SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
บทที่ 2
พหุนามและเศษสวนของพหุนาม (18 ชั่วโมง)
2.1 ทบทวนพหุนาม (2 ชั่วโมง)
2.2 การคูณพหุนาม (4 ชั่วโมง)
2.3 การหารพหุนาม (4 ชั่วโมง)
2.4 เศษสวนของพหุนาม (1 ชั่วโมง)
2.5 การคูณและการหารเศษสวนของพหุนาม (3 ชั่วโมง)
2.6 การบวกและการลบเศษสวนของพหุนาม (4 ชั่วโมง)
สาระของบทนี้เปนความรูตอเนื่องที่นักเรียนเคยเรียนมาแลวในหนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ในบทนี้จะไดกลาวถึงการคูณระหวางพหุนามที่มีตัวแปรไมเกิน
สองตัว ดีกรีของผลลัพธไมเกิน 5 และการหารพหุนามดวยพหุนามที่มีตัวแปรเดียว สัมประสิทธิ์ของตัวตั้ง
ตัวหาร ผลหารและเศษ เปนจํานวนเต็ม ทั้งเปนการหารลงตัวและไมลงตัว
สําหรับเศษสวนของพหุนามจะกลาวถึงการบวก ลบ คูณ และหารเศษสวนของพหุนามอยางงาย
กลาวคือ ทั้งตัวเศษและตัวสวนเปนเอกนามหรือเปนพหุนามที่มีไมเกินสองพจน มีตัวแปรเดียว มีดีกรี
ของพหุนามไมเกินสอง และถาพหุนามตัวเศษและพหุนามตัวสวนมีตัวประกอบรวม สามารถหา
ตัวประกอบรวมนั้นไดโดยใชสมบัติการแจกแจง สวนผลลัพธควรเปนพหุนามที่มีไมเกินสามพจน
และจะตองทําใหอยูในรูปของเศษสวนของพหุนามในรูปผลสําเร็จ สําหรับการหาตัวประกอบรวมโดยการแยก
ตัวประกอบดวยวิธีอื่นๆ นักเรียนจะไดเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
ครูควรใหนักเรียนทําแบบฝกหัดในเรื่องการบวก ลบ คูณ หารพหุนามและเศษสวนของพหุนามให
มากพอ เพราะเนื้อหาเหลานี้เปนพื้นฐานที่สําคัญของการเรียนพีชคณิตในชั้นที่สูงขึ้น
ตัวอยางกิจกรรมเสนอแนะและแบบฝกหัดเพิ่มเติมในแตละหัวขอ มีไวเพื่อใหครูเลือกใชหรืออาจ
ปรับใชไดตามความตองการ
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
1. บวก ลบ คูณ และหารพหุนามได
2. บวก ลบ คูณ และหารเศษสวนของพหุนามอยางงายได
18
แนวทางในการจัดการเรียนรู
2.1 ทบทวนพหุนาม (2 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. บวก ลบ พหุนามอยางงายได
2. คูณเอกนามกับพหุนามได
3. หารพหุนามดวยเอกนามได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูทบทวนการบวก ลบ เอกนาม ทั้งที่เปนเอกนามที่คลายกันและไมคลายกันใหนักเรียนตอบ
ปากเปลา เชน หาผลบวกหรือผลลบของเอกนามตอไปนี้
1) 7x2
+ (-5x2
)
2) 8x – 10y
3) -5z3
+ (-4z2
)
4) -11y2
– 20y2
2. ในการทบทวนการบวกและการลบพหุนาม ครูอาจทบทวนวิธีการหาผลลัพธทั้งในแนวนอน
และแนวตั้ง รวมถึงวิธีการถอดวงเล็บซึ่งอาจมีการเปลี่ยนเครื่องหมายและใหสังเกตวาในตัวอยาง เมื่อเขียน
การลบพหุนามในแนวนอนจะเปลี่ยนการลบเปนการบวกดวยพจนตรงขามของตัวลบกอน เพื่อไมให
นักเรียนสับสนเกี่ยวกับเครื่องหมาย
3. ในการทบทวนการคูณระหวางเอกนามกับพหุนาม ครูควรทบทวนการคูณที่เปนทั้งการคูณ
เอกนามดวยพหุนามและการคูณพหุนามดวยเอกนาม ดังตัวอยางที่ 4 และตัวอยางที่ 5 และควรให
นักเรียนเขียนคําตอบในรูปพหุนามที่มีการเรียงดีกรีจากมากไปนอย
4. ในการทบทวนการหารพหุนามดวยเอกนาม นอกจากครูจะทบทวนหลักการหารแลว ควรเนน
ถึงความสัมพันธของตัวตั้ง ตัวหาร และผลหารดวย และควรใชคําถามที่ชี้ใหนักเรียนสังเกตวิธีการตรวจ
สอบผลหารจากความสัมพันธ ตัวตั้ง = ตัวหาร × ผลหาร
19
ผลบวกของพจนหนาคูณพจนหลัง
กับพจนหลังคูณพจนหนา
(x)(-5) + (2)(x)
ผลคูณของพจนหนา
(x)(x)
ผลคูณของพจนหลัง
(2)(-5)
2.2 การคูณพหุนาม (4 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถหาผลคูณของพหุนามได
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 2.2 และแบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.2 ก และ
2.2 ข
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูควรยกตัวอยางการคูณระหวางพหุนามดีกรีหนึ่งกับพหุนามดีกรีหนึ่งในหนังสือเรียนแลว
ชี้ใหนักเรียนสังเกตวิธีใชพหุนามใดพหุนามหนึ่งเปนตัวตั้งและอีกพหุนามหนึ่งเปนตัวคูณโดยใชสมบัติการ
แจกแจงดวย ครูอาจใชเสนโยงใหเห็นพจนที่คูณกันโดยแยกพิจารณาการคูณทีละขั้นตอน เชน การหา
ผลคูณของ x + 2 กับ x – 5 ดังนี้
ขั้นที่ 1 พิจารณาการจับคูคูณของ (x + 2)(x – 5) x2
– 5x
ขั้นที่ 2 พิจารณาการจับคูคูณของ (x + 2)(x – 5) 2x – 10
จะได (x + 2)(x – 5) = (x2
– 5x) + (2x – 10)
= x2
– 5x + 2x – 10
= x2
– 3x – 10
หรือ = x2
+ (-3x) + (-10)
2. ครูอาจใหนักเรียนทําแบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.2 ก และ 2.2 ข เพื่อใหนักเรียนมีทักษะใน
การคูณและสังเกตไดวาผลคูณของพหุนามดีกรีหนึ่ง แตละพจนเกี่ยวของกับจํานวนใดที่คูณกัน
ครูอาจชี้ใหนักเรียนเห็นแบบรูปการคูณจากผลคูณ เชน (x + 2)(x – 5) ดังนี้
x2
+ (-3x) + 10
3. ครูอาจใชกิจกรรมเสนอแนะ 2.2 ประกอบการเรียนการสอนเพื่อใหนักเรียนเห็นภาพการคูณ
พหุนามเปนรูปธรรมโดยใชพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
4. การสอนวิธีคูณในแนวตั้ง ครูอาจตั้งคูณเหมือนการคูณจํานวนเต็มที่นักเรียนคุนเคยในลักษณะ
ดังนี้ก็ได เชน
20
ตอบ -4x3
+ 37x2
– 66x + 21
กอนที่จะตั้งคูณ ครูควรแนะนําใหนักเรียนเรียงดีกรีของพจนทั้งพหุนามตัวตั้งและพหุนาม
ตัวคูณในลักษณะเดียวกันซึ่งนิยมเรียงดีกรีจากมากไปนอยและควรใหเรียงดีกรีของผลลัพธในทํานองเดียวกัน
ดวย
4. ในแบบฝกหัด 2.2 ก ขอ 1 ขอยอย 16) มีการหาผลคูณ (x – 1)(x – 1)2
ครูอาจแนะนําใหหา
ผลคูณ (x – 1)2
ในแนวนอนเปน (x – 1)(x – 1) = x2
– 2x + 1 กอนแลวหาผลคูณ (x – 1)(x2
– 2x + 1)
ในแนวตั้งก็ได
5. ครูอาจใชแบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.2 ค เพื่อฝกทักษะการบวก ลบ และคูณพหุนาม
2.3 การหารพหุนาม (4 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถหาผลหารของพหุนามได
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.3
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูทบทวนการหารพหุนามดวยเอกนามและเนนวา เอกนามตัวหารตองไมเปนศูนย จากนั้นจึง
ยกตัวอยางโจทยการหารพหุนามดวยพหุนามและใหขอตกลงกับนักเรียนเชนกันวา พหุนามตัวหารตองไม
เปนศูนย
2. กอนใหตัวอยางการหารพหุนามดวยพหุนาม ครูควรทบทวนวิธีการหารจํานวนเต็มแบบ
การหารยาวกอน เพื่อใหเห็นวาวิธีหารพหุนามดวยพหุนามจะมีวิธีการที่คลายกับการหารยาวที่นักเรียน
คุนเคยมาแลว
3. ครูควรย้ําถึงความสัมพันธของตัวตั้ง ตัวหาร ผลหารและเศษในรูปของ
ตัวตั้ง = (ตัวหาร × ผลหาร) + เศษ และควรแนะนํานักเรียนใหมีการตรวจสอบผลลัพธ โดยใชความสัมพันธ
ดังกลาว
ในตัวอยางการหารพหุนามทุกตัวอยางไดแสดงการตรวจสอบผลลัพธไวใตคําตอบทุกตัวอยาง
ครูควรนํามาอธิบายและทําความเขาใจกับนักเรียนเปนบางตัวอยางก็ได สําหรับแบบฝกหัดของนักเรียนจะ
แสดงการตรวจสอบผลลัพธหรือไม ใหอยูในดุลพินิจของครู
4x2
– 9x + 3
- x + 7
28x2
– 63x + 21
-4x3
+ 9x2
– 3x
-4x3
+ 37x2
– 66x + 21
×
21
4. นักเรียนสวนใหญจะขาดทักษะในเรื่องการลบและการหารพหุนาม ดังนั้นครูควรใหแบบฝกหัด
ในเรื่องการหารใหมากพอ เพราะจะชวยใหนักเรียนมีทักษะการลบพหุนามไปดวย ครูไมจําเปนตองใหโจทย
