SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
ตัวอย่างวิธีคดโครงงาน
                  ิ

      ตัวอย่ าง 1 ต้องการจะประดิษฐ์อิฐจากวัสดุเหลือใช้ต่าง ๆ เช่น แกลบ ขี้เลื่อย ฯลฯ เมื่อ
                               ่
ประดิษฐ์อิฐได้แล้ว ไม่ใช่วาเป็ นโครงงานที่สมบูรณ์ แต่ยงต้องเอาอิฐที่ประดิษฐ์ได้แล้วนั้น ทา
                                                       ั
การทดลอง เพื่อทดสอบว่า สัดส่ วนแต่ละอย่างที่ใช้เป็ นองค์ประกอบเป็ นเท่าใด แล้วผลการ
ทดลองแต่ละสัดส่ วนนั้น เป็ นอย่างไร ต้องแสดงให้เห็นถึงขั้นตอนการทดลองหลาย ครั้ง จนได้
ข้อมูลที่ดีที่สุด นี่จึงจะถือเป็ นการทา โครงงานตามหลักทางวิทยาศาสตร์ ขอให้ถึงระมัดระวัง
หลักดังกล่าวนี้ดวย ้

                                                         ่ ั่
        ตัวอย่ าง 2 ต้องการประดิษฐ์สิ่งซึ่งเขามีทากันอยูทวไปแล้ว หรื อมีขายตามท้องตลาด ถ้าเรา
ทาขึ้นมาแล้วเหมือนของเขา จะถือเป็ นโครงงาน ได้ต่อเมื่อ สิ่ งที่เราทาขึ้นใหม่น้ นเป็ นการตอบ
                                                                                ั
คาถาม อย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้ เช่น
1. มีคุณภาพดีกว่าของทัวไปอย่างไร
                           ่
2. ประหยัดกว่าของทัวไปอย่างไร
                        ่
3. ให้ประโยชน์ดีกว่าอย่างไร
                              ่
4. อื่น ๆ ที่ดีกว่าของที่มีอยูแล้ว
                                                                      ่
       ในด้านใดด้านหนึ่งสักด้านก็ยงดี ถ้าเปรี ยบเทียบแล้ว ของที่มีอยูแล้วดีกว่าของที่เราทาขึ้น
                                       ั
ใหม่ ก็ถือว่าเป็ นโครงงานนีี่้ ยังล้มเหลว เพราะยัง ไม่ช่วยพัฒนาของเดิม ๆ สาหรับสิ่ งประดิษฐ์ที่
นามาเสนอในหนังสื อเล่มนี้ ไม่ใช่ลกษณะ โครงงานวิทยาศาสตร ์์ที่ดี หากแต่เป็ นเพียงตัวอย่าง
                                         ั
การทดลอง กล เกม หรื อกิจกรรมเพื่อความเพลิดเพลิน และการสร้างสรรค์ ของนักเรี ยนที่เริ่ ม
สนใจวิทยาศาสตร์ และเป็ นก้าวหนึ่งสาหรับผูที่จะ ก้าวต่อ ๆ ไป ให้ได้ขอคิด อาจจะนา
                                                ้                        ้
หลักการที่นาเสนอไว้เป็ นแบบอย่างคิดประยุกต์ ดัดแปลง หรื อเกิดความคิดสร้างสรรค์ งานใหม่
ๆ เกิดโครงงานสิ่ งประดิษฐ์ที่มีคุณค่าอีกตามในที่สุด

ขั้นตอนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์

    โดยทัวไปแล้วการทาโครงงานวิทยาศาสตร์จะประกอบด้วยขั้นตอนใหญ่ๆ 4 ขั้นคือ การ
          ่
กาหนดปัญหา การตั้งสมมุติฐาน ควบคุมดาเนินการทดลอง และการสรุ ปผล แต่ที่จริ งแล้ว ใน
การดาเนินโครงงานจะประกอบด้วยขั้นตอนย่อย ๆ มากกว่านั้น ดังที่จะแสดงต่อไปนี้
ขั้นตอนที่ 1 การคิดหาหัวข้อและเลือกหัวข้อโครงงานและการตั้งชื่อโครงงาน
การคิดหาหัวข้ อโครงงาน
                                                        ่
       การคิดหาหัวข้อในการทาโครงงาน ถือได้วาเป็ นขั้นตอนที่ยากที่สุดเพราะเป็ นเรื่ องของการ
เริ่ มต้นที่จะต้องเหมาะสมกับผูเ้ รี ยน ทั้งในด้านความรู ้ ความสามารถและบริ บทอื่น ๆ ในการที่จะ
หาคาตอบ ซึ่งโดยทัวไปมักจะได้จากปัญหาคาถาม ความอยากรู ้อยากเห็นของผูเ้ รี ยน ตลอดจน
                        ่
ประสบการณ์ท้ งในและนอกห้องเรี ยน
                    ั
       วิธีการคิดหาหัวข้อโครงงาน จะต้องเกิดจากผูเ้ รี ยนได้รับการกระตุนให้รู้จกคิดปัญหาด้วย
                                                                            ้     ั
ตนเอง ซึ่งอาจจะใช้วธีการ ดังนี้
                          ิ
1. ใช้คาถามง่าย ๆ ที่เป็ นเรื่ องใกล้ตวว่าปัญหาคืออะไร สาเหตุเกิดจากอะไร ผูเ้ รี ยนจะแก้ปัญหานี้
                                          ั
อย่างไร
2. ใช้คาถามที่เกี่ยวกับตัวนักเรี ยนแล้วโยงไปสู่ คาถามอื่นที่สามารถนามาสู่ การเรี ยนการสอนได้
3. ใช้คาถามที่นาไปสู่ การคิดเชิงเหตุผล
การเลือกหัวข้ อโครงงาน
        การเลือกหัวข้อในการทาโครงงาน จะต้องเลือกตามความสามารถ ความถนัด ความสนใจ
และความต้องการของผูเ้ รี ยนเอง
การตั้งชื่อโครงงาน
        การตั้งชื่อโครงงานจะเป็ นสิ่ งที่ช้ ีให้ผอื่นเข้าใจปัญหาในการทาโครงงาน วิธีการศึกษาของ
                                                 ู้
โครงงาน โดยทัวไปควรมีลกษณะดังต่อไปนี้
                      ่           ั
1. ตั้งชื่อเรื่ องให้ตรงกับเรื่ องที่ศึกษาและแสดงถึงวิธีการศึกษาให้ผอ่ืนเข้าใจได้ เช่น การสารวจ
                                                                     ู้
พืชสมุนไพรในชุมชน
2. ตั้งชื่อเรื่ องให้กะทัดรัด ได้ใจความชัดเจน รัดกุม สื่ อความหมายให้ผอื่นเข้าใจง่าย เช่น การ
                                                                         ู้
ถนอมอาหารด้วยเกลือแกง
3. ควรเป็ นชื่อเรื่ องที่เร้าใจให้ผอื่นสนใจ อยากรู ้ และอยากดูผลงาน เช่น ท่านวดลดการปวดเมื่อย
                                      ู้

ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาหาความรู ้จากแหล่งข้อมูล
                                                                       ่
     แหล่งที่มาของข้อมูลต่าง ๆ ในการเลือกเรื่ องที่จะทาโครงงานนั้นมีอยูอย่างหลากหลาย โดย
สามารถนาเสนอเป็ นแนวทางได้ ดังนี้
1. จากการศึกษาหาความรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้ประเภทเอกสาร เช่น ตารา หนังสื อพิมพ์
วารสาร งานวิจยหรื อบทความ เอกสารต่าง ๆ เหล่านี้จะทาให้นกเรี ยนมองเป็ นปัญหาจากเนื้อหา
                ั                                            ั
วิชาการที่น่าสนใจ และสามารถนามาทาโครงงานได้ เช่น จากการอ่านหนังสื อพิมพ์ นักเรี ยนพบ
                                                                          ่
ข้อความหรื อประโยคที่มีความหมายไม่ตรงตัวหรื อมีความหมายโดยนัยอยูมาก นักเรี ยนอาจจะ
                   ่
เกิดความอยากรู ้วาข้อความหรื อประโยคเหล่านั้นใช้ในภาษาหนังสื อพิมพ์มากน้อยเพียงใด จึงใช้
ความอยากกรู ้น้ ีทาโครงงานเรื่ อง "ข้อความหรื อประโยคที่น่าสนใจในภาษาหนังสื อพิมพ์" ก็ได้
         2. จากการสังเกตปรากฎการณ์สิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว เช่น ในกรณี ที่บานของนักเรี ยน
                                                                            ้
ปลูกต้นไม้ไว้มาก นักเรี ยนอาจจะเห็นผูปกครองเก็บตะไคร้ ใบมะกรู ดมาประกอบการทาอาหาร
                                        ้
                                ่
นักเรี ยนอาจจะเกิดการอยากรู ้วาจะยังมีพืชชนิดใดอีกบ้างที่สามารถนามาประกอบอาหารหรื อทา
เป็ นอาหารได้ นักเรี ยนอาจจะทาโครงงานเรื่ อง "การศึกษาพืชที่ใช้เป็ นอาหาร" ก็ได้
         3. จากการฟังรายการวิทยุหรื อชมรายการโทรทัศน์ เช่น นักเรี ยนดูรายการประดิษฐ์ของ
ใช้จากวัสดุที่เหลือใช้ แล้วนักเรี ยนอยากทราบว่าหลอดชามุก ที่นกเรี ยนเก็บสะสมไว้เป็ นจานวน
                                                               ั
มากนั้นจะนามาใช้ประดิษฐ์เป็ นอะไรได้บาง นักเรี ยนก็อาจช่วยกันคิดและทดลองทาเป็ น
                                          ้
โครงงาน ซึ่งอาจจะใช้ชื่อโครงงานว่า "ประดิษฐ์คิดของใช้จากหลอดชามุก" ก็ได้
        4. จากงานที่เป็ นอาชีพในท้องถิ่น นักเรี ยนอาจจะศึกษาลักษณะของการประกอบอาชีพ
นั้น ๆ แล้วนามาทาเป็ นหัวข้อการทาโครงงาน เช่น มีคนที่นกเรี ยนรู ้จกประกอบอาชีพขายข้าว
                                                          ั        ั
แกง นักเรี ยนอาจจะอยากศึกษาวิธีการทาอาหารที่นกเรี ยนชอบรับประทาน หรื ออาหารอื่น ๆ ซึ่ง
                                                    ั
นาไปสู่ การทาโครงงาน "อาหารไทยในวรรณคดี" หรื อโครงงาน "แกงไทยพื้นบ้าน" "แกงไทย
ในอดีต" ก็ได้
        5. จากการชมนิทรรศการหรื อการทัศนศึกษา นักเรี ยนอาจจะนาความรู ้ที่ได้รับมาศึกษา
ค้นคว้าเพิ่มเติม เช่น โรงเรี ยนอาจจะพานักเรี ยนไปชมนิทรรศการหุ่นขี้ผ้ ง ณ พิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผ้ ง
                                                                      ึ                       ึ
ณ จังหวัดนครปฐม โดยในการทัศนศึกษาดังกล่าวนักเรี ยนอาจจะชมชอบหุ่ นตัวละครใน
วรรณคดีไทยเรื่ อง "พระอภัยมณี " เมื่อกลับมาแล้วนักเรี ยนอาจจะอยากรู ้เกี่ยวกับตัวละครใน
วรรณคดีเรื่ องพระอภัยมณี อย่างละเอียด ก็อาจจะนามาทาโครงงานเรื่ อง "ตัวละครในดวงใจของ
ฉัน" ก็ได้

ขั้นตอนที่ 3 ทาการวิเคราะห์ขอมูลเพื่อตัดสิ นใจเลือกโครงงาน
                            ้
        ในการทาโครงงานนั้นสามารถทาได้ท้ งเป็ นรายบุคคลและเป็ นกลุ่ม ซึ่งแล้วแต่นกเรี ยนและ
                                            ั                                   ั
ครู ผสอนจะร่ วมกันพิจารณาบริ บทที่เกี่ยวข้อง ในกรณี ที่มีโครงงานหลายโครงงานให้เลือก
     ู้
นักเรี ยนจะต้องตัดสิ นใจเลือกทาโครงงานเพียงโครงงานเดียว ซึ่งในการเลือกนั้นนักเรี ยนต้องทา
ตารางวิเคราะห์ขอมูลเพื่อเป็ นข้อมูลในการตัดสิ นใจที่จะเลือกโครงงาน โดยให้คะแนนตาม
                  ้
รายการในช่องของแต่ละโครงงาน ดังนี้
                มากที่สุด = 4
                มาก        =3
                ปานกลาง = 2
                น้อย        =1
       จากนั้นนาคะแนนของแต่ละโครงงานที่ได้มาเปรี ยบเทียบกัน โครงงานที่ได้คะแนนมาก
ที่สุด เป็ นโครงงานที่ควรพิจารณาเลือกทาได้ชดเจนขึ้น
                                           ั

