SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 151
Downloaden Sie, um offline zu lesen
คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม ๒
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
ISBN 974-01-3820-9
พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม
พ.ศ. ๒๕๔๗
องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย
พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว
๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
บทที่ 3
เรขาคณิตวิเคราะห
( 42 ชั่วโมง )
สําหรับบทเรียนนี้จะกลาวถึง เรขาคณิตวิเคราะห โดยแบงเปนสองหัวขอใหญ ๆ คือ ความรู
เบื้องตนเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห และภาคตัดกรวย โดยจะเนนการนําความรูไปใชในการแกปญหา แต
ถึงอยางไรก็ตามผูสอนควรใหผูเรียนสามารถหาสูตรไดบาง เพราะถาผูเรียนรูที่มาอันแนนอนของสูตร
ก็ยอมใชสูตรนั้นดวยความเขาใจดีขึ้น สําหรับหัวขอความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะหที่จะกลาวถึง
เปนการแสดงถึงความเกี่ยวของระหวางเสนตรงและสมการกําลังหนึ่ง โดยมีสาระการเรียนรูดังตอไปนี้
ระยะระหวางจุดสองจุด จุดกึ่งกลางระหวางจุดสองจุด ความชันของเสนตรง เสนขนาน เสนตั้งฉาก
ความสัมพันธซึ่งมีกราฟเปนเสนตรง และระยะหางระหวางเสนตรงกับจุด สวนหัวขอภาคตัดกรวยจะกลาว
ถึงวงกลม พาราโบลา วงรี และไฮเพอรโบลา ตามลําดับ ในชีวิตจริงไดมีการนําสมบัติของภาคตัดกรวย
ไปใชกันอยางกวางขวาง เชน ในการศึกษาเกี่ยวกับโครงสรางของอะตอม การประดิษฐเลนสที่ใชใน
กลองสองทางไกล เลนสกลองจุลทรรศน เลนสแวนสายตาการประดิษฐโคมไฟรถยนต เรดาร และ
จานดาวเทียม ซึ่งพื้นผิวดานในเกิดจากการหมุนพาราโบลารอบแกนพาราโบลา
นอกจากนี้ในการหาตนกําเนิดเสียง เชน ในการหาที่ตั้งปนใหญ อาจอาศัยสมบัติของไฮเพอร-โบลา
โดยใชทหารสองคนยืนอยูคนละแหงจดเวลาที่ไดยินเสียงปน จากผลตางของเวลาทั้งสองนี้ ทําใหสามารถ
หาผลตางของระยะทางจากที่ตั้งปนใหญไปยังจุดที่ทหารยืนอยูโดยที่ตั้งปนใหญจะอยูบนไฮเพอรโบลา
ซึ่งมีโฟกัสทั้งสองเปนจุดที่ทหารยืนอยู จุดฟงจุดที่สามจะชวยทําใหหาตําแหนงที่ตั้งของปนไดสําหรับ
การหาตําแหนงของเครื่องบิน ก็ใชวิธีการทํานองเดียวกัน โดยสถานีจากภาคพื้นดินสามแหงคอยรับ
สัญญาณจากเครื่องบินแลวนําผลตางของเวลาที่ไดรับสัญญาณมาคํานวณหาตําแหนงของเครื่องบินดังนั้น
ในบทเรียนนี้ผูเรียนจะไดเรียนรูการนําคณิตศาสตรไปประยุกตใชในชีวิต
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. หาระยะทางระหวางจุดสองจุด จุดกึ่งกลาง ระยะหางระหวางเสนตรงกับจุดได
2. หาความชันของเสนตรง สมการเสนตรง เสนขนาน เสนตั้งฉาก และนําไปใชได
3. เขียนความสัมพันธที่มีกราฟเปนภาคตัดกรวย เมื่อกําหนดสวนตาง ๆ ของภาคตัดกรวยใหและเขียน
กราฟของความสัมพันธนั้นได
4. นําความรูเรื่องการเลื่อนแกนทางขนานไปใชในการเขียนกราฟได
5. นําความรูเรื่องเรขาคณิตวิเคราะหไปใชแกปญหาได
คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม ๒
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
ISBN 974-01-3820-9
พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม
พ.ศ. ๒๕๔๗
องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย
พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว
๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
157
ผลการเรียนรูที่คาดหวังเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นทางดาน
ความรู ดังนั้นในการจัดการเรียนรู ผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูดานทักษะ/กระบวนการทาง
คณิตศาสตรดวยการสอดแทรกกิจกรรมหรือโจทยปญหาที่จะสงเสริมใหผูเรียนเกิดทักษะ/กระบวนการ
ทางคณิตศาสตรที่จําเปน อันไดแก ความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อ
ความหมายทางคณิตศาสตรและการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยง
คณิตศาสตรกับศาสตรอื่น และการคิดริเริ่มสรางสรรค นอกจากนั้นกิจกรรมการเรียนรู ควรสงเสริม
ใหผูเรียนตระหนักในคุณคาและมีเจตคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร ตลอดจนฝกใหนักเรียนทํางานอยาง
เปนระบบ มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง
ในการเรียนการสอนแตละสาระการเรียนรูของวิชาคณิตศาสตรนั้น ผูสอนควรแสดงหรือยก
ตัวอยางใหผูเรียนเห็นถึงประโยชนและการนําคณิตศาสตรไปใช ดังเชนสองหัวขอในบทเรียนนี้ เพื่อให
ผูเรียนตระหนักถึงคุณคาอันเกิดจากการศึกษาวิชาคณิตศาสตร ซึ่งจะโยงไปถึงเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร
ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูสําหรับบทเรียนนี้ ผูสอนควรใหผูเรียนไดทดลอง และคนควาหา
ขอสรุปดวยตนเอง
ขอเสนอแนะ
1. ในการสอนเรื่องระยะทางระหวางจุด 2 จุด ผูสอนทบทวนความรูของผูเรียนเรื่องระยะ
ระหวางจุด 2 จุดบนเสนจํานวนที่แทนดวยจํานวนจริง a และ b วาเทากับ ⏐a – b⏐ ซึ่งผูเรียนไดเคย
ศึกษามาแลวในเรื่องจํานวนจริง ถาผูเรียนจําไมได ใหผูสอนยกตัวอยางจุดบนเสนจํานวนที่แทนดวย
จํานวนจริง ใหผูเรียนหาระยะหางระหวางจุดเหลานั้น เชน
ก. ระยะหางระหวางจุดที่แทน 2 และจุดที่แทน 10
ข. ระยะหางระหวางจุดที่แทน –10 และจุดที่แทน 5
ค. ระยะหางระหวางจุดที่แทน –15 และจุดที่แทน –5
ซึ่งผูเรียนควรตอบไดวา เทากับ ⏐10 – 2⏐, ⏐5 – (–10)⏐ และ ⏐–5 – (–15)⏐ ตามลําดับ โดยผูสอน
อาจใชเสนจํานวนแสดงประกอบดวย
2. สัญลักษณที่ใชแทนความยาวของสวนของเสนตรง AB จะเขียนแทนดวย AB หรือ AB
ซึ่งผูเรียนไดเคยใชมาแลวในระดับมัธยมศึกษาตอนตน แตบางครั้งบางคนยังสับสนอยูบาง ใหผูสอนชี้แจง
เรื่องสัญลักษณอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากเปนสัญลักษณที่นักเรียนจะใชตอไปอีกมาก
3. การนิยามความชันของเสนตรงในบทนี้นิยามโดยอาศัยโคอออรดิเนตของจุดสองจุดที่
เสนตรงผาน กลาวคือ ความชันของเสนตรงที่ผานจุด P1(x1, y1) และ P2(x2, y2) จะเทากับ
12
12
xx
yy
−
−
คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม ๒
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
ISBN 974-01-3820-9
พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม
พ.ศ. ๒๕๔๗
องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย
พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว
๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
158
นอกจากนี้อาจนิยามความชันของเสนตรงโดยอาศัยฟงกชันตรีโกณมิติ กลาวคือความชันของเสนตรงที่
ทํามุม θ กับแกน X เทากับ tan θ (มุม θ เปนมุมที่วัดทวนเข็มนาฬิกา จากแกน X ดานที่เปนบวก ไป
จนถึงเสนตรงมุม θ นี้เรียกวา “มุมเอียง” ของเสนตรง และ 0° ≤ θ < 180°)
4. ในหนังสือเรียนที่กลาววา “ความชันของเสนตรงเสนหนึ่ง (ที่ไมขนานกับแกน Y) มีเพียง
คาเดียวเทานั้น” ซึ่งในหนังสือเรียนไมไดแสดงวิธีพิสูจนไว ผูสอนอาจแสดงใหผูเรียนเห็นโดยวิธีการดังนี้
ให L เปนเสนตรงที่ไมขนานกับแกน Y และทํามุมแหลมกับแกน X จุด P1(x1, y1) และ
P2(x2, y2) อยูบนเสนตรง L
จากนิยามของความชัน จะไดวา ความชันของเสนตรง L เทากับ
21
21
xx
yy
−
−
ถา P3(x3, y3) และ P4(x4, y4) เปนจุดอีกสองจุดบนเสนตรง L
ดังนั้น ความชันของเสนตรง L เทากับ
43
43
xx
yy
−
−
จากรูป จะเห็นวา ∆ P1P2Q ∼ ∆ P3P4R
ดังนั้น RP
QP
3
1
= RP
QP
4
2
QP
QP
2
1
= RP
RP
4
3
21
21
xx
yy
−
−
=
43
43
xx
yy
−
−
นั่นคือ ความชันของเสนตรงเดียวกันยอมเทากัน
สําหรับเสนตรงที่ทํามุมปานกับแกน X ผูสอนอาจใชวิธีการแสดงในทํานองเดียวกัน
•
•
•
•
0
(x4, y4) x3 – x4
y3 – y4
P4
P3
P2
P1
(x3, y3)
(x2, y2)
(x1, y1)
x1 – x2
y1 – y2
Q
R
LY
X
คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม ๒
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
ISBN 974-01-3820-9
พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม
พ.ศ. ๒๕๔๗
องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย
พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว
๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
159
5. ในหนังสือเรียน ไดกลาววา เสนตรงสองเสนใด ๆ (ที่ไมขนานกับแกน Y) จะขนานกัน
ก็ตอเมื่อ ความชันของเสนตรงทั้งสองเทากันและในหนังสือเรียนไดแสดงใหเห็นเฉพาะสวนที่กลาววา
ถาเสนตรงสองเสนขนานกันแลวความชันยอมเทากัน แตไมไดแสดงวา ถาความชันของเสนตรงสองเสน
ใดเทากันแลว เสนตรงทั้งสองจะขนานกัน ซึ่งอาจแสดงวาถาเสนตรงสองเสนมีความชันเทากันแลว
เสนตรงทั้งสองจะขนานกัน ไดดังนี้
ให L1 และ L2 เปนเสนตรงที่มีความชัน m1 และ m2 ตามลําดับ และ m1 = m2 จะแสดงวา
L1 และ L2 ขนานกัน
สมมุติวา L1 ไมขนานกับ L2 ให L1 ตัดกับ L2 ที่จุด P1(x1, y1)
ให P2(x2, y3) และ P3(x2, y2) เปนจุดบน L1 และ L2 ตามลําดับ
จะได m1 =
12
13
xx
yy
−
−
และ m2 =
12
12
xx
yy
−
−
เนื่องจาก y3 ≠ y2 ดังนั้น
12
13
xx
yy
−
−
≠
12
12
xx
yy
−
−
จึงทําให m1 ≠ m2 ซึ่งขัดแยงกับที่กําหนดให
ดังนั้น ที่สมมุติวา L1 ไมขนานกับ L2 จึงเปนไปไมได
นั่นคือ L1 ขนานกับ L2
0
P3 (x2, y2)
P2 (x2, y3)
P1 (x1, y1)
L1
Y
X
y1
y2
y3
x1 x2
L2
คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม ๒
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
ISBN 974-01-3820-9
พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม
พ.ศ. ๒๕๔๗
องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย
พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว
๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
160
6. ในหนังสือเรียนไมไดแสดงการพิสูจนวา ถาเสนตรงสองเสนมีผลคูณของความชันเทากับ
–1 แลว เสนตรงทั้งสองจะตั้งฉากซึ่งกันและกัน ซึ่งหากผูเรียนสนใจการพิสูจนผูสอนอาจแสดงไดดังนี้
ให L1 และ L2 เปนเสนตรงสองเสนที่ไมขนานกับแกน Y มีความชัน m1 และ m2 ตามลําดับ
และ m1m2 = –1 จะแสดงใหเห็นวา L1 ตั้งฉากกับ L2
เนื่องจาก m1m2 = –1 จะได m1 ≠ 0 และ m2 ≠ 0 และ m1 ≠ m2
(เพราะถา m1 = m2 จะได m1
2
= –1 ซึ่งเปนไปไมได)
ดังนั้น L1 ไมขนานกับ L2 ให L1 และ L2 ตัดกันที่จุด R (a, b)
เนื่องจาก L1 และ L2 มีความชันเปน m1 และ m2 ตามลําดับ
ดังนั้น สมการของเสนตรง L1 ซึ่งผานจุด (a, b) และมีความชัน m1 คือ y = m1(x – a) + b
ดังนั้น เสนตรง L1 ตัดแกน Y ที่จุด P(0, b – am1)
และ สมการของเสนตรง L2 ที่ผานจุด (a, b) และมีความชัน m2 คือ y = m2(x – a) + b
ดังนั้น เสนตรง L2 ตัดแกน Y ที่จุด Q(0, b – am2)
จะแสดงวา ∆ PRQ เปนสามเหลี่ยมมุมฉาก
เนื่องจาก PQ2
= [(b – am2) – (b – am1)]2
= a2
m1
2
– 2a2
m1m2 + a2
m2
2
= a2
m1
2
+ 2a2
+ a2
m2
2
(m1m2 = –1)
PR2
= a2
+ [b – (b – am1)]2
= a2
+ a2
m1
2
0
(0, b – am1)
(0, b – am2)
L1
Y
X
P
Q
L2
(a, b)
R
•
คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม ๒
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
ISBN 974-01-3820-9
พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม
พ.ศ. ๒๕๔๗
องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย
พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว
๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
161
และ QR2
= a2
+ [b – (b – am2)]2
= a2
+ a2
m2
2
จะได PR2
+ QR2
= a2
m1
2
+ 2a2
+ a2
m2
2
= PQ2
แสดงวา สามเหลี่ยม PRQ เปนสามเหลี่ยมที่มี PRQ เปนมุมฉาก
และเนื่องจากสวนของเสนตรงPRและสวนของเสนตรงQRเปนสวนหนึ่งของเสนตรงL1และL2ตามลําดับ
นั่นคือ L1 ตั้งฉากกับ L2
7. ในการสอนเรื่องสมการเสนตรง ควรชี้ใหเห็นวา กําลังของตัวแปรแตละตัวในสมการ
เสนตรงนั้นเปนหนึ่งเสมอ และเนื่องจากเสนตรงที่ผานจุดสองจุดที่กําหนดใหมีไดเพียงเสนเดียวเทานั้น
ดังนั้น เพื่อความสะดวกในการเขียนกราฟเสนตรงใดก็ตามเราหาจุดที่เสนตรงนั้นผานเพียงสองจุดก็พอ
แตเพื่อปองกันความผิดพลาดเรานิยมพิจารณาจุดที่เสนตรงผานสามจุด ถาพบวาจุดทั้งสามจุดไมอยูในแนว
เสนตรงเดียวกันแสดงวามีความผิดพลาดเกิดขึ้นตองตรวจสอบใหมอีกครั้ง
8. ในการหาระยะระหวางเสนตรงกับจุด นอกจากจะใชวิธีการในหนังสือเรียนแลวยังมีวิธีอื่น
อีก เชน วิธีหาสมการเสนตรงที่ผานจุดที่กําหนดใหและตั้งฉากกับเสนตรงที่กําหนดให เพื่อหาจุดตัดของ
เสนตรงทั้งสอง แลวจึงหาระยะระหวางจุดที่กําหนดใหกับจุดตัด
9. ถา L เปนเสนตรงที่ขนานกับแกน X และอยูหางจากแกน X เปนระยะ ⏐b⏐ หนวย
ความสัมพันธที่มีกราฟเปนเสนตรง L คือ
{(x, y) ∈ R × R⏐y = b}
หรือ {(x, y) ∈ R × R⏐y = –b}
ทํานองเดียวกัน ถา L เปนเสนตรงที่ขนานกับแกน Y และอยูหางแกน Y เปนระยะ ⏐a⏐
หนวย ความสัมพันธที่มีกราฟเปนเสนตรง L คือ
{(x, y) ∈ R × R⏐x = a}
หรือ {(x, y) ∈ R × R⏐x = –a}
10. ในการหาความสัมพันธที่มีกราฟเปนเสนตรง เมื่อทราบวา เสนตรงผานจุด (x1, y1) และ
มีความชันเปน m แลว ถานักเรียนเขียนความสัมพันธที่ไดเปน
⎭
⎬
⎫
⎩
⎨
⎧
=
−
−
m
xx
yy
)y,x(
1
1
ใหผูสอนชี้แจง
ผูเรียนทราบวา ไมถูกตอง เนื่องจากกราฟของความสัมพันธดังกลาวไมรวมจุด (x1, y1) ซึ่งผูเรียนควรเขียนให
ถูกตองเปน {(x, y)⏐y – y1 = m(x – x1)} ซึ่งกราฟของความสัมพันธนี้จะเปนเสนตรงที่ผานจุด (x1, y1)
ดวย
คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม ๒
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
ISBN 974-01-3820-9
พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม
พ.ศ. ๒๕๔๗
องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย
พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว
๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
162
11. พื้นฐานสําคัญในการศึกษาเรื่อง ภาคตัดกรวย คือ เรื่องการจัดพหุนามตัวแปรเดียวดีกรีสอง
ใหสวนที่มีตัวแปรอยูในรูปกําลังสองสมบูรณ ซึ่งจะใชมากเมื่อกําหนดความสัมพันธที่มีกราฟเปน
ภาคตัดกรวยมาให แลวใหหาสวนตาง ๆ ของภาคตัดกรวยนั้น ๆ เชน จุดยอด โฟกัส ความยาวแกนเอก
แกนโท ฯลฯ ในกรณีทั่ว ๆ ไป การจัดพหุนามตัวแปรเดียวดีกรีสอง ใหสวนที่มีตัวแปรอยูในรูปกําลังสองสมบูรณ
ผูสอนอาจเสนอทางเลือกใหผูเรียนไดสองทาง คือ
ก. การจัดโดยใชสูตร
ข. การจัดโดยใชขั้นตอนวิธี
การจัดพหุนามตัวแปรเดียวดีกรีสองใหสวนที่มีตัวแปรอยูในรูปกําลังสองสมบูรณโดยใชสูตร
ผูสอนอาจดําเนินการพิสูจน ดังนี้
จากพหุนามตัวแปรเดียวดีกรีสองรูปทั่วไป ax2
+ bx + c
เมื่อ a, b และ c เปนคาคงตัวที่ a ≠ 0 ใหดําเนินการตามขั้นตอนวิธีดังนี้
ax2
+ bx + c = c)x
a
b
x(a 2
++
= c))
a2
b
()
a2
b
(x
a
b
x(a 222
+−++
= c)
a4
b
)
a2
b
x((a 2
2
2
+−+
= c
a4
b
)
a2
b
x(a
2
2
+−+
= a4
ac4b
)
a2
b
x(a
2
2 −
−+
สูตรที่ตองจําไวใช คือ
จากพหุนาม ax2
+ bx + c เมื่อ a, b, c เปนคาคงตัวที่ a ≠ 0 จัดใหสวนที่มีตัวแปร
เปนรูปกําลังสองสมบูรณไดเปน
a4
ac4b
)
a2
b
x(a
2
2 −
−+
คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม ๒
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
ISBN 974-01-3820-9
พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม
พ.ศ. ๒๕๔๗
องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย
พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว
๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
163
สวนการจัดโดยใชขั้นตอนวิธี ผูสอนจะฝกใหผูเรียนดําเนินขั้นตอนตามขั้นตอนในการพิสูจนขางตน
ทั้งสองวิธีการมีจุดเดนและจุดดอยอยูในตัว ขอใหสังเกตขอดีขอเสียจากตัวอยางตอไปนี้
ตัวอยาง จงเขียนสวนที่มีตัวแปรของพหุนามตอไปนี้ใหอยูในรูปกําลังสองสมบูรณ
5x2
– 7x + 9
วิธีทํา
ทําโดยใชสูตร ทําโดยใชขั้นตอนวิธี
จากพหุนาม ax2
+ bx + c จัดใหสวนที่มีตัวแปร
อยูในรูปกําลังสองสมบูรณไดเปน
a4
ac4b
)
a2
b
x(a
2
2 −
−+
ดังนั้น จาก 5x2
– 7x + 9 จะจัดไดเปน
54
)()(
)
)(
x(
2
2
×
××−−
−
−
+
9547
10
75
=
20
18049
10
75 −
−− 2
)x(
=
20
131
10
75 +− 2
)x(
5x2
– 7x + 9 = 9
5
75 +− )xx( 2
= 9
100
49
10
7
5
75 +−+− ))(xx( 22
= 9
20
49
10
75 +−− 2
)x(
=
20
49180
10
75 −
+− 2
)x(
=
20
131
10
75 +− 2
)x(
จากตัวอยางจะเห็นไดวา วิธีจําสูตรนั้นขอเสียคือ ถาจําสูตรผิดผลที่ไดจะผิดไปดวย สวนการคิด
คํานวณนั้นตองมีความแมนยําทั้งสองวิธี วิธีการทําตามขั้นตอนวิธีอาจตองระวังมากหนอย ตอนที่คิดหา
พจนคงตัวอาจลืมตัวคูณซึ่งในตัวอยางขางตน คือ 5
12. การใชความรูเรื่องการเลื่อนแกนทางขนานเพื่อหาความสัมพันธของตัวแปร x และ y ที่มี
กราฟเปนภาคตัดกรวย เปนวิธีที่ชวยใหหาความสัมพันธในรูปมาตรฐานไดรวดเร็วขึ้น แตตองอาศัย
ความรูสองเรื่อง คือ
ก. ความสัมพันธของพิกัดของจุด เมื่อใชแกนชุดเดิมและแกนชุดใหมที่เกิดจากการเลื่อนทาง
ขนาน (x′ = x – h และ y′ = y – k)
ข. ความสัมพันธที่มีกราฟเปนภาคตัดกรวย เมื่อจุดยอดหรือจุดศูนยกลางอยูที่จุดกําเนิด เชน
x2
+ y2
= r2
, x2
= 4py, y2
= 4px ฯลฯ
คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม ๒
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
ISBN 974-01-3820-9
พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม
พ.ศ. ๒๕๔๗
องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย
พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว
๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
164
ผูสอนควรดําเนินการในเรื่องทั้งสองนี้ใหชัดเจน และถาจะใหการสอนสมบูรณยิ่งขึ้นควรให
ผูเรียนลองหาความสัมพันธที่มีกราฟเปนภาคตัดกรวย โดยใชวิธีที่แตกตางจากในหนังสือเรียน กลาวคือ
สําหรับพาราโบลา วงรี และไฮเพอรโบลา ผูสอนควรลองใหผูเรียนใชวิธีหาความสัมพันธจากบทนิยาม
โดยอาศัยสูตรการหาระยะทางระหวางจุดกับจุดและจุดกับเสนตรง เชน การหาสมการของพาราโบลา
ที่มีจุดยอดอยูที่จุด (h, k) และมีแกนของพาราโบลาขนานกับแกน X หาไดดังนี้
ให (h, k) เปนจุดยอดและระยะจากจุดยอดไปยังโฟกัส คือ ⏐p⏐ จะไดวา ถาโฟกัสมีพิกัด
เปน (h + p, k) แลวไดเรกตริกซ คือ กราฟของสมการ x = h – p (แตถาโฟกัสมีพิกัดเปน (h – p, k)
แลวไดเรกตริกซ คือ กราฟของสมการ x = h + p)
เมื่อ P(x, y) เปนจุดใด ๆ บนพาราโบลา จากบทนิยามของพาราโบลาจะไดวา
PF = PD
นั่นคือ 2)(2))(( kyphx −++− = )( phx −−
(x – (h + p))2
+ (y – k)2
= (x – (h – p))2
(y – k)2
= 4px – 4ph
(y – k)2
= 4p (x – h)
หมายเหตุ 1. รูปที่ใชในการพิสูจนเปนรูปที่สมมุติขึ้นในกรณีที่p เปนจํานวนจริงลบรูปจะไมใชรูปนี้
2. ควรทดลองคิดในกรณีที่พิกัดของโฟกัสเปน (h – p, k) และไดเรกตริกซคือ กราฟของ
สมการ x = h + p แลวดูวาจะไดผลเหมือนกันหรือไม
•
•
Y Y′
X′
X
x = h – p
D P (x, y)
V (h, k) F (h + p, k)
0
คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม ๒
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
ISBN 974-01-3820-9
พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม
พ.ศ. ๒๕๔๗
องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย
พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว
๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
165
13. ผูสอนอาจขยายความรูของผูเรียนโดยใหเขียนกราฟของอสมการที่เกิดจากการเปลี่ยน
เครื่องหมายเทากับในสมการที่มีกราฟเปนภาคตัดกรวย เปนเครื่องหมาย ≠, >, <, ≥, ≤ เชน
x2
+ y2
> 4 เปนตน
14. การกําหนดมาตราสวนบนแกน X และแกน Y ตองเหมือนกัน เพราะถากําหนดตางกัน
กราฟที่ไดจะไมสมจริง เชน สมการที่กราฟควรเปนวงกลม อาจมีกราฟเปนวงรีได
15. หลังจบบทเรียนแลวผูสอนควรใหแบบฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องภาคตัดกรวยเพิ่มเติม
อยางสม่ําเสมอ เพราะถาละเลยผูเรียนจะลืมวิธีการตาง ๆ ไดงาย
16. ในบทนี้มีการกลาวถึงแกนสมมาตรของภาคตัดกรวย ซึ่งเปนความรูที่ผูเรียนเคยศึกษา
มาแลวตั้งแตระดับประถมศึกษา บทนิยามทั่วไปที่ผูเรียนทราบคือ เมื่อพับรูปตามแกนสมมาตรแลวรูปที่
อยูคนละขางของแกนสมมาตรจะทับกันสนิท แตในหนังสือเรียนนี้กลาววา พาราโบลาที่มาจากสมการ
y2
= 12x มีแกน X เปนแกนสมมาตร เพราะเมื่อแทน y ในสมการดวย –y แลว ไดสมการคงเดิม
แสดงวา กราฟของสมการ y2
= 12x มีแกน X เปนแกนสมมาตรโดยไมไดใหเหตุผลประกอบไววา
เมื่อแทน y ในสมการดวย –y ไดสมการคงเดิมแลว เหตุใดแกน X จึงเปนแกนสมมาตร การที่สามารถ
สรุปเชนนี้ได เพราะจุดที่มีพิกัด (x, y) กับ (x, –y) อยูหางแกน X เปนระยะเทากันคือ y เมื่อแทน y
ในสมการ ดวย –y แลวไดสมการเดิมก็แสดงวาทั้งจุด (x, y) และ (x, –y) ตางอยูบนกราฟของสมการ
โดยมีคา x ที่เหมือนกันตางกันเฉพาะคา y และเนื่องจากการแทนคาดังกลาวไมไดเจาะจงแสดงวาทุก ๆ
จุด (x, y) จะมีจุด (x, –y) ที่อยูบนกราฟคูกันเสมอ ดังนั้น เมื่อพับรูปตามแกน X จุดแตละคูดังกลาว
จะทับกันเสมอ แสดงวาแกน X เปนแกนสมมาตร
ในทํานองเดียวกัน เมื่อมีสมการแสดงความสัมพันธระหวาง x กับ y และถาแทน x
ในสมการดวย –x แลว สมการคงเดิมก็แสดงวากราฟของสมการนั้นมีแกน Y เปนแกนสมมาตร
การสมมาตรที่กลาวถึงในบทนี้กลาวเฉพาะการสมมาตรเมื่อเทียบกับแกน X หรือแกน Y
หรือเสนตรงอื่น ซึ่งนอกจากเสนตรงแลว การสมมาตรอาจเทียบกับจุดหรือระนาบก็ได
17. สมการภาคตัดกรวยในรูปตอไปนี้
(x – h)2
+ (y – k)2
= r2
(y – k)2
= 4c (x – h)
(x – h)2
= 4c (y – k)
2
2
2
2
b
)ky(
a
)hx( −
+
−
= 1
2
2
2
2
b
)hx(
a
)ky( −
+
−
= 1
2
2
2
2
b
)ky(
a
)hx( −
−
−
= 1
2
2
2
2
b
)hx(
a
)ky( −
−
−
= 1
คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม ๒
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
ISBN 974-01-3820-9
พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม
พ.ศ. ๒๕๔๗
องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย
พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว
๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
166
เปนรูปสมการที่ชวยใหหาสวนสําคัญเกี่ยวกับภาคตัดกรวย เชน จุดศูนยกลาง จุดยอด ฯลฯ
ไดงายเรียกรวม ๆ กันวา สมการในรูปมาตรฐาน (Standard form) เมื่อกระจายพจนกําลังสองแลวจัดเรียง
