SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 15
Downloaden Sie, um offline zu lesen
บทที่ 3
การประยุกตของสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว (12 ชั่วโมง)
3.1 ทบทวนการแกสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว (3 ชั่วโมง)
3.2 การนําไปใช (9 ชั่วโมง)
นักเรียนเคยเรียนการแกสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวมาแลว ในตอนตนของบทนี้จึงไดทบทวน
เนื้อหาเหลานั้น และไดแนะนําใหนักเรียนรูจักสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวที่มี x เปนตัวแปรและมีรูปทั่วไป
เปน ax + b = 0 เมื่อ a, b เปนคาคงตัว และ a ≠ 0 พรอมทั้งไดใหตัวอยางของการแกสมการเชิงเสน
ตัวแปรเดียวและโจทยแบบฝกหัดที่ซับซอนขึ้น
สําหรับการประยุกตของสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว เนนการแกโจทยปญหาเกี่ยวกับจํานวน
อัตราสวนและรอยละ และอัตราเร็ว การแกโจทยปญหาโดยใชสมการเปนวิธีหนึ่งที่นักเรียนสามารถนําไป
ประยุกตใชแกปญหาที่อาจพบในชีวิตประจําวันได ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนครูควรใหนักเรียน
ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดดวย
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
1. แกโจทยปญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวได
2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดในสถานการณตาง ๆ
48
แนวทางในการจัดการเรียนรู
3.1 ทบทวนการแกสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว (3 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. บอกสมบัติของการเทากันได
2. แกสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวโดยใชสมบัติของการเทากันได
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.1
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูอาจทบทวนความหมายของสมการ คําตอบของสมการ การแกสมการ และสมบัติของ
การเทากันที่นํามาใชในการหาคําตอบของสมการโดยซักถามหรืออาจเลือกใชแบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.1
ครูยกตัวอยางสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวในรูปแบบตาง ๆ เชน 2x = 7, x2
1- + 5 = 2x,
5(x – 1) = 2
1 , -4.5x + 2 = 0 และใหนักเรียนสังเกตวา สมการดังตัวอยางที่กลาวมานี้ สามารถเขียนให
อยูในรูปทั่วไปเปน ax + b = 0 เมื่อ a, b เปนคาคงตัวและ a ≠ 0 ครูอาจถามนักเรียนวาทําไมจึงตองมี
เงื่อนไข a ≠ 0 กํากับไวหรืออาจถามวา ถา a = 0 แลว สมการ ax + b = 0 จะเปนสมการในลักษณะใด
ครูควรชี้แจงกับนักเรียนวา คําสั่งของโจทยที่ใหหาคําตอบของสมการหรือใหแกสมการ
มีความหมายอยางเดียวกัน กลาวคือ ใหหาจํานวนที่แทนตัวแปรในสมการนั้นแลวทําใหไดสมการที่เปนจริง
ถาโจทยไมระบุวิธีหา นักเรียนจะใชวิธีการลองแทนคาหรือใชสมบัติของการเทากันก็ได
2. ตัวอยางการแกสมการในหนังสือเรียน แสดงใหเห็นการนําสมบัติของการเทากันมาใช
ครูควรชี้ใหนักเรียนสังเกตเห็นการใชสมบัติเหลานั้นโดยใชคําถามประกอบคําอธิบาย ในตัวอยางที่ 5
แสดงใหเห็นการนําสมบัติการแจกแจงมาชวยในการหาผลคูณ และในตัวอยางที่ 6 จะเห็นวาทุกจํานวนใน
โจทยอยูในรูปเศษสวน เพื่อความสะดวกในการแกสมการ นิยมทําตัวสวนใหเปน 1 โดยนํา ค.ร.น. ของ
ตัวสวนของแตละเศษสวนในสมการนั้นมาคูณทั้งสองขางของสมการกอน
ในการแกสมการโดยใชสมบัติของการเทากันทุกครั้ง ครูควรเนนใหนักเรียนตรวจสอบคา
ของตัวแปรที่คํานวณไดวา เปนคําตอบของสมการที่กําหนดใหหรือไม
3. โจทยในแบบฝกหัด 3.1 เปนโจทยที่เนนทักษะการแกสมการโดยใชสมบัติของการเทากัน
ซึ่งมีทั้งงายและยาก ครูอาจเลือกใหทําเปนบางขอหรือใหทําทุกขอตามความเหมาะสมกับความสามารถของ
นักเรียน
4. สําหรับกิจกรรม “ลองหาดู” มีไวเพื่อใหนักเรียนไดฝกหาคําตอบของสมการโดยวิธีลองแทน
คา คําตอบอาจมีไดหลากหลาย ครูอาจใหนักเรียนนําเสนอคําตอบหนาชั้น พรอมอธิบายเหตุผลประกอบ
49
3.2 การนําไปใช (9 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. แกโจทยปญหาโดยใชสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวได
2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.2
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ขั้นตอนที่สําคัญในการแกโจทยปญหา คือ ขั้นวิเคราะหเงื่อนไขในโจทยและเขียนสมการ
ครูอาจทบทวนการเขียนประโยคสัญลักษณแทนขอความ โดยใชแบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.2
กอนการใหตัวอยางการแกโจทยปญหา ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นขั้นตอนการแกปญหาโดยใชสมการใน
การหาอายุของไดโอแฟนทัส ซึ่งเปนไปตามลําดับขั้นตอนดังแผนภูมิในหนังสือเรียนหนา 95
สําหรับโจทยปญหาทุกขอ ขั้นตอนการตรวจสอบคําตอบของสมการตามเงื่อนไขในโจทยถือ
เปนสวนสําคัญที่จําเปนตองทํา ครูจะตองอธิบายใหนักเรียนเขาใจวิธีการตรวจสอบและย้ําใหมีการตรวจสอบ
ทุกครั้งที่แกโจทยปญหา
2. สําหรับกิจกรรม “ปญหาเกี่ยวกับจํานวน” ครูอาจทบทวนเกี่ยวกับจํานวนคู จํานวนคี่
จํานวนคูสามจํานวนที่เรียงติดกัน และจํานวนคี่สามจํานวนที่เรียงติดกัน โดยใชเสนจํานวนพรอมยก
ตัวอยางประกอบ
ตัวอยางจํานวนคูสามจํานวนที่เรียงติดกัน
10, 12, 14
-8, -6, -4
-2, 0, 2
ตัวอยางจํานวนคี่สามจํานวนที่เรียงติดกัน
3, 5, 7
1, -1, -3
-9, -11, -13
ตัวอยางที่ 4 ตองการใหนักเรียนเห็นวา ในการแกโจทยปญหา อาจกําหนดตัวแปรแทน
จํานวนที่โจทยถามโดยตรง หรือแทนจํานวนที่เกี่ยวของกับจํานวนที่โจทยถามก็ได ในการกําหนดตัวแปร
ที่แตกตางกันดังตัวอยางขางตน อาจทําใหไดสมการที่งายหรือยากตอการหาคําตอบ ครูจึงควรฝกให
นักเรียนรูจักกําหนดตัวแปรใหเหมาะสมกับเงื่อนไขในโจทยปญหา
50
ในตัวอยางที่ 5 ตองการใหนักเรียนเห็นและรูความหมายของคําวา ผลตางระหวางจํานวน
สองจํานวน เชน ตัวอยางนี้ แสดงใหเห็นผลตางของจํานวนจํานวนหนึ่งกับ 7 ซึ่งเรายังไมทราบวา
จํานวนนั้นมีคามากกวา 7 หรือนอยกวา 7 ผลตางจึงอาจเปน x – 7 หรือ 7 – x ก็ได ครูตองเนนให
นักเรียนเขาใจและแสดงวิธีหาคําตอบใหครบทั้งสองกรณี จึงจะถือวาถูกตอง
ในตัวอยางที่ 6 เปนโจทยลักษณะเดียวกันที่นักเรียนบางคนเคยพบเปนโจทยขอ 7 ของ
แบบฝกหัด 3.3 เรื่องการประยุกตของเศษสวนและทศนิยม ในหนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม 2 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 แตที่นํามาไวในสาระนี้