ที่มีดีกรีสูงและควรใหสัมประสิทธิ์ของแตละพจนมีคาไมมาก สัมประสิทธิ์ของแตละพจนของผลหารหรือ
เศษในชั้นนี้ใหเปนจํานวนเต็มเทานั้น
5. ครูอาจใชแบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.3 สําหรับเด็กที่ยังขาดทักษะการหารพหุนาม
2.4 เศษสวนของพหุนาม (1 ชั่วโมง)
จุดประสงค ใหนักเรียนรูจักเศษสวนของพหุนามและเศษสวนพหุนามในรูปผลสําเร็จ
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.4 ก และ 2.4 ข
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูอาจยกตัวอยางเศษสวนของพหุนามหลาย ๆ ตัวอยาง ทั้งที่ตัวเศษและตัวสวนเปนเอกนาม
หรือเปนพหุนาม พรอมทั้งย้ํากับนักเรียนวา พหุนามตัวสวนตองไมเปนศูนย
2. ครูควรยกตัวอยางพหุนามงาย ๆ ที่สามารถใชสมบัติของการแจกแจงในการแยกตัวประกอบของ
พหุนาม ใหนักเรียนไดฝกเขียนในรูปการคูณของพหุนามกอน เชน
5x – 10 = 5(x – 2)
9x3
– 3x2
= 3x2
(3x – 1)
4x2
y + 2xy2
= 2xy(2x + y)
ครูอาจใชแบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.4 ก ประกอบดวย
3. ครูอาจยกตัวอยางเศษสวนของพหุนามอยางงายที่สามารถใชสมบัติการแจกแจง ทําใหตัวเศษ
และตัวสวนมีพหุนามหนึ่งเปนตัวรวมแลวนําพหุนามที่เปนตัวรวมนั้นไปหารตัวเศษและตัวสวน ซึ่งจะ
สามารถทําใหเศษสวนของพหุนามนั้นเปนเศษสวนของพหุนามในรูปผลสําเร็จได เชน
105x
63x
−
−
=
2)5(x
2)3(x
−
−
=
5
3
4. ในการทําเศษสวนของพหุนามใหเปนเศษสวนของพหุนามในรูปผลสําเร็จ ครูควรย้ําให
ระมัดระวังเกี่ยวกับนําตัวรวมไปหารตัวเศษและตัวสวนของเศษสวนของพหุนาม เชน
2x
y4x +
เปนเศษสวนของพหุนามในรูปผลสําเร็จแลว แตอาจมีนักเรียนเขาใจผิดและทอนตอ
ไปอีกไดเปน
2x
y4x +
= 2 + y ซึ่งเปนวิธีการที่ผิด ดังนั้นครูจะตองย้ําใหนักเรียนเห็นวาพหุนามที่เปน
ตัวหารจะตองเปนตัวคูณรวมของตัวเศษและตัวสวนของเศษสวนของพหุนามนั้น เชน x + 3 ใน
2
1
22
3)x(x
)3)(x(x 2
+
+ − 1 เมื่อนํา x + 3 ไปหารทั้งตัวเศษและตัวสวนแลวจะได
x
x2
1−
4. ครูอาจใชแบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.4 ก และ 2.4 ข ใหนักเรียนฝกทักษะในเรื่องเหลานี้เพิ่มเติมได
2.5 การคูณและการหารเศษสวนของพหุนาม (3 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. หาผลคูณของเศษสวนพหุนามอยางงายในรูปผลสําเร็จได
2. หาผลหารของเศษสวนพหุนามอยางงายในรูปผลสําเร็จได
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.5
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูยกตัวอยางการคูณเศษสวนของพหุนามดังตัวอยาง แตอาจแบงใหตัวอยางและใหแบบฝกหัด
เปน 2 ชั่วโมง ไดตามความยากงายของโจทยและใหเหมาะสมตามระดับความสามารถของนักเรียน
2. ในการเขียนคําตอบถึงแมไมมีคําสั่งใหทําเปนเศษสวนของพหุนามในรูปผลสําเร็จ ครูก็ควรให
นักเรียนเขียนคําตอบเปนเศษสวนของพหุนามในรูปผลสําเร็จ เชน
3−
+
x
1)2x(x หรือ
3−
+
x
2x2x2
ก็ได
3. การสอนในเรื่องการหารเศษสวนของพหุนาม อาจดําเนินการในทํานองเดียวกันกับการคูณ
เศษสวนของพหุนามและอาจใชแบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.5 เพื่อฝกทักษะการคูณ การหารเศษสวนของพหุนาม
และการนําไปใช
1
1
23
2.6 การบวกและการลบเศษสวนของพหุนาม (4 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถหาผลบวกและผลลบของเศษสวนของพหุนามในรูปผลสําเร็จได
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.6
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูอาจทบทวนการบวกและการลบเศษสวนที่ตัวเศษและตัวสวนเปนจํานวนเต็มกอนเพื่อใหนัก
เรียนไดเห็นวาการบวกและการลบเศษสวนของพหุนามจะที่เรียนตอไปนั้นมีวิธีการบวกและลบในทํานอง
เดียวกัน
2. ในกรณีที่พหุนามตัวสวนไมเทากัน ครูควรใหนักเรียนทําพหุนามตัวสวนใหเทากันโดยหา
พหุนามมาคูณทั้งพหุนามตัวเศษและพหุนามตัวสวน ไมควรบอกวาใหหา ค.ร.น. เพราะบทเรียนที่ผานมา
ไมเคยกลาวถึงการหา ห.ร.ม. หรือ ค.ร.น. ของพหุนาม
3. ครูควรสอนการบวกเศษสวนของพหุนามและใหทําแบบฝกหัดการบวกกอนจึงสอนการลบ
เศษสวนของพหุนาม ทั้งนี้เพราะเรื่องการลบพหุนามนักเรียนตองใชความรอบคอบในการถอดวงเล็บซึ่ง
อาจมีการเปลี่ยนเครื่องหมายทําใหยุงยากขึ้น
สําหรับการเขียนผลลัพธที่ไดจากการบวกหรือการลบเศษสวนของพหุนามนั้น ก็ควรให
นักเรียนทําใหเปนเศษสวนของพหุนามในรูปผลสําเร็จเชนกัน สําหรับนักเรียนระดับชั้นนี้ยอมใหเขียน
คําตอบอยูในรูปการคูณของพหุนามไดดังเชนตัวอยางที่ 4
4. ครูอาจใชแบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.6 เพื่อเสริมทักษะการบวกและการลบเศษสวนของพหุนาม
5. สําหรับกรอบความรูเรื่อง แบบรูปกับพหุนาม ในตอนทายของบทเรียนนี้มีเจตนาใหนักเรียน
ไดเห็นแบบรูปของจํานวนที่สามารถนําไปหาขอสรุปในรูปทั่วไปซึ่งเปนพหุนามที่ใชตัวแปร นอกจากนั้น
ยังตองการเชื่อมโยงความรูเดิมของนักเรียนเกี่ยวกับการหาผลบวกของจํานวนนับที่มีรูปแบบดังเชน
1 + 2 + 3 + 4 + … + 100 ซึ่งนักเรียนเคยหาโดยวิธีการจับคูมา แตยังไมเคยทราบมากอนวาสามารถหา
ผลบวกจํานวนนับตั้งแต 1 ถึง n ไดจากสูตร
2
1)n(n +
เมื่อ n แทนจํานวนนับใด ๆ
24
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม
คําตอบแบบฝกหัด 2.1
1.
1) x2
+ 9x – 5 และ 3x2
–3x –5
2) -4x2
+ 5x – 3 และ 10x2
+ 5x – 5
3) 7x2
+ 5x + 9 และ -x2
– 9x +3
4) x2
+ 3y2
+ 3x + y และ x2
+ 3y2
– 3x – y
5) 6xz + 6x - 6z2
และ 8xz – 4x + 6z2
6) y2
z + 8y2
+ yz และ 7y2
z – yz – 6y2
7) -xy2
+ 8x3
– 12x2
y + 3y2
และ -xy2
+ 6x3
– 8x2
y – 3y2
8) 5x3
– 4x2
– 4x – 6 และ 13x3
– 6x2
+ 4x –10
9) -6x3
+ 4x2
+ 8x – 3 และ 8x3
– 8x2
– 2x – 5
10) 2x3
+ 6xy2
และ 6x2
y + 2y3
2.
1) -24x + 3x2
2) 36x3
– 28x
3) 10x3
– 6x 4) 11x3
+ 77x2
5) 18x – 30x2
– 42x3
6) x4
+ x3
+ x2
7) -16x3
+ 18x4
8) 45x5
– 20x3
9) -14x5
+ 13x4
10) 3x5
– 12x4
+ 9x3
– 3x2
3.
1) 7 + 5x – x2
2) -9x2
+ 6x + 5
3) -2x2
+ 5x 4) -5 + 3x
5) -2x2
+ 5x + 6 6) -3x3
– 7x2
– 7x
7) 7x2
– 10x + 5 8) 4x2
y2
– 3x2
y + 6x – 1
25
คําตอบแบบฝกหัด 2.2 ก
1.
1) x2
+ 9x + 18 2) x2
+ x – 2
3) x2
– 8x + 15 4) x2
+ x – 6
5) x2
+ 6x + 9 6) x2
– 1
7) x2
– 25 8) 2x2
– 5x + 2
9) 2x2
+ 9x – 5 10) 6x2
+ 11x + 3
11) 6x2
– 7x – 3 12) -15x2
+ 7x + 2
13) -8y2
+ 26y – 21 14) 7x3
+ 14x2
+ 4x + 8
15) x3
– x2
– x + 1 16) x3
– 3x2
+ 3x – 1
17) 4x3
– 6x2
+ 2x – 3 18) 12x3
– 36x2
+ 27x
2.
1) 72x2
– 133x + 26 2) -30x3
+ 84x2
– 70x + 196
3) -40x3
– 32x2
+ 42x 4) 6x3
– 2x2
–38x – 30
5) -40x4
+ 32x3
+ 65x2
–52x 6) 3x4
+ 26x2
– 40
7) -40x4
+ 126x2
– 72 8) 18x4
+ 65x2
+ 7
9) 12x4
+ 17x3
+6x2
10) x4
– x2
11) 42x4
– 20x3
– 150x2
12) 2x4
– 2x3
–x2
– x – 1
13) -11x4
–3x3
+83x2
+24x + 40 14) -4x4
+ 51x3
– 122x2
+ 91x – 8
15) -2y4
– 28y3
– 49y2
– 5y + 84 16) 3x5
+ x3
– 3x2
– 1
17) 27x5
+ 6x3
+ 3x 18) x5
– x3
– x2
+ 1
คําตอบแบบฝกหัด 2.2 ข
1.
1) x2
y + 5y 2) -2x2
y + 6xy
3) 6x2
