วจะได้ (1) (am x b n) p = amp x b n p (2) a-m = b n b -n am
  • 41. ่ ตัวอย่างที่ 22 จงทาให้อยูในรู ปอย่างง่ายและมีเลขชี้กาลังเป็ นบวก (1) (3a4)(9a-2) (2) 36a-8 60a-5 วิธีทา (1) (3a4)(9a-2) = (3x9)(a4xa-2) = 27xa4+(-2) = 27a2 (2) 36a-8 = 3 60a-5 5a-5+8 = 3 5a3
  • 42. 3. การเขียนจานวนในรู ปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ ในการเขียนจานวนที่มีค่ามากๆหรื อจานวนที่มีค่าน้อยมากๆมักเขียนในรู ปสัญกรณ์ วิทยาศาสตร์ คือการเขียนในรู ป A x10n เมื่อ 1 < A < 10 และ n เป็ นจานวนเต็ม ให้นกเรี ยนสังเกตการเขียนจานวนในรู ป A x 10n เมื่อ 1< A< 10และ n เป็ นจานวนเต็ม ั ดังนี้ 4=4 = 4x100 40 = 4x10 = 4x101 400 = 4x100 = 4x102 4,000 = 4x1,000 = 4x103 40,000 = 4x10,000 = 4x104
  • 43. ตัวอย่างที่ 1 342,000,000 = 3.42000000 x108 เลื่อนจุดไปทางซ้าย 8 ตาแหน่ง = 3.42x108 เลขชี้กาลังเป็ น 8 ข้อสังเกต จานวนตาแหน่งของจุดทศนิยมที่เลื่อนไปทางซ้ายจะเท่ากับเลขชี้กาลังของ 10 ที่เป็ นบวก กิจกรรรมตรวจสอบความเข้าใจ 17 จงเขียนจานวนในรู ปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ 1.960,000,000 2.6,700,000,000 3.71,231,000,000 4.976,200,000,000
  • 44. n ให้นกเรี ยนสังเกตการเขียนจานวนในรู ป Ax10 เมื่อ 1< A< 10 และnเป็ นจานวนเต็ม ั ดังนี้ 4 = 4 = 4x10 0.4 = 4 = 4x10-1 10 0.04 = 4 = 4x10-2 100 0.004 = 4 = 4x10-3 1000 0.0004 = 4 = 4x10-4 10000 ตัวอย่างที่ 2 0.00000758 = 000007.58x10-6 เลื่อนจุดไปทางขวา 6 ตาแหน่ง = 7.58 x 10-6 เลขชี้กาลังเป็ น -6
  • 45. ข้อสังเกต จานวนตาแหน่งของจุดทศนิยมที่เลื่อนไปทางขวาจะเท่ากับเลขชี้กาลังของ 10 ที่เป็ นลบ การหาผลคูณของจานวนที่เขียนในรู ป A x 10n เมื่อ 1< A < 10 เช่น 1) (5x108) x (2x103) = 5x108x2x103 = (5x2)x(108x103) = 10x1011 = 1012 2) (4.3x107)x(3.02x105) = 4.3x107x3.02x105 = (4.3x3.02)x(107x105) = 12.986x1012 = 1.2986x1013
  • 46. การหาผลบวกของจานวนที่เขียนในรู ป A x10 n เมื่อ 1< A < 10 การหาผลบวกของเลขยกกาลังสองจานวนที่มีฐานและเลขชี้กาลังเท่ากันให้นาตัวเลขที่เป็ นค่าของ A มา บวกกัน แล้วคูณด้วยเลขยกกาลังตัวเดิม เช่น (6x104)+(9x104) = (6+9)x104 = 15x104 = 1.5x10x104 = 1.5x105 การหาผลบวกของเลขยกกาลังสองจานวนที่มีฐานเท่ากันแต่เลขชี้กาลังไม่เท่ากันเราจะต้องเขียนจานวน สองจานวนให้มีเลขชี้กาลังเท่ากันก่อน เช่น (3x109)+(8x107) = (3x102x107)+(8x107) = (300x107)+(8x107) = (300+8)x107 = 308x107 = 3.08x102x10 9 = 3.08x109