เพราะมีเจตนาตองการจะสื่อวา โจทยในลักษณะนี้ถาคิดคํานวณโดยวิธีเลขคณิต อาจทําใหเกิดความผิดพลาด
ไดงาย เนื่องจากนักเรียนมักเกิดความสับสน ไมนําไข 12 ฟองที่ใหเพื่อนบานมาคิดเปนสวนหนึ่งของกําไร
ดวย มักคิดวากําไรที่โจทยกําหนดเปนกําไรที่ไดจากการขายไขที่เหลือจากใหเพื่อนบานไปแลวเทานั้น วิธีที่
นักเรียนสวนใหญคํานวณผิดเปนดังนี้
ซื้อไขฟองละ 2.75 บาท
ขายไขฟองละ 3.25 บาท
ดังนั้น ขายไข 1 ฟอง ไดกําไร 3.25 – 2.75 = 0.50 บาท
กําไร 0.50 บาท ไดจากการขายไข 1 ฟอง
ถาไดกําไร 111 บาท จะไดจากการขายไข 11150.0
1 × = 222 ฟอง
มีไขใหเพื่อนบาน 12 ฟอง
ดังนั้น ซื้อไขมาทั้งหมด 222 + 12 = 234 ฟอง
ถานักเรียนตรวจสอบคําตอบกับเงื่อนไขในโจทยจะพบวาไมสอดคลองตามโจทย กลาวคือ
ซื้อไขมา 234 ฟอง คิดเปนตนทุน 234 × 2.75 = 643.50 บาท
ขายไข 234 – 12 = 222 ฟอง ไดเงิน 222 × 3.25 = 721.50 บาท
คิดเปนกําไร 78 บาท ซึ่งไมเปนจริงตามเงื่อนไขในโจทยที่ใหกําไรไว 111 บาท
แตถาหาคําตอบโดยใชสมการ จะไดคําตอบที่ถูกตองดังแสดงในตัวอยางที่ 6 ในหนังสือเรียน
สําหรับโจทยขอ 20 ในแบบฝกหัดเปนโจทยที่นักเรียนอาจเกิดความสับสนเกี่ยวกับเวลาที่คิด
อายุได เพื่อแกปญหานี้ครูอาจนํามาเปนตัวอยางแนะนําการใชตารางวิเคราะหเงื่อนไขในโจทยแสดงอายุใน
อดีต ปจจุบัน และอนาคตของบิดาและบุตร ดังนี้
อายุ
อดีต
3 ปที่แลว
ปจจุบัน
(ป)
อนาคต
5 ปขางหนา
บิดา
บุตร
x – 3
x5
1
x
x5
1 + 3
x + 5
⎟
⎠
⎞⎜
⎝
⎛ +3x5
1
+ 5 หรือ x5
1 + 8
51
จากขอมูลที่ไดในตารางจะชวยใหทราบอายุของแตละคนในแตละชวงเวลาตาง ๆ ซึ่งจะชวยใหเขียนสมการ
ไดตรงตามเงื่อนไขและงายขึ้น
3. สําหรับกิจกรรม “คิด” ครูอาจใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบเปนกลุม แลวใหตัวแทนกลุม
นําเสนอคําตอบหนาชั้น พรอมแสดงเหตุผลประกอบ
4. สําหรับกิจกรรม “เกมทายจํานวน” ตองการใหนักเรียนมีความคิดริเริ่มสรางสรรค รูจักนํา
ความรู ทักษะ กระบวนการทางคณิตศาสตรมาสรางกฎเกณฑไดเองอยางเหมาะสม และสามารถอธิบาย
ลําดับขั้นตอนของเกมได ในการจัดกิจกรรมนี้ครูอาจแสดงบทบาทปรีชา ใหนักเรียนแสดงบทบาทของสุดา
ครูอาจสุมถามนักเรียนแลวทายจํานวนที่นักเรียนคิดไวในใจ ประมาณ 4 – 5 คน หลังจากนั้นใหนักเรียน
ชวยกันคิดและคนหากระบวนการทายจํานวนของปรีชาวาทําไดอยางไร พรอมทั้งออกมานําเสนอวิธีแกเกม
นี้ หลังจากนั้นใหนักเรียนชวยกันสรางเกมเปนกลุมและออกมานําเสนอทายเกมกับกลุมอื่น ๆ
5. สําหรับโจทยปญหาเกี่ยวกับอัตราสวนและรอยละ ตองการใหนักเรียนนําความรูพื้นฐาน
เกี่ยวกับอัตราสวนและรอยละมาใชแกโจทยที่มีความซับซอนโดยใชสมการ ครูอาจถามทบทวนความรู
เกี่ยวกับความหมายของอัตราสวนและรอยละ รวมทั้งของผสมที่นักเรียนเคยเรียนมาแลว เมื่อเห็นวา
นักเรียนมีพื้นฐานเพียงพอ จึงใหตัวอยางตามหนังสือเรียนและทําแบบฝกหัด
6. สําหรับกิจกรรม “ขายเทาไรดี” ตองการใหเห็นการนําความรูทางคณิตศาสตรไปใชในการ
ดํารงชีวิต ครูอาจใหนักเรียนทํางานเปนกลุมชวยกันคิดวางแผนทําธุรกิจเล็ก ๆ ตั้งแตสินคาที่จะผลิตควร
ตั้งราคาเทาไร จึงจะไดกําไรตามแนวคิดของกลุม
7. สําหรับกิจกรรม “ปญหาเกี่ยวกับอัตราเร็ว” เปนปญหาที่นักเรียนพบเห็นไดในชีวิตประจําวัน
เพื่อใหเกิดความเขาใจที่ถูกตองและสามารถนําไปใชไดในชีวิตจริง ครูอาจเสนอแนะใหนักเรียนเขียนแผน
ภาพประกอบ เพื่อชวยใหการกําหนดตัวแปร การเขียนสมการ เปนไปอยางถูกตอง ดังตัวอยางโจทยขอ 9
หนา 118 อาจเขียนแผนภาพไดดังนี้
8. สําหรับกิจกรรม “กระตายกับเตา” มีเจตนาใหเปนกิจกรรมที่สรางความสนใจใหกับนักเรียน
เนื่องจากนักเรียนสวนใหญจะเคยฟงนิทานอีสปมากอนแลว ครูอาจใหนักเรียนชวยกันคิดหาคําตอบเปน
กลุม แลวใหตัวแทนกลุมนําเสนอคําตอบ มีการอภิปรายรวมกัน เมื่อไดขอสรุปตรงกันแลว ครูเสนอคติ
เตือนใจที่ไดจากเรื่องนี้ ใหนักเรียนไดเห็นถึงความกลาหาญ ไมยอทอ สูดวยความขยันหมั่นเพียรและอดทน
สถานีทุงเขียว สถานีโพธิ์งาม สถานีบัวขาว
ขบวน ก. ขบวน ข.
ถึงเวลา 8.20 น. ออกเวลา 7.00 น.
อัตราเร็ว 45 กม./ ชม.
ออกเวลา 7.03 น. ถึงเวลา 8.15 น.
150 กม.
52
ของเตาจนประสบความสําเร็จเอาชนะกระตายผูมากดวยความสามารถ ปราดเปรียว วิ่งเร็วดุจลมพัด แต
ตกอยูในความประมาทและชะลาใจ
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม
คําตอบแบบฝกหัด 3.1
1. 5
37 หรือ 5
27 2. 20
1-
3. 3 4. -16
5. -1 6. 21
7. 2
7- หรือ 2
13- 8. 4
9. 7
1 10. 0
11. 0 12. -6
13. 4 14. 1
15. 12 16. 12
17. -5 18. 2
19. -5 20. -4
21. -18 22. -7
23. -1 24. -48
25. 1 26. -28
คําตอบกิจกรรม “ลองหาดู”
ตัวอยางคําตอบ
1. a = 2, b = 3 และ c = 6
2. a = 4, b = 2 และ c = 4
3. a = 6, b = 2 และ c = 3
53
คําตอบกิจกรรม “ปญหาเกี่ยวกับจํานวน”
1. -86, -85 และ -84
2. -31, -29 และ -27
3. -50 และ -11
4. -10 และ -8
5. 9 และ 11
6. 2.05 และ 5.05
7. 10 และ 25
8. -5, -4 และ -3
9. 85 คะแนน
10. 33 คน
11. 15 บาท
12. 36 เมตร
13. กวาง 7 เมตร และยาว 11 เมตร
14. 140 ลูกบาศกเซนติเมตร
15. 4.25 เมตร
16. 129 บาท
17. 50 ไร
18. นิภา นที และนัท มีอายุ 15 ป 9 ป และ 14 ป ตามลําดับ
19. นายชูเลี้ยงไก 2,500 ตัว นายชมเลี้ยงไก 3,000 ตัว
20. ปจจุบันบิดามีอายุ 35 ป และบุตรมีอายุ 10 ป
21. 2.17 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร
22. 49 เซนติเมตร
คําตอบกิจกรรม “คิด”
639
แนวคิด ใหจํานวนที่มีสามหลัก คือ abc
จะไดสมการเปน a + b + c = 18
c = 3b
และ a = 2b
54
คําตอบกิจกรรม “เกมทายจํานวน”
1. จํานวนที่สุดานึกไว คือ 341
ปรีชาบอกไดโดยนํา 10 มาลบออกจาก 351
2. นักเรียนสรางไดหลากหลาย ซึ่งเกมที่สรางตองบอกลําดับขั้นตอนได
คําตอบกิจกรรม “ปญหาเกี่ยวกับอัตราสวนและรอยละ”
1. 1,180 คน
แนวคิด ใหจํานวนนักเรียนทั้งหมดของโรงเรียนนี้เปน x คน
ตัวอยางสมการ x = x100
50 + x100
40 + 118
2. ซื้อมะมวงน้ําดอกไม 25 กิโลกรัม และมะมวงเขียวเสวย 35 กิโลกรัม
แนวคิด ใหซื้อมะมวงน้ําดอกไม x กิโลกรัม
ตัวอยางสมการ )x60(50
x60
−
= 7
6
3. กวาง 42 เมตร และยาว 70 เมตร
แนวคิด ใหดานกวางยาว x เมตร
ตัวอยางสมการ
⎥⎦
⎤
⎢⎣
⎡ ⎟
⎠
⎞⎜
⎝
⎛+ x3
5
100
120
x100
120
2 = 268.8
4. 800 บาท
แนวคิด ใหตนทุนของกระเปาเปน x บาท
ตัวอยางสมการ 100100
125x90
×
× = 900
5. 280 กิโลเมตร
แนวคิด ใหระยะทางที่วิ่งทั้งหมดเปน x กิโลเมตร
