SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 34
Communication Process, Message and Channel

          กระบวนการสื่อสาร ข้ อความ และช่ องทางการสื่อสาร




                                     Watjana Poopanee
                            Mahasarakham Business School
                                    Mahasarakham University
                           E-mail : watjana.p@acc.msu.ac.th
                                                         1
Communication (การสื่อสาร)

        เดนนิส แมคเควล (McQuail, 2005) กล่าวว่า การสื่อสารหมายถึงการให้ และการ
รับความหมาย การถ่ายทอดและการรับสาร ซึ่งรวมถึงแนวคิดของการโต้ ตอบ แบ่งปั น และมี
ปฏิสมพันธ์กนด้ วย
    ั      ั

         ดังนัน คาว่า “การสื่อสาร” จึงมีความหมายที่กว้ างขวางและเลื่อนไหลได้ จึงออกจะ
               ้
เป็ นการยากที่ จะกาหนดคานิ ยามถึง “การสื่ อ สาร” โดยให้ เป็ นที่ ยอมรั บของบุคคลทั่วไป
อย่างไรก็ตาม หนึ่งในนิยามเชิงปฏิบติการ (working definition) ที่นกวิชาการด้ าน
                                   ั                                      ั
การสื่อ สารทัง หลายใช้ กัน มากคือ “การสื่อสารคือ การส่ง (transmitting) ข้ อ มูล
             ้
(information) จากบุคคลหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่ง” ซึงเป็ นนิยามที่ทาให้ มองเห็นภาพง่ายๆ
                                                    ่
ของการสื่อสารได้



                                                                                         2
ความสาคัญของการสื่อสาร
            การสื่ อ สาร เป็ นกระบวนการเกิ ด ขึ น เป็ นปกติ วิ สัย ของคนทุก คน และมี ค วาม
                                                 ้
เกี่ยวข้ องไปถึงบุคคลอื่น ตลอดจนถึงสังคมที่แต่ละคนเกี่ยวข้ องอยู่ ไม่ว่าจะทาสิ่งใด ล้ วนต้ อง
อาศัยการสื่อสารเป็ นเครื่ องมือช่วยให้ บรรลุจดประสงค์ทงสิ ้น จะเห็นได้ จากการที่คนพยายาม
                                               ุ        ั้
คิดค้ น และพัฒนาวิธี การสื่อ สารมาตัง แต่สมัยโบราณ ทัง ภาษาพูด ภาษาเขียน ตลอดจน
                                        ้                  ้
เครื่ องมือหรื อเทคนิควิธีการต่างๆ ล้ วนเกิดจากความพยายามอย่างสูงของคน ต่อเนื่องมา
หลายชัวอายุ หากการสื่อสารไม่มีความสาคัญและจาเป็ นอย่างยิ่งแล้ ว เครื่ องมือและวิธีการ
          ่
สาหรับการสื่อสารต่างๆ เหล่านี ้ก็คงไม่เกิดขึ ้นและพัฒนามาให้ เห็นดังเช่นในปั จจุบน
                                                                                 ั




                                                                                                3
ความสาคัญของการสื่อสาร
    1.   ด้ านชีวิตประจาวัน ในชีวิตประจาวันหนึ่งๆ แต่ละคนจะต้ องสื่อสารกับตัวเองและ
สื่อสารกับผู้อื่นตลอดเวลา
    2.    ด้ านสังคม การรวมกลุ่มในสังคมทังในระดับครอบครัว ชุมชน จนถึงระดับประเทศ
                                               ้
   จะต้ องมีการสื่อสารให้ เกิดความเข้ าใจร่วมกันในเรื่ องต่างๆ
      3. ด้ านธุ รกิจ เกี่ยวกับการโฆษณาสินค้ า การประชาสัมพันธ์ ทงภายในและภายนอก
                                                                 ั้
องค์กร การบริ หารติดต่อประสานงาน การฝึ กอบรมพนักงาน การใช้ เครื่ องมือเทคโนโลยีการ
สื่อสาร ฯลฯ
     4.    ด้ านการเมืองการปกครอง กิจกรรมด้ านการเมืองการปกครองจะต้ องใช้ การ
สื่อ สารทุกขัน ตอน เช่ น การประชาสัม พัน ธ์ ผ ลงานของรั ฐ บาล การสร้ างความเข้ าใจกับ
              ้
ประชาชนในเรื่ องต่างๆ
    5. ด้ านการเมืองระหว่ างประเทศซึงต้ องมีการติดต่อสร้ างความสัมพันธ์ในด้ านต่างๆ
                                    ่
 เช่น การค้ า การทหาร การทาสนธิสญญา ฯลฯ
                                ั
                                                                                        4
ประเภทของการสื่อสาร (Type of Communication)

        ประเภทของการสื่อสารนักวิชาการด้ านการสื่อสารมวลชน ได้ จาแนกประเภทของ
การสื่อสารไว้ แตกต่างกันหลายลักษณะ ทังนี ้ขึ ้นอยู่กบว่าจะใช้ อะไรเป็ นเกณฑ์ในการจาแนก
                                      ้             ั
(ปรมะ สตะเวทิน 2526 : 18 - 48 ) ในที่นีจะแสดงการจาแนกประเภทของการสื่อสาร โดย
                                        ้
อาศัยเกณฑ์ในการจาแนกที่สาคัญ 3 ประการ คือ

          1. จาแนกตามกระบวนการหรื อการไหลของข่ าวสาร

          2. จาแนกตามภาษาสัญลักษณ์ ท่ ีแสดงออก

          3. จาแนกตามจานวนผู้ส่ ือสาร
                                                                                         5
1. จาแนกตามกระบวนการหรือการไหลของข่ าวสาร

 1. จาแนกตามกระบวนการหรื อการไหลของข่าวสาร แบ่งเป็ น 2 ประเภทคือ
          1.1 การสื่อสารทางเดียว (One-Way Communication) คือการ สื่อสารที่ข่าวสาร
จะถูกส่งจากผู้ส่งไปยังผู้รับในทิศทางเดียว โดยไม่มีการตอบโต้ กลับจากฝ่ ายผู้รับ เช่น การ
สื่อสารผ่านสื่อ วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ การออกคาสังหรื อมอบหมายงานโดย ฝ่ ายผู้รับไม่มี
                                                        ่
โอกาสแสดงความคิดเห็น ซึ่งผู้รับอาจไม่เข้ าใจข่าวสาร หรื อเข้ าใจไม่ถกต้ องตามเจตนาของผู้
                                                                     ู
ส่งและทางฝ่ ายผู้สงเมื่อไม่ทราบปฏิกิริยาของผู้รับจึงไม่อาจปรับการสื่อสารให้ เหมาะสมได้
                   ่



              AA                                                    BB


                                                                                             6
1. จาแนกตามกระบวนการหรือการไหลของข่ าวสาร

 1. จาแนกตามกระบวนการหรื อการไหลของข่าวสาร แบ่งเป็ น 2 ประเภทคือ
            1.2 การสื่อสารสองทาง (Two-way Communication) คือการสื่อสารที่มีการส่ง
ข่าวสารตอบกลับไปมาระหว่างผู้สื่อสาร ดังนันผู้สื่อสารแต่ละฝ่ ายจึงเป็ นทังผู้ส่งและผู้รับใน
                                                   ้                           ้
ขณะเดียวกัน ผู้สื่อสารมีโอกาสทราบปฏิกิริยาตอบสนองระหว่างกัน ทาให้ ทราบผลของการ
สื่ อ สารว่ า บรรลุจุด ประสงค์ ห รื อ ไม่ และช่ ว ยให้ ส ามารถปรั บ พฤติ ก รรมในการสื่ อ สารให้
เหมาะสมกับสถานการณ์ ตัวอย่างการสื่อสารแบบสองทาง เช่น การสื่อสารระหว่างลูกค้ ากับ
พนักงานขาย เป็ นต้ น