ขั้นตอนที่ 4 การกาหนดแนวทางการจัดทาโครงงาน
      การกาหนดแนวทางจัดทาโครงงาน เป็ นสิ่ งที่จะช่วยให้นกเรี ยนเกิดความชัดเจนในการ
                                                        ั
จัดทาโครงงาน และเป็ นการกาหนดกิจกรรมที่จะปฏิบติดวย ซึ่งนักเรี ยนสามารถดาเนินการตาม
                                                ั ้
ขั้นตอนต่อไปนี้

ขั้นตอนที่ 5 การเขียนเค้าโครงโครงงาน
        การเขียนเค้าโครงโครงงาน เขียนเพื่อให้ผจดทาโครงงานได้เสนอรู ปแบบในการทา
                                               ู้ ั
โครงงานเป็ นเบื้องต้น ประโยชน์ของการเขียนเค้าโครงโครงงานคือ ผูทาโครงงานจะมีความ
                                                                ้
ชัดเจนในการทาโครงงานมากขึ้น และให้ครู ผสอนรวมถึงผูปกครองได้รับทราบเกี่ยวกับ
                                            ู้         ้
โครงงานที่ผเู ้ รี ยนทาเป็ นเบื้องต้น
        เค้าโครงโครงงานจะประกอบด้วยหัวข้อต่าง ๆ ที่จาเป็ นในการทาโครงงานการเขียน
รายงานโครงงาน
โดยเขียนตามแนวของรู ปแบบเค้าโครงโครงงาน มี
1. ชื่อโครงงาน
2. ชื่อผูทาโครงงานและโรงเรี ยน
          ้
3. ครู ที่ปรึ กษา
4. ความเป็ นมา /ความสาคัญของปัญหา
5. จุดมุ่งหมาย / วัตถุประสงค์ของการศึกษา
6. ขอบเขตของโครงงานที่จะทาการศึกษา
7. สมมุติฐานของการศึกษา (ถ้ามี)
8. ขั้นตอนการศึกษาหรื อดาเนินงาน
9. เครื่ องมือหรื อวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษาหรื อดาเนินงาน
                             ่
10. ผลการศึกษา (อาจจะอยูในรู ปแบบของตาราง กราฟ หรื อภาพถ่าย
11. สรุ ปและวิเคราะห์ผลการศึกษา
12. ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงานเรื่ องนี้
13. เอกสารอ้างอิง / บรรณานุกรม

ขั้นตอนที่ 6 การลงมือปฏิบติโครงงาน
                              ั
      การปฏิบติโครงงาน เป็ นการดาเนินงานตามแผนงานที่ได้กาหนดไว้ในเค้าโครงโครงงาน
                    ั
    ่
ที่ผานการเห็นชอบจากครู ผสอนหรื อครู ที่ปรึ กษาแล้ว ในการปฏิบติงานผูทาโครงงานควรจะ
                              ู้                                  ั     ้
ดาเนินการดังนี้
       1. ทบทวนดูประเภทของโครงงงานอีกครั้งเพื่อจะได้มีความชัดเจนในการปฏิบติงาน    ั
       2. ผูทาโครงงานต้องกาหนดขั้นตอนในการปฏิบติงานอย่างละเอียด ชัดเจน
              ้                                         ั
       3. ผูทาโครงงานต้องปฏิบติงานด้วยความรอบคอบ ประหยัด
            ้                       ั
       4. ผูทาโครงงานต้องมีการจดบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ไว้อย่างละเอียด เป็ นขั้นเป็ นตอน
                ้
       5. ผูทาโครงงานต้องระบุเวลาของการปฏิบติงานในแต่ละขั้นตอนทุกขั้นตอน
                  ้                                 ั
       6. ในกรณี ที่มีขอผิดพลาด หรื อมีปัญหาในการปฏิบติงานในแต่ละขั้นตอน ต้องรี บปรึ กษา
                          ้                                ั
กับกลุ่ม หรื อครู ที่ปรึ กษาทันที เพื่อจะได้แก้ไขปัญหาได้อย่างทันท่วงที

ขั้นตอนที่ 7 การบันทึกผลการปฏิบติงาน
                                   ั
      การบันทึกผลข้อมูล หรื อผลการปฏิบติงานเป็ นสิ่ งจาเป็ นมาก เพราะโครงงานนั้น ๆ จะ
                                           ั
                                                                                    ั ่ ั
บอกให้ผอื่นได้รับทราบว่าสิ่ งที่เขากาลังต้องการจะพิสูจน์หรื ออยากรู ้ หรื อกาลังปฏิบติอยูน้ น
          ู้
เป็ นอย่างไร การสื่ อความหมายของตนเองให้ผอื่นเข้าใจเป็ นเรื่ องที่ผจดทาต้องเขียนเล่า หรื อ
                                              ู้                   ู้ ั
อธิบายให้ชดเจน เนื่องจากเป็ นการสื่ อความหมายทางเดียว การเขียนที่ชดเจนจะทาให้ผอ่าน
             ั                                                          ั             ู้
สามารถทาความเข้าใจได้ง่ายขึ้น ซึ่งอาจจะต้องใช้วธีการต่าง ๆ ช่วย เช่น ทาตารางบันทึกผลการ
                                                 ิ
ทดลอง การสารวจ หรื อการแสดงความคิดเห็น เป็ นต้น
ขั้นตอนที่ 8 การเขียนรายงานโครงงาน
       การเขียนรายงานเป็ นการส่ งสารที่ผรับสาร คือผูอ่านไม่สามารถซักถามได้ ผูเ้ ขียนรายงาน
                                        ู้          ้
จึงควรภาษาที่เข้าใจง่าย กระชับ ขัดเจน และครอบคลุมประเด็นสาคัญของโครงงานที่ทาไปแล้ว
รู ปแบบของการเขียนรายงาน