ตัวอยางสมการ x100
20 + 64 + 100
50 ⎟
⎠
⎞⎜
⎝
⎛ − 64x100
80
= 200
6. 625 ลูกบาศกเซนติเมตร
แนวคิด ใหใชน้ําเชื่อมจากขวดที่สองจํานวน x ลูกบาศกเซนติเมตร
ตัวอยางสมการ x250
x100
20
250100
90
+
+× ⎟
⎠
⎞⎜
⎝
⎛
= 100
40
55
คําตอบกิจกรรม “ขายเทาไรดี”
30 บาท
แนวคิด ใหตั้งราคาขายไวชุดละ x บาท
ตัวอยางสมการ ⎟
⎠
⎞⎜
⎝
⎛ × x100
50
8 + 52x = 100
1200140×
คําตอบกิจกรรม “ปญหาเกี่ยวกับอัตราเร็ว”
1.
1) อัตราเร็วของรถอีแตน 36 กิโลเมตรตอชั่วโมง
อัตราเร็วของรถจักรยานยนต 60 กิโลเมตรตอชั่วโมง
2) 24 กิโลเมตร
แนวคิดขอ 1 ใหติ๊กขับรถอีแตนดวยอัตราเร็ว x กิโลเมตรตอชั่วโมง
ตัวอยางสมการ 60
24)x(12 +
= 60
20x
2. 6
512 กิโลเมตร
แนวคิด ใหปรีชาวิ่งไดระยะทาง x กิโลเมตร
ตัวอยางสมการ 13
)2x(60
11
60x −
− = 20
3. 13.00 น.
แนวคิด ใหชายอีกคนหนึ่งออกเดินตามเปนเวลานาน x ชั่วโมง
ตัวอยางสมการ 10x = 5(x + 2)
4. เวลาผานไป 3 นาที และพบกันเวลา 7.03 น.
แนวคิด ใหรถบดทั้งสองคันเคลื่อนมาพบกันเมื่อเวลาผานไป x นาที
ตัวอยางสมการ 10x + 12x = 66
5. 100 กิโลเมตร
แนวคิด ใหอําเภออยูหางจากบานของศรัญ x กิโลเมตร
ตัวอยางสมการ 60
x – 80
20x + = 60
10
56
6. ชวงแรกขี่ไดระยะทาง 21 กิโลเมตร ใชเวลา 4
31 ชั่วโมง และ
ชวงสองขี่ไดระยะทาง 36 กิโลเมตร ใชเวลา 4
12 ชั่วโมง
แนวคิด ใหขี่จักรยานในชวงแรกไดระยะทาง x กิโลเมตร
ตัวอยางสมการ 12
x + 16
x57−
= 4
7.
1) 74 กิโลเมตรตอชั่วโมง
2) 87 กิโลเมตร
แนวคิด ใหขับรถในเวลากลางวันดวยอัตราเร็ว x กิโลเมตรตอชั่วโมง
ตัวอยางสมการ 2x + 2
3 (x – 16) = 235
8. รถไฟขบวน ข แลนไปทันขบวน ก เมื่อเวลา 13.30 น. ณ จุดที่หางจากสถานีบานมา
300 กิโลเมตร
แนวคิด ใหรถไฟขบวน ข แลนออกจากสถานีบานมาเปนเวลานาน x ชั่วโมง
ตัวอยางสมการ 60x = 40x + ⎟
⎠
⎞⎜
⎝
⎛ ×
60
150
40
9. 75 กิโลเมตรตอชั่วโมง
แนวคิด ใหรถไฟขบวน ข วิ่งดวยอัตราเร็ว x กิโลเมตรตอชั่วโมง
ตัวอยางสมการ ⎟
⎠
⎞⎜
⎝
⎛ ×
60
80
45 + x60
72 = 150
คําตอบกิจกรรม “กระตายกับเตา”
1. 80 เสน
2. 10.00 น.
3. กระตายชนะเตา และถึงเสนชัยกอนเตา 2 นาที
4. 3 ชั่วโมง 26 นาที
แนวคิดขอ 1 ใหระยะทางแขงขันยาว x เสน
ตัวอยางสมการ x – 20 = 20 × 3
57
แบบฝกหัดเพิ่มเติมและคําตอบ
58
แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.1
แบบฝกหัดชุดนี้มีเจตนาใหใชเพื่อทบทวนการใชสมบัติของการเทากัน การแกสมการเชิงเสน
ตัวแปรเดียวตามความรูที่นักเรียนเคยเรียนมาแลว ซึ่งจะใชเปนพื้นฐานในการแกสมการที่ซับซอนขึ้น
กอนขึ้นตัวอยางและเนื้อหาในหัวขอ 3.1
1. จงเติมขอความใหสอดคลองกับสมบัติของการเทากัน หรือสมบัติการแจกแจงที่นํามาใชในแตละขอ
ตอไปนี้
1) ถา x = y แลว …………… = y – 10
2) ถา 3x = -2 + 7 และ -2 + 7 = 5 แลว 3x = ……………
3) ถา 5x – 7 = -3 แลว (5x – 7) + (……………) = (-3) + (-2)
4) ถา x – 2 = 3a แลว …………… = 2
1 (3a)
5) ถา 3
1 (x + 5) = x – 1 แลว 3 ×
3
1 (x + 5) = ……………
6) ⎟
⎠
⎞⎜
⎝
⎛ ×x2
1
– ⎟
⎠
⎞⎜
⎝
⎛ ×y2
1
= ……… × (x – y)
7) y × (……………) = (y × a) + (y × b)
8) (…… × ……) + (b × c) = (a + b) × c
2. ใหแกสมการโดยแสดงขั้นตอนการใชสมบัติของการเทากันในตารางตอไปนี้
สมการ ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2
คําตอบของ
สมการ
ตัวอยาง
5x + 2 = -13 5x + 2 – 2 = -13 – 2 5
x5 = 5
15- -3
1) 7(x – 2) = 21
2) 1.2 – 8x = -6
3) 5.5y + 3.5 = -2
4) 3
2 (x + 1) = 2
1
5) 2
5y +
= -3
59
คําตอบแบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.1
1.
1) x – 10
2) 5
3) -2
4) 2
1 (x – 2)
5) 3(x – 1)
6) 2
1
7) a + b
8) a × c
2.
สมการ ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2
คําตอบของ
สมการ
1) 7(x – 2) = 21
7
2)7(x −
= 7
21 x – 2 + 2 = 3 + 2 5
2) 1.2 – 8x = -6 1.2 – 8x – 1.2 = -6 – 1.2
8-
8x- = 8-
7.2- 0.9
3) 5.5y + 3.5 = -2 5.5y + 3.5 – 3.5 = -2 – 3.5
5.5
5.5y
= 5.5
5.5- -1
4) 3
2 (x + 1) = 2
1
3
2 (x + 1) × 2
3 = 2
1 × 2
3 x + 1 – 1 = 4
3 – 1 - 4
1
5) 2
5y +
= -3 2
5y +
× 2 = (-3) × 2 y + 5 – 5 = -6 – 5 -11
60
แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.2
แบบฝกหัดชุดนี้มีเจตนาใหใชเพื่อทบทวนการวิเคราะหเงื่อนไขในโจทยและเขียนสมการ
กอนขึ้นตัวอยางและเนื้อหาในหัวขอ 3.2
จงเขียนสัญลักษณที่มีความหมายตรงกับขอความ / ประโยคทางซายมือในชองวางเพื่อตอบปญหา
ตอไปนี้
ขอความ / ประโยค สัญลักษณ
1. ผลบวกของ 8
3 กับหาเทาของจํานวนจํานวนหนึ่งเทากับ - 4
1
1) หาเทาของจํานวนจํานวนหนึ่ง
2) ผลบวกของ 8
3 กับหาเทาของจํานวนจํานวนหนึ่งเทากับ
- 4
1
ให x แทนจํานวนจํานวนหนึ่ง
1) .……………..
2) …..………….
2. ปจจุบันอายุของตอเปน 6
5 เทาของอายุของติ๊ก ถาปหนาตอ
มีอายุครบ 21 ป ปจจุบันติ๊กมีอายุกี่ป
1) ปจจุบันอายุของตอเปน 6
5 เทาของอายุของติ๊ก
2) สมการที่แสดงอายุของตอในปหนา
ใหปจจุบันติ๊กมีอายุ x ป
1) …..………….
2) …..………….
3. มานะตัดเชือกยาว 100 เซนติเมตร ออกเปนสองทอน
เชือกทอนยาวมีความยาวมากกวาสองเทาของความยาวของ
เชือกทอนสั้น 7 เซนติเมตร เชือกแตละทอนยาวเทาไร
1) สองเทาของความยาวของเชือกทอนสั้น
2) ความยาวของเชือกทอนยาว
3) สมการแสดงความสัมพันธระหวางเชือกทั้งสองทอน
ให x แทนความยาวของเชือก
ทอนสั้น
1) …..………….
2) …..………….
3) …..………….
4. เศษสองสวนสามของจํานวนจํานวนหนึ่งมากกวาสิบหาอยู
เจ็ด
1) เศษสองสวนสามของจํานวนจํานวนหนึ่ง
2) เศษสองสวนสามของจํานวนจํานวนหนึ่งมากกวาสิบหา
3) เศษสองสวนสามของจํานวนจํานวนหนึ่งมากกวาสิบหา
อยูเจ็ด
ให x แทนจํานวนจํานวนหนึ่ง
1) …..………….
2) …..………….
3) …..………….
61
ขอความ / ประโยค สัญลักษณ
5. เศษสองสวนสามของสวนที่จํานวนจํานวนหนึ่งมากกวา
สิบหาเทากับเจ็ด
1) สวนที่จํานวนจํานวนหนึ่งมากกวาสิบหา
2) เศษสองสวนสามของสวนที่จํานวนจํานวนหนึ่งมากกวา
สิบหา
3) เศษสองสวนสามของสวนที่จํานวนจํานวนหนึ่งมากกวา
สิบหาเทากับเจ็ด
ให x แทนจํานวนจํานวนหนึ่ง
1) …..………….
2) …..………….
3) …..………….
คําตอบแบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.2
1.
1) 5x 2) 8
3 + 5x = - 4
1
2.
1) x6
5 2) x6
5 + 1 = 21
3.
1) 2x 2) 100 – x
3) (100 – x) – 2x = 7
4.
1) x3
2 2) x3
2 – 15
3) x3
2 – 15 = 7
5.
1) x – 15 2) 3
2 (x – 15)
3) 3
2 (x – 15) = 7

