SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
คูมือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร
                     เรื่อง
            โครงงานคณิตศาสตร
                 (ตอนที่ 2)
      ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
                     โดย
 ผูชวยศาสตราจารย ดร. ทรงเกียรติ สุเมธกิจการ


      สื่อการสอนชุดนี้ เปนความรวมมือระหวาง
   คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กับ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
               กระทรวงศึกษาธิการ
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

                              สื่อการสอน เรื่อง โครงงานคณิตศาสตร
              สื่อการสอน เรื่อง โครงงานคณิตศาสตร มีจํานวนตอนทั้งหมดรวม 5 ตอน ซึ่งประกอบดวย

       1. SET50
       2. ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
       3. การถอดรากที่สาม
       4. เสนตรงลอมเสนโคง
       5. กระเบื้องที่ยืดหดได

               คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา สื่อการสอนชุดนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนสําหรับครู
       และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใชสื่อชุดนี้รวมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร นอกจากนี้หากทานสนใจ
       สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรในเรื่องอื่น ๆ ที่คณะผูจัดทําไดดําเนินการไปแลว ทานสามารถดูชื่อเรื่องและ
       ชื่อตอนไดจากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรทั้งหมดในตอนทายของคูมือฉบับนี้




                                                         1	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                      สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

       เรื่อง          โครงงานคณิตศาสตร
       หมวด            โครงงานคณิตศาสตร
       ตอนที่          2 (2/5)

       หัวขอยอย      -

       จุดประสงคการเรียนรู
            เพื่อใหผูเรียนเห็นตัวอยางการสรางคําถามหรือปญหาใหม โดยการขยายเงื่อนไขของปญหาเดิม รวมทั้ง
       เรียนรูวิธีการสรางปญหาใหมดังกลาวและตัวอยางของวิธีการแกปญหานั้น ๆ ทั้งนี้ทั้งนั้น เนื้อหาของโครง-
       งานที่นําเสนอในสื่อตอนนี้นั้นมิใชสาระที่คาดหวังใหนกเรียนตองเรียนรูอยางจริงจัง หากเปนเพียงพาหนะ
                                                             ั              
       เพื่อชวยแสดงใหเห็นตัวอยางหนึ่งของการขยายปญหาเทานั้น




                                                          2	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

                                           โครงงานคณิตศาสตรคืออะไร

       โครงงานคณิตศาสตร คือ โครงงานที่ฝกฝนกระบวนการทําวิจัยทางคณิตศาสตร ซึ่งประกอบไปดวย
       หลายขั้นตอน ตั้งแตการเรียนรู สังเกต ตั้งคําถาม คนควา วิเคราะห จนถึงการคิดคนหาคําตอบของ
       ปญหาทางคณิตศาสตร


                                      สื่อการสอนเรื่องโครงงานคณิตศาสตร

       สื่อการสอนเรื่องโครงงานคณิตศาสตรทั้ง 5 ตอนนี้ เปนตัวอยางของโครงงานคณิตศาสตรที่ครอบคลุม
       ปญหาทางคณิตศาสตรที่หลากหลาย ทั้งปญหาในเชิงประยุกตที่นําความรูทางคณิตศาสตรไปประยุกต
       ใชในการแกปญหาอื่น ๆ ปญหาที่ขยายหรือตอเติมขึ้นจากปญหาเดิม ปญหาในเชิงจําแนกแยกแยะ
       และปญหาที่เกี่ยวกับการมีอยูของวัตถุทางคณิตศาสตร    ทั้งนี้ทั้งนั้นสิ่งที่ขาดไมไดในโครงงานคณิต-
       ศาสตร คือการแสดงใหเห็นจริงโดยปราศจากขอสงสัย หรือการพิสูจนนั่นเอง


                                             วัตถุประสงคของสื่อตอนนี้

       สื่อการสอนตอนนีนําเสนอตัวอยางของโครงงานคณิตศาสตร ที่กําหนดปญหาขึ้นใหมโดยการขยายจาก
                         ้
       ปญหาเดิม ในที่นี้ปญหาเดิมคือปญหาการวางควีนจํานวนมากที่สุด ลงบนตารางขนาด NxN โดยที่ควีน
       เหลานี้ไมสามารถกินกันไดเลย ซึ่งก็คือการวางควีนจํานวนมากที่สุดลงบนตารางขนาด NxN โดยที่มี
       ควีนอยางมากหนึ่งตัวในแตละแถว หลัก และแนวทแยง และปญหาใหมที่กําหนดขึ้นนั้น คือปญหาการ
       วางควีนจํานวนมากที่สุดลงบนตารางขนาด NxN โดยที่มีควีนอยางมากสองตัวในแตละแถว หลัก และ
       แนวทแยง




                                                         3	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

                                          เนื้อหาในสื่อการสอน
       สื่อการสอนตอนนี้ ประกอบดวย

1. ชวงเปดตอน (เริ่ม ณ 00:40)
2. ชวงสารคดี (เริ่ม ณ 01:48)
3. ชวงโครงงานฯและเนื้อหา (เริ่ม ณ 15:10)




                                                        4	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                                  1. ชวงเปดตอน




                                           5	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                        สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



                                         1. ชวงเปดตอน (เริ่ม ณ 00:40)

       ในชวงเปดตอน ดังแสดงในรูปที่ 1 ผูบรรยายใชตัวอยางจากการเลนลูกบาศกของรูบิค (Rubik's Cube)
       ขนาด 3x3 และขยายไปสูลูกบาศกของรูบิคขนาด 4x4 และ 5x5 เพื่อชวยในการอธิบายเชิงเปรียบเทียบวา
       ในคณิตศาสตรนั้น เมื่อประสบความสําเร็จในการตอบคําถามหนึ่ง ๆ แลว มนุษยมักขยายเงื่อนไขของ
       คําถามนั้น ๆ และสรางปญหาใหมที่นาสนใจและทาทายมากกวาเดิม ซึ่งคําตอบของปญหาใหมนี้ยังอาจ
       สามารถนำไปประยุกตใชไดกวางขวางกวาเดิมดวย ดังเชนในการเลนลูกบาศกของรูบิคขนาด 3 คูณ 3 นั้น
       สําหรับผูเลนที่เลนไดคลองแคลวแลว อาจเกิดคําถามในใจวาถาเปนลูกบาศกของรูบคขนาด 4 คูณ 4 แลว
                                                                                         ิ
       จะมีวิธีทั่วไปในการเลนเพื่อใหไดสีเดียวในแตละดานหรือไม และถามีจะเลนอยางไร

