SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
ความคล้าย




                                      ความหมายของรู ปทีคล้ ายกัน
                                                       ่




    นิยาม รู ปสองรู ปที่คล้ายกันก็ต่อเมื่อรู ปทั้งสองนั้นมีรูปร่ างเหมือนกัน แต่อาจจะมีขนาด
ที่แตกต่างกัน




                    รู ปที่คล้ายกัน                          รู ปทรงที่คล้ายกัน




                       ในรู ปทีคล้ ายกัน
                               ่
               1.      มุมทีสมนัยกันมีขนาดเท่ ากัน
                             ่
               2.      อัตราส่ วนของความยาวของด้ านทีสมนัยกันเท่ ากัน
                                                     ่



    สาหรับรู ปทีคล้ ายกันจะเขียนชื่ อของรู ปเรียงตามลาดับอักษรของมุมทีสมนัยกันเสมอ เพือให้ ง่ายต่ อการ
                ่                                                     ่               ่
    คานวณ และจะใช้ สัญลักษณ์  แทนคาว่า คล้ายกับ
่
ตัวอย่าง สี่ เหลี่ยมคางหมู ABCD คล้ายกับ สี่ เหลี่ยมคางหมู PQRS เขียนได้วา
    ABCD  PQRS



                                  P                              Q
A                        B

 D                       C         S                             R
ความคล้าย



                                         รู ปทีคล้ ายกัน
                                               ่




                                         รู ปทีคล้ ายกัน
                                               ่
                                  มุมทีสมนัยกันมีขนาดเท่ ากัน
                                       ่
                             อัตราส่ วนของความยาวของด้ านทีสมนัยกันเท่ากัน
                                                             ่

สาหรับรู ปทีคล้ ายกันจะเขียนชื่ อของรู ปเรียงตามลาดับของตัวอักษรทีสมนัยกัน
            ่                                                     ่
เสมอ เพือให้ ง่ายต่ อการคานวณและจะใช้ สัญลักษณ์
         ่

                 แทนคาว่า คล้ายกับ

ตัวอย่างเช่ น
รู ปสี่ เหลียมคางหมู ABCD คล้ายกับ สี่ เหลียม PQRS เขียนได้ ว่า 
            ่                              ่                     ABCD  PQRS

            A        10 cm        B
                  110         70
    24 cm                                           P 5 cm Q
                                                   12 cm
            70            110
     D                        C             S                R
  จากรู ป       อักษรที่สมนัยกัน คือ A  P , B  Q         , C R , D S
                มุมที่เท่ากันคือ     มุม A = มุม P =         110
                                     มุม B = มุม Q =        70
                                     มุม C = มุม R =        110
                                     มุม D = มุม S =         70
อัตราส่ วนของด้านที่สมนัยกันที่เท่ากัน คือ

                      AB BC CD DA 1
                                 
                      PQ QR RS   SP   2




        รู ปที่คล้ายกันไม่จาเป็ นต้องเขียนไปทางเดียวกันก็ได้ รู ป PQRS  ABCD
อาจจะเขียนรู ปในลักษณะอื่นก็ได้ แต่มนก็คงคล้ายกันอยู่
                                         ั

     ในรู ปบางรู ปที่มีมุมที่สมนัยกันมีขนาดเท่ากันทุกมุมเพียงอย่างเดียว ก็ไม่อาจจะทาให้รูปนั้นคล้ายกัน
ได้ เช่น รู ปสี่ เหลี่ยมมุมฉาก มีมุมสมนัยกันเท่ากัน เพราะอัตราส่ วนของด้านที่สมนัยกันต่างกัน ดังรู ป
ความคล้าย



                              รู ปสามเหลียมทีคล้ ายกัน
                                         ่ ่




นิยาม          รู ปสามเหลียมสองรู ปทีมีขนาดของมุมเท่ ากันสามคู่
                            ่         ่
            เรียกว่ า รู ปสามเหลียมทีคล้ ายกัน
                                 ่ ่