               AA                                                       BB

                                                                                                  7
ประเภทของการสื่อสาร (Type of Communication)

        ประเภทของการสื่อสารนักวิชาการด้ านการสื่อสารมวลชน ได้ จาแนกประเภทของ
การสื่อสารไว้ แตกต่างกันหลายลักษณะ ทังนี ้ขึ ้นอยู่กบว่าจะใช้ อะไรเป็ นเกณฑ์ในการจาแนก
                                      ้             ั
(ปรมะ สตะเวทิน 2526 : 18 - 48 ) ในที่นีจะแสดงการจาแนกประเภทของการสื่อสาร โดย
                                        ้
อาศัยเกณฑ์ในการจาแนกที่สาคัญ 3 ประการ คือ


          1. จาแนกตามกระบวนการหรื อการไหลของข่ าวสาร

          2. จาแนกตามภาษาสัญลักษณ์ ท่ ีแสดงออก

          3. จาแนกตามจานวนผู้ส่ ือสาร
                                                                                         8
2. จาแนกตามภาษาสั ญลักษณ์ ที่แสดงออก
  2. จาแนกตามภาษาสัญลักษณ์ที่แสดงออก แบ่งเป็ น
      2.1 การสื่อสารเชิงวัจนะ (Verbal Communication) หมายถึงการ
สื่อสารด้ วยการใช้ ภาษาพูด หรื อเขียนเป็ นคาพูด ในการสื่อสาร
      2.2 การสื่อสารเชิงอวัจนะ (Non-Verbal Communication) หมายถึงการ
สื่อสารโดยใช้ รหัสสัญญาณอย่างอื่น เช่น ภาษาท่าทาง การแสดงออกทางใบหน้ า
สายตา ตลอดจนถึ ง น า เสี ย ง ระดั บ เสี ย ง ความเร็ วในการพู ด เป็ นต้ น
                        ้
(ปรมะ สตะเวทิน : 2529)



                                                                           9
ประเภทของการสื่อสาร (Type of Communication)

        ประเภทของการสื่อสารนักวิชาการด้ านการสื่อสารมวลชน ได้ จาแนกประเภทของ
การสื่อสารไว้ แตกต่างกันหลายลักษณะ ทังนี ้ขึ ้นอยู่กบว่าจะใช้ อะไรเป็ นเกณฑ์ในการจาแนก
                                      ้             ั
(ปรมะ สตะเวทิน 2526 : 18 - 48 ) ในที่นีจะแสดงการจาแนกประเภทของการสื่อสาร โดย
                                        ้
อาศัยเกณฑ์ในการจาแนกที่สาคัญ 3 ประการ คือ


          1. จาแนกตามกระบวนการหรื อการไหลของข่ าวสาร

          2. จาแนกตามภาษาสัญลักษณ์ ท่ ีแสดงออก

          3. จาแนกตามจานวนผู้ส่ ือสาร
                                                                                         10
3. จาแนกตามจานวนผู้สื่อสาร
  3. จาแนกตามจานวนผู้สื่อสาร
      กิจกรรมต่างๆ ของบุคคลและสังคม ถือว่าเป็ นผลมาจากการสื่อสารทังสิ ้น
                                                                      ้
ดั ง นั น การสื่ อ สารจึ ง มี ข อบข่ า ยครอบคลุ ม ลั ก ษณะการสื่ อ สารของ
        ้
มนุษย์ 3 ลักษณะคือ (อรุณีประภา หอมเศรษฐี 2530 : 49-90)

    3.1 การสื่อสารส่ วนบุคคล (Intrapersonal Communication)
    3.2   การสื่อสารระหว่ างบุคคล (Interpersonal Communication)
    3.3 การสื่อสารมวลชน (Mass Communication)




                                                                            11
กระบวนการสื่อสาร
Communication Process
กระบวนการสื่อสาร (Communication Process)
         การสื่ อ สารเป็ นกิ จ กรรมของมนุ ษ ย์ ที่ ใ ช้ เพื่ อ ถ่ า ยทอดความคิ ด
แลกเปลี่ยนข่าวสาร ความรู้ ประสบการณ์ ค่านิยม ทัศนคติ และอื่น ๆ ร่ วมกัน
เพื่อทาให้ มีความเข้ าใจและมี อิทธิ พลต่อมนุษย์ ด้วยกัน ดังนัน การสื่อสารจึง
                                                                     ้
จัดเป็ นกระบวนการที่จะถ่ายทอดความคิดและข้ อมูลต่าง ๆ จากที่หนึ่งไปยังอีกที่
หนึ่งโดยมีวตถุประสงค์ต่าง ๆ กัน ได้ แก่ การให้ ความรู้ การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ
            ั
การให้ ความบันเทิงการบอกเล่าเหตุการณ์ ฯ เป็ นต้ น ซึ่งการสื่อสารจะเกิดขึ ้นได้
เป็ นกระบวนการอย่า งต่อเนื่ อ งนัน ต้ อ งอาศัย องค์ ประกอบของกระบวนการ
                                  ้
สื่อสาร (Communication Process Components)



                                                                                   13
Communication Process Components

                      Message
Sender   Encoding                   Decoding   Receiver
                    Media/Channel




                    Noise
    Feedback                            Response



                                                    14
กระบวนการสื่อสาร (Communication Process)

                                   (Sender) แหล่งสารอาจเป็ นบุคคลคนเดียวหรื อกลุ่ม
     1) แหล่ ง สารหรื อ ผู้ ส่ ง สาร
บุคคลที่อาจทางานร่ วมกันเป็ นองค์กรโดยทาหน้ าที่สื่อสารโดยการพูด เขียน หรื อแสดงกิริยา
ท่าทางให้ บคคลอื่นหรื อองค์กรอื่น ๆ ทราบตามเปาหมายของการสื่อสารครังนัน ๆ
           ุ                                 ้                      ้ ้
     2) การใส่ รหัสของสาร        (Encoding) กระบวนการสื่อสารเริ่ มต้ นขึ ้นเมื่อผู้ส่งข่าวสาร
เลื อ กค า สัญ ลัก ษณ์ รู ป ภาพและอื่ น ๆ เพื่ อ แสดงถึ ง ข้ อ ความที่ จ ะส่ ง ไปยัง ผู้รั บ ข่ า วสาร
กระบวนการนี ้เรี ยกว่าการเข้ ารหัส (Encoding) ซึงเกี่ยวกับการรวบรวมความคิด แนวคิด
                                                      ่
หรื อข้ อมูลเพื่อสร้ างรูปแบบสัญลักษณ์ เปาหมายของผู้ส่งข่าวสารคือเพื่อเข้ ารหัสข้ อความตาม
                                           ้
วิธีที่จะสามารถเข้ าใจได้ โดยผู้รับข่าวสาร




                                                                                                         15
กระบวนการสื่อสาร (Communication Process)

        3)       ช่ อง ทางข่ าวสาร (Media/Channel) เป็ นเส้ น ทางหรื อ พาหะในการ
ล าเลี ย งข่ า วสาร ซึ่ง อาจอยู่ใ นรู ป ของคลื่ น แสง คลื่ น เสี ย งหรื อ สื่ อ ในการสื่ อ สาร เช่ น วิ ท ยุ
โทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียง หนังสือพิมพ์ เป็ นต้ น โดยปกติข่าวสารจะถูกลาเลียงโดยพาหะ
ต่าง ๆ ตามรูปแบบและความคงทนของข่าวสาร เช่น ข่าวสารที่เป็ นคาพูดอาจถูกลาเลียงได้ ทง                        ั้
ผ่านความสันสะเทือนของมวลอากาศ เป็ นการสื่อสารโดยการพูดกันหรื อผ่านสายโทรศัพท์ผ่าน
               ่
สายเคเบิลโทรศัพท์ก็ได้ เป็ นต้ น