       สื่อฯตอนนีจะนําเสนอตัวอยางของโครงงานคณิตศาสตรที่พิจารณาคําถามที่ขยายมาจากปญหาบนกระดาน
                 ้
       หมากรุกที่เปนที่รูจักกันอยางกวางขวางปญหาหนึ่ง




                                                รูปที่ 1 ภาพชวงเปดตอน




                                                            6	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                                    2. ชวงสารคดี




                                           7	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



                                         2. ชวงสารคดี (เริ่ม ณ 01:48)

       ชวงสารคดีนี้ตองการอธิบายความรูพื้นฐาน   ที่จําเปนในการทําความเขาใจแนวคิดและรายละเอียดของ
       โครงงานคณิตศาสตรที่จะนําเสนอตอไป ซึ่งประกอบไปดวยสวนตาง ๆ ตามลําดับเวลา ดังนี้




                           (ก)                                                               (ข)




                           (ค)                                            (ง)
                           รูปที่ 2 ภาพประกอบคําอธิบายประวัติศาสตรของหมากรุก




                                (ก)                                           (ข)
                              รูปที่ 3 ภาพประกอบคําอธิบายเรื่องกติกาของหมากรุก

                                                           8	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                          สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

       2.1. ประวัติศาสตรของหมากรุกโดยสังเขป (เริ่ม ณ 01:48)
        เลาประวัตศาสตรของหมากรุกตั้งแตกําเนิดของหมากรุกที่เชื่อกันวา เริ่มมีทแรกในประเทศอินเดีย (รูปที่
                  ิ                                                                ี่
        2(ก)) และแพรผานเปอรเซีย (รูปที่ 2(ข)) เขาสูยุโรป รวมทั้งยังกลาวถึงหมากรุกที่มีการเลนกันใน ประเทศ
        จีน เกาหลี ญี่ปุน และไทย ดังแสดงตัวอยางภาพจากสื่อฯไวในรูปที่ 2(ค-ง)

       2.2. วิธีเลนหมากรุกสากล (เริ่ม ณ 04:30) อธิบายกติกาการเลนหมากรุกสากลอยางคราว ๆ รวมถึงวิธี
       การเดินและกินของตัวหมากรุกแตละตัว อันไดแก คิง ควีน บิชอพ มา เรือ และเบี้ย และปดทายดวย
       การนําเสนอความซับซอนของเกมหมากรุกโดยอางถึงจํานวนวิธีการเลนที่เกิดขึ้นไดทั้งหมด ดังแสดงตัวอยาง
       ภาพจากสื่อฯไวในรูปที่ 3

       2.3. คำถามจากหมากรุก (เริ่ม ณ 08:38)
       คือปญหาลับสมองและคําถามทาทายที่เกิดขึ้นจากหรือเกี่ยวกับหมากรุก ซึ่งมีอยูมากมาย เชน ปญหามาเดิน
       ทั่วกระดาน (Knight’s tour) ปญหาการวางเรือ และปญหาการวางควีน N ตัว (N-queen problem) ดังตัวอยาง
       ภาพจากสื่อฯที่แสดงไวในรูปที่ 4 ปญหาการวางควีนนี้คือปญหาที่เราสนใจเปนพิเศษ ผูที่ถามและสนใจ
       ปญหานี้เปนคนแรกคือนาย Max Bezzel เมื่อประมาณป พ.ศ. 2391 นอกจากนั้นยังไดกลาวถึง
       จำนวนคําตอบของปญหาบนกระดานจัตุรัสขนาดตาง ๆ และปดทายดวยประโยชนจากคําตอบของปญหานี้
       ในวิทยาการคอมพิวเตอร




                    (ก) ปญหามาเดินทั่วกระดาน                                      (ข) ปญหาการวางเรือ




                   (ค) ปญหาการวางควีน 8 ตัว            (ง) จํานวนคําตอบของปญหาการวางควีน 4 ตัว
                       รูปที่ 4 ภาพจากสื่อฯประกอบคําอธิบายเรื่องคําถามจากหมากรุกตาง ๆ

                                                              9	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



       ตารางที่ 1 แสดงจํานวนวิธในการวางควีน N ตัวลงบนตารางขนาด NxN โดยไมกินกันเลย
                               ี
       ขนาดกระดาน 4x4 5x5 6x6 7x7 8x8 9x9 10x10 11x11 12x12
       จํานวนวิธี         2 10 4 40 92 352 724 2680 14200




                            (ก)                                            (ข)
                         รูปที่ 5 ภาพจากสื่อฯประกอบคําอธิบายเรื่องปญหาการวางควีน




                                                          10	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                      3. ชวงโครงงานฯและเนื้อหา




                                          11	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                         สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



                                  3. ชวงโครงงานฯและเนื้อหา (เริ่ม ณ 15:10)

       ชวงโครงงานฯและเนื้อหานี้จะอธิบายรายละเอียดของโครงงานคณิตศาสตร                         ตั้งแตที่มาและความสําคัญ
       จนถึงสรุปโครงงาน ซึ่งประกอบไปดวยสวนตาง ๆ ตามลําดับเวลา ดังนี้