                          ถ้ าสามเหลียม 2 รู ปคล้ ายกันแล้ ว
                                     ่
                          มุมทั้งสามคู่ทสมนัยกันจะเท่ ากัน
                                         ี่
                 อัตราส่ วนของด้ านทีสมนัยกันทั้งสามอัตราส่ วนเท่ากัน
                                       ่



                      ตัวอย่าง เช่น ABC  XYZ ดังรู ป

        A
                       b
        c                                    X           y
                                             z
            B          a            C          Y         x          Z

        ดังนั้น A = X , B = Y ,  C = Z

                             AB   BC   AC
                และ                 
                             XY   YZ   XZ
a   b c
                     นั่นคือ                   
                                          x   y   z




           อัตราส่ วนของด้ านทีอยู่ตรงกับมุมทีเ่ ท่ ากันของสามเหลียมคล้ ายย่ อมเท่ ากัน
                               ่                                  ่



        สามเหลี่ยมคล้าย เป็ นรู ปคล้ายที่มีลกษณะพิเศษ คือไม่จาเป็ นต้องทราบขนาดของมุมทั้งหมดและ
                                            ั
                                              ่
ด้านทั้งหมดของสามเหลี่ยม 2 รู ป เพื่อเช็คดูวาสามเหลี่ยมทั้งนั้นคล้ายกันหรื อไม่
ความคล้าย



                              รู ปสามเหลียมทีคล้ ายกัน
                                         ่ ่

                                              1



 มุมทีสมนัยทั้งสามคู่ของสามเหลียม 2 รู ปใดเท่ ากัน แล้ วสามเหลียมทั้งสองนั้นเท่ ากัน
      ่                        ่                               ่




                      A


          B                           X                      Y

                              C               Z



           จากรู ป ABC  XYZ                    เพราะว่าA = X
                                                       B =  Z
                                                       C =  Y
           ความจริ งแล้ว ถ้าทราบว่า มุมที่สมนัยกันเท่ากันเพียง 2 คู่ ก็สามารถบอกได้วามุมที่สามต้อง
                                                                                    ่
เท่ากันด้วย เพราะผลบวกของมุมภายในของ  ใดๆ มีค่า 180 เสมอ ดังนั้น ถ้ารู ้เพียงว่า A =
X
และ  B = Z เท่านั้นก็สามารถสรุ ปได้วาสามเหลี่ยม ABC  สามเหลี่ยม XZY เพราะมุมที่
                                              ่
เหลือคือ  C = Y แน่นอน

                                          2
" อัตราส่ วนของด้ านทีสมนัยกันเท่ากันทั้งสามอัตราส่ วนแล้ว สามเหลียม 2 รู ปนั้นคล้ ายกัน "
                      ่                                           ่



                        P
                                                  D



             Q                  R            E              F


             จากรู ป PQR จะคล้ายกับ DEF ถ้า               PQ QR RP
                                                                
                                                            DE EF FD


                                        3



" ถ้ าอัตราส่ วนของด้ านทีสมนัยกันเท่ากันเพียง 2 คู่ และมุมทีอยู่ระหว่ างด้ านนั้น
                          ่                                  ่
  เท่ากันด้ วย แล้วสามเหลียม 2 รู ป จะคล้ ายกัน "
                            ่

                                         N
             S

       T                    R M                                                O
     จากรู ป MNO จะคล้ายกับ RST                 ถ้า N = S
                     MN NO
       และ              
                     RS   ST
ความคล้าย

                                  รู ปสามเหลียมทีคล้ ายกัน
                                             ่ ่



                                             1



 มุมทีสมนัยทั้งสามคู่ของสามเหลียม 2 รู ปใดเท่ ากัน แล้ วสามเหลียมทั้งสองนั้นเท่ ากัน
      ่                        ่                               ่