                                                                                                               16
กระบวนการสื่อสาร (Communication Process)

       4) การถอดรหัส (Decoding) หมายถึงการที่ผ้ รับข่าวสารแปลงพลังงานจากสื่อกลาง
                                                ู
ให้ กลับไปอยู่ในรูปข่าวสารที่สงมาจากผู้สงข่าวสาร โดยมีความเข้ าในหรื อรหัสตรงกัน
                              ่         ่

       5) ผู้รับสาร (Receiver) ผู้รับสารอาจเป็ นบุคคลคนเดียวหรื อกลุ่มบุคคล หรื ออาจเป็ น
องค์ กร ผู้รับสารจะทาหน้ าที่รับข่าวสารได้ ดีเพียงใดขึนอยู่กับปั จจัยในตัวผู้รับสารอันได้ แก่
                                                      ้
ทัก ษะในการสื่ อ สารซึ่ ง เป็ นความสามารถในการอ่ า น ฟั ง และแปลความข่ า วสารตาม
วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร ทัศนคติ ความรู้ และระดับของสังคมและวัฒนธรรมของผู้รับสาร
เอง




                                                                                                17
กระบวนการสื่อสาร (Communication Process)

         6)    การปอนกลับหรื อการสนองตอบ (Response or Feedback) เป็ นการแสดง
                   ้
โต้ ตอบต่อสารที่ส่งมา และการโต้ ตอบซึ่งกันและกัน ผู้รับสารอาจแสดงออกถึงการโต้ แย้ งหรื อ
อาจสนับสนุนต่อแหล่งสาร ข่าวสาร ตามผลการสื่อสารที่เกิดขึน เพื่อทาให้ แหล่งสารหรื อผู้รับ
                                                                 ้
สารรับรู้ถึงทัศนะของผู้รับสาร การปอนกลับถือได้ ว่าเป็ นตัวประเมินผลสาเร็ จของกระบวนการ
                                    ้
สื่อสารในครังนัน ๆ ได้ กล่าวคือ ถ้ ากระบวนการสื่อสารครังนันประสบผลสาเร็ จ การปอนกลับ
              ้ ้                                            ้ ้                    ้
จะเป็ นผลที่ ส อดคล้ องกั บ วัต ถุ ป ระสงค์ ก ารสื่ อ สาร ถ้ าการป อนกลั บ ไม่ ส อดคล้ องกั บ
                                                                   ้
วัตถุประสงค์การสื่อสารกระบวนการสื่อสารครังนันถือได้ ว่าไม่ประสบผลสาเร็จ
                                               ้ ้




                                                                                                18
กระบวนการตอบสนอง
 Response Process
กระบวนการตอบสนอง (Response Process)
กระบวนการตอบสนอง (Response Process)
ปั จจัยที่ใช้ ในการพิจารณารู ปแบบจาลองกระบวนการตอบสนอง

       ขันการรู้ คิด (Cognitive Stage) : ผู้รับสารทราบหรื อรับรู้ เกี่ยวกับ
         ้
ผลิตภัณฑ์ มีคณลักษณะและคุณประโยชน์รวมทังวิธีการใช้
             ุ                            ้

        ขันการรู้ สึก (Affective Stage) : ผู้รับสารรับรู้ หรื อรู้ สึกอย่างใดอย่าง
          ้
หนึงเกี่ยวกับตัวผลิตภัณฑ์ เช่น ชอบ ไม่ชอบ ชอบมากกว่า เป็ นต้ น
   ่
        ขันพฤติกรรม (Behavior Stage) : ผู้รับสารกระทาการบางอย่าง
          ้
เกี่ยวกับตัวผลิตภัณฑ์ เช่น การทดลองซื ้อ การใช้ เป็ นต้ น
กระบวนการตอบสนอง (Response Process)

        AIDA Model โดย E. St. Elmo Lewis (1898) ได้ รับการพัฒนาเพื่อ
แสดงสถานะต่าง ๆ ที่นกการตลาดต้ องนาผู้บริ โภคผ่านไปในกระบวนการขายด้ วยพนักงาน
                    ั
ขาย ประกอบด้ วยขันตอนของการทาให้ เกิดการรับรู้ (Attention หรื อ Awareness)
                 ้
เกิ ดความสนใจ (Interest) เกิดความต้ องการ (Desire) และเกิ ดการกระทา
(Action)
กระบวนการตอบสนอง (Response Process)
             Hierarchy of Effects Model ที่พฒนาขึ ้นโดย Rebert Lavidge
                                                              ั
และ Gary Steiner (1961) คือต้ นแบบสาหรับการตังค่าและวัดผลสาเร็ จจากการ
                                                                   ้
โฆษณา Hierarchy of Effects Model แสดงกระบวนการทางานของการโฆษณา
โดยมี ส มมติ ฐ านว่า ผู้บ ริ โ ภคจะผ่ า นชุด ขัน ตอนต่ า ง ๆ ตามล าดับ ตัง แต่ขัน การตระหนัก รู้
                                               ้                         ้      ้
(Awareness) เกี่ยวกับสินค้ าและบริ การไปจนถึงขันตอนการซื ้อจริ ง การสื่อสารด้ วยการ
                                                            ้
โฆษณาอาจไม่สามารถนาไปสู่การตอบสนองทางพฤติกรรมหรื อการซื ้อทันที แต่จะต้ องมีสิ่ง
ต่าง ๆ เกิ ดขึนตามมา โดยที่ แต่ละขัน ตอนจะเสริ มแรงจนผู้บริ โ ภคสามารถก้ าวข้ ามไปยัง
              ้                          ้
ขันตอนถัดไปในลาดับชันได้ ซึง Hierarchy of Effects Model นี ้เป็ นพื ้นฐานในการ
  ้                       ้      ่
กาหนดวัตถุประสงค์และการวัดผลของการโฆษณาในหลายบริ ษัท
กระบวนการตอบสนอง (Response Process)
         Innovation Adoption Model เกิดจากการทางานเกี่ยวกับการ
แพร่ กระจายของนวัตกรรม แบบจาลองนี แสดงขัน ตอนต่าง ๆ ที่ ผ้ ูบริ โ ภคต้ อ งผ่านในการ
                                          ้     ้
ยอมรับสินค้ าหรื อบริ การใหม่ ๆ เช่นเดียวกับแบบจาลองอื่น ๆ โดยแนวคิดนีระบุว่าผู้ที่อาจ
                                                                         ้
สามารถรับนวัตกรรใหม่ ๆ ต้ องผ่านขันตอนต่าง ๆ ก่อนจะทาเช่นนี ้ได้ ซึงอธิบายได้ ด้วยทฤษฎี
                                    ้                              ่
Diffusion of Innovations ซึ่งประกอบด้ วยขันตอนของการตระหนักรู้ ้
(Awareness) ความสนใจ (Interest) การประเมิน (Evaluation) และทดลองใช้
(Trial) ไปจนถึงการยอมรับ (Adaption)
Diffusion of Innovations
        ทฤษฎีการแพร่ กระจายของนวัตกรรม (Diffusion of Innovations Model : DOI)
Everette M. Rogers (1962) ได้ กล่าวถึงทฤษฎี Diffusion of Innovation (DOI) ครังแรก
                                                                             ้
เมื่อปี 1962 ซึ่งเป็ นทฤษฎีที่อธิบายถึงการแพร่ กระจายของความคิดและ เทคโนโลยี ผ่าน
วัฒนธรรมและลักษณะทางสังคม โดยมีสวนประกอบของการแพร่กระจายพื ้นฐาน 4 ขันคือ
                                       ่                                   ้




1. นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง ความคิด หรื อวัตถุที่เป็ นของใหม่ซงได้ รับการยอมรับ
                                                                   ึ่
จากบุคคลอื่น
2. ช่องทางการสื่อสาร (Communication Channels) หมายถึง ความหมายของข้ อความที่
ต้ องการสื่อสารไปยังบุคคลอื่น
3. ช่วงระยะเวลา (Time) หมายถึง ระยะเวลาในยอมรับนวัตกรรมของระบบสังคม
4. ระบบสังคม (Social system) หมายถึง กลุมคนที่มีเปาหมายในการแก้ ไขปั ญหาร่วมกัน
                                       ่          ้
Diffusion of Innovations
Diffusion of Innovations
Diffusion of Innovations

         จากกระบวนการตัดสินใจทัง 5 ขันนี ้ทาให้ Rogers ได้ แบ่งประเภทของบุคคล
                                 ้       ้
ต่าง ๆ ในระบบสังคมบนพื ้นฐานของการสร้ างนวัตกรรม (Innovativeness) ออกเป็ น
5 กลุ่มที่แตกต่างกัน (ตามภาพด้ านบน) ซึงเส้ นกราฟการยอมรับในนวัตกรรมนี ้จะมีลกษณะ
                                       ่                                     ั
เป็ น S curve ตามช่วงระยะเวลาในส่วนประกอบพื ้นฐานของการแพร่กระจายซึงมีเวลาเป็ น
                                                                         ่
ปั จจัยสาคัญ โดยประเภทของบุคคลต่าง ๆ ทัง้ 5 กลุมประกอบด้ วย
                                                ่
        1. Innovators (Venturesome)
        2. Early adopters (Respectable)
        3. Early majority (Deliberate)
        4. Late majority (Sceptical)
        5. Laggards (Traditional)
Diffusion of Innovations
          Innovators (Venturesome) คนกลุ่ม Innovators นี ้เป็ นคนกลุ่มแรกที่
ยอมรับในนวัตกรรมใหม่ ซึ่งโดยลักษณะทัวไปของคนกลุ่มนี ้คือ อายุน้อย กล้ าที่จะเสี่ยงและ
                                           ่
ยอมรับความเสี่ยงได้ ดี มีระดับทางสังคมที่สง (Highest social class) หรื ออาจจะ
                                             ู
เรี ยกได้ ว่าเป็ นคนทีมีฐานะดี มีความเกี่ ยวข้ องกับวงการวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เช่น
นักวิทยาศาสตร์ นักวิจย นักพัฒนา เป็ นต้ น
                        ั

          Early adopters (Respectable) คนกลุม Early adopters เป็ นคนที่
                                           ่
มีระดับความคิดเชิงผู้นาในระดับสูง (Highest degree of opinion
leadership) หรื อเรี ยกได้ ว่าเป็ นผู้นาทางความคิด ลักษณะโดยทัวไปของคนกลุ่มนี ้
                                                              ่
คือ อายุน้อย มีฐานะทางสังคมและมีระดับการศึกษาในระดับสูง เช่น กลุ่มคนที่มีชื่อเสี่ยง
นักแสดง นักการเมือง เป็ นต้ น
Diffusion of Innovations
             Early majority (Deliberate) คนกลุ่ม Early majority
เป็ นกลุ่มคนที่มีจานวนมากกว่าอย่างมีนัยสาคัญ เมื่อเทียบกับ Innovators และ
Early adopters คนกลุ่มนี ้มีความสนใจค่อนข้ างช้ าในการยอมรับ เนื่องจากจะต้ อง
ประเมินทางเลือกในการยอมรับนวัตกรรมอย่างมีเหตุผล เช่น กลุ่มนักธุรกิจ กลุ่มนักศึกษา
เป็ นต้ น
          Late majority (Sceptical) คนกลุ่ม Late majority จะ
ยอมรับนวัตกรรมช้ ากว่าจานวนเฉลี่ยของจานวนสมาชิกในสังคม คนกลุ่มนี ้จะสงสัยและ
ใช้ เวลาในการพิจารณานวัตกรรมอย่างรอบคอบ ซึ่งฐานะทางสังคมโดยทั่วไปจะอยู่ใน
ระดับ กลาง และมี ร ะดับ ของผู้น าทางความคิ ด ในระดับ น้ อ ย เช่ น กลุ่ม คนในชนบท
เกษตรกร ชาวบ้ านทัวไป เป็ นต้ น
                  ่
Diffusion of Innovations

             Laggards (Traditional) คนกลุม Laggards เป็ นคนกลุมที่มีการ
                                                      ่                       ่
ยอมรับในนวัตกรรมช้ าที่สดตามทฤษฎี ซึงแตกต่างจากคนกลุมอื่น ๆ ก่อนหน้ านี ้ ส่วนใหญ่
                          ุ                  ่                  ่
จะเป็ นคนที่มีอายุมาก หรื อเรี ยกได้ ว่าเป็ นพวกอนุรักษ์ นิยม (Traditions) และเป็ น
กลุมคนที่มีระดับของผู้นาทางความคิดในระดับน้ อยมาก เช่น กลุมผู้สงอายุ กลุมอนุรักษ์
   ่                                                              ่ ู       ่
นิยม เป็ นต้ น
กระบวนการตอบสนอง (Response Process)
               Information Processing Model ซึ่งพัฒนาโดย William
McGuire โดยแบบโมเดลนี ้มีสมมติฐานว่าผู้รับข่าวสารในสภาวะของการสื่อสารเพื่อโน้ ม
น้ าวใจ (Persuasive Communication) เช่น การรับชมโฆษณาคือผู้ประมวลผล
หรื อนักแก้ ไข McGuire กล่าวว่าขันตอนต่าง ๆ ที่ผ้ รับสารต้ องพบคือขันตอนของการจูงใจ
                                     ้                 ู                   ้
ที่มีผลต่อลาดับชันการตอบสนอง
                   ้
              ขันตอนของแบบจาลองนี คล้ ายกับขัน ตอนแบบจาลอง Hierarchy of
                ้                      ้          ้
Effect โดยความตังใจ (Attention) และการเข้ าใจ (Comprehensive) จะ
                          ้
เหมื อ นกั บ การตระหนั ก รู้ (Awareness)                   และการมี ค วามรู้ เกี่ ย วกั บ สิ น ค้ า
(Knowledge) ส่วนการยอมรับ (Yielding) เหมือนกับความชอบในสินค้ า (Liking)
แต่มีขนตอนที่ไม่พบในแบบจาลองอื่น ๆ คือการรักษาความเข้ าใจ (Retention) คือการที่
        ั้
ผู้บริ โภคสามารถรักษาความเข้ าใจเกี่ยวกับสินค้ าหรื อบริ การไว้ ได้ ขันตอนนี ้มีความสาคัญ
                                                                        ้
เนื่องจากแคมเปญการวางแผนส่งเสริ มการตลาดนันไม่ได้ รับการยอมรับการออกแบบเพื่อ
                                                     ้
กระตุ้นผู้บริ โภคให้ เกิดการกระทาในทันที แต่เป็ นการให้ ข้อมูลที่จะใช้ ประกอบการตัดสินใจซื ้อ
ต่อไป
กระบวนการตอบสนอง (Response Process)
SUMMARY
   &
QUESTION

           34

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีzweetiiz
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารguest6b6fea3
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซมWan Ngamwongwan
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ Thitaree Samphao
 

Was ist angesagt? (20)

ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมี
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซม
 
วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 

Ähnlich wie Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5

เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์pui003
 
9789740328926
97897403289269789740328926
9789740328926CUPress
 
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดบทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดetcenterrbru
 
การสื่อสารในองค์กร
การสื่อสารในองค์กรการสื่อสารในองค์กร
การสื่อสารในองค์กรtanongsak
 