พจนใหม จะอยูในรูปสมการกําลังสองสองตัวแปร ซึ่งมีรูปทั่วไปดังนี้
Ax2
+ Bxy + Cy2
+ Dx + Ey + F = 0
เมื่อ A, B, C, D, E และ F คือคาคงตัว เชน จากสมการวงกลมมาตรฐาน
เมื่อกระจายใหอยูในรูปทั่วไปจะได x2
+ y2
– 2hx – 2ky + h2
+ k2
– r2
= 0
ซึ่งเมื่อเทียบกับรูปสมการทั่วไปสองตัวแปรจะไดวา
A = 1, B = 0, C = 1, D = –2h, E = –2k, F = h2
+ k2
– r2
ฉะนั้น อาจกลาวไดวาสมการวงกลมในรูปมาตรฐานทุกสมการ สามารถเขียนอยูในรูปทั่วไปไดเปน
x2
+ y2
+ Dx + Ey + F = 0 เมื่อ D, E และ F คือ คาคงตัว
ในทางกลับกันจากสมการในรูปทั่วไปขางตน ถาพิจารณากลับวา กราฟของสมการดังกลาว
เปนวงกลมหรือไม จะพบวามีบางคาของคาคงตัว D, E และ F ทําใหกราฟไมใชวงกลม ขั้นตอนวิธี
ตอไปนี้เปนขั้นตอนวิธีคอนขางสําคัญในการเขียนกราฟของรูปทั่วไปของสมการวงกลม ซึ่งตองฝกฝน
ผูเรียนใหมีความคลองตัว ขั้นตอนวิธีที่ใชคือ การจัดพจนที่มีตัวแปรใหอยูในรูปกําลังสองสมบูรณ เพื่อ
ใหสมการอยูในรูปมาตรฐาน
จากสมการ x2
+ y2
+ Dx + Ey + F = 0
จะได x2
+ Dx + 2
)
2
D
( – 2
)
2
D
( + y2
+ Ey + 2
)
2
E
( – 2
)
2
E
( + F = 0
22
)
2
E
y()
2
D
x( +++ = 4
E
4
D 22
+ – F
= 4
F4ED 22
−+
จากสมการสุดทาย จะเห็นไดชัดเจนวา กราฟของสมการรูปทั่วไปจะเปนวงกลมหรือไมขึ้นอยู
กับคาของ D2
+ E2
– 4F ซึ่งสามารถแยกกรณีพิจารณาไดดังนี้
กรณีที่ 1 D2
+ E2
– 4F > 0
กรณีนี้จะไดวา กราฟของสมการที่กําหนดเปนวงกลมมี )
2
E
,
2
D
( −− เปนจุดศูนยกลาง
รัศมียาว 2
F4ED 22
−+
หนวย
คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม ๒
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
ISBN 974-01-3820-9
พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม
พ.ศ. ๒๕๔๗
องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย
พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว
๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
167
กรณีที่ 2 D2
+ E2
– 4F = 0
กรณีนี้กราฟของสมการที่กําหนดคือจุด )
2
E
,
2
D
( −− เรียกชื่อจุดที่เปนกราฟในกรณีนี้วา
วงกลมลดรูป (degenerate circle)
กรณีที่ 3 ถา D2
+ E2
– 4F < 0
กรณีนี้สมการที่กําหนดไมมีกราฟ หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง คือ ไมมีคูอันดับของจํานวนจริงใด ๆ
เปนคําตอบหรือสอดคลองสมการที่กําหนดให(เพราะไมมีจํานวนจริงใดยกกําลังสองแลวไดจํานวนจริงลบ)
ในทํานองเดียวกัน เมื่อกระจายพจนกําลังสองของภาคตัดกรวยอื่น ๆ จะไดรูปพหุนามทั่วไปของ
ภาคตัดกรวยแตละชนิด เชน
จากสมการ (y – k)2
= 4 c(x – h)
จะได y2
– 2ky + k2
= 4cx – 4ch
หรือ y2
– 4cx – 2ky + k2
+ 4ch = 0
ซึ่งเมื่อเทียบกับรูปทั่วไปของสมการกําลังสอง สองตัวแปรจะอยูในรูป
y2
+ Dx + Ey + F = 0
จากสมการทั่วไปในรูปดังกลาวขางตนจะสามารถใชวิธีการทํานองเดียวกันกับเรื่องวงกลม
พิจารณากรณีตาง ๆ วา สมการทั่วไปดังกลาวจะมีกราฟเปนพาราโบลาเมื่อใด
ในทํานองเดียวกันจากสมการในรูปมาตรฐานของภาคตัดกรวยสมการอื่น ๆ สามารถจัดอยูในรูป
ทั่วไปได และจากสมการในรูปทั่วไปจะมีทั้งกรณีที่มีกราฟเปนภาคตัดกรวยและไมเปนภาคตัดกรวย ควร
ลองใหผูเรียนไดพิจารณาดวยตนเอง
18. สําหรับผูเรียนที่มีความสนใจและความสามารถพิเศษ อาจใหศึกษาเรื่องการหมุนแกน และ
การใชการเลื่อนแกนและหมุนแกนในการพิจารณากราฟของสมการกําลังสองสองตัวแปร รูปทั่วไปคือ
สมการ
Ax2
+ Bxy + Cy2
+ Dx + Ey + F = 0 ในกรณีที่ B ≠ 0 บางสมการที่สามารถใชวิธี
หมุนแกน ทําใหเปลี่ยนรูปสมการใหพจน xy มีสัมประสิทธิ์เปนศูนย ซึ่งจะทําใหไดสมการรูปทั่วไป
เปนกรณีใดกรณีหนึ่งตามขอ 8 ทําใหสามารถเขียนกราฟของสมการไดโดยใชขั้นตอนวิธีจัดตัวแปรใหอยู
ในรูปกําลังสองสมบูรณ ตอไปนี้เปนความรูเรื่องการหมุนแกนอยางงาย
สมมุติหมุนแกนทํามุม θ กับแกนชุดเดิมโดยหมุนในทิศทวนเข็มนาฬิกาไดแนวแกน
ชุดใหมเรียกวา แกน X′ และแกน Y′ ดังรูป
คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม ๒
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
ISBN 974-01-3820-9
พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม
พ.ศ. ๒๕๔๗
องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย
พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว
๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
168
ถา P เปนจุดใด ๆ บนระนาบมีพิกัดเปน (x, y) และ (x′, y′) เมื่อเทียบกับแกนชุดเดิมและ
แกนชุดใหมตามลําดับ
เนื่องจากแกน X′ ทํามุม θ กับแกน X และผานจุดกําเนิด ดังนั้นแกน X′ ซึ่งเปนเสนตรง
มีความชัน tan θ ผานจุด (0, 0) จะมีสมการเมื่อเทียบกับแกนชุดเดิมเปน
y = (tan θ)x
หรือ (tan θ) x – y = 0 ----------- (1)
และเนื่องจากแกน Y′ ตั้งฉากกับแกน X′ และผานจุดกําเนิด จึงมีสมการเมื่อเทียบกับแกนชุดเดิมเปน
y = x
tan
1
θ
−
หรือ x + (tan θ) y = 0 ----------- (2)
จาก (1) และ (2) เมื่อหาระยะจากจุด (x, y) ถึงแกน X′ และ Y′ โดยใชสูตรหาระยะจากจุด
ไปยังเสนตรงจะไดวา
x′ =
θ+
θ+
2
tan1
y)(tanx
y′ =
θ+
θ−
2
tan1
x)(tany
(จากสูตรหาระยะจากจุดไปยังเสนตรงตองเลือกใชคาที่เมื่อแทนตัวแปร x, y ในสมการแลวได
คามากกวาศูนย แตในที่นี้แทนตัวแปร x, y ดวยคาใด ๆ x, y และคา x′, y′ ก็ยังเปนไดทั้งจํานวนบวก
และจํานวนลบ การเลือกคาถาจะทําใหละเอียดจึงตองพิจารณาเปนกรณี ๆ ไป แตทุกกรณีจะออกมาตรงกัน
ดังที่เขียนไว)
จากคาของ x′, y′ ที่สัมพันธกับ x, y ขางตน จัดสมการใหมโดยเขียน tan θ ในรูป θ
θ
cos
sin
จะได
x′ = x cos θ + y sin θ
y′ = y cos θ – x sin θ
•
Y
X
X′Y′
x′
P (x, y)
(x′, y′)
y′
θ
คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม ๒
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
ISBN 974-01-3820-9
พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม
พ.ศ. ๒๕๔๗
องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย
พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว
๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
169
หรือ
x = x′ cos θ – y′ sin θ
y = x′ sin θ + y′ cos θ
ประโยชนประการหนึ่งของการหมุนแกนคือ เพื่อจัดรูปทั่วไปของสมการกําลังสองสองตัวแปร
Ax2
+ Bxy + Cy2
+ Dx + Ey + F = 0
ใหอยูในรูปที่อางถึงแกนชุดใหมเปน
A′x′2
+ B′x′y′ + C′y2
+ D′x′ + E′y′ + F′ = 0
โดยพยายามหมุนแกนใหคาของ B′ = 0 ซึ่งจะทําใหสมการอยูในรูปทั่วไปที่ไมมีพจน xy
เชนจากเรื่องไฮเพอรโบลามุมฉาก ซึ่งเห็นไดชัดเจนวา แกนหมุนไป 45° ในกรณีนี้อยูในรูป xy = k, k > 0
จะใชความสัมพันธเปน
x = x
2
2
′ – y
2
2
′
y = x
2
2
′ + y
2
2
′
แทนคา x และ y ในสมการ xy = k จะได
22
y
2
1
x
2
1
′−′ = k
ดังนั้น จะจัดสมการในรูปมาตรฐาน เปน
2
2
)k2(
x′
– 2
2
)k2(
y′
= 1
กรณีทั่ว ๆ ไป การจะทําใหคา B′ เปนศูนยจะใชสูตร
tan 2 θ = CA
B
−
เชนจากสมการ
4x2
– 4xy + y2
+ 2x – 6y + 17 = 0
จะตองให
tan 2 θ = 14
4
−
−
= 3
4
−
นั่นคือ
θ−
θ
2
tan1
tan2
= 3
4
−
หรือ 2 tan2
θ – 3 tan θ – 2 = 0
(2 tan θ + 1) (tan θ – 2) = 0
tan θ = 2
1
− หรือ tan θ = 2
คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม ๒
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
ISBN 974-01-3820-9
พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม
พ.ศ. ๒๕๔๗
องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย
พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว
๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
170
ใชเฉพาะคา tan θ ที่เปนบวก หาคา sin θ และ cos θ จะได
sin θ =
5
2
cos θ =
5
1
แทนคา x และ y ในสมการโดยให
x = x
5
1
′ – y
5
2
′
y = x
5
2
′ + y
5
1
′
จะได
22
)y
5
1
x
5
2
()y
5
1
x
5
2
)(y
5
2
x
5
1
(4)y
5
2
x
5
1
(4 ′+′+′+′′−′−′−′
+ 17)y
5
1
x
5
2
(6)y
5
2
x
5
1
(2 +′+′−′−′ = 0
)y
5
2
yx
5
3
x
5
2
(4)
5
y4
5
yx4
5
x
(4 22
22
′−′′−′−
′
+
′′
−
′
+ y
5
4
x
5
2
y
5
1
yx
5
4
x
5
4 22
′−′+′+′′+′
– 17y
5
6
x
5
12
+′−′ = 0
17x52y52y5 2
+′−′−′ = 0
2
)1y5( −′ = x52 ′ – 16
2
)
5
1
y( −′ =
5
8
x(
5
52
−′ )
เห็นไดวา สมการดังกลาวมีกราฟ เมื่อเทียบกับแกนที่หมุนไปเปนพาราโบลามีจุด )
5
1
,
5
8
(
เปนจุดยอด อยางไรก็ตามเรื่องนี้เปนเรื่องที่คอนขางยุงยาก ในกรณีที่ตองการใชเสริมใหผูเรียนควรทําภายหลัง
จากเรียนตรีโกณมิติจนจบแลว และกรณีการจําสูตรคาของ tan 2θ อาจไมตองจําแตใชขั้นตอนวิธีแทนได
ทั้งนี้ ผูสอนอาจตองเลือกโจทยที่ไมยากนักดวย และในการใชหลังจากหมุนแกนแลวจะตองเลื่อนแกนทาง
ขนานกับแกนที่หมุนไปดวย
โดยการใชความรูดังกลาว จะสามารถพิจารณาสรุปเปนทฤษฎีวา จากสมการกําลังสองสองตัวแปร
รูปทั่วไป
Ax2
+ Bxy + Cy2
+ Dx + Ey + F = 0
เมื่อพิจารณาจากคา B2
– 4AC จะมีขอสรุปเกี่ยวกับกราฟดังนี้
1. ถาเปนจํานวนจริงลบ กราฟจะเปนวงรี จุด หรืออาจไมมีกราฟ
2. ถาเปนศูนย กราฟจะเปนพาราโบลา หรือเสนตรง 2 เสนที่ขนานกัน หรือเสนตรงเสนเดียว
หรือไมมีกราฟ
3. ถาเปนจํานวนจริงบวก กราฟจะเปนไฮเพอรโบลา หรือเสนตรงสองเสนตัดกัน
คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม ๒
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
ISBN 974-01-3820-9
พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม
พ.ศ. ๒๕๔๗
องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย
พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว
๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
171
กิจกรรมเสนอแนะ
ระยะระหวางจุดสองจุด
กอนสอนบอกใหผูเรียนทราบวาระยะระหวางจุด A ถึงจุด B เขียนแทนดวย AB หรือ ⏐AB⏐
1. ผูสอนควรใหผูเรียนหาระยะระหวางจุด 2 จุดบนแกน X หรือแกน Y กอนและหาระยะ
ระหวางจุด 2 จุดในแนวเสนตรงที่ขนานกับแกน X หรือแกน Y แลวจึงใหหาระยะระหวางจุด 2 จุดใด ๆ
บนระนาบ ดังวิธีการแตละขั้นดังตอไปนี้
(1) กําหนดตัวอยางของจุด 2 จุดบนแกน X ใหผูเรียนหาระยะระหวางจุด 2 จุดนี้หลาย ๆ
ตัวอยาง เชน A(0, 0), B(4, 0) และ P(–3, 0), Q(2, 0) ฯลฯ ดังรูป
ผูเรียนควรตอบไดวา AB = 4 หนวย ไดจาก ⏐4 – 0⏐ หรือ ⏐0 – 4⏐
และ PQ = 5 หนวย ไดจาก ⏐–3 –2⏐ หรือ ⏐2 – (–3)⏐
จากกิจกรรมนี้ผูเรียนจะสรุปไดวา ระยะหางระหวางจุด A(a, 0) และจุด B(b, 0) คือ
AB = ⏐a – b⏐ = ⏐b – a⏐
(2) ในทํานองเดียวกันจะหาระยะระหวางจุด 2 จุดบนแกน Y ไดโดยใชวิธีการเดียวกับ
ขอ (1) ซึ่งผูเรียนจะสรุปไดวา ระยะระหวางจุด C(0, c) และ D(0, d) คือ CD = ⏐c – d⏐ = ⏐d – c⏐
(3) กําหนดจุดสองจุดที่อยูในแนวเสนตรงเดียวกันกับเสนตรงที่ขนานกับแกน X หรือ
แกน Y ใหผูเรียนหาระยะทางระหวางจุดสองจุดนั้น โดยวิธีเดียวกับการหาระยะระหวางจุดสองจุดใด ๆ
บนแกน X และแกน Y ผูเรียนควรสรุปไดวา
ระยะระหวางจุด A(a, b) กับจุด B(a, c) คือ AB = ⏐b – c⏐ = ⏐c – b⏐
และ ระยะระหวางจุด C(d, e) กับจุด D(f, e) คือ CD = ⏐d – f⏐ = ⏐f – d⏐
โดยผูสอนยกตัวอยางที่เปนตัวเลขประกอบดวย
X
Y
A (0, 0) B (4, 0)
•• X
Y
P (–3, 0) Q (2, 0)
•• •
คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม ๒
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
ISBN 974-01-3820-9
พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม
พ.ศ. ๒๕๔๗
องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย
พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว
๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
172
2. ในการหาระยะระหวางจุดสองจุดใด ๆ บนระนาบนั้นตองอาศัยทฤษฎีบทปทาโกรัส ดังนั้น
เพื่อใหผูเรียนเกิดแนวความคิดที่จะนําทฤษฎีบทดังกลาวมาใช ผูสอนอาจใชวิธีการดังตอไปนี้
(1) กําหนดจุด A(0, a) และ B(b, 0) เปนจุดบนแกน Y และแกน X ตามลําดับ ใหผูเรียน
หาระยะระหวางจุด A กับจุด B ผูสอนอาจยกตัวอยางจุดที่มีพิกัดเปนจํานวนจริง เชน A(0, 3) และ
B(4, 0) หรือ A(0, –3) และ B(–4, 0) เปนตน
ซึ่งจากรูป ผูเรียนจะเห็นไดวา AB คือดานตรงขาม
ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
ผูสอนใหผูเรียนหา AB (ผูเรียนควรหาไดดวยตนเอง
โดยใชทฤษฎีบทปทาโกรัส)
(2) กําหนดจุด A อยูที่จุด (0, 0) และจุด B เปนจุดใด ๆ เชน B(3, 4) ฯลฯ ใหผูเรียนหา
AB (ผูเรียนควรหาไดโดยเสนอวาควรลากเสนตรงขนานกับแกน X หรือแกน Y โดยใหเสนตรงนั้นผาน
จุด B จะไดรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก แลวใชทฤษฎีบทปทาโกรัส)
ถาผูเรียนยังเสนอแนะเพิ่มเติมจากสิ่งที่กําหนดใหไมได
ผูสอนควรพยายามตั้งคําถามเพื่อใหผูเรียนนําความคิด
เกี่ยวกับการหาระยะ AB ในขอ (1) มาใช ซึ่งผูเรียน
จะทราบวาจําเปนตองลากเสนตรงขนานกับแกน X หรือ
แกน Y โดยใหเสนตรงนั้นผานจุด B จะไดรูปสามเหลี่ยม
มุมฉากแลวใชทฤษฎีบทปทาโกรัสผูสอนอาจฝกให
ผูเรียนหา AB เมื่อ A เปนจุดบนแกน X (หรือแกน Y)
แตไมใชจุด (0, 0)
X
Y
A (0, a)
B (b, 0)
•
•
0
X
Y
B (a, b)
(0, 0)
•
•
A
คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม ๒
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
ISBN 974-01-3820-9
พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม
พ.ศ. ๒๕๔๗
องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย
พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว
๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
173
(3) กําหนดจุด A(x1, y1) และ B(x2, y2) เปนจุดในระนาบที่ไมอยูบนแกน X หรือแกน Y
ใหผูเรียนหา AB จากความรูในขอ (1) และ (2) ผูเรียนจะทราบวาตองลากเสนตรงผานจุด A และ B
โดยที่เสนตรงดังกลาวตองขนานกับแกน X หรือแกน Y
เพื่อทําใหเกิดรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก แลวใชทฤษฎีบท
ปทาโกรัสสรุปไดวา ระยะทางระหวางจุด A(x1, y1) กับ
B(x2, y2) คือ
AB = 2
21
2
21 )yy()xx( −+−
หรือ AB = 2
12
2
12 )yy()xx( −+−
หมายเหตุ เสนประในรูป ผูสอนควรจะใชชอลกสีลากเปนเสนทึบเพื่อใหผูเรียนเห็นเปนรูปสามเหลี่ยม
มุมฉากไดชัดเจน
จุดกึ่งกลางระหวางจุด 2 จุด
1. ผูสอนกําหนดจุด 2 จุดใด ๆ บนระนาบใหผูเรียนหาจุดกึ่งกลางระหวางจุดทั้ง 2 นั้น ผูเรียน
อาจจะหาตําแหนงโดยการใชวงเวียนหรือการวัดแตไมสามารถหาพิกัดของจุดกึ่งกลางไดทุกกรณี กิจกรรมนี้
ทําเพื่อชักจูงใหผูเรียนเกิดความตองการทราบวิธีหาพิกัดของจุดกึ่งกลางระหวางจุด 2 จุดใด ๆ
2. ผูสอนกําหนดจุด 2 จุด ซึ่งอยูบนแกน X ให เชน A(0, 0) กับ B(8, 0) หรือ A(0, 0) กับ
B(15, 0) ใหผูเรียนหาจุดกึ่งกลางระหวางจุด A และ B
ผูสอนกําหนดจุด 2 จุด เชน A(0, 0), B(– 4, 0) หรือ A(0, 0), B(–7, 0) ฯลฯ ใหผูเรียนหา
จุดกึ่งกลางระหวางจุด A และ B
ผูสอนกําหนดจุด 2 จุด เชน A(8, 0), B(12, 0) หรือ A(9, 0), B(12, 0) หรือ A(– 4, 0),
B(–8, 0) หรือ A(– 4, 0), B(12, 0) ฯลฯ ใหผูเรียนหาจุดกึ่งกลางระหวางจุด A และ B
ผูเรียนควรสรุปไดวา จุดกึ่งกลางระหวางจุด (x1, 0) กับ (x2, 0) คือ จุด )0,
2
xx
( 21 +
ผูสอนควรพยายามหลีกเลี่ยงใหผูเรียนคิดโดยการเขียนรูป ซึ่งอาจใชตัวอยางที่เปนตัวเลขงาย ๆ
(ในขั้นแรก ๆ ผูสอนอาจใชรูปบางเพื่อใหเกิดแนวความคิด แตหลังจากสอนจบแลวผูเรียนควรสรุปขอความ
ขางตนไดโดยไมตองอาศัยรูป)
3. ผูสอนยกตัวอยางจุดซึ่งอยูบนแกน Y แลวทําในทํานองเดียวกับขอ 2 ซึ่งผูเรียนควรสรุปไดวา
จุดกึ่งกลางระหวางจุด (0, y1) กับ (0, y2) คือ )
2
yy
,0( 21 +
X
Y
•
•
A
B
0
คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม ๒
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
ISBN 974-01-3820-9
พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม
พ.ศ. ๒๕๔๗
องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย
พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว
๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
174
4. ผูสอนกําหนดจุด 2 จุด ซึ่งอยูในแนวเสนตรงเดียวกันที่ขนานกับแกน X เชน จุด A(3, 2)
กับ B(7, 2) หรือ A(4, –3) กับ B(6, –3) ฯลฯ ใหผูเรียนหาจุดกึ่งกลาง
ผูเรียนควรสรุปไดวา จุดกึ่งกลางระหวางจุด (x1, y1) กับ (x2, y1) คือจุด )y,
2
xx
( 1
21 +
5. ผูสอนกําหนดจุด 2 จุด ซึ่งอยูในแนวเสนตรงเดียวกันกับเสนที่ขนานกับแกน Y เชน
A(3, 8) กับ B(3, 6) หรือ A(–3, 6) กับ B(–3, 8) ฯลฯ แลวทําในทํานองเดียวกับขอ 4
ผูเรียนควรสรุปไดวาจุดกึ่งกลางระหวางจุด (x1, y1) กับ (x1, y2) คือจุด )
2
yy
,x( 21
1
+
6. การหาจุดกึ่งกลางของสวนของเสนตรง AB ในกรณีที่สวนของเสนตรงไมอยูในแนวขนาน
กับแกน X หรือแกน Y
ผูสอนกําหนดสวนของเสนตรง ซึ่งมีจุดเริ่มตนจุดหนึ่งอยูที่จุด (0, 0) เชน สวนของเสนตรงที่
เชื่อมจุด A(0, 0) และจุด B(4, 8) แลวใหผูเรียนหาพิกัดของจุด (x, y) ซึ่งเปนจุดกึ่งกลางของ AB
ถาผูเรียนหาคา x ไมได ใหผูสอนแนะโดยการลาก
เสนตรงผานจุด B(4, 8) ตัดและตั้งฉากกับแกน X
ถาผูเรียนยังหาไมไดอีก ใหผูสอนแนะอีกขั้น โดยการลาก
เสนตรงผานจุดกึ่งกลางตัดและตั้งฉากกับแกน X และใช
ความรูเกี่ยวกับสมบัติของสามเหลี่ยมคลาย (ซึ่งผูเรียนควร
หาคา x ได ในทํานองเดียวกันใหผูเรียนหาคา y)
7. ผูสอนกําหนดสวนของเสนตรงซึ่งจุดปลายทั้งสองไมอยูบนแกน X หรือแกน Y ใหผูเรียน
หาจุดกึ่งกลาง โดยผูสอนใชวิธีการถามเปนขั้น ๆ ดังวิธีที่ผานมา
ถาผูเรียนหาคา x ไมได ผูสอนควรแนะใหผูเรียนลากสวน
ของเสนตรง AE ใหขนานกับแกน X ตั้งฉากกับ CD
และ BE ซึ่งเปนสวนของเสนตรงที่ขนานกับแกน Y ที่
จุด D และ E ตามลําดับ แลวใหผูเรียนใชความรูเกี่ยวกับ
สมบัติของสามเหลี่ยมคลาย (∆ ACD ∼ ∆ABE) หาคา
x, y ซึ่งผูเรียนควรสรุปไดวา จุดกึ่งกลางของสวนของ
เสนตรงที่มีจุดปลายที่จุด A(x1, y1) และจุด B(x2, y2)
คือจุด )
2
yy
,
2
xx
( 2121 ++
X
Y
B (x2, y2)
A (x1, y1) D (x, y1) E (x2, y1)•
•
0
C (x, y)
X
Y
•
•
A (0, 0)
B (4, 8)
(x, y) •
คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม ๒
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
ISBN 974-01-3820-9
พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม
พ.ศ. ๒๕๔๗
องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย
พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว
๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
175
ความชันของเสนตรง
ในการนําเขาสูบทเรียนในเรื่องนี้ ผูสอนอาจยกตัวอยางเรื่องที่ผูเรียนคุนเคยในชีวิตประจําวัน
เชน การพาดบันไดกับกําแพง ดังรูป
ผูสอนอาจใหผูเรียนดูรูปขางตนแลวใหชวยกันตอบคําถามวา บันไดที่พาดในลักษณะไหนมี
ความชันมากกวากัน หลังจากที่ผูเรียนไดรวมกันอภิปรายแลวควรจะสรุปไดวา ความชันของบันไดขึ้นอยู
กับระยะในแนวราบระหวางโคนบันไดกับกําแพง โดยบันไดที่โคนบันไดอยูหางจากกําแพงนอยกวา
จะมีความชันมากกวา
ผูสอนยกตัวอยางใหม โดยสมมุติใหมีบันไดพาดขึ้นไปบนตึกในลักษณะตาง ๆ กัน แตมีระยะ
ในแนวราบระหวางโคนบันไดกับตัวตึกคงเดิม ดังรูป
ผูสอนตั้งคําถามในทํานองเดียวกัน ผูเรียนควรจะสรุปไดวา ความชันของบันไดขึ้นอยูกับระยะ
ในแนวดิ่ง โดยบันไดที่พาดขึ้นไปยังตึกชั้นที่สูงกวาจะมีความชันมากกวาบันไดอันที่พาดขึ้นไปบนตึก
ชั้นที่ต่ํากวา
คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม ๒
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
ISBN 974-01-3820-9
พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม
พ.ศ. ๒๕๔๗
องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย
พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว
๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
176
ผูสอนลากสวนของเสนตรงในลักษณะตาง ๆ กัน บนกระดานกราฟ ดังรูป
จากรูปผูสอนใหผูเรียนรวมกันพิจารณาความชันของเสนตรง
ผูเรียนควรจะสรุปไดวา ความชันขึ้นอยูกับระยะในแนวดิ่งและแนวระดับ และผูสอนบอกผูเรียน
วา จะนิยามความชันของเสนตรงใด ๆ ไดดังนี้
บทนิยาม ให L เปนเสนตรงที่ผานจุด P1(x1, y1) และ
P2(x2, y2) โดยที่ x1 ≠ x2, m เปนความชันของเสนตรง L ก็ตอเมื่อ
m =
21
21
xx
yy
−
−
จากนั้น ใหผูเรียนฝกหาความชันของเสนตรงโดยอาศัยบทนิยามขางตน เพื่อใหผูเรียนเขาใจ
ขอสรุปตอไปนี้ คือ
1. ถาความชันเปนจํานวนบวก เสนตรงจะทํามุมแหลมกับแกน X (วัดมุมทวนเข็มนาฬิกาจาก
แกน X)
2. ถาความชันเปนจํานวนลบ เสนตรงจะทํามุมปานกับแกน X (วัดมุมทวนเข็มนาฬิกา
จากแกน X)
3. ถาเสนตรงขนานกับแกน X ความชันจะเปนศูนย
4. เสนตรงที่ขนานกับแกน Y นั้น ไมอาจหาความชันได
คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม ๒
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
ISBN 974-01-3820-9
พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม
พ.ศ. ๒๕๔๗
องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย
พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว
๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
177
เสนตั้งฉาก
ผูสอนกําหนดพิกัดของจุดยอดของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก (ดานประกอบมุมฉากดานหนึ่ง
ไมขนานกับแกน Y) ให 3 จุด เชน
ใหผูเรียนทดสอบวา เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไมโดยใชบทกลับของ ทฤษฎีบทของ
ปทาโกรัสที่กลาววา “ถารูปสามเหลี่ยม ABC มีดานยาว a, b และ c หนวย ตามลําดับ และ c2
= a2
+ b2
แลว ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉากและมีดานที่ยาว c หนวย เปนดานตรงขามมุมฉาก”
ใหผูเรียนหาความชันของดานประกอบมุมฉาก และผลคูณของความชันของดานประกอบมุมฉาก
ซึ่งจะไดเทากับ –1
ผูสอนอาจยกตัวอยางอื่น ๆ ในทํานองเดียวกัน
ผูสอนกําหนดเสนตรง 2 เสนที่ตั้งฉากกัน โดยอาศัยการกําหนดจุดบนเสนตรงแตละเสนใหบน
กระดานกราฟ ใหผูเรียนชวยกันแสดงวาผลคูณของความชันของเสนตรงทั้งสองเทากับ –1
ผูสอนยกตัวอยางในทํานองเดียวกัน เพื่อใหผูเรียนมีแนวความคิดวา
“ผลคูณของความชันของเสนตรง 2 เสนที่ตั้งฉากกันมีคาเทากับ –1”
ผูสอนและผูเรียนชวยกันพิสูจนขอความดังกลาวตามวิธีการในหนังสือเรียน
Y
X
(– 4, 2)
(1, 1)
(–1, –1)
0
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558Miss.Yupawan Triratwitcha
 