                รูปที่ 6 ภาพสื่อฯขณะแสดงรายละเอียดของโครงงานคณิตศาสตรที่นําเสนอในสื่อตอนนี้

       3.1. รายละเอียดของโครงงาน (เริ่ม ณ 15:10)
                โครงงานคณิตศาสตรเรื่อง การวางตัวเบี้ยที่มีจํานวนมากที่สุดบนตารางสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด NxN
             โดยที่ไมมีตัวเบี้ย 3 ตัวใด ๆ อยูบนแนวเสนตรงเดียวกัน ในแนวตั้ง แนวนอน และแนวทแยง ที่ยกมา
             เปนตัวอยางในสื่อตอนนี้ เปนโครงงานคณิตศาสตรที่จัดทําโดย นายวศิน วิพิศมากูล ขณะเปน
             นักเรียนโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ระดับมัธยมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2545 ในโครงการ
             พัฒนาและสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี และมีอาจารยที่ปรึกษาคือ
             อาจารยราตรี คําเทียนทอง และ รศ.ดร.พิเชฐ ชาวหา ดังแสดงในรูปที่ 7

       3.2. ที่มาและความสําคัญ (เริ่ม ณ 15:42)
                 จากปญหาการวางควีน N ตัว ซึ่งเปนคําถามจากหมากรุกที่ไดพบในชวงสารคดี เราสามารถปรับ
             เปลี่ยน หรือเพิ่มองคประกอบตางๆ เพื่อสรางปญหาใหมขึ้นมาไดมากมาย เชน
            1. เปลี่ยน ควีน เปน บิชอพ หรือ มา หรืออาจจะเปนตัวหมากที่เปนไดทั้ง ควีน และ มา
            2. เปลี่ยนเปนตัวเดินหมากรุกไทย เชน โคน หรือ เม็ด
            3. เปลี่ยนขนาดกระดาน เปน MxN

                                                            12	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                         สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

          4. เปลี่ยนกฎการเดิน ใหสามารถเดินออกจากกระดานดานขาง
             และวกกลับเขาอีกขางหนึ่งของกระดาน
             หรือยอมใหเดินออกจากกระดานดานหนึ่งแลววกกลับเขากระดานฝงตรงขาม
          5. เปลี่ยนลักษณะกระดานจากสี่เหลี่ยม เปนสามเหลี่ยม
          6. เปลี่ยนลักษณะคําถาม เชน วางควีนอยางนอยกี่ตัวจึงจะคลุมกระดาน 8x8 ไดทุกชอง

       3.3. ความรูทางคณิตศาสตรที่เกี่ยวของ (เริ่ม ณ 17:40)
                    เนื้อหาคณิตศาสตรที่จําเปนตองใชในการทําความเขาใจโครงงานนี้คือเรื่อง หลักการรังนกพิราบ
             (Pigeonhole principle) ซึ่งกลาววา หากจะวางนกพิราบ n ตัว ในรัง m รัง โดยที่ n>m แลว
             จะตองมีรังอยางนอย 1 รังที่มีนกพิราบมากกวา 1 ตัว
             ในกรณีทั่วไปซึ่งเปนกรณีที่จะนํามาใชในโครงงานนีนั้น เราสามารถสรุปไดวา จะตองมีรังอยางนอย 1
                                                                ้
             รังที่มีนกพิราบอยางนอย n/m ตัว รูปที่ 7 แสดงตัวอยางภาพขณะอธิบายหลักการรังนกพิราบ




                             (ก)                                                               (ข)




                             (ค)                                             (ง)
                รูปที่ 7 ภาพสื่อฯขณะแสดงรายละเอียดของโครงงานคณิตศาสตรที่นําเสนอในสื่อตอนนี้




                                                            13	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                        สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



       3.4. วิธีดําเนินงาน (เริ่ม ณ 21:36)
             1. หาขอบเขตบนของจํานวนตัวเบี้ยที่สามารถวางบนตารางสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด NxN โดยที่ไมมี
             ตัวเบี้ย 3 ตัวใดๆ อยูบนแนวเสนตรงเดียวกัน ในแนวตั้ง แนวนอน และแนวทแยง ซึ่งโดยหลักการ
             รังนกพิราบ เราสรุปไดวาสามารถวางเบี้ยไดอยางมาก 2N ตัวเทานั้น
                                      
             2. เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรเพื่อใชหาจํานวนวิธีทั้งหมดในการวางตัวเบี้ย 2N ตัวดังกลาว สําหรับ
             N = 3, 4, …, 8
             3. พิสูจนวา สําหรับ N ใด ๆ ที่มากกวาหรือเทากับ 2 จะมีวิธีในการวางตัวเบี้ยบนกระดาน NxN
             ดังกลาว

       3.5. ผลการวจัย (เริ่ม ณ 23:18)
                    ิ
             1. บนกระดานขนาด NxN ถาวางตัวเบี้ยในแตละแนวนอน (แถว) จํานวน 2 ตัว จะวางตัวเบี้ยได 2N
             ตัว และโดยหลักการรังนกพิราบ จะไดวาในการวางตัวเบี้ย 2N+1 ตัว ในแถว N แถว จะมีอยางนอย 1
             แถวที่มีตัวเบี้ยอยางนอย 3 ตัว ดังนั้นจึงสรุปไดวาวางตัวเบี้ยไดไมเกิน 2N ตัว
             2. ใชโปรแกรมคอมพิวเตอรหาจํานวนวิธีทั้งหมดในการวางตัวเบี้ยบนกระดานขนาด 3x3, 4x4, 5x5,
             …, 8x8 ไดดังนี้

             ตารางที่ 2 แสดงจํานวนวิธีในการวางตัวเบี้ย 2N ตัวลงบนกระดานขนาด NxN
               ขนาดกระดาน       3x3 4x4 5x5 6x6              7x7    8x8
               จํานวนวิธี        2 11 92 1097 19448 477136

           3. จะแสดงวา สําหรับ N >= 2 ใด ๆ มอยางนอยหนึ่งวิธีในการวางตัวเบี้ย 2N ตัว ลงบนกระดาน NxN
                                             ี
           ดังกลาว ซึ่งแบงออกเปน 2 กรณี ไดแก กรณีที่ N เปนจำนวนคู และกรณีที่ N เปนจำนวนคี่ ซึ่ง
           สามารถศึกษาไดจากตัวอยางการวางดังแสดงในรูปที่ 8