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.peter dontoom
 
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซวิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซJirawat Fishingclub
 
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพสรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพnunaka
 
วิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บวิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บJirawat Fishingclub
 
ความหมายของการสื่อสาร
ความหมายของการสื่อสารความหมายของการสื่อสาร
ความหมายของการสื่อสารpeter dontoom
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสารwasamon2531
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสารmontiya2530
 
9789740333203
97897403332039789740333203
9789740333203CUPress
 

Ähnlich wie Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5 (20)

เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
 
9789740328926
97897403289269789740328926
9789740328926
 
Communication skill
Communication skillCommunication skill
Communication skill
 
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดบทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
 
Atittaya
AtittayaAtittaya
Atittaya
 
การสื่อสารในองค์กร
การสื่อสารในองค์กรการสื่อสารในองค์กร
การสื่อสารในองค์กร
 
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
 
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซวิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
 
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพสรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
 
วิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บวิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บ
 
เน อหา ว_จ_ย
เน  อหา ว_จ_ยเน  อหา ว_จ_ย
เน อหา ว_จ_ย
 
ความหมายของการสื่อสาร
ความหมายของการสื่อสารความหมายของการสื่อสาร
ความหมายของการสื่อสาร
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
network basics
network basicsnetwork basics
network basics
 
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
9789740333203
97897403332039789740333203
9789740333203
 
News
NewsNews
News
 
E3
E3E3
E3
 

Mehr von Mahasarakham Business School, Mahasarakham University

การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireเนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 

Mehr von Mahasarakham Business School, Mahasarakham University (20)

Google 2010 case study gm
Google 2010 case study gmGoogle 2010 case study gm
Google 2010 case study gm
 
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
 
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
 
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
 
Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)
 
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
 
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
 
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
 
International market selection (Ch.4) - Global Marketing
International market selection (Ch.4) - Global MarketingInternational market selection (Ch.4) - Global Marketing
International market selection (Ch.4) - Global Marketing
 
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
 
Key economic indicators of thailand
Key economic indicators of thailandKey economic indicators of thailand
Key economic indicators of thailand
 
Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1
 
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
 
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
 
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
 
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireเนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
 