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
yinqpant
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
ครู กรุณา
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
ครู กรุณา
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558
ครู กรุณา
 
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2
jutarattubtim
 
Test o net ม.6 51
Test o net ม.6 51Test o net ม.6 51
Test o net ม.6 51
seelopa
 
เฉลย O net 53
เฉลย O net 53เฉลย O net 53
เฉลย O net 53
GiveAGift
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
prapasun
 
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒPat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Majolica-g
 

Was ist angesagt? (18)

Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
 
Basic m2-1-chapter5
Basic m2-1-chapter5Basic m2-1-chapter5
Basic m2-1-chapter5
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
 
Basic m3-1-chapter1
Basic m3-1-chapter1Basic m3-1-chapter1
Basic m3-1-chapter1
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
 
ข้อสอบโควตา
ข้อสอบโควตาข้อสอบโควตา
ข้อสอบโควตา
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558
 
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิตข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
 
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3
ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3
 
Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1
 
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2
 
Test o net ม.6 51
Test o net ม.6 51Test o net ม.6 51
Test o net ม.6 51
 
Pat56March
Pat56MarchPat56March
Pat56March
 
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3(2)
ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3(2)ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3(2)
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3(2)
 
เฉลย O net 53
เฉลย O net 53เฉลย O net 53
เฉลย O net 53
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
 
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒPat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
 
