SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 28
Downloaden Sie, um offline zu lesen
คูมือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร
                     เรื่อง
             โครงงานคณิตศาสตร
                   (ตอนที่ 4)
              เสนตรงลอมเสนโคง
                     โดย
 ผูชวยศาสตราจารย ดร. ทรงเกียรติ สุเมธกิจการ


      สื่อการสอนชุดนี้ เปนความรวมมือระหวาง
   คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กับ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
               กระทรวงศึกษาธิการ
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

                              สื่อการสอน เรื่อง โครงงานคณิตศาสตร
              สื่อการสอน เรื่อง โครงงานคณิตศาสตร มีจํานวนตอนทั้งหมดรวม 5 ตอน ซึ่งประกอบดวย

       1. SET50
       2. ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
       3. การถอดรากที่สาม
       4. เสนตรงลอมเสนโคง
       5. กระเบื้องที่ยืดหดได

               คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา สื่อการสอนชุดนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนสําหรับครู
       และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใชสื่อชุดนี้รวมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร นอกจากนี้หากทานสนใจ
       สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรในเรื่องอื่น ๆ ที่คณะผูจัดทําไดดําเนินการไปแลว ทานสามารถดูชื่อเรื่องและ
       ชื่อตอนไดจากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรทั้งหมดในตอนทายของคูมือฉบับนี้




                                                         1	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                      สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

       เรื่อง          โครงงานคณิตศาสตร
       หมวด            โครงงานคณิตศาสตร
       ตอนที่          4 (4/5)

       หัวขอยอย      -

       จุดประสงคการเรียนรู
           เพื่อใหผูเรียนเห็นตัวอยางการจําแนกแยกแยะวัตถุทางคณิตศาสตรที่เห็นภาพไดชัดเจน ในที่นี้คือการ
       จําแนกแยกแยะเสนโคงที่สรางจากชุดของเสนตรงที่มีสมบัติตาง ๆ กัน รวมทั้งบทพิสูจนของการจําแนก
       ดังกลาวดวย ทั้งนี้ทั้งนั้น เนื้อหาของโครงงานที่นําเสนอในสื่อตอนนี้นั้นมิใชสาระที่คาดหวังใหนักเรียน
       ตองเรียนรูอยางจริงจัง หากเปนเพียงพาหนะหนึ่งทีชวยแสดงใหเห็นตัวอยางหนึ่งของปญหาการจําแนก
                                                            ่
       แยกแยะเทานั้น




                                                          2	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

                                           โครงงานคณิตศาสตรคืออะไร

       โครงงานคณิตศาสตร คือ โครงงานที่ฝกฝนกระบวนการทําวิจัยทางคณิตศาสตร ซึ่งประกอบไปดวย
       หลายขั้นตอน ตั้งแตการเรียนรู สังเกต ตั้งคําถาม คนควา วิเคราะห จนถึงการคิดคนหาคําตอบของ
       ปญหาทางคณิตศาสตร


                                      สื่อการสอนเรื่องโครงงานคณิตศาสตร

       สื่อการสอนเรื่องโครงงานคณิตศาสตรทั้ง 5 ตอนนี้ เปนตัวอยางของโครงงานคณิตศาสตรที่ครอบคลุม
       ปญหาทางคณิตศาสตรที่หลากหลาย ทั้งปญหาในเชิงประยุกตที่นําความรูทางคณิตศาสตรไปประยุกต
       ใชในการแกปญหาอื่น ๆ ปญหาที่ขยายหรือตอเติมขึ้นจากปญหาเดิม ปญหาในเชิงจําแนกแยกแยะ
       และปญหาที่เกี่ยวกับการมีอยูของวัตถุทางคณิตศาสตร    ทั้งนี้ทั้งนั้นสิ่งที่ขาดไมไดในโครงงานคณิต-
       ศาสตร คือการแสดงใหเห็นจริงโดยปราศจากขอสงสัย หรือการพิสูจนนั่นเอง


                                             วัตถุประสงคของสื่อตอนนี้

       สื่อการสอนตอนนีนําเสนอตัวอยางของโครงงานคณิตศาสตร ที่พิจารณาเสนโคงที่สรางจากชุดของเสน-
                        ้
       ตรง และแสดงวาชุดของเสนตรงที่มีสมบัติบางประการจะกอใหเกิดเสนโคงพาราโบลา แตสําหรับชุด
       ของเสนตรงทีมสมบัติที่เปลี่ยนไป เสนโคงที่ไดอาจเปนเสนโคง astroid วงกลม หรืออื่น ๆ ได
                   ่ ี
       สื่อการสอนจะปูพื้นฐานที่จําเปนเพื่อนําไปสูบทพิสูจนของบางความสัมพันธขางตน




                                                         3	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

                                          เนื้อหาในสื่อการสอน
       สื่อการสอนตอนนี้ ประกอบดวย

1. ชวงเปดตอน (เริ่ม ณ 00:42)
2. ชวงสารคดี (เริ่ม ณ 01:59)
3. ชวงโครงงานฯและเนื้อหา (เริ่ม ณ 13:49)




                                                        4	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                                  1. ชวงเปดตอน




                                           5	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                        สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



                                         1. ชวงเปดตอน (เริ่ม ณ 00:42)

       ในชวงเปดตอน ดังแสดงในรูปที่ 1 ผูบรรยายยกตัวอยางความยาวดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยม 6 รูป
       จากขอมูลความยาวดานนี้ เราอาจจําแนกแยกแยะชนิดของสามเหลี่ยมออกเปน 2 ชนิด ไดแก สามเหลี่ยม
       มุมฉาก และสามเหลี่ยมอื่น ๆ หรืออาจจําแนกแยกแยะออกไดเปน 3 ชนิด ไดแก สามเหลี่ยมมุมฉาก
       สามเหลี่ยมมุมแหลม และสามเหลี่ยมมุมปาน สังเกตวาวิธีการจําแนกแยกแยะสามเหลี่ยมเหลานี้นั้นขึ้นกับ
       ขอสังเกตและเหตุผลของผูจําแนก

       ตัวอยางนี้ชวยในการอธิบายเชิงเปรียบเทียบวา ปญหาประเภทหนึ่งที่สามารถนํามาปรับเปนโจทยสําหรับ
       โครงงานคณิตศาสตรไดคือ ปญหาที่ตองการจําแนกแยกแยะวัตถุทางคณิตศาสตรที่สนใจบางชนิด

       สื่อฯตอนนีจะนําเสนอตัวอยางของโครงงานคณิตศาสตร ที่พิจารณาคําถามที่วาเสนโคงที่สรางจากชุดของ
                  ้
       เสนตรงที่มีระยะหางระหวางเสนบนแกน x และแกน y เทา ๆ กัน คือเสนโคงอะไร พรอมนําเสนอขั้นตอน
       การหาสมการของเสนโคงนั้น รวมทั้งยังพาดพิงถึงเสนโคงที่สรางจากชุดเสนตรงประเภทอื่น ๆ ดวย




                                                รูปที่ 1 ภาพชวงเปดตอน



                                                            6	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                                    2. ชวงสารคดี




                                           7	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                        สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



                                          2. ชวงสารคดี (เริ่ม ณ 01:59)

       ชวงสารคดีนี้ตองการอธิบายความรูพื้นฐาน   ที่จําเปนในการทําความเขาใจแนวคิดและรายละเอียดของ
       โครงงานคณิตศาสตรที่จะนําเสนอตอไป ซึ่งประกอบไปดวยสวนตาง ๆ ตามลําดับเวลา ดังนี้




                            (ก)                                                               (ข)




                            (ค)                                                               (ง)