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
 

Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5

  • 1. Communication Process, Message and Channel กระบวนการสื่อสาร ข้ อความ และช่ องทางการสื่อสาร Watjana Poopanee Mahasarakham Business School Mahasarakham University E-mail : watjana.p@acc.msu.ac.th 1
  • 2. Communication (การสื่อสาร) เดนนิส แมคเควล (McQuail, 2005) กล่าวว่า การสื่อสารหมายถึงการให้ และการ รับความหมาย การถ่ายทอดและการรับสาร ซึ่งรวมถึงแนวคิดของการโต้ ตอบ แบ่งปั น และมี ปฏิสมพันธ์กนด้ วย ั ั ดังนัน คาว่า “การสื่อสาร” จึงมีความหมายที่กว้ างขวางและเลื่อนไหลได้ จึงออกจะ ้ เป็ นการยากที่ จะกาหนดคานิ ยามถึง “การสื่ อ สาร” โดยให้ เป็ นที่ ยอมรั บของบุคคลทั่วไป อย่างไรก็ตาม หนึ่งในนิยามเชิงปฏิบติการ (working definition) ที่นกวิชาการด้ าน ั ั การสื่อ สารทัง หลายใช้ กัน มากคือ “การสื่อสารคือ การส่ง (transmitting) ข้ อ มูล ้ (information) จากบุคคลหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่ง” ซึงเป็ นนิยามที่ทาให้ มองเห็นภาพง่ายๆ ่ ของการสื่อสารได้ 2
  • 3. ความสาคัญของการสื่อสาร การสื่ อ สาร เป็ นกระบวนการเกิ ด ขึ น เป็ นปกติ วิ สัย ของคนทุก คน และมี ค วาม ้ เกี่ยวข้ องไปถึงบุคคลอื่น ตลอดจนถึงสังคมที่แต่ละคนเกี่ยวข้ องอยู่ ไม่ว่าจะทาสิ่งใด ล้ วนต้ อง อาศัยการสื่อสารเป็ นเครื่ องมือช่วยให้ บรรลุจดประสงค์ทงสิ ้น จะเห็นได้ จากการที่คนพยายาม ุ ั้ คิดค้ น และพัฒนาวิธี การสื่อ สารมาตัง แต่สมัยโบราณ ทัง ภาษาพูด ภาษาเขียน ตลอดจน ้ ้ เครื่ องมือหรื อเทคนิควิธีการต่างๆ ล้ วนเกิดจากความพยายามอย่างสูงของคน ต่อเนื่องมา หลายชัวอายุ หากการสื่อสารไม่มีความสาคัญและจาเป็ นอย่างยิ่งแล้ ว เครื่ องมือและวิธีการ ่ สาหรับการสื่อสารต่างๆ เหล่านี ้ก็คงไม่เกิดขึ ้นและพัฒนามาให้ เห็นดังเช่นในปั จจุบน ั 3
  • 4. ความสาคัญของการสื่อสาร 1. ด้ านชีวิตประจาวัน ในชีวิตประจาวันหนึ่งๆ แต่ละคนจะต้ องสื่อสารกับตัวเองและ สื่อสารกับผู้อื่นตลอดเวลา 2. ด้ านสังคม การรวมกลุ่มในสังคมทังในระดับครอบครัว ชุมชน จนถึงระดับประเทศ ้ จะต้ องมีการสื่อสารให้ เกิดความเข้ าใจร่วมกันในเรื่ องต่างๆ 3. ด้ านธุ รกิจ เกี่ยวกับการโฆษณาสินค้ า การประชาสัมพันธ์ ทงภายในและภายนอก ั้ องค์กร การบริ หารติดต่อประสานงาน การฝึ กอบรมพนักงาน การใช้ เครื่ องมือเทคโนโลยีการ สื่อสาร ฯลฯ 4. ด้ านการเมืองการปกครอง กิจกรรมด้ านการเมืองการปกครองจะต้ องใช้ การ สื่อ สารทุกขัน ตอน เช่ น การประชาสัม พัน ธ์ ผ ลงานของรั ฐ บาล การสร้ างความเข้ าใจกับ ้ ประชาชนในเรื่ องต่างๆ 5. ด้ านการเมืองระหว่ างประเทศซึงต้ องมีการติดต่อสร้ างความสัมพันธ์ในด้ านต่างๆ ่ เช่น การค้ า การทหาร การทาสนธิสญญา ฯลฯ ั 4
  • 5. ประเภทของการสื่อสาร (Type of Communication) ประเภทของการสื่อสารนักวิชาการด้ านการสื่อสารมวลชน ได้ จาแนกประเภทของ การสื่อสารไว้ แตกต่างกันหลายลักษณะ ทังนี ้ขึ ้นอยู่กบว่าจะใช้ อะไรเป็ นเกณฑ์ในการจาแนก ้ ั (ปรมะ สตะเวทิน 2526 : 18 - 48 ) ในที่นีจะแสดงการจาแนกประเภทของการสื่อสาร โดย ้ อาศัยเกณฑ์ในการจาแนกที่สาคัญ 3 ประการ คือ 1. จาแนกตามกระบวนการหรื อการไหลของข่ าวสาร 2. จาแนกตามภาษาสัญลักษณ์ ท่ ีแสดงออก 3. จาแนกตามจานวนผู้ส่ ือสาร 5
  • 6. 1. จาแนกตามกระบวนการหรือการไหลของข่ าวสาร 1. จาแนกตามกระบวนการหรื อการไหลของข่าวสาร แบ่งเป็ น 2 ประเภทคือ 1.1 การสื่อสารทางเดียว (One-Way Communication) คือการ สื่อสารที่ข่าวสาร จะถูกส่งจากผู้ส่งไปยังผู้รับในทิศทางเดียว โดยไม่มีการตอบโต้ กลับจากฝ่ ายผู้รับ เช่น การ สื่อสารผ่านสื่อ วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ การออกคาสังหรื อมอบหมายงานโดย ฝ่ ายผู้รับไม่มี ่ โอกาสแสดงความคิดเห็น ซึ่งผู้รับอาจไม่เข้ าใจข่าวสาร หรื อเข้ าใจไม่ถกต้ องตามเจตนาของผู้ ู ส่งและทางฝ่ ายผู้สงเมื่อไม่ทราบปฏิกิริยาของผู้รับจึงไม่อาจปรับการสื่อสารให้ เหมาะสมได้ ่ AA BB 6
  • 7. 1. จาแนกตามกระบวนการหรือการไหลของข่ าวสาร 1. จาแนกตามกระบวนการหรื อการไหลของข่าวสาร แบ่งเป็ น 2 ประเภทคือ 1.2 การสื่อสารสองทาง (Two-way Communication) คือการสื่อสารที่มีการส่ง ข่าวสารตอบกลับไปมาระหว่างผู้สื่อสาร ดังนันผู้สื่อสารแต่ละฝ่ ายจึงเป็ นทังผู้ส่งและผู้รับใน ้ ้ ขณะเดียวกัน ผู้สื่อสารมีโอกาสทราบปฏิกิริยาตอบสนองระหว่างกัน ทาให้ ทราบผลของการ สื่ อ สารว่ า บรรลุจุด ประสงค์ ห รื อ ไม่ และช่ ว ยให้ ส ามารถปรั บ พฤติ ก รรมในการสื่ อ สารให้ เหมาะสมกับสถานการณ์ ตัวอย่างการสื่อสารแบบสองทาง เช่น การสื่อสารระหว่างลูกค้ ากับ พนักงานขาย เป็ นต้ น AA BB 7
  • 8. ประเภทของการสื่อสาร (Type of Communication) ประเภทของการสื่อสารนักวิชาการด้ านการสื่อสารมวลชน ได้ จาแนกประเภทของ การสื่อสารไว้ แตกต่างกันหลายลักษณะ ทังนี ้ขึ ้นอยู่กบว่าจะใช้ อะไรเป็ นเกณฑ์ในการจาแนก ้ ั (ปรมะ สตะเวทิน 2526 : 18 - 48 ) ในที่นีจะแสดงการจาแนกประเภทของการสื่อสาร โดย ้ อาศัยเกณฑ์ในการจาแนกที่สาคัญ 3 ประการ คือ 1. จาแนกตามกระบวนการหรื อการไหลของข่ าวสาร 2. จาแนกตามภาษาสัญลักษณ์ ท่ ีแสดงออก 3. จาแนกตามจานวนผู้ส่ ือสาร 8
  • 9. 2. จาแนกตามภาษาสั ญลักษณ์ ที่แสดงออก 2. จาแนกตามภาษาสัญลักษณ์ที่แสดงออก แบ่งเป็ น 2.1 การสื่อสารเชิงวัจนะ (Verbal Communication) หมายถึงการ สื่อสารด้ วยการใช้ ภาษาพูด หรื อเขียนเป็ นคาพูด ในการสื่อสาร 2.2 การสื่อสารเชิงอวัจนะ (Non-Verbal Communication) หมายถึงการ สื่อสารโดยใช้ รหัสสัญญาณอย่างอื่น เช่น ภาษาท่าทาง การแสดงออกทางใบหน้ า สายตา ตลอดจนถึ ง น า เสี ย ง ระดั บ เสี ย ง ความเร็ วในการพู ด เป็ นต้ น ้ (ปรมะ สตะเวทิน : 2529) 9