               รูปที่ 8 แสดงวิธีวางตัวเบี้ย 8 และ 10 ตัว ลงบนกระดานขนาด 4x4 และ 5x5 ตามลําดับ


                                                           14	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                            สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



           3.6. สรุป (เริ่ม ณ 29:26)
                 โครงงานนี้เปนตัวอยางที่ดีและไมยากเกินไปของการสรางปญหาใหม โดยการขยายเงื่อนไขในปญหา
                 เดิม จึงหวังเปนอยางยิ่งวาถึงแมวาเราอาจรูคําตอบของคําถามหนึง ๆ แลว ผูเรียนจะไมหยุด
                                                                                 ่
                 ถามคําถามใหม ๆ ซึ่งอาจนําไปสูปญหาที่กวางขวางขึ้น และมีประโยชนมากขึ้นก็เปนได




       .                   คณิตศาสตรอยูรอบตัวเรา จงหมั่นตั้งคําถาม                                          .




                                                               15	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                                               กิตติกรรมประกาศ
ผูจัดทําสื่อการสอนตอนนี้ตองขอขอบพระคุณ คุณกันตพชญ ธีระจันทเศรษฐ ที่เปนสวนสําคัญในการเสนอ
แนวคิดจนกอใหเกิดสื่อในรูปแบบนี้ขึ้น




                                                      16	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                         สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                                                         เอกสารอางอิง
       1. วศิน วิพิศมากูล, การวางตัวเบี้ยที่มากที่สุดบนตารางสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด NxN โดยที่ไมมีตัวเบี้ย 3
          ตัวใดๆ อยูบนแนวเสนตรงเดียวกัน ในแนวตั้ง แนวนอน และแนวทแยง, โครงงานคณิตศาสตร
          ระดับมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ปการศึกษา 2545 ของนักเรียน
          ในโครงการพัฒนาและสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (พสวท)
       2. http://www.thechessworld.com




                                                            17	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร
                           จํานวน 92 ตอน




                                          18	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                              สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

                                   รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน
                        เรื่อง                                                              ตอน
       เซต                                        บทนํา เรื่อง เซต
                                                  ความหมายของเซต
                                                  เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต
                                                  เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน-ออยเลอร
                                                  สื่อปฏิสัมพันธเรื่องแผนภาพเวนน-ออยเลอร
       การใหเหตุผลและตรรกศาสตร                  บทนํา เรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร
                                                  การใหเหตุผล
                                                  ประพจนและการสมมูล
                                                  สัจนิรันดรและการอางเหตุผล
                                                  ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ
                                                  สื่อปฏิสัมพันธเรื่องหอคอยฮานอย
                                                  สื่อปฏิสัมพันธเรื่องตารางคาความจริง
       จํานวนจริง                                 บทนํา เรื่อง จํานวนจริง
                                                  สมบัติของจํานวนจริง
                                                  การแยกตัวประกอบ
                                                  ทฤษฏีบทตัวประกอบ
                                                  สมการพหุนาม
                                                  อสมการ
                                                  เทคนิคการแกอสมการ
                                                  คาสัมบูรณ
                                                  การแกอสมการคาสัมบูรณ
                                                  กราฟคาสัมบูรณ
                                                  สื่อปฏิสัมพันธเรื่องชวงบนเสนจํานวน
                                                  สื่อปฏิสัมพันธเรื่องสมการและอสมการพหุนาม
                                                  สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟคาสัมบูรณ
       ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน                       บทนํา เรื่อง ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน
                                                  การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ
                                                  (การหารลงตัวและตัวหารรวมมาก)
                                                  ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย
       ความสัมพันธและฟงกชัน                    บทนํา เรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน
                                                  ความสัมพันธ



                                                                 19	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                                สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

                     เรือง
                        ่                                                                   ตอน
ความสัมพันธและฟงกชัน                        โดเมนและเรนจ
                                               อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของฟงกชัน
                                               ฟงกชันเบื้องตน
                                               พีชคณิตของฟงกชัน
                                               อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส
                                               ฟงกชันประกอบ
ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม          บทนํา เรื่อง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม
                                               เลขยกกําลัง
                                               ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม
                                               ลอการิทึม
                                               อสมการเลขชี้กําลัง
                                               อสมการลอการิทึม
ตรีโกณมิติ                                     บทนํา เรื่อง ตรีโกณมิติ
                                               อัตราสวนตรีโกณมิติ
                                               เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหนวย
                                               ฟงกชันตรีโกณมิติ 1
                                               ฟงกชันตรีโกณมิติ 2
                                               ฟงกชันตรีโกณมิติ 3
                                               กฎของไซนและโคไซน
                                               กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
                                               ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน
                                               สื่อปฏิสัมพันธเรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหนวย
                                               สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
                                               สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกฎของไซนและกฎของโคไซน
กําหนดการเชิงเสน                              บทนํา เรื่อง กําหนดการเชิงเสน
                                               การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร
                                               การหาคาสุดขีด
ลําดับและอนุกรม                                บทนํา เรื่อง ลําดับและอนุกรม
                                               ลําดับ
                                               การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต
                                               ลิมิตของลําดับ
                                               ผลบวกยอย
                                               อนุกรม
                                               ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม

                                                                    20	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                           เรื่อง                                                                ตอน
       การนับและความนาจะเปน                       บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน
                                                    การนับเบื้องตน
                                                    การเรียงสับเปลี่ยน
                                                    การจัดหมู
                                                    ทฤษฎีบททวินาม
                                                    การทดลองสุม
                                                    ความนาจะเปน 1
                                                    ความนาจะเปน 2
       สถิติและการวิเคราะหขอมูล                   บทนํา เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล
                                                    บทนํา เนื้อหา
                                                    แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1
                                                    แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2
                                                    แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3
                                                    การกระจายของขอมูล
                                                    การกระจายสัมบูรณ 1
                                                    การกระจายสัมบูรณ 2
                                                    การกระจายสัมบูรณ 3
                                                    การกระจายสัมพัทธ
                                                    คะแนนมาตรฐาน
                                                    ความสัมพันธระหวางขอมูล 1
                                                    ความสัมพันธระหวางขอมูล 2
                                                    โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1
                                                    โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2
       โครงงานคณิตศาสตร                            การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย
                                                    ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
                                                    การถอดรากที่สาม
                                                    เสนตรงลอมเสนโคง
                                                    กระเบื้องที่ยืดหดได