                           (จ)                                                 (ฉ)
            รูปที่ 2 ภาพประกอบขณะอธิบายเรื่องหมาปากับกระตายเพื่อโยงเขาเรื่องเสนตรงลอมเสนโคง




                                                            8	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                           สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




           (ก) ผูหนึ่งที่คิดคนแนวคิดของวิชาแคลคูลัส               (ข) เสนสัมผัสของเสนโคง
                    รูปที่ 3 ภาพประกอบขณะอธิบายเรื่องกําเนิดแคลคูลัสและเสนสัมผัสเสนโคง

       2.1. หมาปากับกระตาย (เริ่ม ณ 1:59)
        เปนภาพเคลื่อนไหวที่เลาสถานการณหมาปาไลลากระตาย (รูปที่ 2(ก-ค)) และพิจารณาเสนทางการวิ่งของ
        หมาปาที่แสดงดวยเสนโคงสีแดง ในรูปที่ 2(ค) หลังจากนั้นจึงวิเคราะหหาสมการของเสนโคงนี้ โดยการ
        สมมติวาหมาปาเปลี่ยนทิศทางการวิ่งเปนชวง ๆ จนเกิดเปนเสนตรงตอกันหลาย ๆ เสน ในรูปที่ 2(ง) แลว
        จึงใชแกน XY เพื่อหาสมการของเสนโคงที่ลอมดวยชุดของเสนตรง ดังแสดงตัวอยางภาพจากสื่อฯไวในรูปที่
        2(จ-ฉ)

       2.2. เสนโคง เสนตรง แคลคูลัส (เริ่ม ณ 6:44)
       จากแนวคิดของการสรางเสนโคงดวยชุดของเสนตรงที่ถี่มากขึ้นเรื่อย ๆ ขางตน เราสามารถคิดในมุมกลับได
       เชนกัน กลาวคือ หากเริ่มดวยเสนโคง ชุดของเสนตรงที่ลอมเสนโคงก็คือเสนสัมผัสของเสนโคง ณ จุดตาง ๆ
       นั่นเอง ซึ่งก็คือแนวคิดเริ่มตนของวิชาแคลคูลัสดังเปนที่ทราบโดยทั่วไป ดังแสดงตัวอยางภาพจากสื่อฯไวใน
       รูปที่ 3 การสรางเสนโคงดวยชุดของเสนตรง นี้จึงเปนกิจกรรมที่กอใหเกิดภาพที่สวยงามแตกลับซอนแนวคิด
       เรื่องความชันและเสนสัมผัสไดอยางแยบยล

       2.3. ศิลปะเสนเชือกตรึง (เริ่ม ณ 8:16)
       ศิลปะเสนเชือกตรึง หรือ string art คือกิจกรรมทางคณิตศาสตรที่สรางเสนโคงโดยใชเชือกขึงตรึงหลายเสน
       และเปนกิจกรรมที่ไดรับความนิยมอยางสูงในยุคหนึ่ง (รูปที่ 4 (ก),(ค)) แตผูที่มีสวนสําคัญในการผลักดันใหใช
       ศิลปะเสนเชือกตรึงในการสอนเรขาคณิตแกเด็ก ๆ เปนคนแรกคือนาง Mary Everest Boole เมื่อรอยกวาป
       ที่แลว (รูปที่ 4 (ข)) และดวยคุณสมบัติพิเศษและความสวยงามของมัน ศิลปะเสนเชือกตรึงยังปรากฏ
       ใหเห็นในของใชในชีวิตประจําวันและสถาปตยกรรม เชน เกาอี้สาน และสะพาน Calatrava ในเมือง Petah
       Tikva ประเทศอิสราเอล (รูปที่ 4 (ง))




                                                               9	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
               สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




       รูปที่ 4 คุณพร อัศวพิทยา กรุณาสระเวลามาใหเกร็ดความรูเกี่ยวกับศิลปะเสนเชือกตรึง




                  (ก)                                                                (ข)




                  (ค)                                                 (ง)
                รูปที่ 5 ภาพจากสื่อฯประกอบคําอธิบายเรื่องศิลปะเสนเชือกตรึง

                                                  10	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                         สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

       2.4. ปญหาบันได (เริ่ม ณ 12:30)
       ปญหาหนึ่งที่สามารถประยุกตใชเทคนิคการหาเสนโคงที่เกิดจากชุดของเสนตรงในการหาคําตอบ คือปญหา
       การขนบันไดที่มีความยาว L ผานทางเดินมุมฉากที่มีความกวางเปน w1 และ w2 โดยบันไดตองอยูในแนว
       ขนานกับพื้นตลอดเวลา แนนอนวาหากบันไดยาวเกินไปยอมไมสามารถผานมุมทางเดินนี้ไปได ดังรูปที่ 6(ก)
       จะเห็นวาการขนโดยใหปลายบันไดทั้งสองขางชิดขอบทางเดินดานนอกตลอดเวลา เปนวิธีที่ทําใหบันไดอยู
       หางจากมุมทางเดินมากที่สุดตลอดเวลา ดังนั้นเราจึงพิจารณาชุดของเสนตรงความยาว L ที่มีจุดปลายทั้งสอง
       อยูบนแกน X และแกน Y และหาสมการของเสนโคงที่ลอมรอบดวยชุดของเสนตรงนี้ และไดสมการของเสน
       โคง astroid ดังแสดงในรูปที่ 6(ง)




                              (ก)                                                             (ข)




                              (ค)                                              (ง)
                              รูปที่ 6 ภาพจากสื่อฯประกอบคําอธิบายเรื่องปญหาบันได




                                                            11	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                      3. ชวงโครงงานฯและเนื้อหา




                                          12	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                         สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



                                  3. ชวงโครงงานฯและเนื้อหา (เริ่ม ณ 13:49)

       ชวงโครงงานฯและเนื้อหานี้จะอธิบายรายละเอียดของโครงงานคณิตศาสตร                         ตั้งแตที่มาและความสําคัญ
       จนถึงสรุปโครงงาน ซึ่งประกอบไปดวยสวนตาง ๆ ตามลําดับเวลา ดังนี้




                รูปที่ 7 ภาพสื่อฯขณะแสดงรายละเอียดของโครงงานคณิตศาสตรที่นําเสนอในสื่อตอนนี้

       3.1. รายละเอียดของโครงงาน (เริ่ม ณ 13:49)
                โครงงานคณิตศาสตร เรื่องการศึกษาความสัมพันธของชุดเสนตรงและสิ่งหุมของชุดเสนตรงที่ตัดกัน
            เปนพาราโบลา         ที่ยกมาเปนตัวอยางในสื่อตอนนี้ เปนโครงงานที่จัดทําโดย นายกิตติ ไกรเทพ
            นายสุทธิพงศ จันทภาโส นางสาวธรัญญา จารจิต และ นางสาววันวิสา เพ็ชรเรือง นักเรียนระดับ
            มัธยมศึกษา ตอนปลาย โรงเรียนเมืองถลาง อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต พ.ศ. 2552 และมีอาจารย
            ที่ปรึกษาคือ ครูสิทธิโชค พรผล และ ครูถนอมเกียรติ งานสกุล ดังแสดงในรูปที่ 7

       3.2. ความรูทางคณิตศาสตรที่เกี่ยวของ (เริ่ม ณ 14:16)
               ความรูทางคณิตศาสตรที่จําเปนในการทําความเขาใจเนื้อหาของสื่อการสอนตอนนี้ไดแก
            1. เสนตรง ไดแก เรื่องสมการของเสนตรง และการหาสมการของเสนตรงที่ผานจุด 2 จุด (รูปที่ 8 (ก))
            2. พาราโบลา ไดแก เรื่องสมการของเสนโคงพาราโบลา (รูปที่ 8 (ข))