Was ist angesagt? (15)

67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
 
57 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่2_การหาค่าสุดขีด
57 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่2_การหาค่าสุดขีด57 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่2_การหาค่าสุดขีด
57 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่2_การหาค่าสุดขีด
 
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
 
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
 
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
 
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น171 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
 
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
 
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
 
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
 
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
 
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
 
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
 
Limit
LimitLimit
Limit
 
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
 

Ähnlich wie Add m4-2-chapter3

บทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรมบทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรมsawed kodnara
 
แผนรายบท
แผนรายบทแผนรายบท
แผนรายบทToongneung SP
 
แผนที่
แผนที่แผนที่
แผนที่Cha Rat
 

Ähnlich wie Add m4-2-chapter3 (19)

บทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรมบทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
 
เซต เล่ม 1
เซต เล่ม 1เซต เล่ม 1
เซต เล่ม 1
 
1-2
1-21-2
1-2
 
Geomety
GeometyGeomety
Geomety
 
Add m5-1-chapter2
Add m5-1-chapter2Add m5-1-chapter2
Add m5-1-chapter2
 
Add m2-1-chapter3
Add m2-1-chapter3Add m2-1-chapter3
Add m2-1-chapter3
 
Calculus
CalculusCalculus
Calculus
 
Add m6-2-chapter1
Add m6-2-chapter1Add m6-2-chapter1
Add m6-2-chapter1
 
Pat1 ปี 52
Pat1 ปี 52Pat1 ปี 52
Pat1 ปี 52
 
Pat15203
Pat15203Pat15203
Pat15203
 
แผนรายบท
แผนรายบทแผนรายบท
แผนรายบท
 
Add m5-1-chapter3
Add m5-1-chapter3Add m5-1-chapter3
Add m5-1-chapter3
 
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น272 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
 
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
Add m5-1-chapter1
Add m5-1-chapter1Add m5-1-chapter1
Add m5-1-chapter1
 