                                                                 21	
  
	
  

More Related Content

What's hot

โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนatunya2530
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวJirathorn Buenglee
 
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์Jintana Kujapan
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6Jaar Alissala
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วนInmylove Nupad
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 KruPa Jggdd
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...yindee Wedchasarn
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)Jirathorn Buenglee
 
จุดภายในและจุดภายนอก
จุดภายในและจุดภายนอกจุดภายในและจุดภายนอก
จุดภายในและจุดภายนอกkroojaja
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 

What's hot (20)

90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไว
 
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
 
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
 
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
 
Tessellations
TessellationsTessellations
Tessellations
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
 
จุดภายในและจุดภายนอก
จุดภายในและจุดภายนอกจุดภายในและจุดภายนอก
จุดภายในและจุดภายนอก
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 

Similar to 89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส

Similar to 89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส (20)

92 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่5_กระเบื้องที่ยืดหดได้
92 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่5_กระเบื้องที่ยืดหดได้92 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่5_กระเบื้องที่ยืดหดได้
92 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่5_กระเบื้องที่ยืดหดได้
 
01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ
 
43 ตรีโกณมิติ บทนำ
43 ตรีโกณมิติ บทนำ43 ตรีโกณมิติ บทนำ
43 ตรีโกณมิติ บทนำ
 
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
 
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
 
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
 
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น171 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
 
13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ
 
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
 
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
 
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
 
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
 
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
 
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 
15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ
15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ
15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ
 
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
 
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
 
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล184 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
 