                                                            13	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                          สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

           3. ลิมิต อนุพันธ ไดแก การหาลิมิตของฟงกชันเมื่อตัวแปรลูเขาสูศูนย และการหาอนุพันธของฟงกชัน
              งาย ๆ และอันที่จริงแลว ยังจําเปนตองใชการหาอนุพันธยอยดวย (รูปที่ 8 (ค))
           4. สมการอิงตัวแปรเสริม ไดแก การหาสมการอิงตัวแปรเสริมของสวนของเสนตรงที่ผานจุด 2 จุด
              (รูปที่ 8 (ง))




                               (ก)                                                             (ข)




                               (ค)                                                (ง)
                    รูปที่ 8 ภาพสื่อฯขณะกลาวถึงความรูทางคณิตศาสตรที่เกี่ยวของอยางพอสังเขป

       3.3. การหาสมการของเสนโคงสิ่งหุม (เริ่ม ณ 17:00)
                 การหาสมการของเสนโคงสิ่งหุมที่เกิดจากเสนตรงที่มีผลบวกของจุดตัดแกน X และ Y เปนคาคงที่
             1. หาสมการของเสนตรงแตละเสน ดังแสดงในรูปที่ 9(ก)
             2. หาจุดตัดของเสนตรงทีมจุดตัดแกน X เปน α และ β (รูปที่ 9(ข))
                                           ่ ี
             3. หาลิมิตของพิกัดจุดตัดนี้ เมื่อ β ลูเขาสู α (รูปที่ 9(ค))
             4. หาความสัมพันธระหวางพิกัดทั้งสองของลิมิตนี้ (รูปที่ 9(ง))
                 ถึงแมจะหาสมการของเสนโคงไดแลวก็ตาม เราก็ยังไมสามารถบอกไดทันทีวาเสนโคงที่ไดเปนเสน-
                                                    
             โคงใด แตหากหมุนแกนไป 45 องศา เพื่อใหเสนโคงสมมาตรกับแกน Y สมการของเสนโคงใหมนี้
             จะเปนสมการของเสนโคงพาราโบลานั่นเอง ดังแสดงในรูปที่ 9(จ) แตเนื่องจากการหมุนแกนอาจเปน
                                                                                        
             หัวขอที่ยากเกินไปในระดับนี้ เราจึงเลือกที่จะนําเสนอวิธีการหาสมการของเสนโคงสิ่งหุมในกรณีนี้โดย
             อีกวิธีหนึ่ง ซึ่งมีแนวคิดที่รองรับดังไดแสดงไวในสื่อฯ (รูปที่ 9(ช-ซ)) วิธีนี้เริ่มจากหาสมการของเสนตรง

                                                             14	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




           (ก)                                                               (ข)




           (ค)                                                               (ง)




           (จ)                                                               (ฉ)




           (ช)                                              (ซ)
           รูปที่ 9 ภาพสื่อฯขณะแสดงการหาสมการของเสนโคงสิ่งหุม

                                          15	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                         สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

           แตละเสน ดังแสดงในรูปที่ 9(ฉ) แลวจึงหาคาสูงสุดของ y โดยการหาอนุพันธของสมการเสนตรง
           เทียบกับ α เพื่อจับเทากับ 0 สุดทายจะไดความสัมพันธระหวาง x และ y ซึ่งก็คือสมการของเสนโคง
           สิ่งหุมนั่นเอง (รูปที่ 10)




                   รูปที่ 10 ภาพสื่อฯขณะแสดงการหาสมการของเสนโคงสิ่งหุมโดยการหาอนุพันธ

       3.4. วิธีการดําเนินงาน (เริ่ม ณ 27:02)
             วิธีการดําเนินงานของโครงงานเรื่องนี้นั้น ศึกษาหาสมการของเสนโคงสิ่งหุมที่เกิดจากชุดของเสนตรง
             ที่ตัดแกน X และ Y ที่ a และ b ตามลําดับ โดยแบงเปน 2 กรณีตามเงื่อนไขของคา a และ b ดังนี้
             1. |a| + |b| = k เมื่อ k เปนคาคงตัวที่เปนบวกคาหนึ่ง (รูปที่ 11(ก))
             2. |a|/m + |b|/n = k เมื่อ m, n, k เปนคาคงตัวที่เปนบวก (รูปที่ 11(ข))

       3.5. ผลการศึกษา (เริ่ม ณ 28:02)
             จากการศึกษาหาสมการของเสนโคงสิ่งหุมทั้ง 2 กรณีในวิธีการดําเนินงานนั้น สําหรับกรณีที่ 1
             ไดสมการของเสนโคงสิ่งหุมใน 4 จตุภาค เปน x + y = k ซึ่งเมื่อหมุนแกนไป 45 องศาในทิศ
             ตามเข็มนาฬิกา จะไดสมการของเสนโคงสิ่งหุมเปนสมการของเสนโคงพาราโบลา และสําหรับใน
                                                                                   x       y
           กรณีที่ 2 ได สมการของเสนโคงสิ่งหุมใน 4 จตุภาค เปน                    +       = k           ซึ่งสามารถแสดงได
                                                                                   m       n
           เชนกันวาเสนโคงสิ่งหุมในแตละจตุภาคเปนสวนหนึ่งของเสนโคงพาราโบลา ดูรายละเอียดการคํานวณ
           จากสื่อฯไดในรูปที่ 12




                                                            16	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                         สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                (ก)




                (ข)
                                 รูปที่ 11 ภาพจากสื่อฯขณะอธิบายวิธีการดําเนินงาน

       3.6. สรุปโครงงาน (เริ่ม ณ 31:39)
                โครงงานที่นําเสนอในสื่อฯนี้ เปนการศึกษาหาสมการของเสนโคงที่ลอมรอบดวยชุดของเสนตรงที่มี
             สมบัติรวมกันบางประการ ในกรณีที่ 1 สมบัตินี้ก็คือทุกเสนตรงในชุดของเสนตรงตองมีผลบวกของ
             จุดตัดแกน X และจุดตัดแกน Y เทากับคาคงที่คาหนึ่ง (k) เสมอ สําหรับในกรณีที่ 2 สมบัติรวมกันนี้
             คือทุกเสนตรงตองมีผลบวกของจุดตัดแกน X หารดวย m กับจุดตัดแกน Y หารดวย n เปนคาคงที่ k
             เสมอ ซึ่งสมการของเสนโคงที่ไดจากทั้งสองกรณีตางเปนสวนหนึ่งของเสนโคงพาราโบลาเสมอ




                                                            17	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




       (ก)




       (ข)




       (ค)
                 รูปที่ 12 ภาพจากสื่อฯแสดงผลการศึกษาหาสมการของเสนโคงสิ่งหุม
                                                18	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                           สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

           3.7. กรณีทั่วไป (เริ่ม ณ 32.20)
                จากผลการศึกษาหาสมการของเสนโคงที่ลอมรอบดวยชุดของเสนตรงในทั้ง 2 กรณี ที่ไดเสนโคง
            พาราโบลาเสมอนั้น จึงเกิดคําถามขึ้นวา หากชุดของเสนตรงที่ใชมีสมบัติเปลี่ยนไป เสนโคงที่ไดจะเปน
            เสนโคงประเภทใดไดบาง ในชวงนี้ สื่อฯจะพิจารณาชุดของเสนตรงที่มีจุดตัดแกนทั้งสองเปนฟงกชัน
            ใด ๆ บอกจุดตัดของเสนตรงสองเสน (รูปที่ 13(ก-ข)) และใหสมการของเสนโคงที่ถูกลอมดวย
            ชุดของเสนตรงนี้ (รูปที่ 13(ค)) ซึ่งโดยทั่วไป จะเปนเพียงสมการอิงตัวแปรเสริม โดยไมมีรายละเอียด
            การคํานวณ ผูสนใจสามารถหาอานไดใน [2]