ขั้นตอนที่ 9 การนาเสนอโครงงานและการแสดงผลงาน
        การนาเสนอโครงงาน เป็ นขั้นตอนสุ ดท้ายของการทาโครงงาน หลังจากที่ได้ผลที่ศึกษา
เพื่อหาคาตอบ หรื อสร้างงานตามวัตถุประสงค์ของโครงงานแล้ว ผูจดทาโครงงานต้องการนา
                                                                ้ั
ความรู ้หรื อผลงานที่ได้จากการทาโครงงานนั้นมานาเสนอให้ผอื่นทราบ สามารถนาเสนอได้
                                                            ู้
อย่างหลากหลายรู ปแบบ อาจจะนาเสนอทางคอมพิวเตอร์ในลักษณะสื่ อมัลติมีเดีย นาเสนอเป็ น
รู ปแบบการจาลอง เอกสารสิ่ งพิมพ์ แฟ้ ม การจัดนิทรรศการ การทาแผงโครงงาน การรายงาน
หรื อการสาธิต ซึ่งการบรรยายประกอบมักจะประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้
      - ชื่อผูจดทา
              ้ั
      - ชื่อที่ปรึ กษา
      - ที่มาของการทาโครงงาน
      - ชื่อโครงงาน
      - ปัญหาหรื อเรื่ องที่ตองการศึกษาค้นคว้า รวบรวม ประดิษฐ์ หรื อทดลอง
                             ้
      - สมมุติฐาน (ถ้ามี)
      - วิธีดาเนินการ (ควรมีภาพประกอบการดาเนินการตามขั้นตอน เพื่อให้เห็นกระบวนการใน
การทางาน)
      - ผลการดาเนินการ / ผลการศึกษา
      - สรุ ปผล
      - ข้อเสนอแนะ

10. บันทึกข้ อสั งเกต
       ระหว่างทาการทดลองให้สังเกต และบันทึกเป็ นข้อสังเกตไว้ เช่น ปัญหาที่พบ สิ่ งที่
น่าสนใจ ทุกอย่างที่คุณทา และทุกอย่างที่เกิดขึ้น ข้อสังเกตเหล่านี้มีประโยชน์อย่างมากเมื่อคุณ
เขียนบทสรุ ป หรื อเมื่อต้องการวิเคราะห์หาข้อผิดพลาดจากการทดลอง
11. คานวณ
        นาข้อมูลดิบมาคานวณได้เป็ นตัวเลขที่คุณพร้อมจะนาไปเขียนบทสรุ ป ยกตัวอย่าง เช่น
คุณ ชังภาชนะ แล้วบันทึกในช่องข้อมูลดิบคือ "น้ าหนักภาชนะ" จากนั้นคุณเติมดินลงไปจานวน
      ่
หนึ่ง แล้ว นาภาชนะไปชังน้ าหนักอีกครั้งแล้วบันทึกในช่องข้อมูลดิบช่อง "น้ าหนักภาชนะ +
                       ่
ดิน" ในภาคการคา นวณ คุณต้องคานวณหาว่าใช้ดินไปเป็ นจานวนเท่าไรในการทดลองแต่ละ
ครั้งโดยการคานวณดังนี้ (น้ าหนักภาชนะ + ดิน) - (น้ าหนักภาชนะ) = น้ าหนักของดินที่ใช้ ผล
ของการคานวณที่ได้ให้นาไปบันทึก ในช่องผลลัพธ์ ของตารางในช่อง "น้ าหนักของดินที่ใช้"

12. รวบรวมผลลัพธ์
                                                                              ่
      นาผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมาแสดงในรู ปของตัวเลขในตาราง หรื อกราฟ หรื ออาจจะอยูในรู ปคา
บรร ยายสิ่ งที่เกิดขึ้นระหว่างการทดลอง

13. เขียนบทสรุป
          ผลลัพธ์และการคานวณที่ได้จากการทดลองทาให้คุณสามารถเห็นแนวโน้มของ ตัวแปร
ต่างๆที่ทาให้ เกิดผลต่างๆในการทดลอง ด้วยแนวโน้มนี้ คุณสามารถเขียนสรุ ปเกี่ยวกับระบบที่
ศึกษา ซึ่งข้อสรุ ปนี้ ทาให้เราสามารถพิสูจน์สมมุติฐานว่าถูกต้องหรื อไม่ นอกจากนี้ในบทสรุ ปยัง
มักจะมีสิ่งต่อไปนี้ - ถ้าสมมุติฐานของคุณไม่ถูกต้อง คาตอบที่แแท้ควรจะเป็ นอะไร - ประมวล
                                       ่
ความยากหรื อปัญหาที่เกิดขึ้น ระหว่างทาการทดลอง เพื่อเป็ นแนวทางปรับปรุ งแก้ไขใน การทา
การทดลองคราวหน้าคุณต้องการเปลี่ยนแปลง กรรมวิธีทดลอง และะทาการทดลองนี้ซ้ าอีก
หรื อไม่ - อะไรที่คุณคิดว่าจะทดลอง แตกต่างออกไปในการ ทดลองคราวหน้า - บันทึกรายการ
สิ่ งที่คุณได้เรี ยนรู ้ - พยายามตอบคาถามที่เกิดขึ้นใหม่จากการทดลอง เพื่อตั้งสมมุติฐานที่สามารถ
ทาการทดสอบได้อีก ในคราวต่อไป


ขอบคุณข้อมูลจาก
http://www.koogun.net/media/project/projec.htm
ภาพประกอบจากอินเตอร์เน็ต

More Related Content

What's hot

โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1Chok Ke
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีKawinTheSinestron
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชdnavaroj
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥everadaq
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์Aphinya Tantikhom
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2Sircom Smarnbua
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
กริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่องกริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่องWann Rattiya
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 

What's hot (20)

โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
กริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่องกริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่อง
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 

Viewers also liked

โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมจตุรพล ชานันโท
 
โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน Jaturaphun Boontom
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมปยล วชย.
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 
งานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันงานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันOporfunJubJub
 
โครงงานสะเดา
โครงงานสะเดาโครงงานสะเดา
โครงงานสะเดาAngkhana Nuwatthana
 
บทคัดย่อ คำควบกล้ำ ป3
บทคัดย่อ คำควบกล้ำ ป3บทคัดย่อ คำควบกล้ำ ป3
บทคัดย่อ คำควบกล้ำ ป3Sukanda Nuanthai
 
การเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครงการเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครงvittaya411
 
โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตาโครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตาพัน พัน
 
การเขียนรายงานโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
การเขียนรายงานโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจการเขียนรายงานโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
การเขียนรายงานโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจthanapat yeekhaday
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำkruying pornprasartwittaya
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบLorpiyanon Krittaya
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์Nomjeab Nook
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กPloy Siriwanna
 
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยโครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยEakkamol Dechudom
 