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
 
แผนที่
แผนที่แผนที่
แผนที่
 

Mehr von กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

Mehr von กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 

Add m4-2-chapter3

  • 1. คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ จัดทําโดย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 974-01-3820-9 พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม พ.ศ. ๒๕๔๗ องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว ๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ บทที่ 3 เรขาคณิตวิเคราะห ( 42 ชั่วโมง ) สําหรับบทเรียนนี้จะกลาวถึง เรขาคณิตวิเคราะห โดยแบงเปนสองหัวขอใหญ ๆ คือ ความรู เบื้องตนเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห และภาคตัดกรวย โดยจะเนนการนําความรูไปใชในการแกปญหา แต ถึงอยางไรก็ตามผูสอนควรใหผูเรียนสามารถหาสูตรไดบาง เพราะถาผูเรียนรูที่มาอันแนนอนของสูตร ก็ยอมใชสูตรนั้นดวยความเขาใจดีขึ้น สําหรับหัวขอความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะหที่จะกลาวถึง เปนการแสดงถึงความเกี่ยวของระหวางเสนตรงและสมการกําลังหนึ่ง โดยมีสาระการเรียนรูดังตอไปนี้ ระยะระหวางจุดสองจุด จุดกึ่งกลางระหวางจุดสองจุด ความชันของเสนตรง เสนขนาน เสนตั้งฉาก ความสัมพันธซึ่งมีกราฟเปนเสนตรง และระยะหางระหวางเสนตรงกับจุด สวนหัวขอภาคตัดกรวยจะกลาว ถึงวงกลม พาราโบลา วงรี และไฮเพอรโบลา ตามลําดับ ในชีวิตจริงไดมีการนําสมบัติของภาคตัดกรวย ไปใชกันอยางกวางขวาง เชน ในการศึกษาเกี่ยวกับโครงสรางของอะตอม การประดิษฐเลนสที่ใชใน กลองสองทางไกล เลนสกลองจุลทรรศน เลนสแวนสายตาการประดิษฐโคมไฟรถยนต เรดาร และ จานดาวเทียม ซึ่งพื้นผิวดานในเกิดจากการหมุนพาราโบลารอบแกนพาราโบลา นอกจากนี้ในการหาตนกําเนิดเสียง เชน ในการหาที่ตั้งปนใหญ อาจอาศัยสมบัติของไฮเพอร-โบลา โดยใชทหารสองคนยืนอยูคนละแหงจดเวลาที่ไดยินเสียงปน จากผลตางของเวลาทั้งสองนี้ ทําใหสามารถ หาผลตางของระยะทางจากที่ตั้งปนใหญไปยังจุดที่ทหารยืนอยูโดยที่ตั้งปนใหญจะอยูบนไฮเพอรโบลา ซึ่งมีโฟกัสทั้งสองเปนจุดที่ทหารยืนอยู จุดฟงจุดที่สามจะชวยทําใหหาตําแหนงที่ตั้งของปนไดสําหรับ การหาตําแหนงของเครื่องบิน ก็ใชวิธีการทํานองเดียวกัน โดยสถานีจากภาคพื้นดินสามแหงคอยรับ สัญญาณจากเครื่องบินแลวนําผลตางของเวลาที่ไดรับสัญญาณมาคํานวณหาตําแหนงของเครื่องบินดังนั้น ในบทเรียนนี้ผูเรียนจะไดเรียนรูการนําคณิตศาสตรไปประยุกตใชในชีวิต ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. หาระยะทางระหวางจุดสองจุด จุดกึ่งกลาง ระยะหางระหวางเสนตรงกับจุดได 2. หาความชันของเสนตรง สมการเสนตรง เสนขนาน เสนตั้งฉาก และนําไปใชได 3. เขียนความสัมพันธที่มีกราฟเปนภาคตัดกรวย เมื่อกําหนดสวนตาง ๆ ของภาคตัดกรวยใหและเขียน กราฟของความสัมพันธนั้นได 4. นําความรูเรื่องการเลื่อนแกนทางขนานไปใชในการเขียนกราฟได 5. นําความรูเรื่องเรขาคณิตวิเคราะหไปใชแกปญหาได
  • 2. คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ จัดทําโดย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 974-01-3820-9 พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม พ.ศ. ๒๕๔๗ องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว ๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ 157 ผลการเรียนรูที่คาดหวังเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นทางดาน ความรู ดังนั้นในการจัดการเรียนรู ผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูดานทักษะ/กระบวนการทาง คณิตศาสตรดวยการสอดแทรกกิจกรรมหรือโจทยปญหาที่จะสงเสริมใหผูเรียนเกิดทักษะ/กระบวนการ ทางคณิตศาสตรที่จําเปน อันไดแก ความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อ ความหมายทางคณิตศาสตรและการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยง คณิตศาสตรกับศาสตรอื่น และการคิดริเริ่มสรางสรรค นอกจากนั้นกิจกรรมการเรียนรู ควรสงเสริม ใหผูเรียนตระหนักในคุณคาและมีเจตคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร ตลอดจนฝกใหนักเรียนทํางานอยาง เปนระบบ มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง ในการเรียนการสอนแตละสาระการเรียนรูของวิชาคณิตศาสตรนั้น ผูสอนควรแสดงหรือยก ตัวอยางใหผูเรียนเห็นถึงประโยชนและการนําคณิตศาสตรไปใช ดังเชนสองหัวขอในบทเรียนนี้ เพื่อให ผูเรียนตระหนักถึงคุณคาอันเกิดจากการศึกษาวิชาคณิตศาสตร ซึ่งจะโยงไปถึงเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูสําหรับบทเรียนนี้ ผูสอนควรใหผูเรียนไดทดลอง และคนควาหา ขอสรุปดวยตนเอง ขอเสนอแนะ 1. ในการสอนเรื่องระยะทางระหวางจุด 2 จุด ผูสอนทบทวนความรูของผูเรียนเรื่องระยะ ระหวางจุด 2 จุดบนเสนจํานวนที่แทนดวยจํานวนจริง a และ b วาเทากับ ⏐a – b⏐ ซึ่งผูเรียนไดเคย ศึกษามาแลวในเรื่องจํานวนจริง ถาผูเรียนจําไมได ใหผูสอนยกตัวอยางจุดบนเสนจํานวนที่แทนดวย จํานวนจริง ใหผูเรียนหาระยะหางระหวางจุดเหลานั้น เชน ก. ระยะหางระหวางจุดที่แทน 2 และจุดที่แทน 10 ข. ระยะหางระหวางจุดที่แทน –10 และจุดที่แทน 5 ค. ระยะหางระหวางจุดที่แทน –15 และจุดที่แทน –5 ซึ่งผูเรียนควรตอบไดวา เทากับ ⏐10 – 2⏐, ⏐5 – (–10)⏐ และ ⏐–5 – (–15)⏐ ตามลําดับ โดยผูสอน อาจใชเสนจํานวนแสดงประกอบดวย 2. สัญลักษณที่ใชแทนความยาวของสวนของเสนตรง AB จะเขียนแทนดวย AB หรือ AB ซึ่งผูเรียนไดเคยใชมาแลวในระดับมัธยมศึกษาตอนตน แตบางครั้งบางคนยังสับสนอยูบาง ใหผูสอนชี้แจง เรื่องสัญลักษณอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากเปนสัญลักษณที่นักเรียนจะใชตอไปอีกมาก 3. การนิยามความชันของเสนตรงในบทนี้นิยามโดยอาศัยโคอออรดิเนตของจุดสองจุดที่ เสนตรงผาน กลาวคือ ความชันของเสนตรงที่ผานจุด P1(x1, y1) และ P2(x2, y2) จะเทากับ 12 12 xx yy − −
  • 3. คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ จัดทําโดย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 974-01-3820-9 พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม พ.ศ. ๒๕๔๗ องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว ๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ 158 นอกจากนี้อาจนิยามความชันของเสนตรงโดยอาศัยฟงกชันตรีโกณมิติ กลาวคือความชันของเสนตรงที่ ทํามุม θ กับแกน X เทากับ tan θ (มุม θ เปนมุมที่วัดทวนเข็มนาฬิกา จากแกน X ดานที่เปนบวก ไป จนถึงเสนตรงมุม θ นี้เรียกวา “มุมเอียง” ของเสนตรง และ 0° ≤ θ < 180°) 4. ในหนังสือเรียนที่กลาววา “ความชันของเสนตรงเสนหนึ่ง (ที่ไมขนานกับแกน Y) มีเพียง คาเดียวเทานั้น” ซึ่งในหนังสือเรียนไมไดแสดงวิธีพิสูจนไว ผูสอนอาจแสดงใหผูเรียนเห็นโดยวิธีการดังนี้ ให L เปนเสนตรงที่ไมขนานกับแกน Y และทํามุมแหลมกับแกน X จุด P1(x1, y1) และ P2(x2, y2) อยูบนเสนตรง L จากนิยามของความชัน จะไดวา ความชันของเสนตรง L เทากับ 21 21 xx yy − − ถา P3(x3, y3) และ P4(x4, y4) เปนจุดอีกสองจุดบนเสนตรง L ดังนั้น ความชันของเสนตรง L เทากับ 43 43 xx yy − − จากรูป จะเห็นวา ∆ P1P2Q ∼ ∆ P3P4R ดังนั้น RP QP 3 1 = RP QP 4 2 QP QP 2 1 = RP RP 4 3 21 21 xx yy − − = 43 43 xx yy − − นั่นคือ ความชันของเสนตรงเดียวกันยอมเทากัน สําหรับเสนตรงที่ทํามุมปานกับแกน X ผูสอนอาจใชวิธีการแสดงในทํานองเดียวกัน • • • • 0 (x4, y4) x3 – x4 y3 – y4 P4 P3 P2 P1 (x3, y3) (x2, y2) (x1, y1) x1 – x2 y1 – y2 Q R LY X
  • 4. คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ จัดทําโดย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 974-01-3820-9 พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม พ.ศ. ๒๕๔๗ องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว ๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ 159 5. ในหนังสือเรียน ไดกลาววา เสนตรงสองเสนใด ๆ (ที่ไมขนานกับแกน Y) จะขนานกัน ก็ตอเมื่อ ความชันของเสนตรงทั้งสองเทากันและในหนังสือเรียนไดแสดงใหเห็นเฉพาะสวนที่กลาววา ถาเสนตรงสองเสนขนานกันแลวความชันยอมเทากัน แตไมไดแสดงวา ถาความชันของเสนตรงสองเสน ใดเทากันแลว เสนตรงทั้งสองจะขนานกัน ซึ่งอาจแสดงวาถาเสนตรงสองเสนมีความชันเทากันแลว เสนตรงทั้งสองจะขนานกัน ไดดังนี้ ให L1 และ L2 เปนเสนตรงที่มีความชัน m1 และ m2 ตามลําดับ และ m1 = m2 จะแสดงวา L1 และ L2 ขนานกัน สมมุติวา L1 ไมขนานกับ L2 ให L1 ตัดกับ L2 ที่จุด P1(x1, y1) ให P2(x2, y3) และ P3(x2, y2) เปนจุดบน L1 และ L2 ตามลําดับ จะได m1 = 12 13 xx yy − − และ m2 = 12 12 xx yy − − เนื่องจาก y3 ≠ y2 ดังนั้น 12 13 xx yy − − ≠ 12 12 xx yy − − จึงทําให m1 ≠ m2 ซึ่งขัดแยงกับที่กําหนดให ดังนั้น ที่สมมุติวา L1 ไมขนานกับ L2 จึงเปนไปไมได นั่นคือ L1 ขนานกับ L2 0 P3 (x2, y2) P2 (x2, y3) P1 (x1, y1) L1 Y X y1 y2 y3 x1 x2 L2
  • 5. คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ จัดทําโดย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 974-01-3820-9 พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม พ.ศ. ๒๕๔๗ องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว ๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ 160 6. ในหนังสือเรียนไมไดแสดงการพิสูจนวา ถาเสนตรงสองเสนมีผลคูณของความชันเทากับ –1 แลว เสนตรงทั้งสองจะตั้งฉากซึ่งกันและกัน ซึ่งหากผูเรียนสนใจการพิสูจนผูสอนอาจแสดงไดดังนี้ ให L1 และ L2 เปนเสนตรงสองเสนที่ไมขนานกับแกน Y มีความชัน m1 และ m2 ตามลําดับ และ m1m2 = –1 จะแสดงใหเห็นวา L1 ตั้งฉากกับ L2 เนื่องจาก m1m2 = –1 จะได m1 ≠ 0 และ m2 ≠ 0 และ m1 ≠ m2 (เพราะถา m1 = m2 จะได m1 2 = –1 ซึ่งเปนไปไมได) ดังนั้น L1 ไมขนานกับ L2 ให L1 และ L2 ตัดกันที่จุด R (a, b) เนื่องจาก L1 และ L2 มีความชันเปน m1 และ m2 ตามลําดับ ดังนั้น สมการของเสนตรง L1 ซึ่งผานจุด (a, b) และมีความชัน m1 คือ y = m1(x – a) + b ดังนั้น เสนตรง L1 ตัดแกน Y ที่จุด P(0, b – am1) และ สมการของเสนตรง L2 ที่ผานจุด (a, b) และมีความชัน m2 คือ y = m2(x – a) + b ดังนั้น เสนตรง L2 ตัดแกน Y ที่จุด Q(0, b – am2) จะแสดงวา ∆ PRQ เปนสามเหลี่ยมมุมฉาก เนื่องจาก PQ2 = [(b – am2) – (b – am1)]2 = a2 m1 2 – 2a2 m1m2 + a2 m2 2 = a2 m1 2 + 2a2 + a2 m2 2 (m1m2 = –1) PR2 = a2 + [b – (b – am1)]2 = a2 + a2 m1 2 0 (0, b – am1) (0, b – am2) L1 Y X P Q L2 (a, b) R •
  • 6. คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ จัดทําโดย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 974-01-3820-9 พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม พ.ศ. ๒๕๔๗ องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว ๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ 161 และ QR2 = a2 + [b – (b – am2)]2 = a2 + a2 m2 2 จะได PR2 + QR2 = a2 m1 2 + 2a2 + a2 m2 2 = PQ2 แสดงวา สามเหลี่ยม PRQ เปนสามเหลี่ยมที่มี PRQ เปนมุมฉาก และเนื่องจากสวนของเสนตรงPRและสวนของเสนตรงQRเปนสวนหนึ่งของเสนตรงL1และL2ตามลําดับ นั่นคือ L1 ตั้งฉากกับ L2 7. ในการสอนเรื่องสมการเสนตรง ควรชี้ใหเห็นวา กําลังของตัวแปรแตละตัวในสมการ เสนตรงนั้นเปนหนึ่งเสมอ และเนื่องจากเสนตรงที่ผานจุดสองจุดที่กําหนดใหมีไดเพียงเสนเดียวเทานั้น ดังนั้น เพื่อความสะดวกในการเขียนกราฟเสนตรงใดก็ตามเราหาจุดที่เสนตรงนั้นผานเพียงสองจุดก็พอ แตเพื่อปองกันความผิดพลาดเรานิยมพิจารณาจุดที่เสนตรงผานสามจุด ถาพบวาจุดทั้งสามจุดไมอยูในแนว เสนตรงเดียวกันแสดงวามีความผิดพลาดเกิดขึ้นตองตรวจสอบใหมอีกครั้ง 8. ในการหาระยะระหวางเสนตรงกับจุด นอกจากจะใชวิธีการในหนังสือเรียนแลวยังมีวิธีอื่น อีก เชน วิธีหาสมการเสนตรงที่ผานจุดที่กําหนดใหและตั้งฉากกับเสนตรงที่กําหนดให เพื่อหาจุดตัดของ เสนตรงทั้งสอง แลวจึงหาระยะระหวางจุดที่กําหนดใหกับจุดตัด 9. ถา L เปนเสนตรงที่ขนานกับแกน X และอยูหางจากแกน X เปนระยะ ⏐b⏐ หนวย ความสัมพันธที่มีกราฟเปนเสนตรง L คือ {(x, y) ∈ R × R⏐y = b} หรือ {(x, y) ∈ R × R⏐y = –b} ทํานองเดียวกัน ถา L เปนเสนตรงที่ขนานกับแกน Y และอยูหางแกน Y เปนระยะ ⏐a⏐ หนวย ความสัมพันธที่มีกราฟเปนเสนตรง L คือ {(x, y) ∈ R × R⏐x = a} หรือ {(x, y) ∈ R × R⏐x = –a} 10. ในการหาความสัมพันธที่มีกราฟเปนเสนตรง เมื่อทราบวา เสนตรงผานจุด (x1, y1) และ มีความชันเปน m แลว ถานักเรียนเขียนความสัมพันธที่ไดเปน ⎭ ⎬ ⎫ ⎩ ⎨ ⎧ = − − m xx yy )y,x( 1 1 ใหผูสอนชี้แจง ผูเรียนทราบวา ไมถูกตอง เนื่องจากกราฟของความสัมพันธดังกลาวไมรวมจุด (x1, y1) ซึ่งผูเรียนควรเขียนให ถูกตองเปน {(x, y)⏐y – y1 = m(x – x1)} ซึ่งกราฟของความสัมพันธนี้จะเปนเสนตรงที่ผานจุด (x1, y1) ดวย
  • 7. คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ จัดทําโดย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 974-01-3820-9 พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม พ.ศ. ๒๕๔๗ องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว ๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ 162 11. พื้นฐานสําคัญในการศึกษาเรื่อง ภาคตัดกรวย คือ เรื่องการจัดพหุนามตัวแปรเดียวดีกรีสอง ใหสวนที่มีตัวแปรอยูในรูปกําลังสองสมบูรณ ซึ่งจะใชมากเมื่อกําหนดความสัมพันธที่มีกราฟเปน ภาคตัดกรวยมาให แลวใหหาสวนตาง ๆ ของภาคตัดกรวยนั้น ๆ เชน จุดยอด โฟกัส ความยาวแกนเอก แกนโท ฯลฯ ในกรณีทั่ว ๆ ไป การจัดพหุนามตัวแปรเดียวดีกรีสอง ใหสวนที่มีตัวแปรอยูในรูปกําลังสองสมบูรณ ผูสอนอาจเสนอทางเลือกใหผูเรียนไดสองทาง คือ ก. การจัดโดยใชสูตร ข. การจัดโดยใชขั้นตอนวิธี การจัดพหุนามตัวแปรเดียวดีกรีสองใหสวนที่มีตัวแปรอยูในรูปกําลังสองสมบูรณโดยใชสูตร ผูสอนอาจดําเนินการพิสูจน ดังนี้ จากพหุนามตัวแปรเดียวดีกรีสองรูปทั่วไป ax2 + bx + c เมื่อ a, b และ c เปนคาคงตัวที่ a ≠ 0 ใหดําเนินการตามขั้นตอนวิธีดังนี้ ax2 + bx + c = c)x a b x(a 2 ++ = c)) a2 b () a2 b (x a b x(a 222 +−++ = c) a4 b ) a2 b x((a 2 2 2 +−+ = c a4 b ) a2 b x(a 2 2 +−+ = a4 ac4b ) a2 b x(a 2 2 − −+ สูตรที่ตองจําไวใช คือ จากพหุนาม ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c เปนคาคงตัวที่ a ≠ 0 จัดใหสวนที่มีตัวแปร เปนรูปกําลังสองสมบูรณไดเปน a4 ac4b ) a2 b x(a 2 2 − −+