           3.8. เสนโคงสิ่งหุมอื่น ๆ (เริ่ม ณ 34:00)
                จากสมการอิงตัวแปรเสริมที่คํานวณไดใน 3.7 เราสามารถนํามาใชคํานวณหาสมการของเสนโคง
            สิ่งหุมที่ลอมดวยชุดของเสนตรงเหลานี้
            1. ความยาวของสวนของเสนตรงในจตุภาคที่ 1 เปนคาคงที่ L จะไดวาสมการของเสนโคงคือ
                x 2/3 + y 2/3 = L2/3
           2. ความยาวรอบรูปของสามเหลี่ยมที่มีดานทั้งสามเปนแกนพิกัดและเสนตรงในจตุภาคที่                    1   เปน
              คาคงที่ จะไดวาสมการของเสนโคงคือสมการของวงกลมนั่นเอง

           3.9. สรุป (เริ่ม ณ 38:16)
            โครงงานนีทําใหเราไดเห็นวาเสนโคงที่สรางมาจากชุดของเสนตรงตางชุดกัน อาจเปนเสนโคงที่ตางกัน
                       ้
            พรอมการคํานวณหาสมการเหลานี้ดวยวิธีเบื้องตนบางวิธี และที่สําคัญคือ โครงงานนี้เปนตัวอยางหนึ่ง
            ของการใชความรูคณิตศาสตรเบื้องตนในการจําแนกแยกแยะวัตถุทางคณิตศาสตร (เสนโคง) ที่สราง
            ขึ้นมาตางวิธีกัน




       .             คณิตศาสตรอยูรอบตัวเรา จงหมั่นหาความสัมพันธ                                                 .




                                                              19	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




       (ก)




       (ข)




       (ค)
             รูปที่ 13 ภาพจากสื่อฯอธิบายการหาสมการของเสนโคงสิ่งหุมในกรณีทั่วไป
                                                   20	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




          รูปที่ 14 ภาพจากสื่อฯแสดงตัวอยางของเสนโคงสิ่งหุมอื่น ๆ

                                          21	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                                                 กิตติกรรมประกาศ
       ผูจัดทําสื่อการสอนตอนนี้ตองขอขอบพระคุณ คุณพร อัศวพิทยา ในฐานะศิลปนผูสรางสรรคงานศิลปะ
       เสนเชือกตรึงที่นาทึ่ง    ที่กรุณาสละเวลามาใหเกร็ดความรูเกี่ยวกับงานศิลปะเสนเชือกตรึง  และ
       คุณกันตพชญ ธีระจันทเศรษฐ ที่เปนสวนสําคัญในการเสนอ แนวคิดจนกอใหเกิดสื่อในรูปแบบนี้ขึ้น




                                                        22	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                         สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                                                         เอกสารอางอิง
       1. กิตติ ไกรเทพ, สุทธิพงศ จันทภาโส, ธรัญญา จารจิต, วันวิสา เพ็ชรเรือง, การศึกษาความสัมพันธของ
          ชุดเสนตรงและสิ่งหุมของชุดเสนตรงที่ตัดกันเปนพาราโบลา, โครงงานคณิตศาสตรระดับมัธยมศึกษา
          ตอนปลาย โรงเรียนเมืองถลาง อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต พ.ศ. 2552
       2. Gregory Quenell, Envelopes and String Art, Mathematics Magazine, Vol.82, No.3 (June 2009), pp.174-
          185




                                                            23	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร
                           จํานวน 92 ตอน




                                          24	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                              สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

                                   รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน
                        เรื่อง                                                              ตอน
       เซต                                        บทนํา เรื่อง เซต
                                                  ความหมายของเซต
                                                  เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต
                                                  เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน-ออยเลอร
                                                  สื่อปฏิสัมพันธเรื่องแผนภาพเวนน-ออยเลอร
       การใหเหตุผลและตรรกศาสตร                  บทนํา เรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร
                                                  การใหเหตุผล
                                                  ประพจนและการสมมูล
                                                  สัจนิรันดรและการอางเหตุผล
                                                  ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ
                                                  สื่อปฏิสัมพันธเรื่องหอคอยฮานอย
                                                  สื่อปฏิสัมพันธเรื่องตารางคาความจริง
       จํานวนจริง                                 บทนํา เรื่อง จํานวนจริง
                                                  สมบัติของจํานวนจริง
                                                  การแยกตัวประกอบ
                                                  ทฤษฏีบทตัวประกอบ
                                                  สมการพหุนาม
                                                  อสมการ
                                                  เทคนิคการแกอสมการ
                                                  คาสัมบูรณ
                                                  การแกอสมการคาสัมบูรณ
                                                  กราฟคาสัมบูรณ
                                                  สื่อปฏิสัมพันธเรื่องชวงบนเสนจํานวน
                                                  สื่อปฏิสัมพันธเรื่องสมการและอสมการพหุนาม
                                                  สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟคาสัมบูรณ
       ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน                       บทนํา เรื่อง ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน
                                                  การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ
                                                  (การหารลงตัวและตัวหารรวมมาก)
                                                  ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย
       ความสัมพันธและฟงกชัน                    บทนํา เรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน
                                                  ความสัมพันธ



                                                                 25	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                                สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

                     เรื่อง                                                                 ตอน
ความสัมพันธและฟงกชัน                        โดเมนและเรนจ
                                               อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของฟงกชัน
                                               ฟงกชันเบื้องตน
                                               พีชคณิตของฟงกชัน
                                               อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส
                                               ฟงกชันประกอบ
ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม          บทนํา เรื่อง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม
                                               เลขยกกําลัง
                                               ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม
                                               ลอการิทึม
                                               อสมการเลขชี้กําลัง
                                               อสมการลอการิทึม
ตรีโกณมิติ                                     บทนํา เรื่อง ตรีโกณมิติ
                                               อัตราสวนตรีโกณมิติ
                                               เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหนวย
                                               ฟงกชันตรีโกณมิติ 1
                                               ฟงกชันตรีโกณมิติ 2
                                               ฟงกชันตรีโกณมิติ 3
                                               กฎของไซนและโคไซน
                                               กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
                                               ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน
                                               สื่อปฏิสัมพันธเรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหนวย
                                               สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
                                               สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกฎของไซนและกฎของโคไซน
กําหนดการเชิงเสน                              บทนํา เรื่อง กําหนดการเชิงเสน
                                               การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร
                                               การหาคาสุดขีด
ลําดับและอนุกรม                                บทนํา เรื่อง ลําดับและอนุกรม
                                               ลําดับ
                                               การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต
                                               ลิมิตของลําดับ
                                               ผลบวกยอย
                                               อนุกรม
                                               ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม

                                                                    26	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                           เรื่อง                                                                ตอน
       การนับและความนาจะเปน                       บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน
                                                    การนับเบื้องตน
                                                    การเรียงสับเปลี่ยน
                                                    การจัดหมู
                                                    ทฤษฎีบททวินาม
                                                    การทดลองสุม
                                                    ความนาจะเปน 1
                                                    ความนาจะเปน 2
       สถิติและการวิเคราะหขอมูล                   บทนํา เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล
                                                    บทนํา เนื้อหา
                                                    แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1
                                                    แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2
                                                    แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3
                                                    การกระจายของขอมูล
                                                    การกระจายสัมบูรณ 1
                                                    การกระจายสัมบูรณ 2
                                                    การกระจายสัมบูรณ 3
                                                    การกระจายสัมพัทธ
                                                    คะแนนมาตรฐาน
                                                    ความสัมพันธระหวางขอมูล 1
                                                    ความสัมพันธระหวางขอมูล 2
                                                    โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1
                                                    โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2
       โครงงานคณิตศาสตร                            การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย
                                                    ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
                                                    การถอดรากที่สาม
                                                    เสนตรงลอมเสนโคง
                                                    กระเบื้องที่ยืดหดได




                                                                 27	
  
	
  

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสsawed kodnara
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...sornordon
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจPawit Chamruang
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์Nomjeab Nook
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 

Was ist angesagt? (20)

บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
88 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset50
88 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset5088 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset50
88 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset50
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 

Ähnlich wie 91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง

Ähnlich wie 91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง (20)

92 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่5_กระเบื้องที่ยืดหดได้
92 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่5_กระเบื้องที่ยืดหดได้92 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่5_กระเบื้องที่ยืดหดได้
92 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่5_กระเบื้องที่ยืดหดได้
 
01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ
 
43 ตรีโกณมิติ บทนำ
43 ตรีโกณมิติ บทนำ43 ตรีโกณมิติ บทนำ
43 ตรีโกณมิติ บทนำ
 
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
 
13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ
 
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น171 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
 
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
 
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
 
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
 
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
 
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
 
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
 
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
 
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล184 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
 
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
 
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
 
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น272 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
 
04 เซต ตอนที่3_เอกลักษณ์ของการดำเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
04 เซต ตอนที่3_เอกลักษณ์ของการดำเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์04 เซต ตอนที่3_เอกลักษณ์ของการดำเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
04 เซต ตอนที่3_เอกลักษณ์ของการดำเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
 