                      A


          B                             X                    Y

                              C               Z



           จากรู ป ABC  XYZ                   เพราะว่า A = X
                                                       B =  Z
                                                       C =  Y
           ความจริ งแล้ว ถ้าทราบว่า มุมที่สมนัยกันเท่ากันเพียง 2 คู่ ก็สามารถบอกได้วามุมที่สามต้อง
                                                                                    ่
เท่ากันด้วย เพราะผลบวกของมุมภายในของ  ใดๆ มีค่า 180 เสมอ ดังนั้น ถ้ารู ้เพียงว่า A =
X
และ  B = Z เท่านั้นก็สามารถสรุ ปได้วาสามเหลี่ยม ABC  สามเหลี่ยม XZY เพราะมุมที่
                                              ่
เหลือคือ  C = Y แน่นอน

                                       2
" อัตราส่ วนของด้ านทีสมนัยกันเท่ากันทั้งสามอัตราส่ วนแล้ว สามเหลียม 2 รู ปนั้นคล้ ายกัน "
                       ่                                           ่



                         P
                                                    D



              Q                        R        E            F


              จากรู ป PQR จะคล้ายกับ DEF ถ้า               PQ QR RP
                                                                 
                                                             DE EF FD


                                            3



 " ถ้ าอัตราส่ วนของด้ านทีสมนัยกันเท่ากันเพียง 2 คู่ และมุมทีอยู่ระหว่ างด้ านนั้น
                           ่                                  ่
   เท่ากันด้ วย แล้วสามเหลียม 2 รู ป จะคล้ ายกัน "
                             ่



                                                N
              S

         T                                 R M                                  O

        จากรู ป MNO จะคล้ายกับ RST                 ถ้า N = S
                        MN NO
        และ                
                        RS   ST


ตัวอย่างที่ 1 กาหนดให้       AB   //   DE   จงหาว่า ABC กับ EDC คล้ายกันหรื อไม่



                    A                                   B
C
                         D                     E

       จะได้ เนื่องจาก
      1) ABC = CDE                               ( เป็ นมุมแย้ง )
       2) BAC = CED                              ( เป็ นมุมแย้ง )
       3) ACB = DCE                               ( เป็ นมุมตรงข้าม )
        ดังนั้น ABC  EDC

ตัวอย่างที่ 2 กาหนดให้   BC      //   DE       จงหาว่า  ABC และ ADE คล้ายกัน
              หรื อไม่

                                           D
                                               B



                   E         C                           A

          จะได้ เนื่องจาก
     1) BAC = DAE ( เป็ นมุมร่ วม )
     2) ABC =  ADE (เป็ นมุมภายในและมุมภายนอกข้างเดียวกัน
                            ของเส้นตัด )

     3) BCA =  DEA (เป็ นมุมภายในและมุมภายนอกข้างเดียวกันของเส้นตัด )
         ดังนั้น ABC  ADE
ตัวอย่างที่ 3 กาหนดให้ PQR = PST จงหาว่า PQR และ PST คล้ายกันหรื อไม่

                            P



                      Q             R

                  S                     T

    จะได้ เนื่องจาก
          1) PQR =  PST (กาหนดให้)
          2) QPR =  SPT (เป็ นมุมร่ วม)
          3)  PRQ =  PTS (ขนาดของมุมภายในของสามเหลี่ยมเป็ น 180
                            องศา)
          ดังนั้น PQR  PST
ความคล้าย



                          สมบัติของรู ปสามเหลียมทีคล้ ายกัน
                                              ่ ่




ถ้ ารู ปสามเหลียมสองรู ปใดคล้ ายกัน อัตราส่ วนของความยาวของด้ านคู่ทอยู่ตรงข้ ามกับมุม
               ่                                                    ี่
ทีมีขนาดเท่ากันจะเท่ากัน
   ่