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 

89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส

  • 1. คูมือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร เรื่อง โครงงานคณิตศาสตร (ตอนที่ 2) ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส โดย ผูชวยศาสตราจารย ดร. ทรงเกียรติ สุเมธกิจการ สื่อการสอนชุดนี้ เปนความรวมมือระหวาง คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กับ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สื่อการสอน เรื่อง โครงงานคณิตศาสตร สื่อการสอน เรื่อง โครงงานคณิตศาสตร มีจํานวนตอนทั้งหมดรวม 5 ตอน ซึ่งประกอบดวย 1. SET50 2. ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส 3. การถอดรากที่สาม 4. เสนตรงลอมเสนโคง 5. กระเบื้องที่ยืดหดได คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา สื่อการสอนชุดนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนสําหรับครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใชสื่อชุดนี้รวมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร นอกจากนี้หากทานสนใจ สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรในเรื่องอื่น ๆ ที่คณะผูจัดทําไดดําเนินการไปแลว ทานสามารถดูชื่อเรื่องและ ชื่อตอนไดจากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรทั้งหมดในตอนทายของคูมือฉบับนี้ 1    
  • 3. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง โครงงานคณิตศาสตร หมวด โครงงานคณิตศาสตร ตอนที่ 2 (2/5) หัวขอยอย - จุดประสงคการเรียนรู เพื่อใหผูเรียนเห็นตัวอยางการสรางคําถามหรือปญหาใหม โดยการขยายเงื่อนไขของปญหาเดิม รวมทั้ง เรียนรูวิธีการสรางปญหาใหมดังกลาวและตัวอยางของวิธีการแกปญหานั้น ๆ ทั้งนี้ทั้งนั้น เนื้อหาของโครง- งานที่นําเสนอในสื่อตอนนี้นั้นมิใชสาระที่คาดหวังใหนกเรียนตองเรียนรูอยางจริงจัง หากเปนเพียงพาหนะ ั  เพื่อชวยแสดงใหเห็นตัวอยางหนึ่งของการขยายปญหาเทานั้น 2    
  • 4. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โครงงานคณิตศาสตรคืออะไร โครงงานคณิตศาสตร คือ โครงงานที่ฝกฝนกระบวนการทําวิจัยทางคณิตศาสตร ซึ่งประกอบไปดวย หลายขั้นตอน ตั้งแตการเรียนรู สังเกต ตั้งคําถาม คนควา วิเคราะห จนถึงการคิดคนหาคําตอบของ ปญหาทางคณิตศาสตร สื่อการสอนเรื่องโครงงานคณิตศาสตร สื่อการสอนเรื่องโครงงานคณิตศาสตรทั้ง 5 ตอนนี้ เปนตัวอยางของโครงงานคณิตศาสตรที่ครอบคลุม ปญหาทางคณิตศาสตรที่หลากหลาย ทั้งปญหาในเชิงประยุกตที่นําความรูทางคณิตศาสตรไปประยุกต ใชในการแกปญหาอื่น ๆ ปญหาที่ขยายหรือตอเติมขึ้นจากปญหาเดิม ปญหาในเชิงจําแนกแยกแยะ และปญหาที่เกี่ยวกับการมีอยูของวัตถุทางคณิตศาสตร ทั้งนี้ทั้งนั้นสิ่งที่ขาดไมไดในโครงงานคณิต- ศาสตร คือการแสดงใหเห็นจริงโดยปราศจากขอสงสัย หรือการพิสูจนนั่นเอง วัตถุประสงคของสื่อตอนนี้ สื่อการสอนตอนนีนําเสนอตัวอยางของโครงงานคณิตศาสตร ที่กําหนดปญหาขึ้นใหมโดยการขยายจาก ้ ปญหาเดิม ในที่นี้ปญหาเดิมคือปญหาการวางควีนจํานวนมากที่สุด ลงบนตารางขนาด NxN โดยที่ควีน เหลานี้ไมสามารถกินกันไดเลย ซึ่งก็คือการวางควีนจํานวนมากที่สุดลงบนตารางขนาด NxN โดยที่มี ควีนอยางมากหนึ่งตัวในแตละแถว หลัก และแนวทแยง และปญหาใหมที่กําหนดขึ้นนั้น คือปญหาการ วางควีนจํานวนมากที่สุดลงบนตารางขนาด NxN โดยที่มีควีนอยางมากสองตัวในแตละแถว หลัก และ แนวทแยง 3    
  • 5. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เนื้อหาในสื่อการสอน สื่อการสอนตอนนี้ ประกอบดวย 1. ชวงเปดตอน (เริ่ม ณ 00:40) 2. ชวงสารคดี (เริ่ม ณ 01:48) 3. ชวงโครงงานฯและเนื้อหา (เริ่ม ณ 15:10) 4    
  • 6. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1. ชวงเปดตอน 5    
  • 7. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1. ชวงเปดตอน (เริ่ม ณ 00:40) ในชวงเปดตอน ดังแสดงในรูปที่ 1 ผูบรรยายใชตัวอยางจากการเลนลูกบาศกของรูบิค (Rubik's Cube) ขนาด 3x3 และขยายไปสูลูกบาศกของรูบิคขนาด 4x4 และ 5x5 เพื่อชวยในการอธิบายเชิงเปรียบเทียบวา ในคณิตศาสตรนั้น เมื่อประสบความสําเร็จในการตอบคําถามหนึ่ง ๆ แลว มนุษยมักขยายเงื่อนไขของ คําถามนั้น ๆ และสรางปญหาใหมที่นาสนใจและทาทายมากกวาเดิม ซึ่งคําตอบของปญหาใหมนี้ยังอาจ สามารถนำไปประยุกตใชไดกวางขวางกวาเดิมดวย ดังเชนในการเลนลูกบาศกของรูบิคขนาด 3 คูณ 3 นั้น สําหรับผูเลนที่เลนไดคลองแคลวแลว อาจเกิดคําถามในใจวาถาเปนลูกบาศกของรูบคขนาด 4 คูณ 4 แลว ิ จะมีวิธีทั่วไปในการเลนเพื่อใหไดสีเดียวในแตละดานหรือไม และถามีจะเลนอยางไร สื่อฯตอนนีจะนําเสนอตัวอยางของโครงงานคณิตศาสตรที่พิจารณาคําถามที่ขยายมาจากปญหาบนกระดาน ้ หมากรุกที่เปนที่รูจักกันอยางกวางขวางปญหาหนึ่ง รูปที่ 1 ภาพชวงเปดตอน 6    
  • 8. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. ชวงสารคดี 7    
  • 9. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. ชวงสารคดี (เริ่ม ณ 01:48) ชวงสารคดีนี้ตองการอธิบายความรูพื้นฐาน ที่จําเปนในการทําความเขาใจแนวคิดและรายละเอียดของ โครงงานคณิตศาสตรที่จะนําเสนอตอไป ซึ่งประกอบไปดวยสวนตาง ๆ ตามลําดับเวลา ดังนี้ (ก) (ข) (ค) (ง) รูปที่ 2 ภาพประกอบคําอธิบายประวัติศาสตรของหมากรุก (ก) (ข) รูปที่ 3 ภาพประกอบคําอธิบายเรื่องกติกาของหมากรุก 8    