y + 3xy2
4) 40x2
y3
– 30x3
y2
5) -2y2
z + 2yz2
–8z3
6) -9y3
z3
+ 7y3
z2
+ 2y2
z3
7) 7x2
– 54y2
– 33xy 8) 60y4
– 120y3
z + 55y – 110z
9) 14xy2
– 14x3
– 3xy3
+ 3x3
y 10) 20xy3
– x3
y – 8x2
y2
11) -44x3
z+32x2
z+66x2
z2
–64xz2
+24z3
12) -27x4
– 36x3
y –4xy3
+ 42x2
y2
+ 5y4
26
13) x3
– 3x2
y + 3xy2
– y3
14) x3
+ 3x2
y + 3xy2
+ y3
15) x3
+ y3
16) x3
– y3
คําตอบกิจกรรม “คิด”
1 : 14
แนวคิด
พื้นที่ของสวนที่แรเงา เทากับ [
2
1 (15x × 10y) –
2
1 (10x × 8y) – (10x × 2y) –
2
1 (5x × 2y)]
= 75xy – 40xy – 20xy – 5xy
= 10xy
จะได
แรเงาสวนที่ไมพื้นที่ของ
งาสวนที่แรเพื้นที่ของ =
140xy
10xy
=
14
1
คําตอบแบบฝกหัด 2.3
1.
1) -2 2) 3 เศษ 2
3) x – 2 4) x + 3 เศษ 36
5) 3x 6) 4x + 5
7) 4x – 2 เศษ 23 8) -3x + 8
9) 6x – 7 10) 4 เศษ -3x – 6
11) y2
– 5y + 3 12) 3y2
+ 12y + 3 เศษ -40
13) 2x2
– 3x + 1 14) y2
+ 2y – 1 เศษ -5
15) y2
– y + 1 เศษ -2 16) 4x2
– x + 6
17) 4y + 3 เศษ 3y + 8 18) 9y – 5 เศษ -2y + 19
19) -6x + 7 เศษ 9x + 4 20) 10x2
– 13x – 5 เศษ 16x + 4
2.
1) C = x – 2 D = 6x + 4
2) C = 5x2
– 6x + 7 D = 0
3) C = 4y + 6 D = 2y – 1
4) C = y + 5 D = -y + 6
27
3.
1) A = 5x3
– x2
+ 16x + 14
2) A = -2x4
+ 13x3
– 25x2
+ 59x – 45
3) A = 24x4
+ 32x3
– 6x2
+ 9x – 1
4) A = -15x4
+ x3
+ 53x2
+ 7x – 29
4.
1) ถูก 2) ผิด
3) ผิด 4) ผิด
คําตอบกิจกรรม “ลองคิดดู”
A = x3
+ 5x – 2
B = x3
– x2
C = x2
+ 5x – 2
D = x2
– x
E = 6x – 2
F = 6x – 6
คําตอบแบบฝกหัด 2.5
1.
1)
5
6x2
2) -
3
3
y
4x
3) -
20c
a2
4) x
5)
5−
+
3x
52x 6)
7
2
7)
1+
+
x
x3x2
8)
3
y
9)
2
35x
1 10)
yy
2
2
−
−6y
28
2.
1)
2ab
1 2)
3y
10x
3) -
5
3 4)
3
x
3
5) 2x2
+ 1 6)
3y −
3y
7)
1)4(x
3
−
− )3x(x หรือ
44x −
− 9x3x2
8) -8
9) (x + 1)(x – 1) หรือ x2
– 1 10) (x + 3)(x – 3) หรือ x2
–9
คําตอบแบบฝกหัด 2.6
1. 2x 2.
x
1
3.
10
3x 1−
4.
x
2
5.
15
28x −
6. 1
7. 1 8. 5
9. 1 10.
6b
13
11.
8x
7- 12.
2xy
yx 22
+
13.
6
8x −
14.
)2(x
17x
1−
−
15.
1)5(x
35x17x2
−
− + หรือ
55x
35x17x2
−
− + 16.
25
26
−5x
-
17.
6)4)(x(x
7x
−
−−
+
4x2
หรือ
242xx
7x
2
−−
−− 4x2
18.
8
5
19.
3)12(x
28x2
15x
+
−
หรือ
3612x
28x2
15x
+
−
20.
1x
2x2
3x
−
−−
29
กิจกรรมเสนอแนะ แบบฝกหัดเพิ่มเติมและคําตอบ
30
กิจกรรมเสนอแนะ 2.2
กิจกรรมนี้ตองการใหนักเรียนเห็นการนําพหุนามไปใชในเรื่องพื้นที่
กําหนดให รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแตละรูปมีขนาดความยาวของดาน ดังนี้
ใหนักเรียนเขียนคําตอบเติมในชองวางตอไปนี้ โดยพิจารณาจากรูปที่กําหนดให
1. กําหนดให ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
1) AD ยาวเทากับ…………หนวย [x + 1 หนวย]
2) AB ยาวเทากับ………….หนวย [x + 2 หนวย]
3) ความยาวรอบรูปของ ABCD เทากับ………….หนวย
[2(x + 1) + 2(x + 2) = 4x + 6 หนวย]
4) พื้นที่ของ ABCD เขียนในรูปการคูณของความยาวของดานไดเปน………..
[(x + 1)(x + 2) ตารางหนวย]
5) พื้นที่ของ ABCD เทากับ……………..ตารางหนวย [x2
+ 3x + 2 ตารางหนวย]
6) ถาแทน x ดวย 7 แลว พื้นที่ของ ABCD จะเปนเทาใด [72 ตารางหนวย]
2. กําหนดให PQRS เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
1) PQ ยาวเทากับ…………..หนวย [x + y หนวย]
2) PS ยาวเทากับ…………...หนวย [x + y หนวย]
3) ความยาวรอบรูปของ PQRS เทากับ…………….หนวย
[4x + 4y หนวย]
4) พื้นที่ของ PQRS เขียนในรูปการคูณของ
ความยาวของดานไดเปน [(x + y)(x + y) ตารางหนวย]
5) พื้นที่ของ PQRS เทากับ……………ตารางหนวย [x2
+ 2xy + y2
ตารางหนวย]
x
x
C
1
D
A B1
1
x
x
S R
P Qy
y
x
x
x
1
x
y
1
1
y
y
31
6) ถาแทน x ดวย 4 และแทน y ดวย 2 พื้นที่ของ PQRS จะเปนเทาใด
[36 ตารางหนวย]
3. กําหนดให ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
1) AB ยาวเทากับ………………หนวย [x + y หนวย]
2) AD ยาวเทากับ………………หนวย [2y + 2 หนวย]
3) ความยาวรอบรูปของ ABCD
เทากับ……………..หนวย [2(x + y) + 2(2y + 2) หนวย]
= ……………..หนวย [2x + 6y + 4 หนวย]
4) พื้นที่ของ ABCD เทากับ…………..ตารางหนวย หรือ…………..ตารางหนวย
[(x + y)(2y + 2)] หรือ [2xy + 2x + 2y2
+ 2y ตารางหนวย]
5) ถาแทน x ดวย 5 และแทน y ดวย 3 แลว พื้นที่ของ ABCD จะเปนเทาใด
[64 ตารางหนวย]
4. กําหนดให PQRS เปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
1) พื้นที่ของ PQRS เทากับผลคูณของพหุนาม
…………….กับ……………. [2x + 1] กับ [x + 3]
2) พื้นที่ของ PQRS เทากับ
…………….ตารางหนวย [2x2
+ 7x + 3 ตารางหนวย]
แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.2 ก
จงเขียนผลคูณของพหุนามเติมลงในชองวางตอไปนี้
1. (x – 1)(x + 1) = …………………………….. [x2
– 1]
2. (x + 1)(x – 1) = …………………………….. [x2
– 1]
3. (x – 4)(x + 4) = …………………………….. [x2
– 16]
4. (x + 4)(x – 4) = …………………………….. [x2
– 16]
5. (2x – 1)(2x + 1) = …………………………….. [4x2
– 1]
6. (2x + 1)(2x – 1) = …………………………….. [4x2
– 1]
7. (3x – 2)(3x + 2) = …………………………….. [9x2
– 4]
x C
y
y
B
1
D
A
1
y
x
Rx
P Q
1S
x
11
32
8. (3x + 2)(3x – 2) = …………………………….. [9x2
– 4]
9. (x – y)(x + y) = …………………………….. [x2
– y2
]
10. (x + y)(x – y) = …………………………….. [x2
– y2
]
11. (x + 1)(x + 1) = …………………………….. [x2
+ 2x + 1]
12. (x – 3)(x – 3) = …………………………….. [x2
– 6x + 9]
13. (x + 5)(x + 5) = …………………………….. [x2
+ 10x + 25]
14. (2x – 3)(2x – 3) = …………………………….. [4x2
– 12x + 9]
15. (1 + 3x)(1 + 3x) = …………………………….. [1 + 6x + 9x2
]
16. (5 – 2x)(5 – 2x) = …………………………….. [25 – 20x + 4x2
]
17. (x + 2)2
= …………………………….. [x2
+ 4x + 4]
18. (3x – 1)2
= …………………………….. [9x2
– 6x + 1]
19. (x – y)2
= …………………………….. [x2
– 2xy + y2
]
20. (x + y)2
= …………………………….. [x2
+ 2xy + y2
]
แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.2 ข
จงเขียนผลคูณของพหุนามเติมลงในชองวางตอไปนี้
1. (x + 2)(x + 3) = …………………………….. [x2
+ 5x + 6]
2. (x – 2)(x – 3) = …………………………….. [x2
– 5x + 6]
3. (x – 2)(x + 3) = …………………………….. [x2
+ x – 6]
4. (x + 2)(x – 3) = …………………………….. [x2
– x – 6]
5. (x + 3)(x + 3) = …………………………….. [x2
+ 6x + 9]
6. (x – 3)(x – 3) = …………………………….. [x2
– 6x + 9]
7. (x – 3)(x + 3) = …………………………….. [x2
– 9]
8. (x + 3)(x – 3) = …………………………….. [x2
– 9]
9. (x + 5)(2x + 1) = …………………………….. [2x2
+ 11x + 5]
10. (x – 5)(2x – 1) = …………………………….. [2x2
– 11x + 5]
11. (x – 5)(2x + 1) = …………………………….. [2x2
– 9x – 5]
12. (x + 5)(2x – 1) = …………………………….. [2x2
+ 9x – 5]
13. (3x + 2)(x + 4) = …………………………….. [3x2
+ 14x + 8]
14. (3x – 2)(x – 4) = …………………………….. [3x2
– 14x + 8]
15. (3x – 2)(x + 4) = …………………………….. [3x2
+ 10x – 8]
33