  • 10. ประเภทของการสื่อสาร (Type of Communication) ประเภทของการสื่อสารนักวิชาการด้ านการสื่อสารมวลชน ได้ จาแนกประเภทของ การสื่อสารไว้ แตกต่างกันหลายลักษณะ ทังนี ้ขึ ้นอยู่กบว่าจะใช้ อะไรเป็ นเกณฑ์ในการจาแนก ้ ั (ปรมะ สตะเวทิน 2526 : 18 - 48 ) ในที่นีจะแสดงการจาแนกประเภทของการสื่อสาร โดย ้ อาศัยเกณฑ์ในการจาแนกที่สาคัญ 3 ประการ คือ 1. จาแนกตามกระบวนการหรื อการไหลของข่ าวสาร 2. จาแนกตามภาษาสัญลักษณ์ ท่ ีแสดงออก 3. จาแนกตามจานวนผู้ส่ ือสาร 10
  • 11. 3. จาแนกตามจานวนผู้สื่อสาร 3. จาแนกตามจานวนผู้สื่อสาร กิจกรรมต่างๆ ของบุคคลและสังคม ถือว่าเป็ นผลมาจากการสื่อสารทังสิ ้น ้ ดั ง นั น การสื่ อ สารจึ ง มี ข อบข่ า ยครอบคลุ ม ลั ก ษณะการสื่ อ สารของ ้ มนุษย์ 3 ลักษณะคือ (อรุณีประภา หอมเศรษฐี 2530 : 49-90) 3.1 การสื่อสารส่ วนบุคคล (Intrapersonal Communication) 3.2 การสื่อสารระหว่ างบุคคล (Interpersonal Communication) 3.3 การสื่อสารมวลชน (Mass Communication) 11
  • 13. กระบวนการสื่อสาร (Communication Process) การสื่ อ สารเป็ นกิ จ กรรมของมนุ ษ ย์ ที่ ใ ช้ เพื่ อ ถ่ า ยทอดความคิ ด แลกเปลี่ยนข่าวสาร ความรู้ ประสบการณ์ ค่านิยม ทัศนคติ และอื่น ๆ ร่ วมกัน เพื่อทาให้ มีความเข้ าใจและมี อิทธิ พลต่อมนุษย์ ด้วยกัน ดังนัน การสื่อสารจึง ้ จัดเป็ นกระบวนการที่จะถ่ายทอดความคิดและข้ อมูลต่าง ๆ จากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่งโดยมีวตถุประสงค์ต่าง ๆ กัน ได้ แก่ การให้ ความรู้ การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ั การให้ ความบันเทิงการบอกเล่าเหตุการณ์ ฯ เป็ นต้ น ซึ่งการสื่อสารจะเกิดขึ ้นได้ เป็ นกระบวนการอย่า งต่อเนื่ อ งนัน ต้ อ งอาศัย องค์ ประกอบของกระบวนการ ้ สื่อสาร (Communication Process Components) 13
  • 14. Communication Process Components Message Sender Encoding Decoding Receiver Media/Channel Noise Feedback Response 14
  • 15. กระบวนการสื่อสาร (Communication Process) (Sender) แหล่งสารอาจเป็ นบุคคลคนเดียวหรื อกลุ่ม 1) แหล่ ง สารหรื อ ผู้ ส่ ง สาร บุคคลที่อาจทางานร่ วมกันเป็ นองค์กรโดยทาหน้ าที่สื่อสารโดยการพูด เขียน หรื อแสดงกิริยา ท่าทางให้ บคคลอื่นหรื อองค์กรอื่น ๆ ทราบตามเปาหมายของการสื่อสารครังนัน ๆ ุ ้ ้ ้ 2) การใส่ รหัสของสาร (Encoding) กระบวนการสื่อสารเริ่ มต้ นขึ ้นเมื่อผู้ส่งข่าวสาร เลื อ กค า สัญ ลัก ษณ์ รู ป ภาพและอื่ น ๆ เพื่ อ แสดงถึ ง ข้ อ ความที่ จ ะส่ ง ไปยัง ผู้รั บ ข่ า วสาร กระบวนการนี ้เรี ยกว่าการเข้ ารหัส (Encoding) ซึงเกี่ยวกับการรวบรวมความคิด แนวคิด ่ หรื อข้ อมูลเพื่อสร้ างรูปแบบสัญลักษณ์ เปาหมายของผู้ส่งข่าวสารคือเพื่อเข้ ารหัสข้ อความตาม ้ วิธีที่จะสามารถเข้ าใจได้ โดยผู้รับข่าวสาร 15
  • 16. กระบวนการสื่อสาร (Communication Process) 3) ช่ อง ทางข่ าวสาร (Media/Channel) เป็ นเส้ น ทางหรื อ พาหะในการ ล าเลี ย งข่ า วสาร ซึ่ง อาจอยู่ใ นรู ป ของคลื่ น แสง คลื่ น เสี ย งหรื อ สื่ อ ในการสื่ อ สาร เช่ น วิ ท ยุ โทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียง หนังสือพิมพ์ เป็ นต้ น โดยปกติข่าวสารจะถูกลาเลียงโดยพาหะ ต่าง ๆ ตามรูปแบบและความคงทนของข่าวสาร เช่น ข่าวสารที่เป็ นคาพูดอาจถูกลาเลียงได้ ทง ั้ ผ่านความสันสะเทือนของมวลอากาศ เป็ นการสื่อสารโดยการพูดกันหรื อผ่านสายโทรศัพท์ผ่าน ่ สายเคเบิลโทรศัพท์ก็ได้ เป็ นต้ น 16
  • 17. กระบวนการสื่อสาร (Communication Process) 4) การถอดรหัส (Decoding) หมายถึงการที่ผ้ รับข่าวสารแปลงพลังงานจากสื่อกลาง ู ให้ กลับไปอยู่ในรูปข่าวสารที่สงมาจากผู้สงข่าวสาร โดยมีความเข้ าในหรื อรหัสตรงกัน ่ ่ 5) ผู้รับสาร (Receiver) ผู้รับสารอาจเป็ นบุคคลคนเดียวหรื อกลุ่มบุคคล หรื ออาจเป็ น องค์ กร ผู้รับสารจะทาหน้ าที่รับข่าวสารได้ ดีเพียงใดขึนอยู่กับปั จจัยในตัวผู้รับสารอันได้ แก่ ้ ทัก ษะในการสื่ อ สารซึ่ ง เป็ นความสามารถในการอ่ า น ฟั ง และแปลความข่ า วสารตาม วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร ทัศนคติ ความรู้ และระดับของสังคมและวัฒนธรรมของผู้รับสาร เอง 17
  • 18. กระบวนการสื่อสาร (Communication Process) 6) การปอนกลับหรื อการสนองตอบ (Response or Feedback) เป็ นการแสดง ้ โต้ ตอบต่อสารที่ส่งมา และการโต้ ตอบซึ่งกันและกัน ผู้รับสารอาจแสดงออกถึงการโต้ แย้ งหรื อ อาจสนับสนุนต่อแหล่งสาร ข่าวสาร ตามผลการสื่อสารที่เกิดขึน เพื่อทาให้ แหล่งสารหรื อผู้รับ ้ สารรับรู้ถึงทัศนะของผู้รับสาร การปอนกลับถือได้ ว่าเป็ นตัวประเมินผลสาเร็ จของกระบวนการ ้ สื่อสารในครังนัน ๆ ได้ กล่าวคือ ถ้ ากระบวนการสื่อสารครังนันประสบผลสาเร็ จ การปอนกลับ ้ ้ ้ ้ ้ จะเป็ นผลที่ ส อดคล้ องกั บ วัต ถุ ป ระสงค์ ก ารสื่ อ สาร ถ้ าการป อนกลั บ ไม่ ส อดคล้ องกั บ ้ วัตถุประสงค์การสื่อสารกระบวนการสื่อสารครังนันถือได้ ว่าไม่ประสบผลสาเร็จ ้ ้ 18
  • 21. กระบวนการตอบสนอง (Response Process) ปั จจัยที่ใช้ ในการพิจารณารู ปแบบจาลองกระบวนการตอบสนอง ขันการรู้ คิด (Cognitive Stage) : ผู้รับสารทราบหรื อรับรู้ เกี่ยวกับ ้ ผลิตภัณฑ์ มีคณลักษณะและคุณประโยชน์รวมทังวิธีการใช้ ุ ้ ขันการรู้ สึก (Affective Stage) : ผู้รับสารรับรู้ หรื อรู้ สึกอย่างใดอย่าง ้ หนึงเกี่ยวกับตัวผลิตภัณฑ์ เช่น ชอบ ไม่ชอบ ชอบมากกว่า เป็ นต้ น ่ ขันพฤติกรรม (Behavior Stage) : ผู้รับสารกระทาการบางอย่าง ้ เกี่ยวกับตัวผลิตภัณฑ์ เช่น การทดลองซื ้อ การใช้ เป็ นต้ น
  • 22. กระบวนการตอบสนอง (Response Process) AIDA Model โดย E. St. Elmo Lewis (1898) ได้ รับการพัฒนาเพื่อ แสดงสถานะต่าง ๆ ที่นกการตลาดต้ องนาผู้บริ โภคผ่านไปในกระบวนการขายด้ วยพนักงาน ั ขาย ประกอบด้ วยขันตอนของการทาให้ เกิดการรับรู้ (Attention หรื อ Awareness) ้ เกิ ดความสนใจ (Interest) เกิดความต้ องการ (Desire) และเกิ ดการกระทา (Action)