Mehr von กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

Mehr von กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 

91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง

  • 1. คูมือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร เรื่อง โครงงานคณิตศาสตร (ตอนที่ 4) เสนตรงลอมเสนโคง โดย ผูชวยศาสตราจารย ดร. ทรงเกียรติ สุเมธกิจการ สื่อการสอนชุดนี้ เปนความรวมมือระหวาง คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กับ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สื่อการสอน เรื่อง โครงงานคณิตศาสตร สื่อการสอน เรื่อง โครงงานคณิตศาสตร มีจํานวนตอนทั้งหมดรวม 5 ตอน ซึ่งประกอบดวย 1. SET50 2. ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส 3. การถอดรากที่สาม 4. เสนตรงลอมเสนโคง 5. กระเบื้องที่ยืดหดได คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา สื่อการสอนชุดนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนสําหรับครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใชสื่อชุดนี้รวมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร นอกจากนี้หากทานสนใจ สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรในเรื่องอื่น ๆ ที่คณะผูจัดทําไดดําเนินการไปแลว ทานสามารถดูชื่อเรื่องและ ชื่อตอนไดจากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรทั้งหมดในตอนทายของคูมือฉบับนี้ 1    
  • 3. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง โครงงานคณิตศาสตร หมวด โครงงานคณิตศาสตร ตอนที่ 4 (4/5) หัวขอยอย - จุดประสงคการเรียนรู เพื่อใหผูเรียนเห็นตัวอยางการจําแนกแยกแยะวัตถุทางคณิตศาสตรที่เห็นภาพไดชัดเจน ในที่นี้คือการ จําแนกแยกแยะเสนโคงที่สรางจากชุดของเสนตรงที่มีสมบัติตาง ๆ กัน รวมทั้งบทพิสูจนของการจําแนก ดังกลาวดวย ทั้งนี้ทั้งนั้น เนื้อหาของโครงงานที่นําเสนอในสื่อตอนนี้นั้นมิใชสาระที่คาดหวังใหนักเรียน ตองเรียนรูอยางจริงจัง หากเปนเพียงพาหนะหนึ่งทีชวยแสดงใหเห็นตัวอยางหนึ่งของปญหาการจําแนก ่ แยกแยะเทานั้น 2    
  • 4. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โครงงานคณิตศาสตรคืออะไร โครงงานคณิตศาสตร คือ โครงงานที่ฝกฝนกระบวนการทําวิจัยทางคณิตศาสตร ซึ่งประกอบไปดวย หลายขั้นตอน ตั้งแตการเรียนรู สังเกต ตั้งคําถาม คนควา วิเคราะห จนถึงการคิดคนหาคําตอบของ ปญหาทางคณิตศาสตร สื่อการสอนเรื่องโครงงานคณิตศาสตร สื่อการสอนเรื่องโครงงานคณิตศาสตรทั้ง 5 ตอนนี้ เปนตัวอยางของโครงงานคณิตศาสตรที่ครอบคลุม ปญหาทางคณิตศาสตรที่หลากหลาย ทั้งปญหาในเชิงประยุกตที่นําความรูทางคณิตศาสตรไปประยุกต ใชในการแกปญหาอื่น ๆ ปญหาที่ขยายหรือตอเติมขึ้นจากปญหาเดิม ปญหาในเชิงจําแนกแยกแยะ และปญหาที่เกี่ยวกับการมีอยูของวัตถุทางคณิตศาสตร ทั้งนี้ทั้งนั้นสิ่งที่ขาดไมไดในโครงงานคณิต- ศาสตร คือการแสดงใหเห็นจริงโดยปราศจากขอสงสัย หรือการพิสูจนนั่นเอง วัตถุประสงคของสื่อตอนนี้ สื่อการสอนตอนนีนําเสนอตัวอยางของโครงงานคณิตศาสตร ที่พิจารณาเสนโคงที่สรางจากชุดของเสน- ้ ตรง และแสดงวาชุดของเสนตรงที่มีสมบัติบางประการจะกอใหเกิดเสนโคงพาราโบลา แตสําหรับชุด ของเสนตรงทีมสมบัติที่เปลี่ยนไป เสนโคงที่ไดอาจเปนเสนโคง astroid วงกลม หรืออื่น ๆ ได ่ ี สื่อการสอนจะปูพื้นฐานที่จําเปนเพื่อนําไปสูบทพิสูจนของบางความสัมพันธขางตน 3    
  • 5. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เนื้อหาในสื่อการสอน สื่อการสอนตอนนี้ ประกอบดวย 1. ชวงเปดตอน (เริ่ม ณ 00:42) 2. ชวงสารคดี (เริ่ม ณ 01:59) 3. ชวงโครงงานฯและเนื้อหา (เริ่ม ณ 13:49) 4    
  • 6. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1. ชวงเปดตอน 5    
  • 7. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1. ชวงเปดตอน (เริ่ม ณ 00:42) ในชวงเปดตอน ดังแสดงในรูปที่ 1 ผูบรรยายยกตัวอยางความยาวดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยม 6 รูป จากขอมูลความยาวดานนี้ เราอาจจําแนกแยกแยะชนิดของสามเหลี่ยมออกเปน 2 ชนิด ไดแก สามเหลี่ยม มุมฉาก และสามเหลี่ยมอื่น ๆ หรืออาจจําแนกแยกแยะออกไดเปน 3 ชนิด ไดแก สามเหลี่ยมมุมฉาก สามเหลี่ยมมุมแหลม และสามเหลี่ยมมุมปาน สังเกตวาวิธีการจําแนกแยกแยะสามเหลี่ยมเหลานี้นั้นขึ้นกับ ขอสังเกตและเหตุผลของผูจําแนก ตัวอยางนี้ชวยในการอธิบายเชิงเปรียบเทียบวา ปญหาประเภทหนึ่งที่สามารถนํามาปรับเปนโจทยสําหรับ โครงงานคณิตศาสตรไดคือ ปญหาที่ตองการจําแนกแยกแยะวัตถุทางคณิตศาสตรที่สนใจบางชนิด สื่อฯตอนนีจะนําเสนอตัวอยางของโครงงานคณิตศาสตร ที่พิจารณาคําถามที่วาเสนโคงที่สรางจากชุดของ ้ เสนตรงที่มีระยะหางระหวางเสนบนแกน x และแกน y เทา ๆ กัน คือเสนโคงอะไร พรอมนําเสนอขั้นตอน การหาสมการของเสนโคงนั้น รวมทั้งยังพาดพิงถึงเสนโคงที่สรางจากชุดเสนตรงประเภทอื่น ๆ ดวย รูปที่ 1 ภาพชวงเปดตอน 6    
  • 8. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. ชวงสารคดี 7    
  • 9. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. ชวงสารคดี (เริ่ม ณ 01:59) ชวงสารคดีนี้ตองการอธิบายความรูพื้นฐาน ที่จําเปนในการทําความเขาใจแนวคิดและรายละเอียดของ โครงงานคณิตศาสตรที่จะนําเสนอตอไป ซึ่งประกอบไปดวยสวนตาง ๆ ตามลําดับเวลา ดังนี้ (ก) (ข) (ค) (ง) (จ) (ฉ) รูปที่ 2 ภาพประกอบขณะอธิบายเรื่องหมาปากับกระตายเพื่อโยงเขาเรื่องเสนตรงลอมเสนโคง 8    
  • 10. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (ก) ผูหนึ่งที่คิดคนแนวคิดของวิชาแคลคูลัส (ข) เสนสัมผัสของเสนโคง รูปที่ 3 ภาพประกอบขณะอธิบายเรื่องกําเนิดแคลคูลัสและเสนสัมผัสเสนโคง 2.1. หมาปากับกระตาย (เริ่ม ณ 1:59) เปนภาพเคลื่อนไหวที่เลาสถานการณหมาปาไลลากระตาย (รูปที่ 2(ก-ค)) และพิจารณาเสนทางการวิ่งของ หมาปาที่แสดงดวยเสนโคงสีแดง ในรูปที่ 2(ค) หลังจากนั้นจึงวิเคราะหหาสมการของเสนโคงนี้ โดยการ สมมติวาหมาปาเปลี่ยนทิศทางการวิ่งเปนชวง ๆ จนเกิดเปนเสนตรงตอกันหลาย ๆ เสน ในรูปที่ 2(ง) แลว จึงใชแกน XY เพื่อหาสมการของเสนโคงที่ลอมดวยชุดของเสนตรง ดังแสดงตัวอยางภาพจากสื่อฯไวในรูปที่ 2(จ-ฉ) 2.2. เสนโคง เสนตรง แคลคูลัส (เริ่ม ณ 6:44) จากแนวคิดของการสรางเสนโคงดวยชุดของเสนตรงที่ถี่มากขึ้นเรื่อย ๆ ขางตน เราสามารถคิดในมุมกลับได เชนกัน กลาวคือ หากเริ่มดวยเสนโคง ชุดของเสนตรงที่ลอมเสนโคงก็คือเสนสัมผัสของเสนโคง ณ จุดตาง ๆ นั่นเอง ซึ่งก็คือแนวคิดเริ่มตนของวิชาแคลคูลัสดังเปนที่ทราบโดยทั่วไป ดังแสดงตัวอยางภาพจากสื่อฯไวใน รูปที่ 3 การสรางเสนโคงดวยชุดของเสนตรง นี้จึงเปนกิจกรรมที่กอใหเกิดภาพที่สวยงามแตกลับซอนแนวคิด เรื่องความชันและเสนสัมผัสไดอยางแยบยล 2.3. ศิลปะเสนเชือกตรึง (เริ่ม ณ 8:16) ศิลปะเสนเชือกตรึง หรือ string art คือกิจกรรมทางคณิตศาสตรที่สรางเสนโคงโดยใชเชือกขึงตรึงหลายเสน และเปนกิจกรรมที่ไดรับความนิยมอยางสูงในยุคหนึ่ง (รูปที่ 4 (ก),(ค)) แตผูที่มีสวนสําคัญในการผลักดันใหใช ศิลปะเสนเชือกตรึงในการสอนเรขาคณิตแกเด็ก ๆ เปนคนแรกคือนาง Mary Everest Boole เมื่อรอยกวาป ที่แลว (รูปที่ 4 (ข)) และดวยคุณสมบัติพิเศษและความสวยงามของมัน ศิลปะเสนเชือกตรึงยังปรากฏ ใหเห็นในของใชในชีวิตประจําวันและสถาปตยกรรม เชน เกาอี้สาน และสะพาน Calatrava ในเมือง Petah Tikva ประเทศอิสราเอล (รูปที่ 4 (ง)) 9    