  • 10. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2.1. ประวัติศาสตรของหมากรุกโดยสังเขป (เริ่ม ณ 01:48) เลาประวัตศาสตรของหมากรุกตั้งแตกําเนิดของหมากรุกที่เชื่อกันวา เริ่มมีทแรกในประเทศอินเดีย (รูปที่ ิ ี่ 2(ก)) และแพรผานเปอรเซีย (รูปที่ 2(ข)) เขาสูยุโรป รวมทั้งยังกลาวถึงหมากรุกที่มีการเลนกันใน ประเทศ จีน เกาหลี ญี่ปุน และไทย ดังแสดงตัวอยางภาพจากสื่อฯไวในรูปที่ 2(ค-ง) 2.2. วิธีเลนหมากรุกสากล (เริ่ม ณ 04:30) อธิบายกติกาการเลนหมากรุกสากลอยางคราว ๆ รวมถึงวิธี การเดินและกินของตัวหมากรุกแตละตัว อันไดแก คิง ควีน บิชอพ มา เรือ และเบี้ย และปดทายดวย การนําเสนอความซับซอนของเกมหมากรุกโดยอางถึงจํานวนวิธีการเลนที่เกิดขึ้นไดทั้งหมด ดังแสดงตัวอยาง ภาพจากสื่อฯไวในรูปที่ 3 2.3. คำถามจากหมากรุก (เริ่ม ณ 08:38) คือปญหาลับสมองและคําถามทาทายที่เกิดขึ้นจากหรือเกี่ยวกับหมากรุก ซึ่งมีอยูมากมาย เชน ปญหามาเดิน ทั่วกระดาน (Knight’s tour) ปญหาการวางเรือ และปญหาการวางควีน N ตัว (N-queen problem) ดังตัวอยาง ภาพจากสื่อฯที่แสดงไวในรูปที่ 4 ปญหาการวางควีนนี้คือปญหาที่เราสนใจเปนพิเศษ ผูที่ถามและสนใจ ปญหานี้เปนคนแรกคือนาย Max Bezzel เมื่อประมาณป พ.ศ. 2391 นอกจากนั้นยังไดกลาวถึง จำนวนคําตอบของปญหาบนกระดานจัตุรัสขนาดตาง ๆ และปดทายดวยประโยชนจากคําตอบของปญหานี้ ในวิทยาการคอมพิวเตอร (ก) ปญหามาเดินทั่วกระดาน (ข) ปญหาการวางเรือ (ค) ปญหาการวางควีน 8 ตัว (ง) จํานวนคําตอบของปญหาการวางควีน 4 ตัว รูปที่ 4 ภาพจากสื่อฯประกอบคําอธิบายเรื่องคําถามจากหมากรุกตาง ๆ 9    
  • 11. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตารางที่ 1 แสดงจํานวนวิธในการวางควีน N ตัวลงบนตารางขนาด NxN โดยไมกินกันเลย ี ขนาดกระดาน 4x4 5x5 6x6 7x7 8x8 9x9 10x10 11x11 12x12 จํานวนวิธี 2 10 4 40 92 352 724 2680 14200 (ก) (ข) รูปที่ 5 ภาพจากสื่อฯประกอบคําอธิบายเรื่องปญหาการวางควีน 10    
  • 12. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3. ชวงโครงงานฯและเนื้อหา 11    
  • 13. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3. ชวงโครงงานฯและเนื้อหา (เริ่ม ณ 15:10) ชวงโครงงานฯและเนื้อหานี้จะอธิบายรายละเอียดของโครงงานคณิตศาสตร ตั้งแตที่มาและความสําคัญ จนถึงสรุปโครงงาน ซึ่งประกอบไปดวยสวนตาง ๆ ตามลําดับเวลา ดังนี้ รูปที่ 6 ภาพสื่อฯขณะแสดงรายละเอียดของโครงงานคณิตศาสตรที่นําเสนอในสื่อตอนนี้ 3.1. รายละเอียดของโครงงาน (เริ่ม ณ 15:10) โครงงานคณิตศาสตรเรื่อง การวางตัวเบี้ยที่มีจํานวนมากที่สุดบนตารางสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด NxN โดยที่ไมมีตัวเบี้ย 3 ตัวใด ๆ อยูบนแนวเสนตรงเดียวกัน ในแนวตั้ง แนวนอน และแนวทแยง ที่ยกมา เปนตัวอยางในสื่อตอนนี้ เปนโครงงานคณิตศาสตรที่จัดทําโดย นายวศิน วิพิศมากูล ขณะเปน นักเรียนโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ระดับมัธยมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2545 ในโครงการ พัฒนาและสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี และมีอาจารยที่ปรึกษาคือ อาจารยราตรี คําเทียนทอง และ รศ.ดร.พิเชฐ ชาวหา ดังแสดงในรูปที่ 7 3.2. ที่มาและความสําคัญ (เริ่ม ณ 15:42) จากปญหาการวางควีน N ตัว ซึ่งเปนคําถามจากหมากรุกที่ไดพบในชวงสารคดี เราสามารถปรับ เปลี่ยน หรือเพิ่มองคประกอบตางๆ เพื่อสรางปญหาใหมขึ้นมาไดมากมาย เชน 1. เปลี่ยน ควีน เปน บิชอพ หรือ มา หรืออาจจะเปนตัวหมากที่เปนไดทั้ง ควีน และ มา 2. เปลี่ยนเปนตัวเดินหมากรุกไทย เชน โคน หรือ เม็ด 3. เปลี่ยนขนาดกระดาน เปน MxN 12    
  • 14. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 4. เปลี่ยนกฎการเดิน ใหสามารถเดินออกจากกระดานดานขาง และวกกลับเขาอีกขางหนึ่งของกระดาน หรือยอมใหเดินออกจากกระดานดานหนึ่งแลววกกลับเขากระดานฝงตรงขาม 5. เปลี่ยนลักษณะกระดานจากสี่เหลี่ยม เปนสามเหลี่ยม 6. เปลี่ยนลักษณะคําถาม เชน วางควีนอยางนอยกี่ตัวจึงจะคลุมกระดาน 8x8 ไดทุกชอง 3.3. ความรูทางคณิตศาสตรที่เกี่ยวของ (เริ่ม ณ 17:40) เนื้อหาคณิตศาสตรที่จําเปนตองใชในการทําความเขาใจโครงงานนี้คือเรื่อง หลักการรังนกพิราบ (Pigeonhole principle) ซึ่งกลาววา หากจะวางนกพิราบ n ตัว ในรัง m รัง โดยที่ n>m แลว จะตองมีรังอยางนอย 1 รังที่มีนกพิราบมากกวา 1 ตัว ในกรณีทั่วไปซึ่งเปนกรณีที่จะนํามาใชในโครงงานนีนั้น เราสามารถสรุปไดวา จะตองมีรังอยางนอย 1 ้ รังที่มีนกพิราบอยางนอย n/m ตัว รูปที่ 7 แสดงตัวอยางภาพขณะอธิบายหลักการรังนกพิราบ (ก) (ข) (ค) (ง) รูปที่ 7 ภาพสื่อฯขณะแสดงรายละเอียดของโครงงานคณิตศาสตรที่นําเสนอในสื่อตอนนี้ 13    
  • 15. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3.4. วิธีดําเนินงาน (เริ่ม ณ 21:36) 1. หาขอบเขตบนของจํานวนตัวเบี้ยที่สามารถวางบนตารางสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด NxN โดยที่ไมมี ตัวเบี้ย 3 ตัวใดๆ อยูบนแนวเสนตรงเดียวกัน ในแนวตั้ง แนวนอน และแนวทแยง ซึ่งโดยหลักการ รังนกพิราบ เราสรุปไดวาสามารถวางเบี้ยไดอยางมาก 2N ตัวเทานั้น  2. เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรเพื่อใชหาจํานวนวิธีทั้งหมดในการวางตัวเบี้ย 2N ตัวดังกลาว สําหรับ N = 3, 4, …, 8 3. พิสูจนวา สําหรับ N ใด ๆ ที่มากกวาหรือเทากับ 2 จะมีวิธีในการวางตัวเบี้ยบนกระดาน NxN ดังกลาว 3.5. ผลการวจัย (เริ่ม ณ 23:18) ิ 1. บนกระดานขนาด NxN ถาวางตัวเบี้ยในแตละแนวนอน (แถว) จํานวน 2 ตัว จะวางตัวเบี้ยได 2N ตัว และโดยหลักการรังนกพิราบ จะไดวาในการวางตัวเบี้ย 2N+1 ตัว ในแถว N แถว จะมีอยางนอย 1 แถวที่มีตัวเบี้ยอยางนอย 3 ตัว ดังนั้นจึงสรุปไดวาวางตัวเบี้ยไดไมเกิน 2N ตัว 2. ใชโปรแกรมคอมพิวเตอรหาจํานวนวิธีทั้งหมดในการวางตัวเบี้ยบนกระดานขนาด 3x3, 4x4, 5x5, …, 8x8 ไดดังนี้ ตารางที่ 2 แสดงจํานวนวิธีในการวางตัวเบี้ย 2N ตัวลงบนกระดานขนาด NxN ขนาดกระดาน 3x3 4x4 5x5 6x6 7x7 8x8 จํานวนวิธี 2 11 92 1097 19448 477136 3. จะแสดงวา สําหรับ N >= 2 ใด ๆ มอยางนอยหนึ่งวิธีในการวางตัวเบี้ย 2N ตัว ลงบนกระดาน NxN ี ดังกลาว ซึ่งแบงออกเปน 2 กรณี ไดแก กรณีที่ N เปนจำนวนคู และกรณีที่ N เปนจำนวนคี่ ซึ่ง สามารถศึกษาไดจากตัวอยางการวางดังแสดงในรูปที่ 8 รูปที่ 8 แสดงวิธีวางตัวเบี้ย 8 และ 10 ตัว ลงบนกระดานขนาด 4x4 และ 5x5 ตามลําดับ 14    