16. (3x + 2)(x – 4) = …………………………….. [3x2
– 10x – 8]
17. (2x + 1)(3x + 2) = …………………………….. [6x2
+ 7x + 2]
18. (2x – 1)(3x – 2) = …………………………….. [6x2
– 7x + 2]
19. (2x – 1)(3x + 2) = …………………………….. [6x2
+ x – 2]
20. (2x + 1)(3x – 2) = …………………………….. [6x2
– x – 2]
แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.2 ค
1. จงหาผลลัพธตอไปนี้
1) (7x + 3) – (3x – x2
) + (5x + 3x2
) [4x2
+ 9x + 3]
2) (7x2
+ 1) + (7x + 1) – (2x2
+ 8) [5x2
+ 7x – 6]
3) (4x + 3) – (5x + 7) – (6x2
+ 1) [-6x2
– x – 5]
4) (4x2
+ 1) – (8x – 1) + (x2
+ 5) [5x2
– 8x + 7]
5) 5x(x2
+ 1) + 2x(3x2
+ 3) – (x– 1) [11x3
+ 10x + 1]
2. จงหาผลลัพธตอไปนี้
1) 7x(x – 1) + (x + 1)2
[8x2
– 5x + 1]
2) (x)(x2
+ 1) – (9x + 6)(x – 1) [x3
– 9x2
+ 4x + 6]
3) (2x2
+ 5x + 9) – 9(x + 1)2
[-7x2
– 13x]
4) 2x(x2
+ 3) + (x + 5)2
(3 – 4x) [-2x3
– 37x2
– 64x + 75]
5) 3x(3x2
+ 2x + 2) – (x2
– 3x + 4) – (x – 1) [9x3
+ 5x2
+ 8x – 3]
3. ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมคางหมูมีดานคูขนานยาว 5x + 1 เมตร และ 9x + 4 เมตร สูง 2x เมตร
จงหาพื้นที่ของ ABCD [14x2
+ 5x ตารางเมตร]
4. ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีดานยาว 4x + 1 หนวย ถาตัดมุมแตละมุมเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาที่
กวาง x – 1 หนวย และ ยาว x + 2 หนวย จะเหลือพื้นที่อยูเทาใด [12x2
+ 4x + 9 ตารางหนวย]
4x + 1
x + 2
x – 1
D C
A B
4x + 1
34
5. ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา จงหาพื้นที่ของสวนที่แรเงาที่เกิดจากการตัดพื้นที่มุมเปนรูปสี่เหลี่ยม
ผืนผาตามความยาวของแตละดานที่กําหนดใหดังรูป [15x2
– 3x – 8 ตารางหนวย]
6. ถังน้ําทรงลูกบาศกขนาดภายในแตละดานกวาง 3x + 4 เซนติเมตร ใสน้ําไวต่ํากวาขอบ
x – 3 เซนติเมตร น้ําในถังมีปริมาตรกี่ลูกบาศกเซนติเมตร
[18x3
+ 111x2
+ 200x + 112 ลูกบาศกเซนติเมตร]
แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.3
จงหาผลหารของพหุนามเติมลงในชองวางตอไปนี้
1. (x2
+ 4x + 3) ÷(x + 1) = …………………………….. [x + 3]
2. (x2
– 4x + 3) ÷(x – 1) = …………………………….. [x – 3]
3. (x2
– 2x – 3) ÷(x – 3) = …………………………….. [x + 1]
4. (x2
+ 2x – 3) ÷(x + 3) = …………………………….. [x – 1]
5. (x2
+ 10x + 25) ÷(x + 5) = …………………………….. [x + 5]
6. (x2
– 10x + 25) ÷(x – 5) = …………………………….. [x – 5]
7. (x2
– 25) ÷(x + 5) = …………………………….. [x – 5]
8. (x2
– 25) ÷(x – 5) = …………………………….. [x + 5]
9. (2x2
+ 7x + 6) ÷(2x + 3) = …………………………….. [x + 2]
10. (2x2
– 7x + 6) ÷(2x – 3) = …………………………….. [x – 2]
11. (2x2
+ x – 6) ÷(x + 2) = …………………………….. [2x – 3]
12. (2x2
– x – 6) ÷(x – 2) = …………………………….. [2x + 3]
13. (3x2
+ 10x + 3) ÷(3x + 1) = …………………………….. [x + 3]
14. (3x2
– 10x + 3) ÷(3x – 1) = …………………………….. [x – 3]
15. (3x2
– 8x – 3) ÷(x – 3) = …………………………….. [3x + 1]
3x
3
x4x
2
CD
A 4 B
35
16. (3x2
+ 8x – 3) ÷(x + 3) = …………………………….. [3x – 1]
17. (6x2
+ 11x + 4) ÷(2x + 1) = …………………………….. [3x + 4]
18. (6x2
– 11x + 4) ÷(2x – 1) = …………………………….. [3x – 4]
19. (6x2
– 5x – 4) ÷(3x – 4) = …………………………….. [2x + 1]
20. (6x2
+ 5x – 4) ÷(3x + 4) = …………………………….. [2x – 1]
แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.4 ก
จงใชสมบัติการแจกแจงเขียนพหุนามตอไปนี้ใหอยูในรูปการคูณของเอกนามกับพหุนาม หรือ
พหุนามกับเอกนาม
ตัวอยาง 5x – 25 = 5(x – 5) หรือ (x – 5)(5)
1. 3x + 27 [3(x + 9) หรือ (x + 9)(3)]
2. 14x – 28y [14(x – 2y) หรือ (x – 2y)(14)]
3. 6x – 2y [2(3x – y) หรือ (3x – y)(2)]
4. 3y + 9xy [3y(1 + 3x) หรือ (1 + 3x)3y]
5. -x2
+ x [(-x)(x – 1) หรือ (x – 1)(-x)]
6. 10x2
– 35 [5(2x2
– 7) หรือ (2x2
– 7)(5)]
7. 4x2
+ 2x [2x(2x + 1) หรือ (2x + 1)(2x)]
8. x2
+ 8x3
y [x2
(1+ 8xy) หรือ (1 + 8xy)x2
]
9. -20x2
– 40x [(-20x)(x + 2) หรือ (x + 2)(-20x)]
10. 2x2
y – 16x2
[2x2
(y – 8) หรือ (y – 8)(2x2
)]
11. 3x2
y3
+ x3
y [x2
y(3y2
+ x) หรือ (3y2
+ x)(x2
y)]
12. 15x3
y2
– 5x2
y2
[5x2
y2
(3x – 1) หรือ (3x – 1)(5x2
y2
)]
13. 3x2
– 6x + 12 [3(x2
– 2x + 4) หรือ (x2
– 2x + 4)(3)]
14. 7y3
+ 21y2
– 14y [7y(y2
+ 3y – 2) หรือ (y2
+ 3y – 2)(7y)]
15. 2x2
y + 5xy2
– xy [xy(2x + 5y – 1) หรือ (2x + 5y – 1)xy]
36
แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.4 ข
จงทําเศษสวนของพหุนามตอไปนี้เปนเศษสวนของพหุนามในรูปผลสําเร็จ
1)
2x
42x
+
+ [2]
2)
4x2
10x5
−
−
[
2
5 ]
3)
2x14
7)2(x
+
+
[1]
4)
xx
x
2
2
−
[
1x
x
−
]
5)
142x
7)2x(x
+
+
[x]
6)
3yx
15y5x
−
−
[5]
7)
1)(xxy
xyyx2
−
−
[1]
8)
6x6x
1)3(x
3
2
+
+
[
2x
1 ]
9)
2
2
2x10y
20y4x
+
+
[2]
10)
)22
22
x5y1)((3x
25y5x-
−+
+
[
13x
5
+
]
37
แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.5
1. จงหาผลคูณของเศษสวนของพหุนามตอไปนี้
1)
3
1x −
×
1−
+
x
1x [
3
1x + ]
2)
12x
5x
+
−
×
5−x
7 [
1+2x
7 ]
3)
3
32x + ×
128x
3x
+
−
[
12
3x −
]
4)
2
x
4x −
×
82x −
y3x4
[
2
y3x2
]
5)
2x
7y-
+
×
3
14y-
42x + [
2
y
1 ]
2. จงหาผลหารของเศษสวนของพหุนามตอไปนี้
1)
10y4x
1)(x 2
−
+
÷
5y2x −
+1x [
2
1x + ]
2) (x – 3)2
÷
1x
3x
+
−
(x – 3)(x + 1) หรือ x2
– 2x – 3
3)
5
2x1−
÷
2
10x-
10x5−
[
5
2x- 2
]
4)
1x
2xx2
+
−− 3 ÷
1−
−
2x
3x [2x – 1]
5)
67x ++
+
2
2x
42x ÷
32x
2x
+
−
[
2−x
2 ]
3. ลูกตะกั่วทรงลูกบาศกมีขนาดความยาวของดานแตละดานเปน x – 2 หนวย ถาตองการนําลูกตะกั่ว
ดังกลาวมาหลอมเพื่อทําเปนตะกั่วทรงลูกบาศกลูกใหญที่มีขนาดความยาวของดานแตละดานเปน
2x – 4 หนวย จะตองใชลูกตะกั่วทั้งหมดกี่ลูก (8 ลูก)
4. เหล็กแทงทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากกวาง 2x2
+ 2x หนวย ยาว 4x3
+ 4x2
หนวย สูง 3x + 3 หนวย เมื่อนํา
เหล็กมาหลอมแลวทําเปนลูกบาศกเล็ก ๆ ที่มีความยาวของแตละดานเปน x2
+ x หนวย จะไดลูกบาศก
ทั้งหมดกี่ลูก (24 ลูก)
38
แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.6
จงหาผลลัพธของเศษสวนของพหุนามตอไปนี้
1.
3x
x2
+
x
1 [
3x
3x2
+ ]
2. x –
x
1 [
x
1x2
−
]
3.
x
4 –
2
x
2x [
x
2 ]
4.
2
x
x 1−
+
2x
3 [
2
2x
5x 2−
]
5.
3
z 6−
+
z
4 [
3z
126zz2
+−
]
6.
2y
y 5−
+
3
2y
[
6y
153y4y2
−+
]
7.
x
x 3+ –
3x
12x + [
3x
8x + ]
8. 12x
24x
+
+ – x
3 [ x
32x −
]
9.
2
x y−
+
yx
x2
+
+ xy [ 2
y3x −
]
10. 2y2x
y))(xy(x
−
− +
–
2
x y+
[0]
11. yx
3
−
+ yx
4
+
[ 22
yx
y7x
−
−
]
12. 23x
4x6x2
−
−
– 2
12x −
[
2
12x + ]
13.
5
2y
–
2y
y 1+
+ y
5 [
10y
455y4y2
+−
]
14.
4
3
x –
2
2
x –
x
5 [
4x
202xx 34
−−
]
15.
2
2x 1−
–
3x
1 +
3
x 1+ [
6x
8x2
2x −−
]