Viewers also liked (20)

โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
งานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันงานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟัน
 
โครงงานสะเดา
โครงงานสะเดาโครงงานสะเดา
โครงงานสะเดา
 
บทคัดย่อ คำควบกล้ำ ป3
บทคัดย่อ คำควบกล้ำ ป3บทคัดย่อ คำควบกล้ำ ป3
บทคัดย่อ คำควบกล้ำ ป3
 
การเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครงการเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครง
 
โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตาโครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
 
การเขียนรายงานโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
การเขียนรายงานโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจการเขียนรายงานโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
การเขียนรายงานโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำ
 
โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลายโครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
 
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยโครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
 

Similar to จะทำโครงงานอะไรดี

ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานAoy Amm Mee
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานAoy Amm Mee
 
โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3wipawanmmiiww
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นPongtong Kannacham
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2powe1234
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3bussayamas1618
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3Intangible Mz
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Singto Theethat
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานwichaya222
 
ขอบข่าย
ขอบข่ายขอบข่าย
ขอบข่ายaom08
 
ขอบข่าย
ขอบข่ายขอบข่าย
ขอบข่ายaom08
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 

Similar to จะทำโครงงานอะไรดี (20)

ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3
 
Commm
CommmCommm
Commm
 
03
0303
03
 
03
0303
03
 
03
0303
03
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ขอบข่าย
ขอบข่ายขอบข่าย
ขอบข่าย
 
ขอบข่าย
ขอบข่ายขอบข่าย
ขอบข่าย
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 

More from korakate

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมkorakate
 
P72808851751
P72808851751P72808851751
P72808851751korakate
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArtหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArtkorakate
 
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญานิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญาkorakate
 
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกลแจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกลkorakate
 
Social Media Data
Social Media DataSocial Media Data
Social Media Datakorakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์korakate
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02korakate
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01korakate
 
Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01korakate
 
จำนวนครู
จำนวนครูจำนวนครู
จำนวนครูkorakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1korakate
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 

More from korakate (20)

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 
P72808851751
P72808851751P72808851751
P72808851751
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArtหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
 
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญานิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
 
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกลแจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
 
Social Media Data
Social Media DataSocial Media Data
Social Media Data
 
Buriram1
Buriram1Buriram1
Buriram1
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01
 
จำนวนครู
จำนวนครูจำนวนครู
จำนวนครู
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 