  • 11. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รูปที่ 4 คุณพร อัศวพิทยา กรุณาสระเวลามาใหเกร็ดความรูเกี่ยวกับศิลปะเสนเชือกตรึง (ก) (ข) (ค) (ง) รูปที่ 5 ภาพจากสื่อฯประกอบคําอธิบายเรื่องศิลปะเสนเชือกตรึง 10    
  • 12. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2.4. ปญหาบันได (เริ่ม ณ 12:30) ปญหาหนึ่งที่สามารถประยุกตใชเทคนิคการหาเสนโคงที่เกิดจากชุดของเสนตรงในการหาคําตอบ คือปญหา การขนบันไดที่มีความยาว L ผานทางเดินมุมฉากที่มีความกวางเปน w1 และ w2 โดยบันไดตองอยูในแนว ขนานกับพื้นตลอดเวลา แนนอนวาหากบันไดยาวเกินไปยอมไมสามารถผานมุมทางเดินนี้ไปได ดังรูปที่ 6(ก) จะเห็นวาการขนโดยใหปลายบันไดทั้งสองขางชิดขอบทางเดินดานนอกตลอดเวลา เปนวิธีที่ทําใหบันไดอยู หางจากมุมทางเดินมากที่สุดตลอดเวลา ดังนั้นเราจึงพิจารณาชุดของเสนตรงความยาว L ที่มีจุดปลายทั้งสอง อยูบนแกน X และแกน Y และหาสมการของเสนโคงที่ลอมรอบดวยชุดของเสนตรงนี้ และไดสมการของเสน โคง astroid ดังแสดงในรูปที่ 6(ง) (ก) (ข) (ค) (ง) รูปที่ 6 ภาพจากสื่อฯประกอบคําอธิบายเรื่องปญหาบันได 11    
  • 13. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3. ชวงโครงงานฯและเนื้อหา 12    
  • 14. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3. ชวงโครงงานฯและเนื้อหา (เริ่ม ณ 13:49) ชวงโครงงานฯและเนื้อหานี้จะอธิบายรายละเอียดของโครงงานคณิตศาสตร ตั้งแตที่มาและความสําคัญ จนถึงสรุปโครงงาน ซึ่งประกอบไปดวยสวนตาง ๆ ตามลําดับเวลา ดังนี้ รูปที่ 7 ภาพสื่อฯขณะแสดงรายละเอียดของโครงงานคณิตศาสตรที่นําเสนอในสื่อตอนนี้ 3.1. รายละเอียดของโครงงาน (เริ่ม ณ 13:49) โครงงานคณิตศาสตร เรื่องการศึกษาความสัมพันธของชุดเสนตรงและสิ่งหุมของชุดเสนตรงที่ตัดกัน เปนพาราโบลา ที่ยกมาเปนตัวอยางในสื่อตอนนี้ เปนโครงงานที่จัดทําโดย นายกิตติ ไกรเทพ นายสุทธิพงศ จันทภาโส นางสาวธรัญญา จารจิต และ นางสาววันวิสา เพ็ชรเรือง นักเรียนระดับ มัธยมศึกษา ตอนปลาย โรงเรียนเมืองถลาง อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต พ.ศ. 2552 และมีอาจารย ที่ปรึกษาคือ ครูสิทธิโชค พรผล และ ครูถนอมเกียรติ งานสกุล ดังแสดงในรูปที่ 7 3.2. ความรูทางคณิตศาสตรที่เกี่ยวของ (เริ่ม ณ 14:16) ความรูทางคณิตศาสตรที่จําเปนในการทําความเขาใจเนื้อหาของสื่อการสอนตอนนี้ไดแก 1. เสนตรง ไดแก เรื่องสมการของเสนตรง และการหาสมการของเสนตรงที่ผานจุด 2 จุด (รูปที่ 8 (ก)) 2. พาราโบลา ไดแก เรื่องสมการของเสนโคงพาราโบลา (รูปที่ 8 (ข)) 13    
  • 15. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3. ลิมิต อนุพันธ ไดแก การหาลิมิตของฟงกชันเมื่อตัวแปรลูเขาสูศูนย และการหาอนุพันธของฟงกชัน งาย ๆ และอันที่จริงแลว ยังจําเปนตองใชการหาอนุพันธยอยดวย (รูปที่ 8 (ค)) 4. สมการอิงตัวแปรเสริม ไดแก การหาสมการอิงตัวแปรเสริมของสวนของเสนตรงที่ผานจุด 2 จุด (รูปที่ 8 (ง)) (ก) (ข) (ค) (ง) รูปที่ 8 ภาพสื่อฯขณะกลาวถึงความรูทางคณิตศาสตรที่เกี่ยวของอยางพอสังเขป 3.3. การหาสมการของเสนโคงสิ่งหุม (เริ่ม ณ 17:00) การหาสมการของเสนโคงสิ่งหุมที่เกิดจากเสนตรงที่มีผลบวกของจุดตัดแกน X และ Y เปนคาคงที่ 1. หาสมการของเสนตรงแตละเสน ดังแสดงในรูปที่ 9(ก) 2. หาจุดตัดของเสนตรงทีมจุดตัดแกน X เปน α และ β (รูปที่ 9(ข)) ่ ี 3. หาลิมิตของพิกัดจุดตัดนี้ เมื่อ β ลูเขาสู α (รูปที่ 9(ค)) 4. หาความสัมพันธระหวางพิกัดทั้งสองของลิมิตนี้ (รูปที่ 9(ง)) ถึงแมจะหาสมการของเสนโคงไดแลวก็ตาม เราก็ยังไมสามารถบอกไดทันทีวาเสนโคงที่ไดเปนเสน-  โคงใด แตหากหมุนแกนไป 45 องศา เพื่อใหเสนโคงสมมาตรกับแกน Y สมการของเสนโคงใหมนี้ จะเปนสมการของเสนโคงพาราโบลานั่นเอง ดังแสดงในรูปที่ 9(จ) แตเนื่องจากการหมุนแกนอาจเปน  หัวขอที่ยากเกินไปในระดับนี้ เราจึงเลือกที่จะนําเสนอวิธีการหาสมการของเสนโคงสิ่งหุมในกรณีนี้โดย อีกวิธีหนึ่ง ซึ่งมีแนวคิดที่รองรับดังไดแสดงไวในสื่อฯ (รูปที่ 9(ช-ซ)) วิธีนี้เริ่มจากหาสมการของเสนตรง 14    
  • 16. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (ก) (ข) (ค) (ง) (จ) (ฉ) (ช) (ซ) รูปที่ 9 ภาพสื่อฯขณะแสดงการหาสมการของเสนโคงสิ่งหุม 15    
  • 17. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แตละเสน ดังแสดงในรูปที่ 9(ฉ) แลวจึงหาคาสูงสุดของ y โดยการหาอนุพันธของสมการเสนตรง เทียบกับ α เพื่อจับเทากับ 0 สุดทายจะไดความสัมพันธระหวาง x และ y ซึ่งก็คือสมการของเสนโคง สิ่งหุมนั่นเอง (รูปที่ 10) รูปที่ 10 ภาพสื่อฯขณะแสดงการหาสมการของเสนโคงสิ่งหุมโดยการหาอนุพันธ 3.4. วิธีการดําเนินงาน (เริ่ม ณ 27:02) วิธีการดําเนินงานของโครงงานเรื่องนี้นั้น ศึกษาหาสมการของเสนโคงสิ่งหุมที่เกิดจากชุดของเสนตรง ที่ตัดแกน X และ Y ที่ a และ b ตามลําดับ โดยแบงเปน 2 กรณีตามเงื่อนไขของคา a และ b ดังนี้ 1. |a| + |b| = k เมื่อ k เปนคาคงตัวที่เปนบวกคาหนึ่ง (รูปที่ 11(ก)) 2. |a|/m + |b|/n = k เมื่อ m, n, k เปนคาคงตัวที่เปนบวก (รูปที่ 11(ข)) 3.5. ผลการศึกษา (เริ่ม ณ 28:02) จากการศึกษาหาสมการของเสนโคงสิ่งหุมทั้ง 2 กรณีในวิธีการดําเนินงานนั้น สําหรับกรณีที่ 1 ไดสมการของเสนโคงสิ่งหุมใน 4 จตุภาค เปน x + y = k ซึ่งเมื่อหมุนแกนไป 45 องศาในทิศ ตามเข็มนาฬิกา จะไดสมการของเสนโคงสิ่งหุมเปนสมการของเสนโคงพาราโบลา และสําหรับใน x y กรณีที่ 2 ได สมการของเสนโคงสิ่งหุมใน 4 จตุภาค เปน + = k ซึ่งสามารถแสดงได m n เชนกันวาเสนโคงสิ่งหุมในแตละจตุภาคเปนสวนหนึ่งของเสนโคงพาราโบลา ดูรายละเอียดการคํานวณ จากสื่อฯไดในรูปที่ 12 16    
  • 18. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (ก) (ข) รูปที่ 11 ภาพจากสื่อฯขณะอธิบายวิธีการดําเนินงาน 3.6. สรุปโครงงาน (เริ่ม ณ 31:39) โครงงานที่นําเสนอในสื่อฯนี้ เปนการศึกษาหาสมการของเสนโคงที่ลอมรอบดวยชุดของเสนตรงที่มี สมบัติรวมกันบางประการ ในกรณีที่ 1 สมบัตินี้ก็คือทุกเสนตรงในชุดของเสนตรงตองมีผลบวกของ จุดตัดแกน X และจุดตัดแกน Y เทากับคาคงที่คาหนึ่ง (k) เสมอ สําหรับในกรณีที่ 2 สมบัติรวมกันนี้ คือทุกเสนตรงตองมีผลบวกของจุดตัดแกน X หารดวย m กับจุดตัดแกน Y หารดวย n เปนคาคงที่ k เสมอ ซึ่งสมการของเสนโคงที่ไดจากทั้งสองกรณีตางเปนสวนหนึ่งของเสนโคงพาราโบลาเสมอ 17    