กาหนดให้ ABC  DEF                และ BAC = EDF , ABC =  DEF

                      A
                                                  D



           B                   C         E                 F


                      AB   AC BC
        จะได้                
                      DE DF EF
                    AB DE AC DF AB DE
        และ                ,      ,  
                    BC   EF BC    EF AC DF
       และ พืนที่ ABC  พืนที่ DEF = ( AB )2  ( DE )2
             ้             ้
ตัวอย่างที่ 1 กาหนดให้  ABC = CED และ AB = 16 เซนติเมตร AC =
              18 เซนติเมตร และ CD = 36 เซนติเมตร จงหาว่า ED ยาวเท่าไร

                                          E




                        18
              A                  C            36              D
                  16         B

       จะได้ เนื่องจาก ABC  DEC                           (มีมุมเท่ากัน 3 คู่)
                                      AC   AB
              ดังนั้น                    
                                      CD ED
              แทนค่า AB = 16 , AC = 18 , และ CD = 36
                                          18   16
              จะได้                          
                                          36 ED
              คูณไขว้            18 ED        = 16 X 36
                                                   16 X 36
                                     ED       =
                                                     18
                              ED             = 32 เซนติเมตร                 ตอบ
ความคล้าย

                            สมบัติของรู ปสามเหลียมทีคล้ ายกัน
                                                ่ ่




ถ้ ารู ปสามเหลียมสองรู ปใดคล้ ายกันอัตราส่ วนของความยาวของด้ านคู่ทอยู่ตรง
               ่                                                   ี่
   ข้ ามกับมุมทีมีขนาดเท่ ากันจะเท่ ากัน
                 ่

ตัวอย่าง กาหนดให้ ABCD เป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมคางหมูรูปหนึ่ง                AB      CD    E และ F
                   ่
        เป็ นจุดอยูบนด้าน AD และ BC ตามลาดับ                EF         DC    และ      BF
                                                                                           
                                                                                             2
                                                                                        FC 1
          ถ้าให้ AB = 7 หน่วย และ DC = 10 หน่วย จงหา EF

                        D                                           C

                            E                                   F

                                A                       B



จะได้ ลาก BN ให้ขนานกับ AD และตัด EF ที่ M ทาให้ EM = DN = AB = 7 หน่วย
      และ NC = 10 - 7 = 3 หน่วย




                    D           7       N       3               C

                        E           7       M               F

                            A           7           B
เนื่องจาก BMF  BNC และ         BF
                                      
                                        2
                                   FC 1


                BF   MF         BF   2
ดังนั้น                  และ      
                BC NC           BC   3


                   MF 2
                       
                    NC   3
                    MF 2
                       
                     3   3
                    MF = 2
          จาก       EF = EM + MF
                        = 7 + 2
                        = 9
          ดังนั้น    EF = 9 หน่วย           ตอบ

More Related Content

What's hot

ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ทฤษฎีบทพีทาโกรัสทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ทฤษฎีบทพีทาโกรัสmoohhack
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมวิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดOwen Inkeaw
 
การสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิตการสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิตพัน พัน
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2KruGift Girlz
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งkrurutsamee
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสsawed kodnara
 
จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนFern Monwalee
 
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานsawed kodnara
 
บทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานบทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานsawed kodnara
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)K'Keng Hale's
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ sawed kodnara
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองTum Anucha
 

What's hot (20)

ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ทฤษฎีบทพีทาโกรัสทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
 
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
 
การสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิตการสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิต
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้ง
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
 
ค่ามาตรฐาน
ค่ามาตรฐานค่ามาตรฐาน
ค่ามาตรฐาน
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อน
 
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน
 
ชุดการสอนที่ 3 มุมภายนอกกับมุมภายใน
ชุดการสอนที่ 3  มุมภายนอกกับมุมภายในชุดการสอนที่ 3  มุมภายนอกกับมุมภายใน
ชุดการสอนที่ 3 มุมภายนอกกับมุมภายใน
 
บทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานบทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนาน
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
 

Similar to ความคล้าย

สามเหลี่ยม
สามเหลี่ยมสามเหลี่ยม
สามเหลี่ยมnutchaporn
 
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)ทับทิม เจริญตา
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการsawed kodnara
 