  • 23. กระบวนการตอบสนอง (Response Process) Hierarchy of Effects Model ที่พฒนาขึ ้นโดย Rebert Lavidge ั และ Gary Steiner (1961) คือต้ นแบบสาหรับการตังค่าและวัดผลสาเร็ จจากการ ้ โฆษณา Hierarchy of Effects Model แสดงกระบวนการทางานของการโฆษณา โดยมี ส มมติ ฐ านว่า ผู้บ ริ โ ภคจะผ่ า นชุด ขัน ตอนต่ า ง ๆ ตามล าดับ ตัง แต่ขัน การตระหนัก รู้ ้ ้ ้ (Awareness) เกี่ยวกับสินค้ าและบริ การไปจนถึงขันตอนการซื ้อจริ ง การสื่อสารด้ วยการ ้ โฆษณาอาจไม่สามารถนาไปสู่การตอบสนองทางพฤติกรรมหรื อการซื ้อทันที แต่จะต้ องมีสิ่ง ต่าง ๆ เกิ ดขึนตามมา โดยที่ แต่ละขัน ตอนจะเสริ มแรงจนผู้บริ โ ภคสามารถก้ าวข้ ามไปยัง ้ ้ ขันตอนถัดไปในลาดับชันได้ ซึง Hierarchy of Effects Model นี ้เป็ นพื ้นฐานในการ ้ ้ ่ กาหนดวัตถุประสงค์และการวัดผลของการโฆษณาในหลายบริ ษัท
  • 24. กระบวนการตอบสนอง (Response Process) Innovation Adoption Model เกิดจากการทางานเกี่ยวกับการ แพร่ กระจายของนวัตกรรม แบบจาลองนี แสดงขัน ตอนต่าง ๆ ที่ ผ้ ูบริ โ ภคต้ อ งผ่านในการ ้ ้ ยอมรับสินค้ าหรื อบริ การใหม่ ๆ เช่นเดียวกับแบบจาลองอื่น ๆ โดยแนวคิดนีระบุว่าผู้ที่อาจ ้ สามารถรับนวัตกรรใหม่ ๆ ต้ องผ่านขันตอนต่าง ๆ ก่อนจะทาเช่นนี ้ได้ ซึงอธิบายได้ ด้วยทฤษฎี ้ ่ Diffusion of Innovations ซึ่งประกอบด้ วยขันตอนของการตระหนักรู้ ้ (Awareness) ความสนใจ (Interest) การประเมิน (Evaluation) และทดลองใช้ (Trial) ไปจนถึงการยอมรับ (Adaption)
  • 25. Diffusion of Innovations ทฤษฎีการแพร่ กระจายของนวัตกรรม (Diffusion of Innovations Model : DOI) Everette M. Rogers (1962) ได้ กล่าวถึงทฤษฎี Diffusion of Innovation (DOI) ครังแรก ้ เมื่อปี 1962 ซึ่งเป็ นทฤษฎีที่อธิบายถึงการแพร่ กระจายของความคิดและ เทคโนโลยี ผ่าน วัฒนธรรมและลักษณะทางสังคม โดยมีสวนประกอบของการแพร่กระจายพื ้นฐาน 4 ขันคือ ่ ้ 1. นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง ความคิด หรื อวัตถุที่เป็ นของใหม่ซงได้ รับการยอมรับ ึ่ จากบุคคลอื่น 2. ช่องทางการสื่อสาร (Communication Channels) หมายถึง ความหมายของข้ อความที่ ต้ องการสื่อสารไปยังบุคคลอื่น 3. ช่วงระยะเวลา (Time) หมายถึง ระยะเวลาในยอมรับนวัตกรรมของระบบสังคม 4. ระบบสังคม (Social system) หมายถึง กลุมคนที่มีเปาหมายในการแก้ ไขปั ญหาร่วมกัน ่ ้
  • 28. Diffusion of Innovations จากกระบวนการตัดสินใจทัง 5 ขันนี ้ทาให้ Rogers ได้ แบ่งประเภทของบุคคล ้ ้ ต่าง ๆ ในระบบสังคมบนพื ้นฐานของการสร้ างนวัตกรรม (Innovativeness) ออกเป็ น 5 กลุ่มที่แตกต่างกัน (ตามภาพด้ านบน) ซึงเส้ นกราฟการยอมรับในนวัตกรรมนี ้จะมีลกษณะ ่ ั เป็ น S curve ตามช่วงระยะเวลาในส่วนประกอบพื ้นฐานของการแพร่กระจายซึงมีเวลาเป็ น ่ ปั จจัยสาคัญ โดยประเภทของบุคคลต่าง ๆ ทัง้ 5 กลุมประกอบด้ วย ่ 1. Innovators (Venturesome) 2. Early adopters (Respectable) 3. Early majority (Deliberate) 4. Late majority (Sceptical) 5. Laggards (Traditional)
  • 29. Diffusion of Innovations Innovators (Venturesome) คนกลุ่ม Innovators นี ้เป็ นคนกลุ่มแรกที่ ยอมรับในนวัตกรรมใหม่ ซึ่งโดยลักษณะทัวไปของคนกลุ่มนี ้คือ อายุน้อย กล้ าที่จะเสี่ยงและ ่ ยอมรับความเสี่ยงได้ ดี มีระดับทางสังคมที่สง (Highest social class) หรื ออาจจะ ู เรี ยกได้ ว่าเป็ นคนทีมีฐานะดี มีความเกี่ ยวข้ องกับวงการวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เช่น นักวิทยาศาสตร์ นักวิจย นักพัฒนา เป็ นต้ น ั Early adopters (Respectable) คนกลุม Early adopters เป็ นคนที่ ่ มีระดับความคิดเชิงผู้นาในระดับสูง (Highest degree of opinion leadership) หรื อเรี ยกได้ ว่าเป็ นผู้นาทางความคิด ลักษณะโดยทัวไปของคนกลุ่มนี ้ ่ คือ อายุน้อย มีฐานะทางสังคมและมีระดับการศึกษาในระดับสูง เช่น กลุ่มคนที่มีชื่อเสี่ยง นักแสดง นักการเมือง เป็ นต้ น
  • 30. Diffusion of Innovations Early majority (Deliberate) คนกลุ่ม Early majority เป็ นกลุ่มคนที่มีจานวนมากกว่าอย่างมีนัยสาคัญ เมื่อเทียบกับ Innovators และ Early adopters คนกลุ่มนี ้มีความสนใจค่อนข้ างช้ าในการยอมรับ เนื่องจากจะต้ อง ประเมินทางเลือกในการยอมรับนวัตกรรมอย่างมีเหตุผล เช่น กลุ่มนักธุรกิจ กลุ่มนักศึกษา เป็ นต้ น Late majority (Sceptical) คนกลุ่ม Late majority จะ ยอมรับนวัตกรรมช้ ากว่าจานวนเฉลี่ยของจานวนสมาชิกในสังคม คนกลุ่มนี ้จะสงสัยและ ใช้ เวลาในการพิจารณานวัตกรรมอย่างรอบคอบ ซึ่งฐานะทางสังคมโดยทั่วไปจะอยู่ใน ระดับ กลาง และมี ร ะดับ ของผู้น าทางความคิ ด ในระดับ น้ อ ย เช่ น กลุ่ม คนในชนบท เกษตรกร ชาวบ้ านทัวไป เป็ นต้ น ่
  • 31. Diffusion of Innovations Laggards (Traditional) คนกลุม Laggards เป็ นคนกลุมที่มีการ ่ ่ ยอมรับในนวัตกรรมช้ าที่สดตามทฤษฎี ซึงแตกต่างจากคนกลุมอื่น ๆ ก่อนหน้ านี ้ ส่วนใหญ่ ุ ่ ่ จะเป็ นคนที่มีอายุมาก หรื อเรี ยกได้ ว่าเป็ นพวกอนุรักษ์ นิยม (Traditions) และเป็ น กลุมคนที่มีระดับของผู้นาทางความคิดในระดับน้ อยมาก เช่น กลุมผู้สงอายุ กลุมอนุรักษ์ ่ ่ ู ่ นิยม เป็ นต้ น
  • 32. กระบวนการตอบสนอง (Response Process) Information Processing Model ซึ่งพัฒนาโดย William McGuire โดยแบบโมเดลนี ้มีสมมติฐานว่าผู้รับข่าวสารในสภาวะของการสื่อสารเพื่อโน้ ม น้ าวใจ (Persuasive Communication) เช่น การรับชมโฆษณาคือผู้ประมวลผล หรื อนักแก้ ไข McGuire กล่าวว่าขันตอนต่าง ๆ ที่ผ้ รับสารต้ องพบคือขันตอนของการจูงใจ ้ ู ้ ที่มีผลต่อลาดับชันการตอบสนอง ้ ขันตอนของแบบจาลองนี คล้ ายกับขัน ตอนแบบจาลอง Hierarchy of ้ ้ ้ Effect โดยความตังใจ (Attention) และการเข้ าใจ (Comprehensive) จะ ้ เหมื อ นกั บ การตระหนั ก รู้ (Awareness) และการมี ค วามรู้ เกี่ ย วกั บ สิ น ค้ า (Knowledge) ส่วนการยอมรับ (Yielding) เหมือนกับความชอบในสินค้ า (Liking) แต่มีขนตอนที่ไม่พบในแบบจาลองอื่น ๆ คือการรักษาความเข้ าใจ (Retention) คือการที่ ั้ ผู้บริ โภคสามารถรักษาความเข้ าใจเกี่ยวกับสินค้ าหรื อบริ การไว้ ได้ ขันตอนนี ้มีความสาคัญ ้ เนื่องจากแคมเปญการวางแผนส่งเสริ มการตลาดนันไม่ได้ รับการยอมรับการออกแบบเพื่อ ้ กระตุ้นผู้บริ โภคให้ เกิดการกระทาในทันที แต่เป็ นการให้ ข้อมูลที่จะใช้ ประกอบการตัดสินใจซื ้อ ต่อไป
  • 34. SUMMARY & QUESTION 34