  • 19. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (ก) (ข) (ค) รูปที่ 12 ภาพจากสื่อฯแสดงผลการศึกษาหาสมการของเสนโคงสิ่งหุม 18    
  • 20. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3.7. กรณีทั่วไป (เริ่ม ณ 32.20) จากผลการศึกษาหาสมการของเสนโคงที่ลอมรอบดวยชุดของเสนตรงในทั้ง 2 กรณี ที่ไดเสนโคง พาราโบลาเสมอนั้น จึงเกิดคําถามขึ้นวา หากชุดของเสนตรงที่ใชมีสมบัติเปลี่ยนไป เสนโคงที่ไดจะเปน เสนโคงประเภทใดไดบาง ในชวงนี้ สื่อฯจะพิจารณาชุดของเสนตรงที่มีจุดตัดแกนทั้งสองเปนฟงกชัน ใด ๆ บอกจุดตัดของเสนตรงสองเสน (รูปที่ 13(ก-ข)) และใหสมการของเสนโคงที่ถูกลอมดวย ชุดของเสนตรงนี้ (รูปที่ 13(ค)) ซึ่งโดยทั่วไป จะเปนเพียงสมการอิงตัวแปรเสริม โดยไมมีรายละเอียด การคํานวณ ผูสนใจสามารถหาอานไดใน [2] 3.8. เสนโคงสิ่งหุมอื่น ๆ (เริ่ม ณ 34:00) จากสมการอิงตัวแปรเสริมที่คํานวณไดใน 3.7 เราสามารถนํามาใชคํานวณหาสมการของเสนโคง สิ่งหุมที่ลอมดวยชุดของเสนตรงเหลานี้ 1. ความยาวของสวนของเสนตรงในจตุภาคที่ 1 เปนคาคงที่ L จะไดวาสมการของเสนโคงคือ x 2/3 + y 2/3 = L2/3 2. ความยาวรอบรูปของสามเหลี่ยมที่มีดานทั้งสามเปนแกนพิกัดและเสนตรงในจตุภาคที่ 1 เปน คาคงที่ จะไดวาสมการของเสนโคงคือสมการของวงกลมนั่นเอง 3.9. สรุป (เริ่ม ณ 38:16) โครงงานนีทําใหเราไดเห็นวาเสนโคงที่สรางมาจากชุดของเสนตรงตางชุดกัน อาจเปนเสนโคงที่ตางกัน ้ พรอมการคํานวณหาสมการเหลานี้ดวยวิธีเบื้องตนบางวิธี และที่สําคัญคือ โครงงานนี้เปนตัวอยางหนึ่ง ของการใชความรูคณิตศาสตรเบื้องตนในการจําแนกแยกแยะวัตถุทางคณิตศาสตร (เสนโคง) ที่สราง ขึ้นมาตางวิธีกัน . คณิตศาสตรอยูรอบตัวเรา จงหมั่นหาความสัมพันธ . 19    
  • 21. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (ก) (ข) (ค) รูปที่ 13 ภาพจากสื่อฯอธิบายการหาสมการของเสนโคงสิ่งหุมในกรณีทั่วไป 20    
  • 22. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รูปที่ 14 ภาพจากสื่อฯแสดงตัวอยางของเสนโคงสิ่งหุมอื่น ๆ 21    
  • 23. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กิตติกรรมประกาศ ผูจัดทําสื่อการสอนตอนนี้ตองขอขอบพระคุณ คุณพร อัศวพิทยา ในฐานะศิลปนผูสรางสรรคงานศิลปะ เสนเชือกตรึงที่นาทึ่ง ที่กรุณาสละเวลามาใหเกร็ดความรูเกี่ยวกับงานศิลปะเสนเชือกตรึง และ คุณกันตพชญ ธีระจันทเศรษฐ ที่เปนสวนสําคัญในการเสนอ แนวคิดจนกอใหเกิดสื่อในรูปแบบนี้ขึ้น 22    
  • 24. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เอกสารอางอิง 1. กิตติ ไกรเทพ, สุทธิพงศ จันทภาโส, ธรัญญา จารจิต, วันวิสา เพ็ชรเรือง, การศึกษาความสัมพันธของ ชุดเสนตรงและสิ่งหุมของชุดเสนตรงที่ตัดกันเปนพาราโบลา, โครงงานคณิตศาสตรระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย โรงเรียนเมืองถลาง อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต พ.ศ. 2552 2. Gregory Quenell, Envelopes and String Art, Mathematics Magazine, Vol.82, No.3 (June 2009), pp.174- 185 23    
  • 25. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน 24    
  • 26. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน เรื่อง ตอน เซต บทนํา เรื่อง เซต ความหมายของเซต เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน-ออยเลอร สื่อปฏิสัมพันธเรื่องแผนภาพเวนน-ออยเลอร การใหเหตุผลและตรรกศาสตร บทนํา เรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร การใหเหตุผล ประพจนและการสมมูล สัจนิรันดรและการอางเหตุผล ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องหอคอยฮานอย สื่อปฏิสัมพันธเรื่องตารางคาความจริง จํานวนจริง บทนํา เรื่อง จํานวนจริง สมบัติของจํานวนจริง การแยกตัวประกอบ ทฤษฏีบทตัวประกอบ สมการพหุนาม อสมการ เทคนิคการแกอสมการ คาสัมบูรณ การแกอสมการคาสัมบูรณ กราฟคาสัมบูรณ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องชวงบนเสนจํานวน สื่อปฏิสัมพันธเรื่องสมการและอสมการพหุนาม สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟคาสัมบูรณ ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน บทนํา เรื่อง ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ (การหารลงตัวและตัวหารรวมมาก) ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย ความสัมพันธและฟงกชัน บทนํา เรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน ความสัมพันธ 25    
  • 27. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน ความสัมพันธและฟงกชัน โดเมนและเรนจ อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของฟงกชัน ฟงกชันเบื้องตน พีชคณิตของฟงกชัน อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส ฟงกชันประกอบ ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม บทนํา เรื่อง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม เลขยกกําลัง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม ลอการิทึม อสมการเลขชี้กําลัง อสมการลอการิทึม ตรีโกณมิติ บทนํา เรื่อง ตรีโกณมิติ อัตราสวนตรีโกณมิติ เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหนวย ฟงกชันตรีโกณมิติ 1 ฟงกชันตรีโกณมิติ 2 ฟงกชันตรีโกณมิติ 3 กฎของไซนและโคไซน กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน สื่อปฏิสัมพันธเรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหนวย สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกฎของไซนและกฎของโคไซน กําหนดการเชิงเสน บทนํา เรื่อง กําหนดการเชิงเสน การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร การหาคาสุดขีด ลําดับและอนุกรม บทนํา เรื่อง ลําดับและอนุกรม ลําดับ การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต ลิมิตของลําดับ ผลบวกยอย อนุกรม ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม 26    
  • 28. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน การนับและความนาจะเปน บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน การนับเบื้องตน การเรียงสับเปลี่ยน การจัดหมู ทฤษฎีบททวินาม การทดลองสุม ความนาจะเปน 1 ความนาจะเปน 2 สถิติและการวิเคราะหขอมูล บทนํา เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล บทนํา เนื้อหา แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3 การกระจายของขอมูล การกระจายสัมบูรณ 1 การกระจายสัมบูรณ 2 การกระจายสัมบูรณ 3 การกระจายสัมพัทธ คะแนนมาตรฐาน ความสัมพันธระหวางขอมูล 1 ความสัมพันธระหวางขอมูล 2 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2 โครงงานคณิตศาสตร การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส การถอดรากที่สาม เสนตรงลอมเสนโคง กระเบื้องที่ยืดหดได 27