คณิต
คณิตคณิต
คณิต
 

Ähnlich wie Basic m2-2-chapter3

การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
krusongkran
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
พัน พัน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
Aon Narinchoti
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
Aon Narinchoti
 

Ähnlich wie Basic m2-2-chapter3 (20)

แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
 
Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Add m3-1-chapter1
Add m3-1-chapter1Add m3-1-chapter1
Add m3-1-chapter1
 
Basic algebra
Basic algebraBasic algebra
Basic algebra
 
Add m3-1-chapter3
Add m3-1-chapter3Add m3-1-chapter3
Add m3-1-chapter3
 
แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม
 
Eq5
Eq5Eq5
Eq5
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
E book math
E book mathE book math
E book math
 
E book math
E book mathE book math
E book math
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Add m2-2-chapter3
Add m2-2-chapter3Add m2-2-chapter3
Add m2-2-chapter3
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
A samakran
A samakranA samakran
A samakran
 
คำชี้แจง 1
คำชี้แจง 1คำชี้แจง 1
คำชี้แจง 1
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 

Mehr von กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

Mehr von กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-link
Basic m3-1-linkBasic m3-1-link
Basic m3-1-link
 
Basic m2-2-chapter2
Basic m2-2-chapter2Basic m2-2-chapter2
Basic m2-2-chapter2
 
Basic m2-2-link
Basic m2-2-linkBasic m2-2-link
Basic m2-2-link
 
Basic m2-2-chapter4
Basic m2-2-chapter4Basic m2-2-chapter4
Basic m2-2-chapter4
 

Basic m2-2-chapter3

  • 1. บทที่ 3 การประยุกตของสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว (12 ชั่วโมง) 3.1 ทบทวนการแกสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว (3 ชั่วโมง) 3.2 การนําไปใช (9 ชั่วโมง) นักเรียนเคยเรียนการแกสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวมาแลว ในตอนตนของบทนี้จึงไดทบทวน เนื้อหาเหลานั้น และไดแนะนําใหนักเรียนรูจักสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวที่มี x เปนตัวแปรและมีรูปทั่วไป เปน ax + b = 0 เมื่อ a, b เปนคาคงตัว และ a ≠ 0 พรอมทั้งไดใหตัวอยางของการแกสมการเชิงเสน ตัวแปรเดียวและโจทยแบบฝกหัดที่ซับซอนขึ้น สําหรับการประยุกตของสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว เนนการแกโจทยปญหาเกี่ยวกับจํานวน อัตราสวนและรอยละ และอัตราเร็ว การแกโจทยปญหาโดยใชสมการเปนวิธีหนึ่งที่นักเรียนสามารถนําไป ประยุกตใชแกปญหาที่อาจพบในชีวิตประจําวันได ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนครูควรใหนักเรียน ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดดวย ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1. แกโจทยปญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวได 2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดในสถานการณตาง ๆ
  • 2. 48 แนวทางในการจัดการเรียนรู 3.1 ทบทวนการแกสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว (3 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. บอกสมบัติของการเทากันได 2. แกสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวโดยใชสมบัติของการเทากันได เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.1 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูอาจทบทวนความหมายของสมการ คําตอบของสมการ การแกสมการ และสมบัติของ การเทากันที่นํามาใชในการหาคําตอบของสมการโดยซักถามหรืออาจเลือกใชแบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.1 ครูยกตัวอยางสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวในรูปแบบตาง ๆ เชน 2x = 7, x2 1- + 5 = 2x, 5(x – 1) = 2 1 , -4.5x + 2 = 0 และใหนักเรียนสังเกตวา สมการดังตัวอยางที่กลาวมานี้ สามารถเขียนให อยูในรูปทั่วไปเปน ax + b = 0 เมื่อ a, b เปนคาคงตัวและ a ≠ 0 ครูอาจถามนักเรียนวาทําไมจึงตองมี เงื่อนไข a ≠ 0 กํากับไวหรืออาจถามวา ถา a = 0 แลว สมการ ax + b = 0 จะเปนสมการในลักษณะใด ครูควรชี้แจงกับนักเรียนวา คําสั่งของโจทยที่ใหหาคําตอบของสมการหรือใหแกสมการ มีความหมายอยางเดียวกัน กลาวคือ ใหหาจํานวนที่แทนตัวแปรในสมการนั้นแลวทําใหไดสมการที่เปนจริง ถาโจทยไมระบุวิธีหา นักเรียนจะใชวิธีการลองแทนคาหรือใชสมบัติของการเทากันก็ได 2. ตัวอยางการแกสมการในหนังสือเรียน แสดงใหเห็นการนําสมบัติของการเทากันมาใช ครูควรชี้ใหนักเรียนสังเกตเห็นการใชสมบัติเหลานั้นโดยใชคําถามประกอบคําอธิบาย ในตัวอยางที่ 5 แสดงใหเห็นการนําสมบัติการแจกแจงมาชวยในการหาผลคูณ และในตัวอยางที่ 6 จะเห็นวาทุกจํานวนใน โจทยอยูในรูปเศษสวน เพื่อความสะดวกในการแกสมการ นิยมทําตัวสวนใหเปน 1 โดยนํา ค.ร.น. ของ ตัวสวนของแตละเศษสวนในสมการนั้นมาคูณทั้งสองขางของสมการกอน ในการแกสมการโดยใชสมบัติของการเทากันทุกครั้ง ครูควรเนนใหนักเรียนตรวจสอบคา ของตัวแปรที่คํานวณไดวา เปนคําตอบของสมการที่กําหนดใหหรือไม 3. โจทยในแบบฝกหัด 3.1 เปนโจทยที่เนนทักษะการแกสมการโดยใชสมบัติของการเทากัน ซึ่งมีทั้งงายและยาก ครูอาจเลือกใหทําเปนบางขอหรือใหทําทุกขอตามความเหมาะสมกับความสามารถของ นักเรียน 4. สําหรับกิจกรรม “ลองหาดู” มีไวเพื่อใหนักเรียนไดฝกหาคําตอบของสมการโดยวิธีลองแทน คา คําตอบอาจมีไดหลากหลาย ครูอาจใหนักเรียนนําเสนอคําตอบหนาชั้น พรอมอธิบายเหตุผลประกอบ