  • 47. หมายเหตุ สาหรับกรณี นาเลขยกกาลังมาลบกัน สามารถทาได้โดยอาศัยหลักการเดียวกันกับ การบวก เช่น (36x105)-(21x104) = (36x10x104)-(21x104) = (360x104)-(21x104) = (360-21)x104 = 339x104 = 3.39x102x104 = 3.39x106
  • 48. ตัวอย่างที่ 3 จงหาค่าของ (18x1028)+(15x1026)-(41x1027) โดยตอบในรู ป Ax10n เมื่อ 1< A < 10 วิธีทา (18x1028)+(15x1026)-(41x1027) = (18x102x1026)+(15x1026)-(41x10x1026) = (1,800x1026)+(15x1026)-(410x1026) = (1,800+15-410)x1026 = 1,405x1026 = (1,405x103)x1026 = 1,405x1029
  • 49. ตัวอย่างที่ 4 ในปี พ.ศ.2550 บริ ษทร่ วมมิตร จากัด มียอดขายสิ นค้า 6.47x107เสริ มสุ ขภาพ ั จากัด มียอดขายสิ คา 8.521x106 ้ (1) บริ ษทใดมียอดขายสู งกว่าและสู งกว่าเท่าไร ั (2) ทั้งสองบริ ษทมียอดขายรวมกันกี่บาท ั วิธีทา (1) บริ ษท ร่ วมมิตร จากัด มียอดขายสิ คา 6.78x107 = 67.8x106 บาท ั ้ บริ ษท เสริ มสุ ขภาพ จากัด มียอดขายสิ นค้า 8.521x106 บาท ั บริ ษท ร่ วมมิตร จากัด มียอดขายมากกว่าบริ ษท เสริ มสุ ขภาพ จากัด ั ั (67.8x106)-(8.521x106) = (67.8-8.521)x106 บาท = 59.279x106 บาท = 59,279,000 บาท
  • 50. (2) บริ ษท ร่ วมมิตร จากัด มียอดขายสิ นค้า 6.78x107 = 67.8x106 บาท ั บริ ษท เสริ มสุ ขภาพ จากัด มียอดขายสิ นค้า 8.521x106 บาท ั บริ ษท ร่ วมมิตร จากัด และบริ ษท เสริ มสุ ขภาพ จากัด มียอดขายรวมกัน ั ั (6.78x106)+(8.521x106) = (67.8+8.521)x106 บาท = 76.321x106 บาท = 76,321,000 บาท ตัวอย่างที่ 5 แบคทีเรี ยชนิดหนึ่งแต่ละตัวมีความยาวเฉลี่ย 3.2x10-5 เซนติเมตร ถ้าแบคทีเรี ยชนิดนี้ต่อ กันเป็ นสายยาว 4.8x10-2 เซนติเมตร จะมีแบคทีเรี ยประมาณกี่ตว ั วิธีทา แบคทีเรี ยแต่ละตัวมีความยาว 3.2x10-5 เซนติเมตร เรี ยงต่อกันเป็ นสายยาว 4.8x10-2 เซนติเมตร จะมีแบคทีเรี ยประมาณ 4.8 x 10-2 = 4.8 x 10-2(-5) 3.2 x 10-5 3.2 = 1.5x103 = 1,500 ตัว ดังนั้น มีแบคทีเรี ยประมาณ 1,500 ตัว
  • 52. ด.ช. ณัฐพล จันทรศร เลขที่ 5 ด.ช. ศุภชัย คาวิสูตร เลขที่ 9 ด.ช. อภิวฒน์ กิ่งก้าน เลขที่ 12 ั ด.ญ. ธัญญารัตน์ สุ วิชา เลขที่ 22 ด.ญ. นุชจิรา พงษ์ชาง เลขที่ 27 ้ ด.ญ. ปิ่ นทิพย์ ใจปู เลขที่ 28 ด.ญ. วนิดา ธรคาหาร เลขที่ 29 ด.ญ. ศิริรัตน์ บ้วนนอก เลขที่ 32 ด.ญ. สริ ดา จิตต์เอื้อเฟื้ อ เลขที่ 33 ด.ญ. สิ รินรัตน์ สิ ริสุรชัชวาล เลขที่ 42