More Related Content

What's hot

3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว Somporn Amornwech
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละApirak Potpipit
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการsawed kodnara
 
03 ประวัติลูกเสือโลก
03 ประวัติลูกเสือโลก03 ประวัติลูกเสือโลก
03 ประวัติลูกเสือโลกKosamphee Wittaya School
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3 Prang Donal
 
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนพิทักษ์ ทวี
 
รวมเอกสารแนะแนวทาง
รวมเอกสารแนะแนวทางรวมเอกสารแนะแนวทาง
รวมเอกสารแนะแนวทางJirathorn Buenglee
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองsawed kodnara
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
ตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึม
ตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึมตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึม
ตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึมทับทิม เจริญตา
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2KruGift Girlz
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1ยัยบ๊อง จอมแสบ
 
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3ทับทิม เจริญตา
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมวิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 

What's hot (20)

3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริงแบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
 
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
 
แบบฝึกเสริมทักษะป.6
แบบฝึกเสริมทักษะป.6แบบฝึกเสริมทักษะป.6
แบบฝึกเสริมทักษะป.6
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
03 ประวัติลูกเสือโลก
03 ประวัติลูกเสือโลก03 ประวัติลูกเสือโลก
03 ประวัติลูกเสือโลก
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
 
รวมเอกสารแนะแนวทาง
รวมเอกสารแนะแนวทางรวมเอกสารแนะแนวทาง
รวมเอกสารแนะแนวทาง
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
ตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึม
ตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึมตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึม
ตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึม
 
ข้อสอบพหุนาม
ข้อสอบพหุนามข้อสอบพหุนาม
ข้อสอบพหุนาม
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
 
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
 

Similar to Add m2-1-chapter2

แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึมkrookay2012
 
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]Aon Narinchoti
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียนKay Pakham
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียkrupornpana55
 

Similar to Add m2-1-chapter2 (20)