  • 3. 49 3.2 การนําไปใช (9 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. แกโจทยปญหาโดยใชสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวได 2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.2 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ขั้นตอนที่สําคัญในการแกโจทยปญหา คือ ขั้นวิเคราะหเงื่อนไขในโจทยและเขียนสมการ ครูอาจทบทวนการเขียนประโยคสัญลักษณแทนขอความ โดยใชแบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.2 กอนการใหตัวอยางการแกโจทยปญหา ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นขั้นตอนการแกปญหาโดยใชสมการใน การหาอายุของไดโอแฟนทัส ซึ่งเปนไปตามลําดับขั้นตอนดังแผนภูมิในหนังสือเรียนหนา 95 สําหรับโจทยปญหาทุกขอ ขั้นตอนการตรวจสอบคําตอบของสมการตามเงื่อนไขในโจทยถือ เปนสวนสําคัญที่จําเปนตองทํา ครูจะตองอธิบายใหนักเรียนเขาใจวิธีการตรวจสอบและย้ําใหมีการตรวจสอบ ทุกครั้งที่แกโจทยปญหา 2. สําหรับกิจกรรม “ปญหาเกี่ยวกับจํานวน” ครูอาจทบทวนเกี่ยวกับจํานวนคู จํานวนคี่ จํานวนคูสามจํานวนที่เรียงติดกัน และจํานวนคี่สามจํานวนที่เรียงติดกัน โดยใชเสนจํานวนพรอมยก ตัวอยางประกอบ ตัวอยางจํานวนคูสามจํานวนที่เรียงติดกัน 10, 12, 14 -8, -6, -4 -2, 0, 2 ตัวอยางจํานวนคี่สามจํานวนที่เรียงติดกัน 3, 5, 7 1, -1, -3 -9, -11, -13 ตัวอยางที่ 4 ตองการใหนักเรียนเห็นวา ในการแกโจทยปญหา อาจกําหนดตัวแปรแทน จํานวนที่โจทยถามโดยตรง หรือแทนจํานวนที่เกี่ยวของกับจํานวนที่โจทยถามก็ได ในการกําหนดตัวแปร ที่แตกตางกันดังตัวอยางขางตน อาจทําใหไดสมการที่งายหรือยากตอการหาคําตอบ ครูจึงควรฝกให นักเรียนรูจักกําหนดตัวแปรใหเหมาะสมกับเงื่อนไขในโจทยปญหา
  • 4. 50 ในตัวอยางที่ 5 ตองการใหนักเรียนเห็นและรูความหมายของคําวา ผลตางระหวางจํานวน สองจํานวน เชน ตัวอยางนี้ แสดงใหเห็นผลตางของจํานวนจํานวนหนึ่งกับ 7 ซึ่งเรายังไมทราบวา จํานวนนั้นมีคามากกวา 7 หรือนอยกวา 7 ผลตางจึงอาจเปน x – 7 หรือ 7 – x ก็ได ครูตองเนนให นักเรียนเขาใจและแสดงวิธีหาคําตอบใหครบทั้งสองกรณี จึงจะถือวาถูกตอง ในตัวอยางที่ 6 เปนโจทยลักษณะเดียวกันที่นักเรียนบางคนเคยพบเปนโจทยขอ 7 ของ แบบฝกหัด 3.3 เรื่องการประยุกตของเศษสวนและทศนิยม ในหนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 2 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 แตที่นํามาไวในสาระนี้ เพราะมีเจตนาตองการจะสื่อวา โจทยในลักษณะนี้ถาคิดคํานวณโดยวิธีเลขคณิต อาจทําใหเกิดความผิดพลาด ไดงาย เนื่องจากนักเรียนมักเกิดความสับสน ไมนําไข 12 ฟองที่ใหเพื่อนบานมาคิดเปนสวนหนึ่งของกําไร ดวย มักคิดวากําไรที่โจทยกําหนดเปนกําไรที่ไดจากการขายไขที่เหลือจากใหเพื่อนบานไปแลวเทานั้น วิธีที่ นักเรียนสวนใหญคํานวณผิดเปนดังนี้ ซื้อไขฟองละ 2.75 บาท ขายไขฟองละ 3.25 บาท ดังนั้น ขายไข 1 ฟอง ไดกําไร 3.25 – 2.75 = 0.50 บาท กําไร 0.50 บาท ไดจากการขายไข 1 ฟอง ถาไดกําไร 111 บาท จะไดจากการขายไข 11150.0 1 × = 222 ฟอง มีไขใหเพื่อนบาน 12 ฟอง ดังนั้น ซื้อไขมาทั้งหมด 222 + 12 = 234 ฟอง ถานักเรียนตรวจสอบคําตอบกับเงื่อนไขในโจทยจะพบวาไมสอดคลองตามโจทย กลาวคือ ซื้อไขมา 234 ฟอง คิดเปนตนทุน 234 × 2.75 = 643.50 บาท ขายไข 234 – 12 = 222 ฟอง ไดเงิน 222 × 3.25 = 721.50 บาท คิดเปนกําไร 78 บาท ซึ่งไมเปนจริงตามเงื่อนไขในโจทยที่ใหกําไรไว 111 บาท แตถาหาคําตอบโดยใชสมการ จะไดคําตอบที่ถูกตองดังแสดงในตัวอยางที่ 6 ในหนังสือเรียน สําหรับโจทยขอ 20 ในแบบฝกหัดเปนโจทยที่นักเรียนอาจเกิดความสับสนเกี่ยวกับเวลาที่คิด อายุได เพื่อแกปญหานี้ครูอาจนํามาเปนตัวอยางแนะนําการใชตารางวิเคราะหเงื่อนไขในโจทยแสดงอายุใน อดีต ปจจุบัน และอนาคตของบิดาและบุตร ดังนี้ อายุ อดีต 3 ปที่แลว ปจจุบัน (ป) อนาคต 5 ปขางหนา บิดา บุตร x – 3 x5 1 x x5 1 + 3 x + 5 ⎟ ⎠ ⎞⎜ ⎝ ⎛ +3x5 1 + 5 หรือ x5 1 + 8