จะทำโครงงานอะไรดี

  • 1. ตัวอย่างวิธีคดโครงงาน ิ ตัวอย่ าง 1 ต้องการจะประดิษฐ์อิฐจากวัสดุเหลือใช้ต่าง ๆ เช่น แกลบ ขี้เลื่อย ฯลฯ เมื่อ ่ ประดิษฐ์อิฐได้แล้ว ไม่ใช่วาเป็ นโครงงานที่สมบูรณ์ แต่ยงต้องเอาอิฐที่ประดิษฐ์ได้แล้วนั้น ทา ั การทดลอง เพื่อทดสอบว่า สัดส่ วนแต่ละอย่างที่ใช้เป็ นองค์ประกอบเป็ นเท่าใด แล้วผลการ ทดลองแต่ละสัดส่ วนนั้น เป็ นอย่างไร ต้องแสดงให้เห็นถึงขั้นตอนการทดลองหลาย ครั้ง จนได้ ข้อมูลที่ดีที่สุด นี่จึงจะถือเป็ นการทา โครงงานตามหลักทางวิทยาศาสตร์ ขอให้ถึงระมัดระวัง หลักดังกล่าวนี้ดวย ้ ่ ั่ ตัวอย่ าง 2 ต้องการประดิษฐ์สิ่งซึ่งเขามีทากันอยูทวไปแล้ว หรื อมีขายตามท้องตลาด ถ้าเรา ทาขึ้นมาแล้วเหมือนของเขา จะถือเป็ นโครงงาน ได้ต่อเมื่อ สิ่ งที่เราทาขึ้นใหม่น้ นเป็ นการตอบ ั คาถาม อย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้ เช่น 1. มีคุณภาพดีกว่าของทัวไปอย่างไร ่ 2. ประหยัดกว่าของทัวไปอย่างไร ่ 3. ให้ประโยชน์ดีกว่าอย่างไร ่ 4. อื่น ๆ ที่ดีกว่าของที่มีอยูแล้ว ่ ในด้านใดด้านหนึ่งสักด้านก็ยงดี ถ้าเปรี ยบเทียบแล้ว ของที่มีอยูแล้วดีกว่าของที่เราทาขึ้น ั ใหม่ ก็ถือว่าเป็ นโครงงานนีี่้ ยังล้มเหลว เพราะยัง ไม่ช่วยพัฒนาของเดิม ๆ สาหรับสิ่ งประดิษฐ์ที่ นามาเสนอในหนังสื อเล่มนี้ ไม่ใช่ลกษณะ โครงงานวิทยาศาสตร ์์ที่ดี หากแต่เป็ นเพียงตัวอย่าง ั การทดลอง กล เกม หรื อกิจกรรมเพื่อความเพลิดเพลิน และการสร้างสรรค์ ของนักเรี ยนที่เริ่ ม สนใจวิทยาศาสตร์ และเป็ นก้าวหนึ่งสาหรับผูที่จะ ก้าวต่อ ๆ ไป ให้ได้ขอคิด อาจจะนา ้ ้ หลักการที่นาเสนอไว้เป็ นแบบอย่างคิดประยุกต์ ดัดแปลง หรื อเกิดความคิดสร้างสรรค์ งานใหม่ ๆ เกิดโครงงานสิ่ งประดิษฐ์ที่มีคุณค่าอีกตามในที่สุด ขั้นตอนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ โดยทัวไปแล้วการทาโครงงานวิทยาศาสตร์จะประกอบด้วยขั้นตอนใหญ่ๆ 4 ขั้นคือ การ ่ กาหนดปัญหา การตั้งสมมุติฐาน ควบคุมดาเนินการทดลอง และการสรุ ปผล แต่ที่จริ งแล้ว ใน การดาเนินโครงงานจะประกอบด้วยขั้นตอนย่อย ๆ มากกว่านั้น ดังที่จะแสดงต่อไปนี้
  • 2. ขั้นตอนที่ 1 การคิดหาหัวข้อและเลือกหัวข้อโครงงานและการตั้งชื่อโครงงาน การคิดหาหัวข้ อโครงงาน ่ การคิดหาหัวข้อในการทาโครงงาน ถือได้วาเป็ นขั้นตอนที่ยากที่สุดเพราะเป็ นเรื่ องของการ เริ่ มต้นที่จะต้องเหมาะสมกับผูเ้ รี ยน ทั้งในด้านความรู ้ ความสามารถและบริ บทอื่น ๆ ในการที่จะ หาคาตอบ ซึ่งโดยทัวไปมักจะได้จากปัญหาคาถาม ความอยากรู ้อยากเห็นของผูเ้ รี ยน ตลอดจน ่ ประสบการณ์ท้ งในและนอกห้องเรี ยน ั วิธีการคิดหาหัวข้อโครงงาน จะต้องเกิดจากผูเ้ รี ยนได้รับการกระตุนให้รู้จกคิดปัญหาด้วย ้ ั ตนเอง ซึ่งอาจจะใช้วธีการ ดังนี้ ิ 1. ใช้คาถามง่าย ๆ ที่เป็ นเรื่ องใกล้ตวว่าปัญหาคืออะไร สาเหตุเกิดจากอะไร ผูเ้ รี ยนจะแก้ปัญหานี้ ั อย่างไร 2. ใช้คาถามที่เกี่ยวกับตัวนักเรี ยนแล้วโยงไปสู่ คาถามอื่นที่สามารถนามาสู่ การเรี ยนการสอนได้ 3. ใช้คาถามที่นาไปสู่ การคิดเชิงเหตุผล การเลือกหัวข้ อโครงงาน การเลือกหัวข้อในการทาโครงงาน จะต้องเลือกตามความสามารถ ความถนัด ความสนใจ และความต้องการของผูเ้ รี ยนเอง การตั้งชื่อโครงงาน การตั้งชื่อโครงงานจะเป็ นสิ่ งที่ช้ ีให้ผอื่นเข้าใจปัญหาในการทาโครงงาน วิธีการศึกษาของ ู้ โครงงาน โดยทัวไปควรมีลกษณะดังต่อไปนี้ ่ ั 1. ตั้งชื่อเรื่ องให้ตรงกับเรื่ องที่ศึกษาและแสดงถึงวิธีการศึกษาให้ผอ่ืนเข้าใจได้ เช่น การสารวจ ู้ พืชสมุนไพรในชุมชน 2. ตั้งชื่อเรื่ องให้กะทัดรัด ได้ใจความชัดเจน รัดกุม สื่ อความหมายให้ผอื่นเข้าใจง่าย เช่น การ ู้ ถนอมอาหารด้วยเกลือแกง 3. ควรเป็ นชื่อเรื่ องที่เร้าใจให้ผอื่นสนใจ อยากรู ้ และอยากดูผลงาน เช่น ท่านวดลดการปวดเมื่อย ู้ ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาหาความรู ้จากแหล่งข้อมูล ่ แหล่งที่มาของข้อมูลต่าง ๆ ในการเลือกเรื่ องที่จะทาโครงงานนั้นมีอยูอย่างหลากหลาย โดย สามารถนาเสนอเป็ นแนวทางได้ ดังนี้
  • 3. 1. จากการศึกษาหาความรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้ประเภทเอกสาร เช่น ตารา หนังสื อพิมพ์ วารสาร งานวิจยหรื อบทความ เอกสารต่าง ๆ เหล่านี้จะทาให้นกเรี ยนมองเป็ นปัญหาจากเนื้อหา ั ั วิชาการที่น่าสนใจ และสามารถนามาทาโครงงานได้ เช่น จากการอ่านหนังสื อพิมพ์ นักเรี ยนพบ ่ ข้อความหรื อประโยคที่มีความหมายไม่ตรงตัวหรื อมีความหมายโดยนัยอยูมาก นักเรี ยนอาจจะ ่ เกิดความอยากรู ้วาข้อความหรื อประโยคเหล่านั้นใช้ในภาษาหนังสื อพิมพ์มากน้อยเพียงใด จึงใช้ ความอยากกรู ้น้ ีทาโครงงานเรื่ อง "ข้อความหรื อประโยคที่น่าสนใจในภาษาหนังสื อพิมพ์" ก็ได้ 2. จากการสังเกตปรากฎการณ์สิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว เช่น ในกรณี ที่บานของนักเรี ยน ้ ปลูกต้นไม้ไว้มาก นักเรี ยนอาจจะเห็นผูปกครองเก็บตะไคร้ ใบมะกรู ดมาประกอบการทาอาหาร ้ ่ นักเรี ยนอาจจะเกิดการอยากรู ้วาจะยังมีพืชชนิดใดอีกบ้างที่สามารถนามาประกอบอาหารหรื อทา เป็ นอาหารได้ นักเรี ยนอาจจะทาโครงงานเรื่ อง "การศึกษาพืชที่ใช้เป็ นอาหาร" ก็ได้ 3. จากการฟังรายการวิทยุหรื อชมรายการโทรทัศน์ เช่น นักเรี ยนดูรายการประดิษฐ์ของ ใช้จากวัสดุที่เหลือใช้ แล้วนักเรี ยนอยากทราบว่าหลอดชามุก ที่นกเรี ยนเก็บสะสมไว้เป็ นจานวน ั มากนั้นจะนามาใช้ประดิษฐ์เป็ นอะไรได้บาง นักเรี ยนก็อาจช่วยกันคิดและทดลองทาเป็ น ้ โครงงาน ซึ่งอาจจะใช้ชื่อโครงงานว่า "ประดิษฐ์คิดของใช้จากหลอดชามุก" ก็ได้ 4. จากงานที่เป็ นอาชีพในท้องถิ่น นักเรี ยนอาจจะศึกษาลักษณะของการประกอบอาชีพ นั้น ๆ แล้วนามาทาเป็ นหัวข้อการทาโครงงาน เช่น มีคนที่นกเรี ยนรู ้จกประกอบอาชีพขายข้าว ั ั แกง นักเรี ยนอาจจะอยากศึกษาวิธีการทาอาหารที่นกเรี ยนชอบรับประทาน หรื ออาหารอื่น ๆ ซึ่ง ั นาไปสู่ การทาโครงงาน "อาหารไทยในวรรณคดี" หรื อโครงงาน "แกงไทยพื้นบ้าน" "แกงไทย ในอดีต" ก็ได้ 5. จากการชมนิทรรศการหรื อการทัศนศึกษา นักเรี ยนอาจจะนาความรู ้ที่ได้รับมาศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติม เช่น โรงเรี ยนอาจจะพานักเรี ยนไปชมนิทรรศการหุ่นขี้ผ้ ง ณ พิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผ้ ง ึ ึ ณ จังหวัดนครปฐม โดยในการทัศนศึกษาดังกล่าวนักเรี ยนอาจจะชมชอบหุ่ นตัวละครใน วรรณคดีไทยเรื่ อง "พระอภัยมณี " เมื่อกลับมาแล้วนักเรี ยนอาจจะอยากรู ้เกี่ยวกับตัวละครใน วรรณคดีเรื่ องพระอภัยมณี อย่างละเอียด ก็อาจจะนามาทาโครงงานเรื่ อง "ตัวละครในดวงใจของ ฉัน" ก็ได้ ขั้นตอนที่ 3 ทาการวิเคราะห์ขอมูลเพื่อตัดสิ นใจเลือกโครงงาน ้ ในการทาโครงงานนั้นสามารถทาได้ท้ งเป็ นรายบุคคลและเป็ นกลุ่ม ซึ่งแล้วแต่นกเรี ยนและ ั ั ครู ผสอนจะร่ วมกันพิจารณาบริ บทที่เกี่ยวข้อง ในกรณี ที่มีโครงงานหลายโครงงานให้เลือก ู้
  • 4. นักเรี ยนจะต้องตัดสิ นใจเลือกทาโครงงานเพียงโครงงานเดียว ซึ่งในการเลือกนั้นนักเรี ยนต้องทา ตารางวิเคราะห์ขอมูลเพื่อเป็ นข้อมูลในการตัดสิ นใจที่จะเลือกโครงงาน โดยให้คะแนนตาม ้ รายการในช่องของแต่ละโครงงาน ดังนี้ มากที่สุด = 4 มาก =3 ปานกลาง = 2 น้อย =1 จากนั้นนาคะแนนของแต่ละโครงงานที่ได้มาเปรี ยบเทียบกัน โครงงานที่ได้คะแนนมาก ที่สุด เป็ นโครงงานที่ควรพิจารณาเลือกทาได้ชดเจนขึ้น ั ขั้นตอนที่ 4 การกาหนดแนวทางการจัดทาโครงงาน การกาหนดแนวทางจัดทาโครงงาน เป็ นสิ่ งที่จะช่วยให้นกเรี ยนเกิดความชัดเจนในการ ั จัดทาโครงงาน และเป็ นการกาหนดกิจกรรมที่จะปฏิบติดวย ซึ่งนักเรี ยนสามารถดาเนินการตาม ั ้ ขั้นตอนต่อไปนี้ ขั้นตอนที่ 5 การเขียนเค้าโครงโครงงาน การเขียนเค้าโครงโครงงาน เขียนเพื่อให้ผจดทาโครงงานได้เสนอรู ปแบบในการทา ู้ ั โครงงานเป็ นเบื้องต้น ประโยชน์ของการเขียนเค้าโครงโครงงานคือ ผูทาโครงงานจะมีความ ้ ชัดเจนในการทาโครงงานมากขึ้น และให้ครู ผสอนรวมถึงผูปกครองได้รับทราบเกี่ยวกับ ู้ ้ โครงงานที่ผเู ้ รี ยนทาเป็ นเบื้องต้น เค้าโครงโครงงานจะประกอบด้วยหัวข้อต่าง ๆ ที่จาเป็ นในการทาโครงงานการเขียน รายงานโครงงาน โดยเขียนตามแนวของรู ปแบบเค้าโครงโครงงาน มี 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผูทาโครงงานและโรงเรี ยน ้ 3. ครู ที่ปรึ กษา 4. ความเป็ นมา /ความสาคัญของปัญหา 5. จุดมุ่งหมาย / วัตถุประสงค์ของการศึกษา 6. ขอบเขตของโครงงานที่จะทาการศึกษา
  • 5. 7. สมมุติฐานของการศึกษา (ถ้ามี) 8. ขั้นตอนการศึกษาหรื อดาเนินงาน 9. เครื่ องมือหรื อวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษาหรื อดาเนินงาน ่ 10. ผลการศึกษา (อาจจะอยูในรู ปแบบของตาราง กราฟ หรื อภาพถ่าย 11. สรุ ปและวิเคราะห์ผลการศึกษา 12. ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงานเรื่ องนี้ 13. เอกสารอ้างอิง / บรรณานุกรม ขั้นตอนที่ 6 การลงมือปฏิบติโครงงาน ั การปฏิบติโครงงาน เป็ นการดาเนินงานตามแผนงานที่ได้กาหนดไว้ในเค้าโครงโครงงาน ั ่ ที่ผานการเห็นชอบจากครู ผสอนหรื อครู ที่ปรึ กษาแล้ว ในการปฏิบติงานผูทาโครงงานควรจะ ู้ ั ้ ดาเนินการดังนี้ 1. ทบทวนดูประเภทของโครงงงานอีกครั้งเพื่อจะได้มีความชัดเจนในการปฏิบติงาน ั 2. ผูทาโครงงานต้องกาหนดขั้นตอนในการปฏิบติงานอย่างละเอียด ชัดเจน ้ ั 3. ผูทาโครงงานต้องปฏิบติงานด้วยความรอบคอบ ประหยัด ้ ั 4. ผูทาโครงงานต้องมีการจดบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ไว้อย่างละเอียด เป็ นขั้นเป็ นตอน ้ 5. ผูทาโครงงานต้องระบุเวลาของการปฏิบติงานในแต่ละขั้นตอนทุกขั้นตอน ้ ั 6. ในกรณี ที่มีขอผิดพลาด หรื อมีปัญหาในการปฏิบติงานในแต่ละขั้นตอน ต้องรี บปรึ กษา ้ ั กับกลุ่ม หรื อครู ที่ปรึ กษาทันที เพื่อจะได้แก้ไขปัญหาได้อย่างทันท่วงที ขั้นตอนที่ 7 การบันทึกผลการปฏิบติงาน ั การบันทึกผลข้อมูล หรื อผลการปฏิบติงานเป็ นสิ่ งจาเป็ นมาก เพราะโครงงานนั้น ๆ จะ ั ั ่ ั บอกให้ผอื่นได้รับทราบว่าสิ่ งที่เขากาลังต้องการจะพิสูจน์หรื ออยากรู ้ หรื อกาลังปฏิบติอยูน้ น ู้ เป็ นอย่างไร การสื่ อความหมายของตนเองให้ผอื่นเข้าใจเป็ นเรื่ องที่ผจดทาต้องเขียนเล่า หรื อ ู้ ู้ ั อธิบายให้ชดเจน เนื่องจากเป็ นการสื่ อความหมายทางเดียว การเขียนที่ชดเจนจะทาให้ผอ่าน ั ั ู้ สามารถทาความเข้าใจได้ง่ายขึ้น ซึ่งอาจจะต้องใช้วธีการต่าง ๆ ช่วย เช่น ทาตารางบันทึกผลการ ิ ทดลอง การสารวจ หรื อการแสดงความคิดเห็น เป็ นต้น
  • 6. ขั้นตอนที่ 8 การเขียนรายงานโครงงาน การเขียนรายงานเป็ นการส่ งสารที่ผรับสาร คือผูอ่านไม่สามารถซักถามได้ ผูเ้ ขียนรายงาน ู้ ้ จึงควรภาษาที่เข้าใจง่าย กระชับ ขัดเจน และครอบคลุมประเด็นสาคัญของโครงงานที่ทาไปแล้ว รู ปแบบของการเขียนรายงาน ขั้นตอนที่ 9 การนาเสนอโครงงานและการแสดงผลงาน การนาเสนอโครงงาน เป็ นขั้นตอนสุ ดท้ายของการทาโครงงาน หลังจากที่ได้ผลที่ศึกษา เพื่อหาคาตอบ หรื อสร้างงานตามวัตถุประสงค์ของโครงงานแล้ว ผูจดทาโครงงานต้องการนา ้ั ความรู ้หรื อผลงานที่ได้จากการทาโครงงานนั้นมานาเสนอให้ผอื่นทราบ สามารถนาเสนอได้ ู้ อย่างหลากหลายรู ปแบบ อาจจะนาเสนอทางคอมพิวเตอร์ในลักษณะสื่ อมัลติมีเดีย นาเสนอเป็ น รู ปแบบการจาลอง เอกสารสิ่ งพิมพ์ แฟ้ ม การจัดนิทรรศการ การทาแผงโครงงาน การรายงาน หรื อการสาธิต ซึ่งการบรรยายประกอบมักจะประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้ - ชื่อผูจดทา ้ั - ชื่อที่ปรึ กษา - ที่มาของการทาโครงงาน - ชื่อโครงงาน - ปัญหาหรื อเรื่ องที่ตองการศึกษาค้นคว้า รวบรวม ประดิษฐ์ หรื อทดลอง ้ - สมมุติฐาน (ถ้ามี) - วิธีดาเนินการ (ควรมีภาพประกอบการดาเนินการตามขั้นตอน เพื่อให้เห็นกระบวนการใน การทางาน) - ผลการดาเนินการ / ผลการศึกษา - สรุ ปผล - ข้อเสนอแนะ 10. บันทึกข้ อสั งเกต ระหว่างทาการทดลองให้สังเกต และบันทึกเป็ นข้อสังเกตไว้ เช่น ปัญหาที่พบ สิ่ งที่ น่าสนใจ ทุกอย่างที่คุณทา และทุกอย่างที่เกิดขึ้น ข้อสังเกตเหล่านี้มีประโยชน์อย่างมากเมื่อคุณ เขียนบทสรุ ป หรื อเมื่อต้องการวิเคราะห์หาข้อผิดพลาดจากการทดลอง
  • 7. 11. คานวณ นาข้อมูลดิบมาคานวณได้เป็ นตัวเลขที่คุณพร้อมจะนาไปเขียนบทสรุ ป ยกตัวอย่าง เช่น คุณ ชังภาชนะ แล้วบันทึกในช่องข้อมูลดิบคือ "น้ าหนักภาชนะ" จากนั้นคุณเติมดินลงไปจานวน ่ หนึ่ง แล้ว นาภาชนะไปชังน้ าหนักอีกครั้งแล้วบันทึกในช่องข้อมูลดิบช่อง "น้ าหนักภาชนะ + ่ ดิน" ในภาคการคา นวณ คุณต้องคานวณหาว่าใช้ดินไปเป็ นจานวนเท่าไรในการทดลองแต่ละ ครั้งโดยการคานวณดังนี้ (น้ าหนักภาชนะ + ดิน) - (น้ าหนักภาชนะ) = น้ าหนักของดินที่ใช้ ผล ของการคานวณที่ได้ให้นาไปบันทึก ในช่องผลลัพธ์ ของตารางในช่อง "น้ าหนักของดินที่ใช้" 12. รวบรวมผลลัพธ์ ่ นาผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมาแสดงในรู ปของตัวเลขในตาราง หรื อกราฟ หรื ออาจจะอยูในรู ปคา บรร ยายสิ่ งที่เกิดขึ้นระหว่างการทดลอง 13. เขียนบทสรุป ผลลัพธ์และการคานวณที่ได้จากการทดลองทาให้คุณสามารถเห็นแนวโน้มของ ตัวแปร ต่างๆที่ทาให้ เกิดผลต่างๆในการทดลอง ด้วยแนวโน้มนี้ คุณสามารถเขียนสรุ ปเกี่ยวกับระบบที่ ศึกษา ซึ่งข้อสรุ ปนี้ ทาให้เราสามารถพิสูจน์สมมุติฐานว่าถูกต้องหรื อไม่ นอกจากนี้ในบทสรุ ปยัง มักจะมีสิ่งต่อไปนี้ - ถ้าสมมุติฐานของคุณไม่ถูกต้อง คาตอบที่แแท้ควรจะเป็ นอะไร - ประมวล ่ ความยากหรื อปัญหาที่เกิดขึ้น ระหว่างทาการทดลอง เพื่อเป็ นแนวทางปรับปรุ งแก้ไขใน การทา การทดลองคราวหน้าคุณต้องการเปลี่ยนแปลง กรรมวิธีทดลอง และะทาการทดลองนี้ซ้ าอีก หรื อไม่ - อะไรที่คุณคิดว่าจะทดลอง แตกต่างออกไปในการ ทดลองคราวหน้า - บันทึกรายการ สิ่ งที่คุณได้เรี ยนรู ้ - พยายามตอบคาถามที่เกิดขึ้นใหม่จากการทดลอง เพื่อตั้งสมมุติฐานที่สามารถ ทาการทดสอบได้อีก ในคราวต่อไป ขอบคุณข้อมูลจาก http://www.koogun.net/media/project/projec.htm ภาพประกอบจากอินเตอร์เน็ต