Unit6
Unit6Unit6
Unit6
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึม
 
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 

Add m2-1-chapter2

  • 1. บทที่ 2 พหุนามและเศษสวนของพหุนาม (18 ชั่วโมง) 2.1 ทบทวนพหุนาม (2 ชั่วโมง) 2.2 การคูณพหุนาม (4 ชั่วโมง) 2.3 การหารพหุนาม (4 ชั่วโมง) 2.4 เศษสวนของพหุนาม (1 ชั่วโมง) 2.5 การคูณและการหารเศษสวนของพหุนาม (3 ชั่วโมง) 2.6 การบวกและการลบเศษสวนของพหุนาม (4 ชั่วโมง) สาระของบทนี้เปนความรูตอเนื่องที่นักเรียนเคยเรียนมาแลวในหนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ในบทนี้จะไดกลาวถึงการคูณระหวางพหุนามที่มีตัวแปรไมเกิน สองตัว ดีกรีของผลลัพธไมเกิน 5 และการหารพหุนามดวยพหุนามที่มีตัวแปรเดียว สัมประสิทธิ์ของตัวตั้ง ตัวหาร ผลหารและเศษ เปนจํานวนเต็ม ทั้งเปนการหารลงตัวและไมลงตัว สําหรับเศษสวนของพหุนามจะกลาวถึงการบวก ลบ คูณ และหารเศษสวนของพหุนามอยางงาย กลาวคือ ทั้งตัวเศษและตัวสวนเปนเอกนามหรือเปนพหุนามที่มีไมเกินสองพจน มีตัวแปรเดียว มีดีกรี ของพหุนามไมเกินสอง และถาพหุนามตัวเศษและพหุนามตัวสวนมีตัวประกอบรวม สามารถหา ตัวประกอบรวมนั้นไดโดยใชสมบัติการแจกแจง สวนผลลัพธควรเปนพหุนามที่มีไมเกินสามพจน และจะตองทําใหอยูในรูปของเศษสวนของพหุนามในรูปผลสําเร็จ สําหรับการหาตัวประกอบรวมโดยการแยก ตัวประกอบดวยวิธีอื่นๆ นักเรียนจะไดเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ครูควรใหนักเรียนทําแบบฝกหัดในเรื่องการบวก ลบ คูณ หารพหุนามและเศษสวนของพหุนามให มากพอ เพราะเนื้อหาเหลานี้เปนพื้นฐานที่สําคัญของการเรียนพีชคณิตในชั้นที่สูงขึ้น ตัวอยางกิจกรรมเสนอแนะและแบบฝกหัดเพิ่มเติมในแตละหัวขอ มีไวเพื่อใหครูเลือกใชหรืออาจ ปรับใชไดตามความตองการ ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1. บวก ลบ คูณ และหารพหุนามได 2. บวก ลบ คูณ และหารเศษสวนของพหุนามอยางงายได
  • 2. 18 แนวทางในการจัดการเรียนรู 2.1 ทบทวนพหุนาม (2 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. บวก ลบ พหุนามอยางงายได 2. คูณเอกนามกับพหุนามได 3. หารพหุนามดวยเอกนามได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูทบทวนการบวก ลบ เอกนาม ทั้งที่เปนเอกนามที่คลายกันและไมคลายกันใหนักเรียนตอบ ปากเปลา เชน หาผลบวกหรือผลลบของเอกนามตอไปนี้ 1) 7x2 + (-5x2 ) 2) 8x – 10y 3) -5z3 + (-4z2 ) 4) -11y2 – 20y2 2. ในการทบทวนการบวกและการลบพหุนาม ครูอาจทบทวนวิธีการหาผลลัพธทั้งในแนวนอน และแนวตั้ง รวมถึงวิธีการถอดวงเล็บซึ่งอาจมีการเปลี่ยนเครื่องหมายและใหสังเกตวาในตัวอยาง เมื่อเขียน การลบพหุนามในแนวนอนจะเปลี่ยนการลบเปนการบวกดวยพจนตรงขามของตัวลบกอน เพื่อไมให นักเรียนสับสนเกี่ยวกับเครื่องหมาย 3. ในการทบทวนการคูณระหวางเอกนามกับพหุนาม ครูควรทบทวนการคูณที่เปนทั้งการคูณ เอกนามดวยพหุนามและการคูณพหุนามดวยเอกนาม ดังตัวอยางที่ 4 และตัวอยางที่ 5 และควรให นักเรียนเขียนคําตอบในรูปพหุนามที่มีการเรียงดีกรีจากมากไปนอย 4. ในการทบทวนการหารพหุนามดวยเอกนาม นอกจากครูจะทบทวนหลักการหารแลว ควรเนน ถึงความสัมพันธของตัวตั้ง ตัวหาร และผลหารดวย และควรใชคําถามที่ชี้ใหนักเรียนสังเกตวิธีการตรวจ สอบผลหารจากความสัมพันธ ตัวตั้ง = ตัวหาร × ผลหาร
  • 3. 19 ผลบวกของพจนหนาคูณพจนหลัง กับพจนหลังคูณพจนหนา (x)(-5) + (2)(x) ผลคูณของพจนหนา (x)(x) ผลคูณของพจนหลัง (2)(-5) 2.2 การคูณพหุนาม (4 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถหาผลคูณของพหุนามได เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 2.2 และแบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.2 ก และ 2.2 ข ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูควรยกตัวอยางการคูณระหวางพหุนามดีกรีหนึ่งกับพหุนามดีกรีหนึ่งในหนังสือเรียนแลว ชี้ใหนักเรียนสังเกตวิธีใชพหุนามใดพหุนามหนึ่งเปนตัวตั้งและอีกพหุนามหนึ่งเปนตัวคูณโดยใชสมบัติการ แจกแจงดวย ครูอาจใชเสนโยงใหเห็นพจนที่คูณกันโดยแยกพิจารณาการคูณทีละขั้นตอน เชน การหา ผลคูณของ x + 2 กับ x – 5 ดังนี้ ขั้นที่ 1 พิจารณาการจับคูคูณของ (x + 2)(x – 5) x2 – 5x ขั้นที่ 2 พิจารณาการจับคูคูณของ (x + 2)(x – 5) 2x – 10 จะได (x + 2)(x – 5) = (x2 – 5x) + (2x – 10) = x2 – 5x + 2x – 10 = x2 – 3x – 10 หรือ = x2 + (-3x) + (-10) 2. ครูอาจใหนักเรียนทําแบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.2 ก และ 2.2 ข เพื่อใหนักเรียนมีทักษะใน การคูณและสังเกตไดวาผลคูณของพหุนามดีกรีหนึ่ง แตละพจนเกี่ยวของกับจํานวนใดที่คูณกัน ครูอาจชี้ใหนักเรียนเห็นแบบรูปการคูณจากผลคูณ เชน (x + 2)(x – 5) ดังนี้ x2 + (-3x) + 10 3. ครูอาจใชกิจกรรมเสนอแนะ 2.2 ประกอบการเรียนการสอนเพื่อใหนักเรียนเห็นภาพการคูณ พหุนามเปนรูปธรรมโดยใชพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 4. การสอนวิธีคูณในแนวตั้ง ครูอาจตั้งคูณเหมือนการคูณจํานวนเต็มที่นักเรียนคุนเคยในลักษณะ ดังนี้ก็ได เชน
  • 4. 20 ตอบ -4x3 + 37x2 – 66x + 21 กอนที่จะตั้งคูณ ครูควรแนะนําใหนักเรียนเรียงดีกรีของพจนทั้งพหุนามตัวตั้งและพหุนาม ตัวคูณในลักษณะเดียวกันซึ่งนิยมเรียงดีกรีจากมากไปนอยและควรใหเรียงดีกรีของผลลัพธในทํานองเดียวกัน ดวย 4. ในแบบฝกหัด 2.2 ก ขอ 1 ขอยอย 16) มีการหาผลคูณ (x – 1)(x – 1)2 ครูอาจแนะนําใหหา ผลคูณ (x – 1)2 ในแนวนอนเปน (x – 1)(x – 1) = x2 – 2x + 1 กอนแลวหาผลคูณ (x – 1)(x2 – 2x + 1) ในแนวตั้งก็ได 5. ครูอาจใชแบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.2 ค เพื่อฝกทักษะการบวก ลบ และคูณพหุนาม 2.3 การหารพหุนาม (4 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถหาผลหารของพหุนามได เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.3 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูทบทวนการหารพหุนามดวยเอกนามและเนนวา เอกนามตัวหารตองไมเปนศูนย จากนั้นจึง ยกตัวอยางโจทยการหารพหุนามดวยพหุนามและใหขอตกลงกับนักเรียนเชนกันวา พหุนามตัวหารตองไม เปนศูนย 2. กอนใหตัวอยางการหารพหุนามดวยพหุนาม ครูควรทบทวนวิธีการหารจํานวนเต็มแบบ การหารยาวกอน เพื่อใหเห็นวาวิธีหารพหุนามดวยพหุนามจะมีวิธีการที่คลายกับการหารยาวที่นักเรียน คุนเคยมาแลว 3. ครูควรย้ําถึงความสัมพันธของตัวตั้ง ตัวหาร ผลหารและเศษในรูปของ ตัวตั้ง = (ตัวหาร × ผลหาร) + เศษ และควรแนะนํานักเรียนใหมีการตรวจสอบผลลัพธ โดยใชความสัมพันธ ดังกลาว ในตัวอยางการหารพหุนามทุกตัวอยางไดแสดงการตรวจสอบผลลัพธไวใตคําตอบทุกตัวอยาง ครูควรนํามาอธิบายและทําความเขาใจกับนักเรียนเปนบางตัวอยางก็ได สําหรับแบบฝกหัดของนักเรียนจะ แสดงการตรวจสอบผลลัพธหรือไม ใหอยูในดุลพินิจของครู 4x2 – 9x + 3 - x + 7 28x2 – 63x + 21 -4x3 + 9x2 – 3x -4x3 + 37x2 – 66x + 21 ×
  • 5. 21 4. นักเรียนสวนใหญจะขาดทักษะในเรื่องการลบและการหารพหุนาม ดังนั้นครูควรใหแบบฝกหัด ในเรื่องการหารใหมากพอ เพราะจะชวยใหนักเรียนมีทักษะการลบพหุนามไปดวย ครูไมจําเปนตองใหโจทย ที่มีดีกรีสูงและควรใหสัมประสิทธิ์ของแตละพจนมีคาไมมาก สัมประสิทธิ์ของแตละพจนของผลหารหรือ เศษในชั้นนี้ใหเปนจํานวนเต็มเทานั้น 5. ครูอาจใชแบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.3 สําหรับเด็กที่ยังขาดทักษะการหารพหุนาม 2.4 เศษสวนของพหุนาม (1 ชั่วโมง) จุดประสงค ใหนักเรียนรูจักเศษสวนของพหุนามและเศษสวนพหุนามในรูปผลสําเร็จ เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.4 ก และ 2.4 ข ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูอาจยกตัวอยางเศษสวนของพหุนามหลาย ๆ ตัวอยาง ทั้งที่ตัวเศษและตัวสวนเปนเอกนาม หรือเปนพหุนาม พรอมทั้งย้ํากับนักเรียนวา พหุนามตัวสวนตองไมเปนศูนย 2. ครูควรยกตัวอยางพหุนามงาย ๆ ที่สามารถใชสมบัติของการแจกแจงในการแยกตัวประกอบของ พหุนาม ใหนักเรียนไดฝกเขียนในรูปการคูณของพหุนามกอน เชน 5x – 10 = 5(x – 2) 9x3 – 3x2 = 3x2 (3x – 1) 4x2 y + 2xy2 = 2xy(2x + y) ครูอาจใชแบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.4 ก ประกอบดวย 3. ครูอาจยกตัวอยางเศษสวนของพหุนามอยางงายที่สามารถใชสมบัติการแจกแจง ทําใหตัวเศษ และตัวสวนมีพหุนามหนึ่งเปนตัวรวมแลวนําพหุนามที่เปนตัวรวมนั้นไปหารตัวเศษและตัวสวน ซึ่งจะ สามารถทําใหเศษสวนของพหุนามนั้นเปนเศษสวนของพหุนามในรูปผลสําเร็จได เชน 105x 63x − − = 2)5(x 2)3(x − − = 5 3 4. ในการทําเศษสวนของพหุนามใหเปนเศษสวนของพหุนามในรูปผลสําเร็จ ครูควรย้ําให ระมัดระวังเกี่ยวกับนําตัวรวมไปหารตัวเศษและตัวสวนของเศษสวนของพหุนาม เชน 2x y4x + เปนเศษสวนของพหุนามในรูปผลสําเร็จแลว แตอาจมีนักเรียนเขาใจผิดและทอนตอ ไปอีกไดเปน 2x y4x + = 2 + y ซึ่งเปนวิธีการที่ผิด ดังนั้นครูจะตองย้ําใหนักเรียนเห็นวาพหุนามที่เปน ตัวหารจะตองเปนตัวคูณรวมของตัวเศษและตัวสวนของเศษสวนของพหุนามนั้น เชน x + 3 ใน 2 1