  • 5. 51 จากขอมูลที่ไดในตารางจะชวยใหทราบอายุของแตละคนในแตละชวงเวลาตาง ๆ ซึ่งจะชวยใหเขียนสมการ ไดตรงตามเงื่อนไขและงายขึ้น 3. สําหรับกิจกรรม “คิด” ครูอาจใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบเปนกลุม แลวใหตัวแทนกลุม นําเสนอคําตอบหนาชั้น พรอมแสดงเหตุผลประกอบ 4. สําหรับกิจกรรม “เกมทายจํานวน” ตองการใหนักเรียนมีความคิดริเริ่มสรางสรรค รูจักนํา ความรู ทักษะ กระบวนการทางคณิตศาสตรมาสรางกฎเกณฑไดเองอยางเหมาะสม และสามารถอธิบาย ลําดับขั้นตอนของเกมได ในการจัดกิจกรรมนี้ครูอาจแสดงบทบาทปรีชา ใหนักเรียนแสดงบทบาทของสุดา ครูอาจสุมถามนักเรียนแลวทายจํานวนที่นักเรียนคิดไวในใจ ประมาณ 4 – 5 คน หลังจากนั้นใหนักเรียน ชวยกันคิดและคนหากระบวนการทายจํานวนของปรีชาวาทําไดอยางไร พรอมทั้งออกมานําเสนอวิธีแกเกม นี้ หลังจากนั้นใหนักเรียนชวยกันสรางเกมเปนกลุมและออกมานําเสนอทายเกมกับกลุมอื่น ๆ 5. สําหรับโจทยปญหาเกี่ยวกับอัตราสวนและรอยละ ตองการใหนักเรียนนําความรูพื้นฐาน เกี่ยวกับอัตราสวนและรอยละมาใชแกโจทยที่มีความซับซอนโดยใชสมการ ครูอาจถามทบทวนความรู เกี่ยวกับความหมายของอัตราสวนและรอยละ รวมทั้งของผสมที่นักเรียนเคยเรียนมาแลว เมื่อเห็นวา นักเรียนมีพื้นฐานเพียงพอ จึงใหตัวอยางตามหนังสือเรียนและทําแบบฝกหัด 6. สําหรับกิจกรรม “ขายเทาไรดี” ตองการใหเห็นการนําความรูทางคณิตศาสตรไปใชในการ ดํารงชีวิต ครูอาจใหนักเรียนทํางานเปนกลุมชวยกันคิดวางแผนทําธุรกิจเล็ก ๆ ตั้งแตสินคาที่จะผลิตควร ตั้งราคาเทาไร จึงจะไดกําไรตามแนวคิดของกลุม 7. สําหรับกิจกรรม “ปญหาเกี่ยวกับอัตราเร็ว” เปนปญหาที่นักเรียนพบเห็นไดในชีวิตประจําวัน เพื่อใหเกิดความเขาใจที่ถูกตองและสามารถนําไปใชไดในชีวิตจริง ครูอาจเสนอแนะใหนักเรียนเขียนแผน ภาพประกอบ เพื่อชวยใหการกําหนดตัวแปร การเขียนสมการ เปนไปอยางถูกตอง ดังตัวอยางโจทยขอ 9 หนา 118 อาจเขียนแผนภาพไดดังนี้ 8. สําหรับกิจกรรม “กระตายกับเตา” มีเจตนาใหเปนกิจกรรมที่สรางความสนใจใหกับนักเรียน เนื่องจากนักเรียนสวนใหญจะเคยฟงนิทานอีสปมากอนแลว ครูอาจใหนักเรียนชวยกันคิดหาคําตอบเปน กลุม แลวใหตัวแทนกลุมนําเสนอคําตอบ มีการอภิปรายรวมกัน เมื่อไดขอสรุปตรงกันแลว ครูเสนอคติ เตือนใจที่ไดจากเรื่องนี้ ใหนักเรียนไดเห็นถึงความกลาหาญ ไมยอทอ สูดวยความขยันหมั่นเพียรและอดทน สถานีทุงเขียว สถานีโพธิ์งาม สถานีบัวขาว ขบวน ก. ขบวน ข. ถึงเวลา 8.20 น. ออกเวลา 7.00 น. อัตราเร็ว 45 กม./ ชม. ออกเวลา 7.03 น. ถึงเวลา 8.15 น. 150 กม.
  • 6. 52 ของเตาจนประสบความสําเร็จเอาชนะกระตายผูมากดวยความสามารถ ปราดเปรียว วิ่งเร็วดุจลมพัด แต ตกอยูในความประมาทและชะลาใจ คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําตอบแบบฝกหัด 3.1 1. 5 37 หรือ 5 27 2. 20 1- 3. 3 4. -16 5. -1 6. 21 7. 2 7- หรือ 2 13- 8. 4 9. 7 1 10. 0 11. 0 12. -6 13. 4 14. 1 15. 12 16. 12 17. -5 18. 2 19. -5 20. -4 21. -18 22. -7 23. -1 24. -48 25. 1 26. -28 คําตอบกิจกรรม “ลองหาดู” ตัวอยางคําตอบ 1. a = 2, b = 3 และ c = 6 2. a = 4, b = 2 และ c = 4 3. a = 6, b = 2 และ c = 3
  • 7. 53 คําตอบกิจกรรม “ปญหาเกี่ยวกับจํานวน” 1. -86, -85 และ -84 2. -31, -29 และ -27 3. -50 และ -11 4. -10 และ -8 5. 9 และ 11 6. 2.05 และ 5.05 7. 10 และ 25 8. -5, -4 และ -3 9. 85 คะแนน 10. 33 คน 11. 15 บาท 12. 36 เมตร 13. กวาง 7 เมตร และยาว 11 เมตร 14. 140 ลูกบาศกเซนติเมตร 15. 4.25 เมตร 16. 129 บาท 17. 50 ไร 18. นิภา นที และนัท มีอายุ 15 ป 9 ป และ 14 ป ตามลําดับ 19. นายชูเลี้ยงไก 2,500 ตัว นายชมเลี้ยงไก 3,000 ตัว 20. ปจจุบันบิดามีอายุ 35 ป และบุตรมีอายุ 10 ป 21. 2.17 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร 22. 49 เซนติเมตร คําตอบกิจกรรม “คิด” 639 แนวคิด ใหจํานวนที่มีสามหลัก คือ abc จะไดสมการเปน a + b + c = 18 c = 3b และ a = 2b
  • 8. 54 คําตอบกิจกรรม “เกมทายจํานวน” 1. จํานวนที่สุดานึกไว คือ 341 ปรีชาบอกไดโดยนํา 10 มาลบออกจาก 351 2. นักเรียนสรางไดหลากหลาย ซึ่งเกมที่สรางตองบอกลําดับขั้นตอนได คําตอบกิจกรรม “ปญหาเกี่ยวกับอัตราสวนและรอยละ” 1. 1,180 คน แนวคิด ใหจํานวนนักเรียนทั้งหมดของโรงเรียนนี้เปน x คน ตัวอยางสมการ x = x100 50 + x100 40 + 118 2. ซื้อมะมวงน้ําดอกไม 25 กิโลกรัม และมะมวงเขียวเสวย 35 กิโลกรัม แนวคิด ใหซื้อมะมวงน้ําดอกไม x กิโลกรัม ตัวอยางสมการ )x60(50 x60 − = 7 6 3. กวาง 42 เมตร และยาว 70 เมตร แนวคิด ใหดานกวางยาว x เมตร ตัวอยางสมการ ⎥⎦ ⎤ ⎢⎣ ⎡ ⎟ ⎠ ⎞⎜ ⎝ ⎛+ x3 5 100 120 x100 120 2 = 268.8 4. 800 บาท แนวคิด ใหตนทุนของกระเปาเปน x บาท ตัวอยางสมการ 100100 125x90 × × = 900 5. 280 กิโลเมตร แนวคิด ใหระยะทางที่วิ่งทั้งหมดเปน x กิโลเมตร ตัวอยางสมการ x100 20 + 64 + 100 50 ⎟ ⎠ ⎞⎜ ⎝ ⎛ − 64x100 80 = 200 6. 625 ลูกบาศกเซนติเมตร แนวคิด ใหใชน้ําเชื่อมจากขวดที่สองจํานวน x ลูกบาศกเซนติเมตร ตัวอยางสมการ x250 x100 20 250100 90 + +× ⎟ ⎠ ⎞⎜ ⎝ ⎛ = 100 40
  • 9. 55 คําตอบกิจกรรม “ขายเทาไรดี” 30 บาท แนวคิด ใหตั้งราคาขายไวชุดละ x บาท ตัวอยางสมการ ⎟ ⎠ ⎞⎜ ⎝ ⎛ × x100 50 8 + 52x = 100 1200140× คําตอบกิจกรรม “ปญหาเกี่ยวกับอัตราเร็ว” 1. 1) อัตราเร็วของรถอีแตน 36 กิโลเมตรตอชั่วโมง อัตราเร็วของรถจักรยานยนต 60 กิโลเมตรตอชั่วโมง 2) 24 กิโลเมตร แนวคิดขอ 1 ใหติ๊กขับรถอีแตนดวยอัตราเร็ว x กิโลเมตรตอชั่วโมง ตัวอยางสมการ 60 24)x(12 + = 60 20x 2. 6 512 กิโลเมตร แนวคิด ใหปรีชาวิ่งไดระยะทาง x กิโลเมตร ตัวอยางสมการ 13 )2x(60 11 60x − − = 20 3. 13.00 น. แนวคิด ใหชายอีกคนหนึ่งออกเดินตามเปนเวลานาน x ชั่วโมง ตัวอยางสมการ 10x = 5(x + 2) 4. เวลาผานไป 3 นาที และพบกันเวลา 7.03 น. แนวคิด ใหรถบดทั้งสองคันเคลื่อนมาพบกันเมื่อเวลาผานไป x นาที ตัวอยางสมการ 10x + 12x = 66 5. 100 กิโลเมตร แนวคิด ใหอําเภออยูหางจากบานของศรัญ x กิโลเมตร ตัวอยางสมการ 60 x – 80 20x + = 60 10