แผนการจัดการเรียนรู้ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ 6แผนการจัดการเรียนรู้ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ 6kanjana2536
 
แผนที่
แผนที่แผนที่
แผนที่Cha Rat
 
สรุปสูตร ม.2
สรุปสูตร ม.2สรุปสูตร ม.2
สรุปสูตร ม.2krutew Sudarat
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติchanphen
 
Mai p diamond2551
Mai p diamond2551Mai p diamond2551
Mai p diamond2551krulerdboon
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรRitthinarongron School
 
คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32krookay2012
 

Similar to ความคล้าย (14)

สามเหลี่ยม
สามเหลี่ยมสามเหลี่ยม
สามเหลี่ยม
 
Treekon
TreekonTreekon
Treekon
 
Math2
Math2Math2
Math2
 
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ 6แผนการจัดการเรียนรู้ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ 6
 
แผนที่
แผนที่แผนที่
แผนที่
 
สรุปสูตร ม.2
สรุปสูตร ม.2สรุปสูตร ม.2
สรุปสูตร ม.2
 
สอบ
สอบ สอบ
สอบ
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
Mai p diamond2551
Mai p diamond2551Mai p diamond2551
Mai p diamond2551
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32
 

More from krookay2012

เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลังkrookay2012
 
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละkrookay2012
 
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตkrookay2012
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนามkrookay2012
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนามkrookay2012
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนามkrookay2012
 
กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3krookay2012
 
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตรเอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตรkrookay2012
 
คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31krookay2012
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33krookay2012
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34krookay2012
 
คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 krookay2012
 
อสมการ2
อสมการ2อสมการ2
อสมการ2krookay2012
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการkrookay2012
 
พื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตรพื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตรkrookay2012
 
ค่ากลาง
ค่ากลางค่ากลาง
ค่ากลางkrookay2012
 
การแจกแจงความถี่
การแจกแจงความถี่การแจกแจงความถี่
การแจกแจงความถี่krookay2012
 
งานคณิตศาสตร์อาจารย์เค
งานคณิตศาสตร์อาจารย์เคงานคณิตศาสตร์อาจารย์เค
งานคณิตศาสตร์อาจารย์เคkrookay2012
 
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์krookay2012
 
งานนำเสนอ12
งานนำเสนอ12งานนำเสนอ12
งานนำเสนอ12krookay2012
 

More from krookay2012 (20)

เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
 
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนาม
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3
 
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตรเอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
 
คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34
 
คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2
 
อสมการ2
อสมการ2อสมการ2
อสมการ2
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
พื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตรพื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตร
 
ค่ากลาง
ค่ากลางค่ากลาง
ค่ากลาง
 
การแจกแจงความถี่
การแจกแจงความถี่การแจกแจงความถี่
การแจกแจงความถี่
 
งานคณิตศาสตร์อาจารย์เค
งานคณิตศาสตร์อาจารย์เคงานคณิตศาสตร์อาจารย์เค
งานคณิตศาสตร์อาจารย์เค
 