  • 8. คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ จัดทําโดย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 974-01-3820-9 พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม พ.ศ. ๒๕๔๗ องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว ๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ 163 สวนการจัดโดยใชขั้นตอนวิธี ผูสอนจะฝกใหผูเรียนดําเนินขั้นตอนตามขั้นตอนในการพิสูจนขางตน ทั้งสองวิธีการมีจุดเดนและจุดดอยอยูในตัว ขอใหสังเกตขอดีขอเสียจากตัวอยางตอไปนี้ ตัวอยาง จงเขียนสวนที่มีตัวแปรของพหุนามตอไปนี้ใหอยูในรูปกําลังสองสมบูรณ 5x2 – 7x + 9 วิธีทํา ทําโดยใชสูตร ทําโดยใชขั้นตอนวิธี จากพหุนาม ax2 + bx + c จัดใหสวนที่มีตัวแปร อยูในรูปกําลังสองสมบูรณไดเปน a4 ac4b ) a2 b x(a 2 2 − −+ ดังนั้น จาก 5x2 – 7x + 9 จะจัดไดเปน 54 )()( ) )( x( 2 2 × ××−− − − + 9547 10 75 = 20 18049 10 75 − −− 2 )x( = 20 131 10 75 +− 2 )x( 5x2 – 7x + 9 = 9 5 75 +− )xx( 2 = 9 100 49 10 7 5 75 +−+− ))(xx( 22 = 9 20 49 10 75 +−− 2 )x( = 20 49180 10 75 − +− 2 )x( = 20 131 10 75 +− 2 )x( จากตัวอยางจะเห็นไดวา วิธีจําสูตรนั้นขอเสียคือ ถาจําสูตรผิดผลที่ไดจะผิดไปดวย สวนการคิด คํานวณนั้นตองมีความแมนยําทั้งสองวิธี วิธีการทําตามขั้นตอนวิธีอาจตองระวังมากหนอย ตอนที่คิดหา พจนคงตัวอาจลืมตัวคูณซึ่งในตัวอยางขางตน คือ 5 12. การใชความรูเรื่องการเลื่อนแกนทางขนานเพื่อหาความสัมพันธของตัวแปร x และ y ที่มี กราฟเปนภาคตัดกรวย เปนวิธีที่ชวยใหหาความสัมพันธในรูปมาตรฐานไดรวดเร็วขึ้น แตตองอาศัย ความรูสองเรื่อง คือ ก. ความสัมพันธของพิกัดของจุด เมื่อใชแกนชุดเดิมและแกนชุดใหมที่เกิดจากการเลื่อนทาง ขนาน (x′ = x – h และ y′ = y – k) ข. ความสัมพันธที่มีกราฟเปนภาคตัดกรวย เมื่อจุดยอดหรือจุดศูนยกลางอยูที่จุดกําเนิด เชน x2 + y2 = r2 , x2 = 4py, y2 = 4px ฯลฯ
  • 9. คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ จัดทําโดย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 974-01-3820-9 พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม พ.ศ. ๒๕๔๗ องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว ๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ 164 ผูสอนควรดําเนินการในเรื่องทั้งสองนี้ใหชัดเจน และถาจะใหการสอนสมบูรณยิ่งขึ้นควรให ผูเรียนลองหาความสัมพันธที่มีกราฟเปนภาคตัดกรวย โดยใชวิธีที่แตกตางจากในหนังสือเรียน กลาวคือ สําหรับพาราโบลา วงรี และไฮเพอรโบลา ผูสอนควรลองใหผูเรียนใชวิธีหาความสัมพันธจากบทนิยาม โดยอาศัยสูตรการหาระยะทางระหวางจุดกับจุดและจุดกับเสนตรง เชน การหาสมการของพาราโบลา ที่มีจุดยอดอยูที่จุด (h, k) และมีแกนของพาราโบลาขนานกับแกน X หาไดดังนี้ ให (h, k) เปนจุดยอดและระยะจากจุดยอดไปยังโฟกัส คือ ⏐p⏐ จะไดวา ถาโฟกัสมีพิกัด เปน (h + p, k) แลวไดเรกตริกซ คือ กราฟของสมการ x = h – p (แตถาโฟกัสมีพิกัดเปน (h – p, k) แลวไดเรกตริกซ คือ กราฟของสมการ x = h + p) เมื่อ P(x, y) เปนจุดใด ๆ บนพาราโบลา จากบทนิยามของพาราโบลาจะไดวา PF = PD นั่นคือ 2)(2))(( kyphx −++− = )( phx −− (x – (h + p))2 + (y – k)2 = (x – (h – p))2 (y – k)2 = 4px – 4ph (y – k)2 = 4p (x – h) หมายเหตุ 1. รูปที่ใชในการพิสูจนเปนรูปที่สมมุติขึ้นในกรณีที่p เปนจํานวนจริงลบรูปจะไมใชรูปนี้ 2. ควรทดลองคิดในกรณีที่พิกัดของโฟกัสเปน (h – p, k) และไดเรกตริกซคือ กราฟของ สมการ x = h + p แลวดูวาจะไดผลเหมือนกันหรือไม • • Y Y′ X′ X x = h – p D P (x, y) V (h, k) F (h + p, k) 0
  • 10. คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ จัดทําโดย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 974-01-3820-9 พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม พ.ศ. ๒๕๔๗ องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว ๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ 165 13. ผูสอนอาจขยายความรูของผูเรียนโดยใหเขียนกราฟของอสมการที่เกิดจากการเปลี่ยน เครื่องหมายเทากับในสมการที่มีกราฟเปนภาคตัดกรวย เปนเครื่องหมาย ≠, >, <, ≥, ≤ เชน x2 + y2 > 4 เปนตน 14. การกําหนดมาตราสวนบนแกน X และแกน Y ตองเหมือนกัน เพราะถากําหนดตางกัน กราฟที่ไดจะไมสมจริง เชน สมการที่กราฟควรเปนวงกลม อาจมีกราฟเปนวงรีได 15. หลังจบบทเรียนแลวผูสอนควรใหแบบฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องภาคตัดกรวยเพิ่มเติม อยางสม่ําเสมอ เพราะถาละเลยผูเรียนจะลืมวิธีการตาง ๆ ไดงาย 16. ในบทนี้มีการกลาวถึงแกนสมมาตรของภาคตัดกรวย ซึ่งเปนความรูที่ผูเรียนเคยศึกษา มาแลวตั้งแตระดับประถมศึกษา บทนิยามทั่วไปที่ผูเรียนทราบคือ เมื่อพับรูปตามแกนสมมาตรแลวรูปที่ อยูคนละขางของแกนสมมาตรจะทับกันสนิท แตในหนังสือเรียนนี้กลาววา พาราโบลาที่มาจากสมการ y2 = 12x มีแกน X เปนแกนสมมาตร เพราะเมื่อแทน y ในสมการดวย –y แลว ไดสมการคงเดิม แสดงวา กราฟของสมการ y2 = 12x มีแกน X เปนแกนสมมาตรโดยไมไดใหเหตุผลประกอบไววา เมื่อแทน y ในสมการดวย –y ไดสมการคงเดิมแลว เหตุใดแกน X จึงเปนแกนสมมาตร การที่สามารถ สรุปเชนนี้ได เพราะจุดที่มีพิกัด (x, y) กับ (x, –y) อยูหางแกน X เปนระยะเทากันคือ y เมื่อแทน y ในสมการ ดวย –y แลวไดสมการเดิมก็แสดงวาทั้งจุด (x, y) และ (x, –y) ตางอยูบนกราฟของสมการ โดยมีคา x ที่เหมือนกันตางกันเฉพาะคา y และเนื่องจากการแทนคาดังกลาวไมไดเจาะจงแสดงวาทุก ๆ จุด (x, y) จะมีจุด (x, –y) ที่อยูบนกราฟคูกันเสมอ ดังนั้น เมื่อพับรูปตามแกน X จุดแตละคูดังกลาว จะทับกันเสมอ แสดงวาแกน X เปนแกนสมมาตร ในทํานองเดียวกัน เมื่อมีสมการแสดงความสัมพันธระหวาง x กับ y และถาแทน x ในสมการดวย –x แลว สมการคงเดิมก็แสดงวากราฟของสมการนั้นมีแกน Y เปนแกนสมมาตร การสมมาตรที่กลาวถึงในบทนี้กลาวเฉพาะการสมมาตรเมื่อเทียบกับแกน X หรือแกน Y หรือเสนตรงอื่น ซึ่งนอกจากเสนตรงแลว การสมมาตรอาจเทียบกับจุดหรือระนาบก็ได 17. สมการภาคตัดกรวยในรูปตอไปนี้ (x – h)2 + (y – k)2 = r2 (y – k)2 = 4c (x – h) (x – h)2 = 4c (y – k) 2 2 2 2 b )ky( a )hx( − + − = 1 2 2 2 2 b )hx( a )ky( − + − = 1 2 2 2 2 b )ky( a )hx( − − − = 1 2 2 2 2 b )hx( a )ky( − − − = 1
  • 11. คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ จัดทําโดย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 974-01-3820-9 พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม พ.ศ. ๒๕๔๗ องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว ๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ 166 เปนรูปสมการที่ชวยใหหาสวนสําคัญเกี่ยวกับภาคตัดกรวย เชน จุดศูนยกลาง จุดยอด ฯลฯ ไดงายเรียกรวม ๆ กันวา สมการในรูปมาตรฐาน (Standard form) เมื่อกระจายพจนกําลังสองแลวจัดเรียง พจนใหม จะอยูในรูปสมการกําลังสองสองตัวแปร ซึ่งมีรูปทั่วไปดังนี้ Ax2 + Bxy + Cy2 + Dx + Ey + F = 0 เมื่อ A, B, C, D, E และ F คือคาคงตัว เชน จากสมการวงกลมมาตรฐาน เมื่อกระจายใหอยูในรูปทั่วไปจะได x2 + y2 – 2hx – 2ky + h2 + k2 – r2 = 0 ซึ่งเมื่อเทียบกับรูปสมการทั่วไปสองตัวแปรจะไดวา A = 1, B = 0, C = 1, D = –2h, E = –2k, F = h2 + k2 – r2 ฉะนั้น อาจกลาวไดวาสมการวงกลมในรูปมาตรฐานทุกสมการ สามารถเขียนอยูในรูปทั่วไปไดเปน x2 + y2 + Dx + Ey + F = 0 เมื่อ D, E และ F คือ คาคงตัว ในทางกลับกันจากสมการในรูปทั่วไปขางตน ถาพิจารณากลับวา กราฟของสมการดังกลาว เปนวงกลมหรือไม จะพบวามีบางคาของคาคงตัว D, E และ F ทําใหกราฟไมใชวงกลม ขั้นตอนวิธี ตอไปนี้เปนขั้นตอนวิธีคอนขางสําคัญในการเขียนกราฟของรูปทั่วไปของสมการวงกลม ซึ่งตองฝกฝน ผูเรียนใหมีความคลองตัว ขั้นตอนวิธีที่ใชคือ การจัดพจนที่มีตัวแปรใหอยูในรูปกําลังสองสมบูรณ เพื่อ ใหสมการอยูในรูปมาตรฐาน จากสมการ x2 + y2 + Dx + Ey + F = 0 จะได x2 + Dx + 2 ) 2 D ( – 2 ) 2 D ( + y2 + Ey + 2 ) 2 E ( – 2 ) 2 E ( + F = 0 22 ) 2 E y() 2 D x( +++ = 4 E 4 D 22 + – F = 4 F4ED 22 −+ จากสมการสุดทาย จะเห็นไดชัดเจนวา กราฟของสมการรูปทั่วไปจะเปนวงกลมหรือไมขึ้นอยู กับคาของ D2 + E2 – 4F ซึ่งสามารถแยกกรณีพิจารณาไดดังนี้ กรณีที่ 1 D2 + E2 – 4F > 0 กรณีนี้จะไดวา กราฟของสมการที่กําหนดเปนวงกลมมี ) 2 E , 2 D ( −− เปนจุดศูนยกลาง รัศมียาว 2 F4ED 22 −+ หนวย
  • 12. คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ จัดทําโดย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 974-01-3820-9 พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม พ.ศ. ๒๕๔๗ องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว ๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ 167 กรณีที่ 2 D2 + E2 – 4F = 0 กรณีนี้กราฟของสมการที่กําหนดคือจุด ) 2 E , 2 D ( −− เรียกชื่อจุดที่เปนกราฟในกรณีนี้วา วงกลมลดรูป (degenerate circle) กรณีที่ 3 ถา D2 + E2 – 4F < 0 กรณีนี้สมการที่กําหนดไมมีกราฟ หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง คือ ไมมีคูอันดับของจํานวนจริงใด ๆ เปนคําตอบหรือสอดคลองสมการที่กําหนดให(เพราะไมมีจํานวนจริงใดยกกําลังสองแลวไดจํานวนจริงลบ) ในทํานองเดียวกัน เมื่อกระจายพจนกําลังสองของภาคตัดกรวยอื่น ๆ จะไดรูปพหุนามทั่วไปของ ภาคตัดกรวยแตละชนิด เชน จากสมการ (y – k)2 = 4 c(x – h) จะได y2 – 2ky + k2 = 4cx – 4ch หรือ y2 – 4cx – 2ky + k2 + 4ch = 0 ซึ่งเมื่อเทียบกับรูปทั่วไปของสมการกําลังสอง สองตัวแปรจะอยูในรูป y2 + Dx + Ey + F = 0 จากสมการทั่วไปในรูปดังกลาวขางตนจะสามารถใชวิธีการทํานองเดียวกันกับเรื่องวงกลม พิจารณากรณีตาง ๆ วา สมการทั่วไปดังกลาวจะมีกราฟเปนพาราโบลาเมื่อใด ในทํานองเดียวกันจากสมการในรูปมาตรฐานของภาคตัดกรวยสมการอื่น ๆ สามารถจัดอยูในรูป ทั่วไปได และจากสมการในรูปทั่วไปจะมีทั้งกรณีที่มีกราฟเปนภาคตัดกรวยและไมเปนภาคตัดกรวย ควร ลองใหผูเรียนไดพิจารณาดวยตนเอง 18. สําหรับผูเรียนที่มีความสนใจและความสามารถพิเศษ อาจใหศึกษาเรื่องการหมุนแกน และ การใชการเลื่อนแกนและหมุนแกนในการพิจารณากราฟของสมการกําลังสองสองตัวแปร รูปทั่วไปคือ สมการ Ax2 + Bxy + Cy2 + Dx + Ey + F = 0 ในกรณีที่ B ≠ 0 บางสมการที่สามารถใชวิธี หมุนแกน ทําใหเปลี่ยนรูปสมการใหพจน xy มีสัมประสิทธิ์เปนศูนย ซึ่งจะทําใหไดสมการรูปทั่วไป เปนกรณีใดกรณีหนึ่งตามขอ 8 ทําใหสามารถเขียนกราฟของสมการไดโดยใชขั้นตอนวิธีจัดตัวแปรใหอยู ในรูปกําลังสองสมบูรณ ตอไปนี้เปนความรูเรื่องการหมุนแกนอยางงาย สมมุติหมุนแกนทํามุม θ กับแกนชุดเดิมโดยหมุนในทิศทวนเข็มนาฬิกาไดแนวแกน ชุดใหมเรียกวา แกน X′ และแกน Y′ ดังรูป
  • 13. คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ จัดทําโดย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 974-01-3820-9 พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม พ.ศ. ๒๕๔๗ องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว ๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ 168 ถา P เปนจุดใด ๆ บนระนาบมีพิกัดเปน (x, y) และ (x′, y′) เมื่อเทียบกับแกนชุดเดิมและ แกนชุดใหมตามลําดับ เนื่องจากแกน X′ ทํามุม θ กับแกน X และผานจุดกําเนิด ดังนั้นแกน X′ ซึ่งเปนเสนตรง มีความชัน tan θ ผานจุด (0, 0) จะมีสมการเมื่อเทียบกับแกนชุดเดิมเปน y = (tan θ)x หรือ (tan θ) x – y = 0 ----------- (1) และเนื่องจากแกน Y′ ตั้งฉากกับแกน X′ และผานจุดกําเนิด จึงมีสมการเมื่อเทียบกับแกนชุดเดิมเปน y = x tan 1 θ − หรือ x + (tan θ) y = 0 ----------- (2) จาก (1) และ (2) เมื่อหาระยะจากจุด (x, y) ถึงแกน X′ และ Y′ โดยใชสูตรหาระยะจากจุด ไปยังเสนตรงจะไดวา x′ = θ+ θ+ 2 tan1 y)(tanx y′ = θ+ θ− 2 tan1 x)(tany (จากสูตรหาระยะจากจุดไปยังเสนตรงตองเลือกใชคาที่เมื่อแทนตัวแปร x, y ในสมการแลวได คามากกวาศูนย แตในที่นี้แทนตัวแปร x, y ดวยคาใด ๆ x, y และคา x′, y′ ก็ยังเปนไดทั้งจํานวนบวก และจํานวนลบ การเลือกคาถาจะทําใหละเอียดจึงตองพิจารณาเปนกรณี ๆ ไป แตทุกกรณีจะออกมาตรงกัน ดังที่เขียนไว) จากคาของ x′, y′ ที่สัมพันธกับ x, y ขางตน จัดสมการใหมโดยเขียน tan θ ในรูป θ θ cos sin จะได x′ = x cos θ + y sin θ y′ = y cos θ – x sin θ • Y X X′Y′ x′ P (x, y) (x′, y′) y′ θ
  • 14. คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ จัดทําโดย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 974-01-3820-9 พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม พ.ศ. ๒๕๔๗ องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว ๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ 169 หรือ x = x′ cos θ – y′ sin θ y = x′ sin θ + y′ cos θ ประโยชนประการหนึ่งของการหมุนแกนคือ เพื่อจัดรูปทั่วไปของสมการกําลังสองสองตัวแปร Ax2 + Bxy + Cy2 + Dx + Ey + F = 0 ใหอยูในรูปที่อางถึงแกนชุดใหมเปน A′x′2 + B′x′y′ + C′y2 + D′x′ + E′y′ + F′ = 0 โดยพยายามหมุนแกนใหคาของ B′ = 0 ซึ่งจะทําใหสมการอยูในรูปทั่วไปที่ไมมีพจน xy เชนจากเรื่องไฮเพอรโบลามุมฉาก ซึ่งเห็นไดชัดเจนวา แกนหมุนไป 45° ในกรณีนี้อยูในรูป xy = k, k > 0 จะใชความสัมพันธเปน x = x 2 2 ′ – y 2 2 ′ y = x 2 2 ′ + y 2 2 ′ แทนคา x และ y ในสมการ xy = k จะได 22 y 2 1 x 2 1 ′−′ = k ดังนั้น จะจัดสมการในรูปมาตรฐาน เปน 2 2 )k2( x′ – 2 2 )k2( y′ = 1 กรณีทั่ว ๆ ไป การจะทําใหคา B′ เปนศูนยจะใชสูตร tan 2 θ = CA B − เชนจากสมการ 4x2 – 4xy + y2 + 2x – 6y + 17 = 0 จะตองให tan 2 θ = 14 4 − − = 3 4 − นั่นคือ θ− θ 2 tan1 tan2 = 3 4 − หรือ 2 tan2 θ – 3 tan θ – 2 = 0 (2 tan θ + 1) (tan θ – 2) = 0 tan θ = 2 1 − หรือ tan θ = 2