  • 6. 22 3)x(x )3)(x(x 2 + + − 1 เมื่อนํา x + 3 ไปหารทั้งตัวเศษและตัวสวนแลวจะได x x2 1− 4. ครูอาจใชแบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.4 ก และ 2.4 ข ใหนักเรียนฝกทักษะในเรื่องเหลานี้เพิ่มเติมได 2.5 การคูณและการหารเศษสวนของพหุนาม (3 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. หาผลคูณของเศษสวนพหุนามอยางงายในรูปผลสําเร็จได 2. หาผลหารของเศษสวนพหุนามอยางงายในรูปผลสําเร็จได เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.5 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูยกตัวอยางการคูณเศษสวนของพหุนามดังตัวอยาง แตอาจแบงใหตัวอยางและใหแบบฝกหัด เปน 2 ชั่วโมง ไดตามความยากงายของโจทยและใหเหมาะสมตามระดับความสามารถของนักเรียน 2. ในการเขียนคําตอบถึงแมไมมีคําสั่งใหทําเปนเศษสวนของพหุนามในรูปผลสําเร็จ ครูก็ควรให นักเรียนเขียนคําตอบเปนเศษสวนของพหุนามในรูปผลสําเร็จ เชน 3− + x 1)2x(x หรือ 3− + x 2x2x2 ก็ได 3. การสอนในเรื่องการหารเศษสวนของพหุนาม อาจดําเนินการในทํานองเดียวกันกับการคูณ เศษสวนของพหุนามและอาจใชแบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.5 เพื่อฝกทักษะการคูณ การหารเศษสวนของพหุนาม และการนําไปใช 1 1
  • 7. 23 2.6 การบวกและการลบเศษสวนของพหุนาม (4 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถหาผลบวกและผลลบของเศษสวนของพหุนามในรูปผลสําเร็จได เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.6 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูอาจทบทวนการบวกและการลบเศษสวนที่ตัวเศษและตัวสวนเปนจํานวนเต็มกอนเพื่อใหนัก เรียนไดเห็นวาการบวกและการลบเศษสวนของพหุนามจะที่เรียนตอไปนั้นมีวิธีการบวกและลบในทํานอง เดียวกัน 2. ในกรณีที่พหุนามตัวสวนไมเทากัน ครูควรใหนักเรียนทําพหุนามตัวสวนใหเทากันโดยหา พหุนามมาคูณทั้งพหุนามตัวเศษและพหุนามตัวสวน ไมควรบอกวาใหหา ค.ร.น. เพราะบทเรียนที่ผานมา ไมเคยกลาวถึงการหา ห.ร.ม. หรือ ค.ร.น. ของพหุนาม 3. ครูควรสอนการบวกเศษสวนของพหุนามและใหทําแบบฝกหัดการบวกกอนจึงสอนการลบ เศษสวนของพหุนาม ทั้งนี้เพราะเรื่องการลบพหุนามนักเรียนตองใชความรอบคอบในการถอดวงเล็บซึ่ง อาจมีการเปลี่ยนเครื่องหมายทําใหยุงยากขึ้น สําหรับการเขียนผลลัพธที่ไดจากการบวกหรือการลบเศษสวนของพหุนามนั้น ก็ควรให นักเรียนทําใหเปนเศษสวนของพหุนามในรูปผลสําเร็จเชนกัน สําหรับนักเรียนระดับชั้นนี้ยอมใหเขียน คําตอบอยูในรูปการคูณของพหุนามไดดังเชนตัวอยางที่ 4 4. ครูอาจใชแบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.6 เพื่อเสริมทักษะการบวกและการลบเศษสวนของพหุนาม 5. สําหรับกรอบความรูเรื่อง แบบรูปกับพหุนาม ในตอนทายของบทเรียนนี้มีเจตนาใหนักเรียน ไดเห็นแบบรูปของจํานวนที่สามารถนําไปหาขอสรุปในรูปทั่วไปซึ่งเปนพหุนามที่ใชตัวแปร นอกจากนั้น ยังตองการเชื่อมโยงความรูเดิมของนักเรียนเกี่ยวกับการหาผลบวกของจํานวนนับที่มีรูปแบบดังเชน 1 + 2 + 3 + 4 + … + 100 ซึ่งนักเรียนเคยหาโดยวิธีการจับคูมา แตยังไมเคยทราบมากอนวาสามารถหา ผลบวกจํานวนนับตั้งแต 1 ถึง n ไดจากสูตร 2 1)n(n + เมื่อ n แทนจํานวนนับใด ๆ
  • 8. 24 คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําตอบแบบฝกหัด 2.1 1. 1) x2 + 9x – 5 และ 3x2 –3x –5 2) -4x2 + 5x – 3 และ 10x2 + 5x – 5 3) 7x2 + 5x + 9 และ -x2 – 9x +3 4) x2 + 3y2 + 3x + y และ x2 + 3y2 – 3x – y 5) 6xz + 6x - 6z2 และ 8xz – 4x + 6z2 6) y2 z + 8y2 + yz และ 7y2 z – yz – 6y2 7) -xy2 + 8x3 – 12x2 y + 3y2 และ -xy2 + 6x3 – 8x2 y – 3y2 8) 5x3 – 4x2 – 4x – 6 และ 13x3 – 6x2 + 4x –10 9) -6x3 + 4x2 + 8x – 3 และ 8x3 – 8x2 – 2x – 5 10) 2x3 + 6xy2 และ 6x2 y + 2y3 2. 1) -24x + 3x2 2) 36x3 – 28x 3) 10x3 – 6x 4) 11x3 + 77x2 5) 18x – 30x2 – 42x3 6) x4 + x3 + x2 7) -16x3 + 18x4 8) 45x5 – 20x3 9) -14x5 + 13x4 10) 3x5 – 12x4 + 9x3 – 3x2 3. 1) 7 + 5x – x2 2) -9x2 + 6x + 5 3) -2x2 + 5x 4) -5 + 3x 5) -2x2 + 5x + 6 6) -3x3 – 7x2 – 7x 7) 7x2 – 10x + 5 8) 4x2 y2 – 3x2 y + 6x – 1
  • 9. 25 คําตอบแบบฝกหัด 2.2 ก 1. 1) x2 + 9x + 18 2) x2 + x – 2 3) x2 – 8x + 15 4) x2 + x – 6 5) x2 + 6x + 9 6) x2 – 1 7) x2 – 25 8) 2x2 – 5x + 2 9) 2x2 + 9x – 5 10) 6x2 + 11x + 3 11) 6x2 – 7x – 3 12) -15x2 + 7x + 2 13) -8y2 + 26y – 21 14) 7x3 + 14x2 + 4x + 8 15) x3 – x2 – x + 1 16) x3 – 3x2 + 3x – 1 17) 4x3 – 6x2 + 2x – 3 18) 12x3 – 36x2 + 27x 2. 1) 72x2 – 133x + 26 2) -30x3 + 84x2 – 70x + 196 3) -40x3 – 32x2 + 42x 4) 6x3 – 2x2 –38x – 30 5) -40x4 + 32x3 + 65x2 –52x 6) 3x4 + 26x2 – 40 7) -40x4 + 126x2 – 72 8) 18x4 + 65x2 + 7 9) 12x4 + 17x3 +6x2 10) x4 – x2 11) 42x4 – 20x3 – 150x2 12) 2x4 – 2x3 –x2 – x – 1 13) -11x4 –3x3 +83x2 +24x + 40 14) -4x4 + 51x3 – 122x2 + 91x – 8 15) -2y4 – 28y3 – 49y2 – 5y + 84 16) 3x5 + x3 – 3x2 – 1 17) 27x5 + 6x3 + 3x 18) x5 – x3 – x2 + 1 คําตอบแบบฝกหัด 2.2 ข 1. 1) x2 y + 5y 2) -2x2 y + 6xy 3) 6x2 y + 3xy2 4) 40x2 y3 – 30x3 y2 5) -2y2 z + 2yz2 –8z3 6) -9y3 z3 + 7y3 z2 + 2y2 z3 7) 7x2 – 54y2 – 33xy 8) 60y4 – 120y3 z + 55y – 110z 9) 14xy2 – 14x3 – 3xy3 + 3x3 y 10) 20xy3 – x3 y – 8x2 y2 11) -44x3 z+32x2 z+66x2 z2 –64xz2 +24z3 12) -27x4 – 36x3 y –4xy3 + 42x2 y2 + 5y4
  • 10. 26 13) x3 – 3x2 y + 3xy2 – y3 14) x3 + 3x2 y + 3xy2 + y3 15) x3 + y3 16) x3 – y3 คําตอบกิจกรรม “คิด” 1 : 14 แนวคิด พื้นที่ของสวนที่แรเงา เทากับ [ 2 1 (15x × 10y) – 2 1 (10x × 8y) – (10x × 2y) – 2 1 (5x × 2y)] = 75xy – 40xy – 20xy – 5xy = 10xy จะได แรเงาสวนที่ไมพื้นที่ของ งาสวนที่แรเพื้นที่ของ = 140xy 10xy = 14 1 คําตอบแบบฝกหัด 2.3 1. 1) -2 2) 3 เศษ 2 3) x – 2 4) x + 3 เศษ 36 5) 3x 6) 4x + 5 7) 4x – 2 เศษ 23 8) -3x + 8 9) 6x – 7 10) 4 เศษ -3x – 6 11) y2 – 5y + 3 12) 3y2 + 12y + 3 เศษ -40 13) 2x2 – 3x + 1 14) y2 + 2y – 1 เศษ -5 15) y2 – y + 1 เศษ -2 16) 4x2 – x + 6 17) 4y + 3 เศษ 3y + 8 18) 9y – 5 เศษ -2y + 19 19) -6x + 7 เศษ 9x + 4 20) 10x2 – 13x – 5 เศษ 16x + 4 2. 1) C = x – 2 D = 6x + 4 2) C = 5x2 – 6x + 7 D = 0 3) C = 4y + 6 D = 2y – 1 4) C = y + 5 D = -y + 6
  • 11. 27 3. 1) A = 5x3 – x2 + 16x + 14 2) A = -2x4 + 13x3 – 25x2 + 59x – 45 3) A = 24x4 + 32x3 – 6x2 + 9x – 1 4) A = -15x4 + x3 + 53x2 + 7x – 29 4. 1) ถูก 2) ผิด 3) ผิด 4) ผิด คําตอบกิจกรรม “ลองคิดดู” A = x3 + 5x – 2 B = x3 – x2 C = x2 + 5x – 2 D = x2 – x E = 6x – 2 F = 6x – 6 คําตอบแบบฝกหัด 2.5 1. 1) 5 6x2 2) - 3 3 y 4x 3) - 20c a2 4) x 5) 5− + 3x 52x 6) 7 2 7) 1+ + x x3x2 8) 3 y 9) 2 35x 1 10) yy 2 2 − −6y
  • 12. 28 2. 1) 2ab 1 2) 3y 10x 3) - 5 3 4) 3 x 3 5) 2x2 + 1 6) 3y − 3y 7) 1)4(x 3 − − )3x(x หรือ 44x − − 9x3x2 8) -8 9) (x + 1)(x – 1) หรือ x2 – 1 10) (x + 3)(x – 3) หรือ x2 –9 คําตอบแบบฝกหัด 2.6 1. 2x 2. x 1 3. 10 3x 1− 4. x 2 5. 15 28x − 6. 1 7. 1 8. 5 9. 1 10. 6b 13 11. 8x 7- 12. 2xy yx 22 + 13. 6 8x − 14. )2(x 17x 1− − 15. 1)5(x 35x17x2 − − + หรือ 55x 35x17x2 − − + 16. 25 26 −5x - 17. 6)4)(x(x 7x − −− + 4x2 หรือ 242xx 7x 2 −− −− 4x2 18. 8 5 19. 3)12(x 28x2 15x + − หรือ 3612x 28x2 15x + − 20. 1x 2x2 3x − −−
  • 14. 30 กิจกรรมเสนอแนะ 2.2 กิจกรรมนี้ตองการใหนักเรียนเห็นการนําพหุนามไปใชในเรื่องพื้นที่ กําหนดให รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแตละรูปมีขนาดความยาวของดาน ดังนี้ ใหนักเรียนเขียนคําตอบเติมในชองวางตอไปนี้ โดยพิจารณาจากรูปที่กําหนดให 1. กําหนดให ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 1) AD ยาวเทากับ…………หนวย [x + 1 หนวย] 2) AB ยาวเทากับ………….หนวย [x + 2 หนวย] 3) ความยาวรอบรูปของ ABCD เทากับ………….หนวย [2(x + 1) + 2(x + 2) = 4x + 6 หนวย] 4) พื้นที่ของ ABCD เขียนในรูปการคูณของความยาวของดานไดเปน……….. [(x + 1)(x + 2) ตารางหนวย] 5) พื้นที่ของ ABCD เทากับ……………..ตารางหนวย [x2 + 3x + 2 ตารางหนวย] 6) ถาแทน x ดวย 7 แลว พื้นที่ของ ABCD จะเปนเทาใด [72 ตารางหนวย] 2. กําหนดให PQRS เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 1) PQ ยาวเทากับ…………..หนวย [x + y หนวย] 2) PS ยาวเทากับ…………...หนวย [x + y หนวย] 3) ความยาวรอบรูปของ PQRS เทากับ…………….หนวย [4x + 4y หนวย] 4) พื้นที่ของ PQRS เขียนในรูปการคูณของ ความยาวของดานไดเปน [(x + y)(x + y) ตารางหนวย] 5) พื้นที่ของ PQRS เทากับ……………ตารางหนวย [x2 + 2xy + y2 ตารางหนวย] x x C 1 D A B1 1 x x S R P Qy y x x x 1 x y 1 1 y y
  • 15. 31 6) ถาแทน x ดวย 4 และแทน y ดวย 2 พื้นที่ของ PQRS จะเปนเทาใด [36 ตารางหนวย] 3. กําหนดให ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 1) AB ยาวเทากับ………………หนวย [x + y หนวย] 2) AD ยาวเทากับ………………หนวย [2y + 2 หนวย] 3) ความยาวรอบรูปของ ABCD เทากับ……………..หนวย [2(x + y) + 2(2y + 2) หนวย] = ……………..หนวย [2x + 6y + 4 หนวย] 4) พื้นที่ของ ABCD เทากับ…………..ตารางหนวย หรือ…………..ตารางหนวย [(x + y)(2y + 2)] หรือ [2xy + 2x + 2y2 + 2y ตารางหนวย] 5) ถาแทน x ดวย 5 และแทน y ดวย 3 แลว พื้นที่ของ ABCD จะเปนเทาใด [64 ตารางหนวย] 4. กําหนดให PQRS เปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 1) พื้นที่ของ PQRS เทากับผลคูณของพหุนาม …………….กับ……………. [2x + 1] กับ [x + 3] 2) พื้นที่ของ PQRS เทากับ …………….ตารางหนวย [2x2 + 7x + 3 ตารางหนวย] แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.2 ก จงเขียนผลคูณของพหุนามเติมลงในชองวางตอไปนี้ 1. (x – 1)(x + 1) = …………………………….. [x2 – 1] 2. (x + 1)(x – 1) = …………………………….. [x2 – 1] 3. (x – 4)(x + 4) = …………………………….. [x2 – 16] 4. (x + 4)(x – 4) = …………………………….. [x2 – 16] 5. (2x – 1)(2x + 1) = …………………………….. [4x2 – 1] 6. (2x + 1)(2x – 1) = …………………………….. [4x2 – 1] 7. (3x – 2)(3x + 2) = …………………………….. [9x2 – 4] x C y y B 1 D A 1 y x Rx P Q 1S x 11