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์
 
งานนำเสนอ12
งานนำเสนอ12งานนำเสนอ12
งานนำเสนอ12
 

ความคล้าย

  • 1. ความคล้าย ความหมายของรู ปทีคล้ ายกัน ่ นิยาม รู ปสองรู ปที่คล้ายกันก็ต่อเมื่อรู ปทั้งสองนั้นมีรูปร่ างเหมือนกัน แต่อาจจะมีขนาด ที่แตกต่างกัน รู ปที่คล้ายกัน รู ปทรงที่คล้ายกัน ในรู ปทีคล้ ายกัน ่ 1. มุมทีสมนัยกันมีขนาดเท่ ากัน ่ 2. อัตราส่ วนของความยาวของด้ านทีสมนัยกันเท่ ากัน ่ สาหรับรู ปทีคล้ ายกันจะเขียนชื่ อของรู ปเรียงตามลาดับอักษรของมุมทีสมนัยกันเสมอ เพือให้ ง่ายต่ อการ ่ ่ ่ คานวณ และจะใช้ สัญลักษณ์  แทนคาว่า คล้ายกับ
  • 2. ่ ตัวอย่าง สี่ เหลี่ยมคางหมู ABCD คล้ายกับ สี่ เหลี่ยมคางหมู PQRS เขียนได้วา ABCD  PQRS P Q A B D C S R
  • 3. ความคล้าย รู ปทีคล้ ายกัน ่ รู ปทีคล้ ายกัน ่ มุมทีสมนัยกันมีขนาดเท่ ากัน ่ อัตราส่ วนของความยาวของด้ านทีสมนัยกันเท่ากัน ่ สาหรับรู ปทีคล้ ายกันจะเขียนชื่ อของรู ปเรียงตามลาดับของตัวอักษรทีสมนัยกัน ่ ่ เสมอ เพือให้ ง่ายต่ อการคานวณและจะใช้ สัญลักษณ์ ่  แทนคาว่า คล้ายกับ ตัวอย่างเช่ น รู ปสี่ เหลียมคางหมู ABCD คล้ายกับ สี่ เหลียม PQRS เขียนได้ ว่า  ่ ่ ABCD  PQRS A 10 cm B 110 70 24 cm P 5 cm Q 12 cm 70 110 D C S R จากรู ป อักษรที่สมนัยกัน คือ A  P , B  Q , C R , D S มุมที่เท่ากันคือ มุม A = มุม P = 110 มุม B = มุม Q = 70 มุม C = มุม R = 110 มุม D = มุม S = 70
  • 4. อัตราส่ วนของด้านที่สมนัยกันที่เท่ากัน คือ AB BC CD DA 1     PQ QR RS SP 2 รู ปที่คล้ายกันไม่จาเป็ นต้องเขียนไปทางเดียวกันก็ได้ รู ป PQRS  ABCD อาจจะเขียนรู ปในลักษณะอื่นก็ได้ แต่มนก็คงคล้ายกันอยู่ ั ในรู ปบางรู ปที่มีมุมที่สมนัยกันมีขนาดเท่ากันทุกมุมเพียงอย่างเดียว ก็ไม่อาจจะทาให้รูปนั้นคล้ายกัน ได้ เช่น รู ปสี่ เหลี่ยมมุมฉาก มีมุมสมนัยกันเท่ากัน เพราะอัตราส่ วนของด้านที่สมนัยกันต่างกัน ดังรู ป
  • 5. ความคล้าย รู ปสามเหลียมทีคล้ ายกัน ่ ่ นิยาม รู ปสามเหลียมสองรู ปทีมีขนาดของมุมเท่ ากันสามคู่ ่ ่ เรียกว่ า รู ปสามเหลียมทีคล้ ายกัน ่ ่ ถ้ าสามเหลียม 2 รู ปคล้ ายกันแล้ ว ่ มุมทั้งสามคู่ทสมนัยกันจะเท่ ากัน ี่ อัตราส่ วนของด้ านทีสมนัยกันทั้งสามอัตราส่ วนเท่ากัน ่ ตัวอย่าง เช่น ABC  XYZ ดังรู ป A b c X y z B a C Y x Z ดังนั้น A = X , B = Y ,  C = Z AB BC AC และ   XY YZ XZ