  • 10. 56 6. ชวงแรกขี่ไดระยะทาง 21 กิโลเมตร ใชเวลา 4 31 ชั่วโมง และ ชวงสองขี่ไดระยะทาง 36 กิโลเมตร ใชเวลา 4 12 ชั่วโมง แนวคิด ใหขี่จักรยานในชวงแรกไดระยะทาง x กิโลเมตร ตัวอยางสมการ 12 x + 16 x57− = 4 7. 1) 74 กิโลเมตรตอชั่วโมง 2) 87 กิโลเมตร แนวคิด ใหขับรถในเวลากลางวันดวยอัตราเร็ว x กิโลเมตรตอชั่วโมง ตัวอยางสมการ 2x + 2 3 (x – 16) = 235 8. รถไฟขบวน ข แลนไปทันขบวน ก เมื่อเวลา 13.30 น. ณ จุดที่หางจากสถานีบานมา 300 กิโลเมตร แนวคิด ใหรถไฟขบวน ข แลนออกจากสถานีบานมาเปนเวลานาน x ชั่วโมง ตัวอยางสมการ 60x = 40x + ⎟ ⎠ ⎞⎜ ⎝ ⎛ × 60 150 40 9. 75 กิโลเมตรตอชั่วโมง แนวคิด ใหรถไฟขบวน ข วิ่งดวยอัตราเร็ว x กิโลเมตรตอชั่วโมง ตัวอยางสมการ ⎟ ⎠ ⎞⎜ ⎝ ⎛ × 60 80 45 + x60 72 = 150 คําตอบกิจกรรม “กระตายกับเตา” 1. 80 เสน 2. 10.00 น. 3. กระตายชนะเตา และถึงเสนชัยกอนเตา 2 นาที 4. 3 ชั่วโมง 26 นาที แนวคิดขอ 1 ใหระยะทางแขงขันยาว x เสน ตัวอยางสมการ x – 20 = 20 × 3
  • 12. 58 แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.1 แบบฝกหัดชุดนี้มีเจตนาใหใชเพื่อทบทวนการใชสมบัติของการเทากัน การแกสมการเชิงเสน ตัวแปรเดียวตามความรูที่นักเรียนเคยเรียนมาแลว ซึ่งจะใชเปนพื้นฐานในการแกสมการที่ซับซอนขึ้น กอนขึ้นตัวอยางและเนื้อหาในหัวขอ 3.1 1. จงเติมขอความใหสอดคลองกับสมบัติของการเทากัน หรือสมบัติการแจกแจงที่นํามาใชในแตละขอ ตอไปนี้ 1) ถา x = y แลว …………… = y – 10 2) ถา 3x = -2 + 7 และ -2 + 7 = 5 แลว 3x = …………… 3) ถา 5x – 7 = -3 แลว (5x – 7) + (……………) = (-3) + (-2) 4) ถา x – 2 = 3a แลว …………… = 2 1 (3a) 5) ถา 3 1 (x + 5) = x – 1 แลว 3 × 3 1 (x + 5) = …………… 6) ⎟ ⎠ ⎞⎜ ⎝ ⎛ ×x2 1 – ⎟ ⎠ ⎞⎜ ⎝ ⎛ ×y2 1 = ……… × (x – y) 7) y × (……………) = (y × a) + (y × b) 8) (…… × ……) + (b × c) = (a + b) × c 2. ใหแกสมการโดยแสดงขั้นตอนการใชสมบัติของการเทากันในตารางตอไปนี้ สมการ ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 คําตอบของ สมการ ตัวอยาง 5x + 2 = -13 5x + 2 – 2 = -13 – 2 5 x5 = 5 15- -3 1) 7(x – 2) = 21 2) 1.2 – 8x = -6 3) 5.5y + 3.5 = -2 4) 3 2 (x + 1) = 2 1 5) 2 5y + = -3
  • 13. 59 คําตอบแบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.1 1. 1) x – 10 2) 5 3) -2 4) 2 1 (x – 2) 5) 3(x – 1) 6) 2 1 7) a + b 8) a × c 2. สมการ ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 คําตอบของ สมการ 1) 7(x – 2) = 21 7 2)7(x − = 7 21 x – 2 + 2 = 3 + 2 5 2) 1.2 – 8x = -6 1.2 – 8x – 1.2 = -6 – 1.2 8- 8x- = 8- 7.2- 0.9 3) 5.5y + 3.5 = -2 5.5y + 3.5 – 3.5 = -2 – 3.5 5.5 5.5y = 5.5 5.5- -1 4) 3 2 (x + 1) = 2 1 3 2 (x + 1) × 2 3 = 2 1 × 2 3 x + 1 – 1 = 4 3 – 1 - 4 1 5) 2 5y + = -3 2 5y + × 2 = (-3) × 2 y + 5 – 5 = -6 – 5 -11
  • 14. 60 แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.2 แบบฝกหัดชุดนี้มีเจตนาใหใชเพื่อทบทวนการวิเคราะหเงื่อนไขในโจทยและเขียนสมการ กอนขึ้นตัวอยางและเนื้อหาในหัวขอ 3.2 จงเขียนสัญลักษณที่มีความหมายตรงกับขอความ / ประโยคทางซายมือในชองวางเพื่อตอบปญหา ตอไปนี้ ขอความ / ประโยค สัญลักษณ 1. ผลบวกของ 8 3 กับหาเทาของจํานวนจํานวนหนึ่งเทากับ - 4 1 1) หาเทาของจํานวนจํานวนหนึ่ง 2) ผลบวกของ 8 3 กับหาเทาของจํานวนจํานวนหนึ่งเทากับ - 4 1 ให x แทนจํานวนจํานวนหนึ่ง 1) .…………….. 2) …..…………. 2. ปจจุบันอายุของตอเปน 6 5 เทาของอายุของติ๊ก ถาปหนาตอ มีอายุครบ 21 ป ปจจุบันติ๊กมีอายุกี่ป 1) ปจจุบันอายุของตอเปน 6 5 เทาของอายุของติ๊ก 2) สมการที่แสดงอายุของตอในปหนา ใหปจจุบันติ๊กมีอายุ x ป 1) …..…………. 2) …..…………. 3. มานะตัดเชือกยาว 100 เซนติเมตร ออกเปนสองทอน เชือกทอนยาวมีความยาวมากกวาสองเทาของความยาวของ เชือกทอนสั้น 7 เซนติเมตร เชือกแตละทอนยาวเทาไร 1) สองเทาของความยาวของเชือกทอนสั้น 2) ความยาวของเชือกทอนยาว 3) สมการแสดงความสัมพันธระหวางเชือกทั้งสองทอน ให x แทนความยาวของเชือก ทอนสั้น 1) …..…………. 2) …..…………. 3) …..…………. 4. เศษสองสวนสามของจํานวนจํานวนหนึ่งมากกวาสิบหาอยู เจ็ด 1) เศษสองสวนสามของจํานวนจํานวนหนึ่ง 2) เศษสองสวนสามของจํานวนจํานวนหนึ่งมากกวาสิบหา 3) เศษสองสวนสามของจํานวนจํานวนหนึ่งมากกวาสิบหา อยูเจ็ด ให x แทนจํานวนจํานวนหนึ่ง 1) …..…………. 2) …..…………. 3) …..………….
  • 15. 61 ขอความ / ประโยค สัญลักษณ 5. เศษสองสวนสามของสวนที่จํานวนจํานวนหนึ่งมากกวา สิบหาเทากับเจ็ด 1) สวนที่จํานวนจํานวนหนึ่งมากกวาสิบหา 2) เศษสองสวนสามของสวนที่จํานวนจํานวนหนึ่งมากกวา สิบหา 3) เศษสองสวนสามของสวนที่จํานวนจํานวนหนึ่งมากกวา สิบหาเทากับเจ็ด ให x แทนจํานวนจํานวนหนึ่ง 1) …..…………. 2) …..…………. 3) …..…………. คําตอบแบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.2 1. 1) 5x 2) 8 3 + 5x = - 4 1 2. 1) x6 5 2) x6 5 + 1 = 21 3. 1) 2x 2) 100 – x 3) (100 – x) – 2x = 7 4. 1) x3 2 2) x3 2 – 15 3) x3 2 – 15 = 7 5. 1) x – 15 2) 3 2 (x – 15) 3) 3 2 (x – 15) = 7