  • 16. 32 8. (3x + 2)(3x – 2) = …………………………….. [9x2 – 4] 9. (x – y)(x + y) = …………………………….. [x2 – y2 ] 10. (x + y)(x – y) = …………………………….. [x2 – y2 ] 11. (x + 1)(x + 1) = …………………………….. [x2 + 2x + 1] 12. (x – 3)(x – 3) = …………………………….. [x2 – 6x + 9] 13. (x + 5)(x + 5) = …………………………….. [x2 + 10x + 25] 14. (2x – 3)(2x – 3) = …………………………….. [4x2 – 12x + 9] 15. (1 + 3x)(1 + 3x) = …………………………….. [1 + 6x + 9x2 ] 16. (5 – 2x)(5 – 2x) = …………………………….. [25 – 20x + 4x2 ] 17. (x + 2)2 = …………………………….. [x2 + 4x + 4] 18. (3x – 1)2 = …………………………….. [9x2 – 6x + 1] 19. (x – y)2 = …………………………….. [x2 – 2xy + y2 ] 20. (x + y)2 = …………………………….. [x2 + 2xy + y2 ] แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.2 ข จงเขียนผลคูณของพหุนามเติมลงในชองวางตอไปนี้ 1. (x + 2)(x + 3) = …………………………….. [x2 + 5x + 6] 2. (x – 2)(x – 3) = …………………………….. [x2 – 5x + 6] 3. (x – 2)(x + 3) = …………………………….. [x2 + x – 6] 4. (x + 2)(x – 3) = …………………………….. [x2 – x – 6] 5. (x + 3)(x + 3) = …………………………….. [x2 + 6x + 9] 6. (x – 3)(x – 3) = …………………………….. [x2 – 6x + 9] 7. (x – 3)(x + 3) = …………………………….. [x2 – 9] 8. (x + 3)(x – 3) = …………………………….. [x2 – 9] 9. (x + 5)(2x + 1) = …………………………….. [2x2 + 11x + 5] 10. (x – 5)(2x – 1) = …………………………….. [2x2 – 11x + 5] 11. (x – 5)(2x + 1) = …………………………….. [2x2 – 9x – 5] 12. (x + 5)(2x – 1) = …………………………….. [2x2 + 9x – 5] 13. (3x + 2)(x + 4) = …………………………….. [3x2 + 14x + 8] 14. (3x – 2)(x – 4) = …………………………….. [3x2 – 14x + 8] 15. (3x – 2)(x + 4) = …………………………….. [3x2 + 10x – 8]
  • 17. 33 16. (3x + 2)(x – 4) = …………………………….. [3x2 – 10x – 8] 17. (2x + 1)(3x + 2) = …………………………….. [6x2 + 7x + 2] 18. (2x – 1)(3x – 2) = …………………………….. [6x2 – 7x + 2] 19. (2x – 1)(3x + 2) = …………………………….. [6x2 + x – 2] 20. (2x + 1)(3x – 2) = …………………………….. [6x2 – x – 2] แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.2 ค 1. จงหาผลลัพธตอไปนี้ 1) (7x + 3) – (3x – x2 ) + (5x + 3x2 ) [4x2 + 9x + 3] 2) (7x2 + 1) + (7x + 1) – (2x2 + 8) [5x2 + 7x – 6] 3) (4x + 3) – (5x + 7) – (6x2 + 1) [-6x2 – x – 5] 4) (4x2 + 1) – (8x – 1) + (x2 + 5) [5x2 – 8x + 7] 5) 5x(x2 + 1) + 2x(3x2 + 3) – (x– 1) [11x3 + 10x + 1] 2. จงหาผลลัพธตอไปนี้ 1) 7x(x – 1) + (x + 1)2 [8x2 – 5x + 1] 2) (x)(x2 + 1) – (9x + 6)(x – 1) [x3 – 9x2 + 4x + 6] 3) (2x2 + 5x + 9) – 9(x + 1)2 [-7x2 – 13x] 4) 2x(x2 + 3) + (x + 5)2 (3 – 4x) [-2x3 – 37x2 – 64x + 75] 5) 3x(3x2 + 2x + 2) – (x2 – 3x + 4) – (x – 1) [9x3 + 5x2 + 8x – 3] 3. ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมคางหมูมีดานคูขนานยาว 5x + 1 เมตร และ 9x + 4 เมตร สูง 2x เมตร จงหาพื้นที่ของ ABCD [14x2 + 5x ตารางเมตร] 4. ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีดานยาว 4x + 1 หนวย ถาตัดมุมแตละมุมเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาที่ กวาง x – 1 หนวย และ ยาว x + 2 หนวย จะเหลือพื้นที่อยูเทาใด [12x2 + 4x + 9 ตารางหนวย] 4x + 1 x + 2 x – 1 D C A B 4x + 1
  • 18. 34 5. ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา จงหาพื้นที่ของสวนที่แรเงาที่เกิดจากการตัดพื้นที่มุมเปนรูปสี่เหลี่ยม ผืนผาตามความยาวของแตละดานที่กําหนดใหดังรูป [15x2 – 3x – 8 ตารางหนวย] 6. ถังน้ําทรงลูกบาศกขนาดภายในแตละดานกวาง 3x + 4 เซนติเมตร ใสน้ําไวต่ํากวาขอบ x – 3 เซนติเมตร น้ําในถังมีปริมาตรกี่ลูกบาศกเซนติเมตร [18x3 + 111x2 + 200x + 112 ลูกบาศกเซนติเมตร] แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.3 จงหาผลหารของพหุนามเติมลงในชองวางตอไปนี้ 1. (x2 + 4x + 3) ÷(x + 1) = …………………………….. [x + 3] 2. (x2 – 4x + 3) ÷(x – 1) = …………………………….. [x – 3] 3. (x2 – 2x – 3) ÷(x – 3) = …………………………….. [x + 1] 4. (x2 + 2x – 3) ÷(x + 3) = …………………………….. [x – 1] 5. (x2 + 10x + 25) ÷(x + 5) = …………………………….. [x + 5] 6. (x2 – 10x + 25) ÷(x – 5) = …………………………….. [x – 5] 7. (x2 – 25) ÷(x + 5) = …………………………….. [x – 5] 8. (x2 – 25) ÷(x – 5) = …………………………….. [x + 5] 9. (2x2 + 7x + 6) ÷(2x + 3) = …………………………….. [x + 2] 10. (2x2 – 7x + 6) ÷(2x – 3) = …………………………….. [x – 2] 11. (2x2 + x – 6) ÷(x + 2) = …………………………….. [2x – 3] 12. (2x2 – x – 6) ÷(x – 2) = …………………………….. [2x + 3] 13. (3x2 + 10x + 3) ÷(3x + 1) = …………………………….. [x + 3] 14. (3x2 – 10x + 3) ÷(3x – 1) = …………………………….. [x – 3] 15. (3x2 – 8x – 3) ÷(x – 3) = …………………………….. [3x + 1] 3x 3 x4x 2 CD A 4 B
  • 19. 35 16. (3x2 + 8x – 3) ÷(x + 3) = …………………………….. [3x – 1] 17. (6x2 + 11x + 4) ÷(2x + 1) = …………………………….. [3x + 4] 18. (6x2 – 11x + 4) ÷(2x – 1) = …………………………….. [3x – 4] 19. (6x2 – 5x – 4) ÷(3x – 4) = …………………………….. [2x + 1] 20. (6x2 + 5x – 4) ÷(3x + 4) = …………………………….. [2x – 1] แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.4 ก จงใชสมบัติการแจกแจงเขียนพหุนามตอไปนี้ใหอยูในรูปการคูณของเอกนามกับพหุนาม หรือ พหุนามกับเอกนาม ตัวอยาง 5x – 25 = 5(x – 5) หรือ (x – 5)(5) 1. 3x + 27 [3(x + 9) หรือ (x + 9)(3)] 2. 14x – 28y [14(x – 2y) หรือ (x – 2y)(14)] 3. 6x – 2y [2(3x – y) หรือ (3x – y)(2)] 4. 3y + 9xy [3y(1 + 3x) หรือ (1 + 3x)3y] 5. -x2 + x [(-x)(x – 1) หรือ (x – 1)(-x)] 6. 10x2 – 35 [5(2x2 – 7) หรือ (2x2 – 7)(5)] 7. 4x2 + 2x [2x(2x + 1) หรือ (2x + 1)(2x)] 8. x2 + 8x3 y [x2 (1+ 8xy) หรือ (1 + 8xy)x2 ] 9. -20x2 – 40x [(-20x)(x + 2) หรือ (x + 2)(-20x)] 10. 2x2 y – 16x2 [2x2 (y – 8) หรือ (y – 8)(2x2 )] 11. 3x2 y3 + x3 y [x2 y(3y2 + x) หรือ (3y2 + x)(x2 y)] 12. 15x3 y2 – 5x2 y2 [5x2 y2 (3x – 1) หรือ (3x – 1)(5x2 y2 )] 13. 3x2 – 6x + 12 [3(x2 – 2x + 4) หรือ (x2 – 2x + 4)(3)] 14. 7y3 + 21y2 – 14y [7y(y2 + 3y – 2) หรือ (y2 + 3y – 2)(7y)] 15. 2x2 y + 5xy2 – xy [xy(2x + 5y – 1) หรือ (2x + 5y – 1)xy]
  • 20. 36 แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.4 ข จงทําเศษสวนของพหุนามตอไปนี้เปนเศษสวนของพหุนามในรูปผลสําเร็จ 1) 2x 42x + + [2] 2) 4x2 10x5 − − [ 2 5 ] 3) 2x14 7)2(x + + [1] 4) xx x 2 2 − [ 1x x − ] 5) 142x 7)2x(x + + [x] 6) 3yx 15y5x − − [5] 7) 1)(xxy xyyx2 − − [1] 8) 6x6x 1)3(x 3 2 + + [ 2x 1 ] 9) 2 2 2x10y 20y4x + + [2] 10) )22 22 x5y1)((3x 25y5x- −+ + [ 13x 5 + ]
  • 21. 37 แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.5 1. จงหาผลคูณของเศษสวนของพหุนามตอไปนี้ 1) 3 1x − × 1− + x 1x [ 3 1x + ] 2) 12x 5x + − × 5−x 7 [ 1+2x 7 ] 3) 3 32x + × 128x 3x + − [ 12 3x − ] 4) 2 x 4x − × 82x − y3x4 [ 2 y3x2 ] 5) 2x 7y- + × 3 14y- 42x + [ 2 y 1 ] 2. จงหาผลหารของเศษสวนของพหุนามตอไปนี้ 1) 10y4x 1)(x 2 − + ÷ 5y2x − +1x [ 2 1x + ] 2) (x – 3)2 ÷ 1x 3x + − (x – 3)(x + 1) หรือ x2 – 2x – 3 3) 5 2x1− ÷ 2 10x- 10x5− [ 5 2x- 2 ] 4) 1x 2xx2 + −− 3 ÷ 1− − 2x 3x [2x – 1] 5) 67x ++ + 2 2x 42x ÷ 32x 2x + − [ 2−x 2 ] 3. ลูกตะกั่วทรงลูกบาศกมีขนาดความยาวของดานแตละดานเปน x – 2 หนวย ถาตองการนําลูกตะกั่ว ดังกลาวมาหลอมเพื่อทําเปนตะกั่วทรงลูกบาศกลูกใหญที่มีขนาดความยาวของดานแตละดานเปน 2x – 4 หนวย จะตองใชลูกตะกั่วทั้งหมดกี่ลูก (8 ลูก) 4. เหล็กแทงทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากกวาง 2x2 + 2x หนวย ยาว 4x3 + 4x2 หนวย สูง 3x + 3 หนวย เมื่อนํา เหล็กมาหลอมแลวทําเปนลูกบาศกเล็ก ๆ ที่มีความยาวของแตละดานเปน x2 + x หนวย จะไดลูกบาศก ทั้งหมดกี่ลูก (24 ลูก)
  • 22. 38 แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.6 จงหาผลลัพธของเศษสวนของพหุนามตอไปนี้ 1. 3x x2 + x 1 [ 3x 3x2 + ] 2. x – x 1 [ x 1x2 − ] 3. x 4 – 2 x 2x [ x 2 ] 4. 2 x x 1− + 2x 3 [ 2 2x 5x 2− ] 5. 3 z 6− + z 4 [ 3z 126zz2 +− ] 6. 2y y 5− + 3 2y [ 6y 153y4y2 −+ ] 7. x x 3+ – 3x 12x + [ 3x 8x + ] 8. 12x 24x + + – x 3 [ x 32x − ] 9. 2 x y− + yx x2 + + xy [ 2 y3x − ] 10. 2y2x y))(xy(x − − + – 2 x y+ [0] 11. yx 3 − + yx 4 + [ 22 yx y7x − − ] 12. 23x 4x6x2 − − – 2 12x − [ 2 12x + ] 13. 5 2y – 2y y 1+ + y 5 [ 10y 455y4y2 +− ] 14. 4 3 x – 2 2 x – x 5 [ 4x 202xx 34 −− ] 15. 2 2x 1− – 3x 1 + 3 x 1+ [ 6x 8x2 2x −− ]