  • 6. a b c นั่นคือ   x y z อัตราส่ วนของด้ านทีอยู่ตรงกับมุมทีเ่ ท่ ากันของสามเหลียมคล้ ายย่ อมเท่ ากัน ่ ่ สามเหลี่ยมคล้าย เป็ นรู ปคล้ายที่มีลกษณะพิเศษ คือไม่จาเป็ นต้องทราบขนาดของมุมทั้งหมดและ ั ่ ด้านทั้งหมดของสามเหลี่ยม 2 รู ป เพื่อเช็คดูวาสามเหลี่ยมทั้งนั้นคล้ายกันหรื อไม่
  • 7. ความคล้าย รู ปสามเหลียมทีคล้ ายกัน ่ ่ 1 มุมทีสมนัยทั้งสามคู่ของสามเหลียม 2 รู ปใดเท่ ากัน แล้ วสามเหลียมทั้งสองนั้นเท่ ากัน ่ ่ ่ A B X Y C Z จากรู ป ABC  XYZ เพราะว่าA = X B =  Z C =  Y ความจริ งแล้ว ถ้าทราบว่า มุมที่สมนัยกันเท่ากันเพียง 2 คู่ ก็สามารถบอกได้วามุมที่สามต้อง ่ เท่ากันด้วย เพราะผลบวกของมุมภายในของ  ใดๆ มีค่า 180 เสมอ ดังนั้น ถ้ารู ้เพียงว่า A = X และ  B = Z เท่านั้นก็สามารถสรุ ปได้วาสามเหลี่ยม ABC  สามเหลี่ยม XZY เพราะมุมที่ ่ เหลือคือ  C = Y แน่นอน 2
  • 8. " อัตราส่ วนของด้ านทีสมนัยกันเท่ากันทั้งสามอัตราส่ วนแล้ว สามเหลียม 2 รู ปนั้นคล้ ายกัน " ่ ่ P D Q R E F จากรู ป PQR จะคล้ายกับ DEF ถ้า PQ QR RP   DE EF FD 3 " ถ้ าอัตราส่ วนของด้ านทีสมนัยกันเท่ากันเพียง 2 คู่ และมุมทีอยู่ระหว่ างด้ านนั้น ่ ่ เท่ากันด้ วย แล้วสามเหลียม 2 รู ป จะคล้ ายกัน " ่ N S T R M O จากรู ป MNO จะคล้ายกับ RST ถ้า N = S MN NO และ  RS ST
  • 9. ความคล้าย รู ปสามเหลียมทีคล้ ายกัน ่ ่ 1 มุมทีสมนัยทั้งสามคู่ของสามเหลียม 2 รู ปใดเท่ ากัน แล้ วสามเหลียมทั้งสองนั้นเท่ ากัน ่ ่ ่ A B X Y C Z จากรู ป ABC  XYZ เพราะว่า A = X B =  Z C =  Y ความจริ งแล้ว ถ้าทราบว่า มุมที่สมนัยกันเท่ากันเพียง 2 คู่ ก็สามารถบอกได้วามุมที่สามต้อง ่ เท่ากันด้วย เพราะผลบวกของมุมภายในของ  ใดๆ มีค่า 180 เสมอ ดังนั้น ถ้ารู ้เพียงว่า A = X และ  B = Z เท่านั้นก็สามารถสรุ ปได้วาสามเหลี่ยม ABC  สามเหลี่ยม XZY เพราะมุมที่ ่ เหลือคือ  C = Y แน่นอน 2
  • 10. " อัตราส่ วนของด้ านทีสมนัยกันเท่ากันทั้งสามอัตราส่ วนแล้ว สามเหลียม 2 รู ปนั้นคล้ ายกัน " ่ ่ P D Q R E F จากรู ป PQR จะคล้ายกับ DEF ถ้า PQ QR RP   DE EF FD 3 " ถ้ าอัตราส่ วนของด้ านทีสมนัยกันเท่ากันเพียง 2 คู่ และมุมทีอยู่ระหว่ างด้ านนั้น ่ ่ เท่ากันด้ วย แล้วสามเหลียม 2 รู ป จะคล้ ายกัน " ่ N S T R M O จากรู ป MNO จะคล้ายกับ RST ถ้า N = S MN NO และ  RS ST ตัวอย่างที่ 1 กาหนดให้ AB // DE จงหาว่า ABC กับ EDC คล้ายกันหรื อไม่ A B