  • 15. คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ จัดทําโดย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 974-01-3820-9 พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม พ.ศ. ๒๕๔๗ องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว ๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ 170 ใชเฉพาะคา tan θ ที่เปนบวก หาคา sin θ และ cos θ จะได sin θ = 5 2 cos θ = 5 1 แทนคา x และ y ในสมการโดยให x = x 5 1 ′ – y 5 2 ′ y = x 5 2 ′ + y 5 1 ′ จะได 22 )y 5 1 x 5 2 ()y 5 1 x 5 2 )(y 5 2 x 5 1 (4)y 5 2 x 5 1 (4 ′+′+′+′′−′−′−′ + 17)y 5 1 x 5 2 (6)y 5 2 x 5 1 (2 +′+′−′−′ = 0 )y 5 2 yx 5 3 x 5 2 (4) 5 y4 5 yx4 5 x (4 22 22 ′−′′−′− ′ + ′′ − ′ + y 5 4 x 5 2 y 5 1 yx 5 4 x 5 4 22 ′−′+′+′′+′ – 17y 5 6 x 5 12 +′−′ = 0 17x52y52y5 2 +′−′−′ = 0 2 )1y5( −′ = x52 ′ – 16 2 ) 5 1 y( −′ = 5 8 x( 5 52 −′ ) เห็นไดวา สมการดังกลาวมีกราฟ เมื่อเทียบกับแกนที่หมุนไปเปนพาราโบลามีจุด ) 5 1 , 5 8 ( เปนจุดยอด อยางไรก็ตามเรื่องนี้เปนเรื่องที่คอนขางยุงยาก ในกรณีที่ตองการใชเสริมใหผูเรียนควรทําภายหลัง จากเรียนตรีโกณมิติจนจบแลว และกรณีการจําสูตรคาของ tan 2θ อาจไมตองจําแตใชขั้นตอนวิธีแทนได ทั้งนี้ ผูสอนอาจตองเลือกโจทยที่ไมยากนักดวย และในการใชหลังจากหมุนแกนแลวจะตองเลื่อนแกนทาง ขนานกับแกนที่หมุนไปดวย โดยการใชความรูดังกลาว จะสามารถพิจารณาสรุปเปนทฤษฎีวา จากสมการกําลังสองสองตัวแปร รูปทั่วไป Ax2 + Bxy + Cy2 + Dx + Ey + F = 0 เมื่อพิจารณาจากคา B2 – 4AC จะมีขอสรุปเกี่ยวกับกราฟดังนี้ 1. ถาเปนจํานวนจริงลบ กราฟจะเปนวงรี จุด หรืออาจไมมีกราฟ 2. ถาเปนศูนย กราฟจะเปนพาราโบลา หรือเสนตรง 2 เสนที่ขนานกัน หรือเสนตรงเสนเดียว หรือไมมีกราฟ 3. ถาเปนจํานวนจริงบวก กราฟจะเปนไฮเพอรโบลา หรือเสนตรงสองเสนตัดกัน
  • 16. คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ จัดทําโดย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 974-01-3820-9 พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม พ.ศ. ๒๕๔๗ องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว ๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ 171 กิจกรรมเสนอแนะ ระยะระหวางจุดสองจุด กอนสอนบอกใหผูเรียนทราบวาระยะระหวางจุด A ถึงจุด B เขียนแทนดวย AB หรือ ⏐AB⏐ 1. ผูสอนควรใหผูเรียนหาระยะระหวางจุด 2 จุดบนแกน X หรือแกน Y กอนและหาระยะ ระหวางจุด 2 จุดในแนวเสนตรงที่ขนานกับแกน X หรือแกน Y แลวจึงใหหาระยะระหวางจุด 2 จุดใด ๆ บนระนาบ ดังวิธีการแตละขั้นดังตอไปนี้ (1) กําหนดตัวอยางของจุด 2 จุดบนแกน X ใหผูเรียนหาระยะระหวางจุด 2 จุดนี้หลาย ๆ ตัวอยาง เชน A(0, 0), B(4, 0) และ P(–3, 0), Q(2, 0) ฯลฯ ดังรูป ผูเรียนควรตอบไดวา AB = 4 หนวย ไดจาก ⏐4 – 0⏐ หรือ ⏐0 – 4⏐ และ PQ = 5 หนวย ไดจาก ⏐–3 –2⏐ หรือ ⏐2 – (–3)⏐ จากกิจกรรมนี้ผูเรียนจะสรุปไดวา ระยะหางระหวางจุด A(a, 0) และจุด B(b, 0) คือ AB = ⏐a – b⏐ = ⏐b – a⏐ (2) ในทํานองเดียวกันจะหาระยะระหวางจุด 2 จุดบนแกน Y ไดโดยใชวิธีการเดียวกับ ขอ (1) ซึ่งผูเรียนจะสรุปไดวา ระยะระหวางจุด C(0, c) และ D(0, d) คือ CD = ⏐c – d⏐ = ⏐d – c⏐ (3) กําหนดจุดสองจุดที่อยูในแนวเสนตรงเดียวกันกับเสนตรงที่ขนานกับแกน X หรือ แกน Y ใหผูเรียนหาระยะทางระหวางจุดสองจุดนั้น โดยวิธีเดียวกับการหาระยะระหวางจุดสองจุดใด ๆ บนแกน X และแกน Y ผูเรียนควรสรุปไดวา ระยะระหวางจุด A(a, b) กับจุด B(a, c) คือ AB = ⏐b – c⏐ = ⏐c – b⏐ และ ระยะระหวางจุด C(d, e) กับจุด D(f, e) คือ CD = ⏐d – f⏐ = ⏐f – d⏐ โดยผูสอนยกตัวอยางที่เปนตัวเลขประกอบดวย X Y A (0, 0) B (4, 0) •• X Y P (–3, 0) Q (2, 0) •• •
  • 17. คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ จัดทําโดย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 974-01-3820-9 พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม พ.ศ. ๒๕๔๗ องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว ๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ 172 2. ในการหาระยะระหวางจุดสองจุดใด ๆ บนระนาบนั้นตองอาศัยทฤษฎีบทปทาโกรัส ดังนั้น เพื่อใหผูเรียนเกิดแนวความคิดที่จะนําทฤษฎีบทดังกลาวมาใช ผูสอนอาจใชวิธีการดังตอไปนี้ (1) กําหนดจุด A(0, a) และ B(b, 0) เปนจุดบนแกน Y และแกน X ตามลําดับ ใหผูเรียน หาระยะระหวางจุด A กับจุด B ผูสอนอาจยกตัวอยางจุดที่มีพิกัดเปนจํานวนจริง เชน A(0, 3) และ B(4, 0) หรือ A(0, –3) และ B(–4, 0) เปนตน ซึ่งจากรูป ผูเรียนจะเห็นไดวา AB คือดานตรงขาม ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ผูสอนใหผูเรียนหา AB (ผูเรียนควรหาไดดวยตนเอง โดยใชทฤษฎีบทปทาโกรัส) (2) กําหนดจุด A อยูที่จุด (0, 0) และจุด B เปนจุดใด ๆ เชน B(3, 4) ฯลฯ ใหผูเรียนหา AB (ผูเรียนควรหาไดโดยเสนอวาควรลากเสนตรงขนานกับแกน X หรือแกน Y โดยใหเสนตรงนั้นผาน จุด B จะไดรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก แลวใชทฤษฎีบทปทาโกรัส) ถาผูเรียนยังเสนอแนะเพิ่มเติมจากสิ่งที่กําหนดใหไมได ผูสอนควรพยายามตั้งคําถามเพื่อใหผูเรียนนําความคิด เกี่ยวกับการหาระยะ AB ในขอ (1) มาใช ซึ่งผูเรียน จะทราบวาจําเปนตองลากเสนตรงขนานกับแกน X หรือ แกน Y โดยใหเสนตรงนั้นผานจุด B จะไดรูปสามเหลี่ยม มุมฉากแลวใชทฤษฎีบทปทาโกรัสผูสอนอาจฝกให ผูเรียนหา AB เมื่อ A เปนจุดบนแกน X (หรือแกน Y) แตไมใชจุด (0, 0) X Y A (0, a) B (b, 0) • • 0 X Y B (a, b) (0, 0) • • A
  • 18. คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ จัดทําโดย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 974-01-3820-9 พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม พ.ศ. ๒๕๔๗ องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว ๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ 173 (3) กําหนดจุด A(x1, y1) และ B(x2, y2) เปนจุดในระนาบที่ไมอยูบนแกน X หรือแกน Y ใหผูเรียนหา AB จากความรูในขอ (1) และ (2) ผูเรียนจะทราบวาตองลากเสนตรงผานจุด A และ B โดยที่เสนตรงดังกลาวตองขนานกับแกน X หรือแกน Y เพื่อทําใหเกิดรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก แลวใชทฤษฎีบท ปทาโกรัสสรุปไดวา ระยะทางระหวางจุด A(x1, y1) กับ B(x2, y2) คือ AB = 2 21 2 21 )yy()xx( −+− หรือ AB = 2 12 2 12 )yy()xx( −+− หมายเหตุ เสนประในรูป ผูสอนควรจะใชชอลกสีลากเปนเสนทึบเพื่อใหผูเรียนเห็นเปนรูปสามเหลี่ยม มุมฉากไดชัดเจน จุดกึ่งกลางระหวางจุด 2 จุด 1. ผูสอนกําหนดจุด 2 จุดใด ๆ บนระนาบใหผูเรียนหาจุดกึ่งกลางระหวางจุดทั้ง 2 นั้น ผูเรียน อาจจะหาตําแหนงโดยการใชวงเวียนหรือการวัดแตไมสามารถหาพิกัดของจุดกึ่งกลางไดทุกกรณี กิจกรรมนี้ ทําเพื่อชักจูงใหผูเรียนเกิดความตองการทราบวิธีหาพิกัดของจุดกึ่งกลางระหวางจุด 2 จุดใด ๆ 2. ผูสอนกําหนดจุด 2 จุด ซึ่งอยูบนแกน X ให เชน A(0, 0) กับ B(8, 0) หรือ A(0, 0) กับ B(15, 0) ใหผูเรียนหาจุดกึ่งกลางระหวางจุด A และ B ผูสอนกําหนดจุด 2 จุด เชน A(0, 0), B(– 4, 0) หรือ A(0, 0), B(–7, 0) ฯลฯ ใหผูเรียนหา จุดกึ่งกลางระหวางจุด A และ B ผูสอนกําหนดจุด 2 จุด เชน A(8, 0), B(12, 0) หรือ A(9, 0), B(12, 0) หรือ A(– 4, 0), B(–8, 0) หรือ A(– 4, 0), B(12, 0) ฯลฯ ใหผูเรียนหาจุดกึ่งกลางระหวางจุด A และ B ผูเรียนควรสรุปไดวา จุดกึ่งกลางระหวางจุด (x1, 0) กับ (x2, 0) คือ จุด )0, 2 xx ( 21 + ผูสอนควรพยายามหลีกเลี่ยงใหผูเรียนคิดโดยการเขียนรูป ซึ่งอาจใชตัวอยางที่เปนตัวเลขงาย ๆ (ในขั้นแรก ๆ ผูสอนอาจใชรูปบางเพื่อใหเกิดแนวความคิด แตหลังจากสอนจบแลวผูเรียนควรสรุปขอความ ขางตนไดโดยไมตองอาศัยรูป) 3. ผูสอนยกตัวอยางจุดซึ่งอยูบนแกน Y แลวทําในทํานองเดียวกับขอ 2 ซึ่งผูเรียนควรสรุปไดวา จุดกึ่งกลางระหวางจุด (0, y1) กับ (0, y2) คือ ) 2 yy ,0( 21 + X Y • • A B 0
  • 19. คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ จัดทําโดย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 974-01-3820-9 พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม พ.ศ. ๒๕๔๗ องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว ๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ 174 4. ผูสอนกําหนดจุด 2 จุด ซึ่งอยูในแนวเสนตรงเดียวกันที่ขนานกับแกน X เชน จุด A(3, 2) กับ B(7, 2) หรือ A(4, –3) กับ B(6, –3) ฯลฯ ใหผูเรียนหาจุดกึ่งกลาง ผูเรียนควรสรุปไดวา จุดกึ่งกลางระหวางจุด (x1, y1) กับ (x2, y1) คือจุด )y, 2 xx ( 1 21 + 5. ผูสอนกําหนดจุด 2 จุด ซึ่งอยูในแนวเสนตรงเดียวกันกับเสนที่ขนานกับแกน Y เชน A(3, 8) กับ B(3, 6) หรือ A(–3, 6) กับ B(–3, 8) ฯลฯ แลวทําในทํานองเดียวกับขอ 4 ผูเรียนควรสรุปไดวาจุดกึ่งกลางระหวางจุด (x1, y1) กับ (x1, y2) คือจุด ) 2 yy ,x( 21 1 + 6. การหาจุดกึ่งกลางของสวนของเสนตรง AB ในกรณีที่สวนของเสนตรงไมอยูในแนวขนาน กับแกน X หรือแกน Y ผูสอนกําหนดสวนของเสนตรง ซึ่งมีจุดเริ่มตนจุดหนึ่งอยูที่จุด (0, 0) เชน สวนของเสนตรงที่ เชื่อมจุด A(0, 0) และจุด B(4, 8) แลวใหผูเรียนหาพิกัดของจุด (x, y) ซึ่งเปนจุดกึ่งกลางของ AB ถาผูเรียนหาคา x ไมได ใหผูสอนแนะโดยการลาก เสนตรงผานจุด B(4, 8) ตัดและตั้งฉากกับแกน X ถาผูเรียนยังหาไมไดอีก ใหผูสอนแนะอีกขั้น โดยการลาก เสนตรงผานจุดกึ่งกลางตัดและตั้งฉากกับแกน X และใช ความรูเกี่ยวกับสมบัติของสามเหลี่ยมคลาย (ซึ่งผูเรียนควร หาคา x ได ในทํานองเดียวกันใหผูเรียนหาคา y) 7. ผูสอนกําหนดสวนของเสนตรงซึ่งจุดปลายทั้งสองไมอยูบนแกน X หรือแกน Y ใหผูเรียน หาจุดกึ่งกลาง โดยผูสอนใชวิธีการถามเปนขั้น ๆ ดังวิธีที่ผานมา ถาผูเรียนหาคา x ไมได ผูสอนควรแนะใหผูเรียนลากสวน ของเสนตรง AE ใหขนานกับแกน X ตั้งฉากกับ CD และ BE ซึ่งเปนสวนของเสนตรงที่ขนานกับแกน Y ที่ จุด D และ E ตามลําดับ แลวใหผูเรียนใชความรูเกี่ยวกับ สมบัติของสามเหลี่ยมคลาย (∆ ACD ∼ ∆ABE) หาคา x, y ซึ่งผูเรียนควรสรุปไดวา จุดกึ่งกลางของสวนของ เสนตรงที่มีจุดปลายที่จุด A(x1, y1) และจุด B(x2, y2) คือจุด ) 2 yy , 2 xx ( 2121 ++ X Y B (x2, y2) A (x1, y1) D (x, y1) E (x2, y1)• • 0 C (x, y) X Y • • A (0, 0) B (4, 8) (x, y) •
  • 20. คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ จัดทําโดย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 974-01-3820-9 พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม พ.ศ. ๒๕๔๗ องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว ๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ 175 ความชันของเสนตรง ในการนําเขาสูบทเรียนในเรื่องนี้ ผูสอนอาจยกตัวอยางเรื่องที่ผูเรียนคุนเคยในชีวิตประจําวัน เชน การพาดบันไดกับกําแพง ดังรูป ผูสอนอาจใหผูเรียนดูรูปขางตนแลวใหชวยกันตอบคําถามวา บันไดที่พาดในลักษณะไหนมี ความชันมากกวากัน หลังจากที่ผูเรียนไดรวมกันอภิปรายแลวควรจะสรุปไดวา ความชันของบันไดขึ้นอยู กับระยะในแนวราบระหวางโคนบันไดกับกําแพง โดยบันไดที่โคนบันไดอยูหางจากกําแพงนอยกวา จะมีความชันมากกวา ผูสอนยกตัวอยางใหม โดยสมมุติใหมีบันไดพาดขึ้นไปบนตึกในลักษณะตาง ๆ กัน แตมีระยะ ในแนวราบระหวางโคนบันไดกับตัวตึกคงเดิม ดังรูป ผูสอนตั้งคําถามในทํานองเดียวกัน ผูเรียนควรจะสรุปไดวา ความชันของบันไดขึ้นอยูกับระยะ ในแนวดิ่ง โดยบันไดที่พาดขึ้นไปยังตึกชั้นที่สูงกวาจะมีความชันมากกวาบันไดอันที่พาดขึ้นไปบนตึก ชั้นที่ต่ํากวา
  • 21. คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ จัดทําโดย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 974-01-3820-9 พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม พ.ศ. ๒๕๔๗ องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว ๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ 176 ผูสอนลากสวนของเสนตรงในลักษณะตาง ๆ กัน บนกระดานกราฟ ดังรูป จากรูปผูสอนใหผูเรียนรวมกันพิจารณาความชันของเสนตรง ผูเรียนควรจะสรุปไดวา ความชันขึ้นอยูกับระยะในแนวดิ่งและแนวระดับ และผูสอนบอกผูเรียน วา จะนิยามความชันของเสนตรงใด ๆ ไดดังนี้ บทนิยาม ให L เปนเสนตรงที่ผานจุด P1(x1, y1) และ P2(x2, y2) โดยที่ x1 ≠ x2, m เปนความชันของเสนตรง L ก็ตอเมื่อ m = 21 21 xx yy − − จากนั้น ใหผูเรียนฝกหาความชันของเสนตรงโดยอาศัยบทนิยามขางตน เพื่อใหผูเรียนเขาใจ ขอสรุปตอไปนี้ คือ 1. ถาความชันเปนจํานวนบวก เสนตรงจะทํามุมแหลมกับแกน X (วัดมุมทวนเข็มนาฬิกาจาก แกน X) 2. ถาความชันเปนจํานวนลบ เสนตรงจะทํามุมปานกับแกน X (วัดมุมทวนเข็มนาฬิกา จากแกน X) 3. ถาเสนตรงขนานกับแกน X ความชันจะเปนศูนย 4. เสนตรงที่ขนานกับแกน Y นั้น ไมอาจหาความชันได
  • 22. คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ จัดทําโดย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 974-01-3820-9 พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม พ.ศ. ๒๕๔๗ องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว ๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ 177 เสนตั้งฉาก ผูสอนกําหนดพิกัดของจุดยอดของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก (ดานประกอบมุมฉากดานหนึ่ง ไมขนานกับแกน Y) ให 3 จุด เชน ใหผูเรียนทดสอบวา เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไมโดยใชบทกลับของ ทฤษฎีบทของ ปทาโกรัสที่กลาววา “ถารูปสามเหลี่ยม ABC มีดานยาว a, b และ c หนวย ตามลําดับ และ c2 = a2 + b2 แลว ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉากและมีดานที่ยาว c หนวย เปนดานตรงขามมุมฉาก” ใหผูเรียนหาความชันของดานประกอบมุมฉาก และผลคูณของความชันของดานประกอบมุมฉาก ซึ่งจะไดเทากับ –1 ผูสอนอาจยกตัวอยางอื่น ๆ ในทํานองเดียวกัน ผูสอนกําหนดเสนตรง 2 เสนที่ตั้งฉากกัน โดยอาศัยการกําหนดจุดบนเสนตรงแตละเสนใหบน กระดานกราฟ ใหผูเรียนชวยกันแสดงวาผลคูณของความชันของเสนตรงทั้งสองเทากับ –1 ผูสอนยกตัวอยางในทํานองเดียวกัน เพื่อใหผูเรียนมีแนวความคิดวา “ผลคูณของความชันของเสนตรง 2 เสนที่ตั้งฉากกันมีคาเทากับ –1” ผูสอนและผูเรียนชวยกันพิสูจนขอความดังกลาวตามวิธีการในหนังสือเรียน Y X (– 4, 2) (1, 1) (–1, –1) 0