  • 16. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3.6. สรุป (เริ่ม ณ 29:26) โครงงานนี้เปนตัวอยางที่ดีและไมยากเกินไปของการสรางปญหาใหม โดยการขยายเงื่อนไขในปญหา เดิม จึงหวังเปนอยางยิ่งวาถึงแมวาเราอาจรูคําตอบของคําถามหนึง ๆ แลว ผูเรียนจะไมหยุด ่ ถามคําถามใหม ๆ ซึ่งอาจนําไปสูปญหาที่กวางขวางขึ้น และมีประโยชนมากขึ้นก็เปนได . คณิตศาสตรอยูรอบตัวเรา จงหมั่นตั้งคําถาม . 15    
  • 17. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กิตติกรรมประกาศ ผูจัดทําสื่อการสอนตอนนี้ตองขอขอบพระคุณ คุณกันตพชญ ธีระจันทเศรษฐ ที่เปนสวนสําคัญในการเสนอ แนวคิดจนกอใหเกิดสื่อในรูปแบบนี้ขึ้น 16    
  • 18. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เอกสารอางอิง 1. วศิน วิพิศมากูล, การวางตัวเบี้ยที่มากที่สุดบนตารางสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด NxN โดยที่ไมมีตัวเบี้ย 3 ตัวใดๆ อยูบนแนวเสนตรงเดียวกัน ในแนวตั้ง แนวนอน และแนวทแยง, โครงงานคณิตศาสตร ระดับมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ปการศึกษา 2545 ของนักเรียน ในโครงการพัฒนาและสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (พสวท) 2. http://www.thechessworld.com 17    
  • 19. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน 18    
  • 20. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน เรื่อง ตอน เซต บทนํา เรื่อง เซต ความหมายของเซต เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน-ออยเลอร สื่อปฏิสัมพันธเรื่องแผนภาพเวนน-ออยเลอร การใหเหตุผลและตรรกศาสตร บทนํา เรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร การใหเหตุผล ประพจนและการสมมูล สัจนิรันดรและการอางเหตุผล ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องหอคอยฮานอย สื่อปฏิสัมพันธเรื่องตารางคาความจริง จํานวนจริง บทนํา เรื่อง จํานวนจริง สมบัติของจํานวนจริง การแยกตัวประกอบ ทฤษฏีบทตัวประกอบ สมการพหุนาม อสมการ เทคนิคการแกอสมการ คาสัมบูรณ การแกอสมการคาสัมบูรณ กราฟคาสัมบูรณ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องชวงบนเสนจํานวน สื่อปฏิสัมพันธเรื่องสมการและอสมการพหุนาม สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟคาสัมบูรณ ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน บทนํา เรื่อง ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ (การหารลงตัวและตัวหารรวมมาก) ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย ความสัมพันธและฟงกชัน บทนํา เรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน ความสัมพันธ 19    
  • 21. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรือง ่ ตอน ความสัมพันธและฟงกชัน โดเมนและเรนจ อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของฟงกชัน ฟงกชันเบื้องตน พีชคณิตของฟงกชัน อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส ฟงกชันประกอบ ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม บทนํา เรื่อง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม เลขยกกําลัง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม ลอการิทึม อสมการเลขชี้กําลัง อสมการลอการิทึม ตรีโกณมิติ บทนํา เรื่อง ตรีโกณมิติ อัตราสวนตรีโกณมิติ เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหนวย ฟงกชันตรีโกณมิติ 1 ฟงกชันตรีโกณมิติ 2 ฟงกชันตรีโกณมิติ 3 กฎของไซนและโคไซน กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน สื่อปฏิสัมพันธเรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหนวย สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกฎของไซนและกฎของโคไซน กําหนดการเชิงเสน บทนํา เรื่อง กําหนดการเชิงเสน การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร การหาคาสุดขีด ลําดับและอนุกรม บทนํา เรื่อง ลําดับและอนุกรม ลําดับ การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต ลิมิตของลําดับ ผลบวกยอย อนุกรม ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม 20    
  • 22. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน การนับและความนาจะเปน บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน การนับเบื้องตน การเรียงสับเปลี่ยน การจัดหมู ทฤษฎีบททวินาม การทดลองสุม ความนาจะเปน 1 ความนาจะเปน 2 สถิติและการวิเคราะหขอมูล บทนํา เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล บทนํา เนื้อหา แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3 การกระจายของขอมูล การกระจายสัมบูรณ 1 การกระจายสัมบูรณ 2 การกระจายสัมบูรณ 3 การกระจายสัมพัทธ คะแนนมาตรฐาน ความสัมพันธระหวางขอมูล 1 ความสัมพันธระหวางขอมูล 2 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2 โครงงานคณิตศาสตร การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส การถอดรากที่สาม เสนตรงลอมเสนโคง กระเบื้องที่ยืดหดได 21