  • 11. C D E จะได้ เนื่องจาก 1) ABC = CDE ( เป็ นมุมแย้ง ) 2) BAC = CED ( เป็ นมุมแย้ง ) 3) ACB = DCE ( เป็ นมุมตรงข้าม ) ดังนั้น ABC  EDC ตัวอย่างที่ 2 กาหนดให้ BC // DE จงหาว่า  ABC และ ADE คล้ายกัน หรื อไม่ D B E C A จะได้ เนื่องจาก 1) BAC = DAE ( เป็ นมุมร่ วม ) 2) ABC =  ADE (เป็ นมุมภายในและมุมภายนอกข้างเดียวกัน ของเส้นตัด ) 3) BCA =  DEA (เป็ นมุมภายในและมุมภายนอกข้างเดียวกันของเส้นตัด ) ดังนั้น ABC  ADE
  • 12. ตัวอย่างที่ 3 กาหนดให้ PQR = PST จงหาว่า PQR และ PST คล้ายกันหรื อไม่ P Q R S T จะได้ เนื่องจาก 1) PQR =  PST (กาหนดให้) 2) QPR =  SPT (เป็ นมุมร่ วม) 3)  PRQ =  PTS (ขนาดของมุมภายในของสามเหลี่ยมเป็ น 180 องศา) ดังนั้น PQR  PST
  • 13. ความคล้าย สมบัติของรู ปสามเหลียมทีคล้ ายกัน ่ ่ ถ้ ารู ปสามเหลียมสองรู ปใดคล้ ายกัน อัตราส่ วนของความยาวของด้ านคู่ทอยู่ตรงข้ ามกับมุม ่ ี่ ทีมีขนาดเท่ากันจะเท่ากัน ่ กาหนดให้ ABC  DEF และ BAC = EDF , ABC =  DEF A D B C E F AB AC BC จะได้   DE DF EF AB DE AC DF AB DE และ  ,  ,  BC EF BC EF AC DF และ พืนที่ ABC  พืนที่ DEF = ( AB )2  ( DE )2 ้ ้
  • 14. ตัวอย่างที่ 1 กาหนดให้  ABC = CED และ AB = 16 เซนติเมตร AC = 18 เซนติเมตร และ CD = 36 เซนติเมตร จงหาว่า ED ยาวเท่าไร E 18 A C 36 D 16 B จะได้ เนื่องจาก ABC  DEC (มีมุมเท่ากัน 3 คู่) AC AB ดังนั้น  CD ED แทนค่า AB = 16 , AC = 18 , และ CD = 36 18 16 จะได้  36 ED คูณไขว้ 18 ED = 16 X 36 16 X 36 ED = 18  ED = 32 เซนติเมตร ตอบ
  • 15. ความคล้าย สมบัติของรู ปสามเหลียมทีคล้ ายกัน ่ ่ ถ้ ารู ปสามเหลียมสองรู ปใดคล้ ายกันอัตราส่ วนของความยาวของด้ านคู่ทอยู่ตรง ่ ี่ ข้ ามกับมุมทีมีขนาดเท่ ากันจะเท่ ากัน ่ ตัวอย่าง กาหนดให้ ABCD เป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมคางหมูรูปหนึ่ง AB  CD E และ F ่ เป็ นจุดอยูบนด้าน AD และ BC ตามลาดับ EF  DC และ BF  2 FC 1 ถ้าให้ AB = 7 หน่วย และ DC = 10 หน่วย จงหา EF D C E F A B จะได้ ลาก BN ให้ขนานกับ AD และตัด EF ที่ M ทาให้ EM = DN = AB = 7 หน่วย และ NC = 10 - 7 = 3 หน่วย D 7 N 3 C E 7 M F A 7 B
  • 16. เนื่องจาก BMF  BNC และ BF  2 FC 1 BF MF BF 2 ดังนั้น  และ  BC NC BC 3  MF 2  NC 3 MF 2  3 3 MF = 2 จาก EF = EM + MF = 7 + 2 = 9 ดังนั้น EF = 9 หน่วย ตอบ