SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 58
โดย พระครู ปริ ยติสุวรรณรังสี อวยพร ออละมาลี รุ่ งทิวา ปุณะตุง สุ ธินี เคนไชยวงศ์ ทนงศักดิ์ ใจสบาย
                ั

              การวิเคราะห์ เส้ นทางความสั มพันธ์ เชิ งสาเหตุระหว่างตัวแปร (Path Analysis)

บทนา
                    การศึกษาปั จจัยที่เป็ นสาเหตุของเหตุการณ์หรื อปรากฏการณ์ เป็ นสิ่ งที่นกวิจยให้ความสนใจ
                                                                                            ั ั
เสมอมา ในการศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างตัวแปรทางสังคมศาสตร์ ค่อนข้างมีความสลับซับซ้อน
                ั                        ่
เนื่องจากมีตวแปรแทรกซ้อนอยูจานวนมาก นักวิจยจึงจาเป็ นต้องมีกรอบแนวคิดทางทฤษฎีของความเป็ น
                                                           ั
สาเหตุ มีการออกแบบการวิจยและใช้เทคนิคการวิเคราะห์ที่เหมาะสม จึงจะช่วยให้สามารถทดสอบความเป็ น
                                   ั
สาเหตุระหว่างตัวแปรตามสามมุติฐานได้ คาถามในทานอง “ทาไมเรื่ อง (สิ่ ง/เหตุการณ์/)นั้นจึงเกิดขึ้น?”
เป็ นคาถามที่แฝงความต้องการคาตอบในลักษณะของ “ความเป็ นสาเหตุของเรื่ อง (สิ่ ง/เหตุการณ์/)นั้น” การ
แสวงหาสาเหตุของสิ่ งต่าง ๆ เป็ นเรื่ องที่อยูในใจของมนุษย์ตลอดมา คาว่า “สาเหตุ” เป็ นคาที่สาคัญ แต่ก็เป็ น
                                                  ่
คาที่สร้างปั ญหาให้นกปรัชญาและนักวิจยได้ขบคิดและโต้แย้งกันมาเป็ นเวลานานจนถึงปั จจุบน อย่างไรก็
                            ั                   ั                                                     ั
ตาม นักวิจยคงปฏิเสธไม่ได้วา ความคิดเกี่ยวกับความเป็ นสาเหตุมีบทบาทสาคัญต่อเป้ าหมายของการวิจย
                  ั                    ่                                                                    ั
เสมอมา เช่น นักวิจยทางพฤติกรรมศาสตร์ ที่มีความสนใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมต่าง ๆ ของ
                          ั
มนุษย์ เป็ นต้น
           การแสวงหาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างตัวแปรในการวิจยใดก็ตาม ทฤษฎี (Theory) ที่
                                                                          ั
เกี่ยวข้องกับเรื่ องที่สนใจศึกษาจัดว่าเป็ นแหล่งแนวคิด / ความรู ้ ที่สาคัญในการเสนอคาอธิ บายเชิงสาเหตุ
ระหว่างตัวแปร รวมทั้งลาดับขั้นการเกิด และลักษณะความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ระหว่างตัวแปร ทฤษฎีจึงมี
บทบาทสาคัญที่ช่วยเป็ นพื้นฐานในการเชื่ อมโยงความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างตัวแปรเพื่อสร้างโมเดลเชิง
สาเหตุ (Causal Models) ซึ่ งแสดงรู ปแบบของกลไกความเกี่ยวข้องสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างตัวแปร หรื อ
ให้แนวคิดในการปรับเปลี่ยนโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในโมเดลเชิงสาเหตุ ผูวจยอาจจะต้อง             ้ิั
อาศัยวิธีการวิเคราะห์ดวยหลักเหตุผล (Logical Analysis) หรื อ อาจทาการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงประจักษ์
                              ้
แล้วนามาทาการวิเคราะห์ทางสถิติ เพื่อช่วยตรวจสอบ ยืนยันความเหมาะสมของโมเดลหรื อปฏิเสธโมเดล
          การวิเคราะห์ขอมูลเชิงประจักษ์เป็ นวิธีการอย่างหนึ่ง ในการหาหลักฐานเพื่อตอบคาถามว่าโมเดลเชิง
                                ้
สาเหตุที่ผวจยพัฒนาขึ้นมา มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิ งประจักษ์หรื อไม่ ถ้าโมเดลไม่สอดคล้องกับข้อมูล
           ู้ ิ ั
ผูวจยอาจมุ่งความสงสัยไปยังทฤษฎีที่นามาใช้เป็ นพื้นฐานในการสร้างโมเดลว่ามีความเหมาะสมเพียงใด
  ้ิั
หรื อ อาจสงสัยเกี่ยวกับความเหมาะสมของการออกแบบการวิจย และการดาเนินการวิจย แต่ถาพบว่าโมเดลมี
                                                                    ั                     ั         ้
ความสอดคล้องกับข้อมูล สิ่ งนี้มิใช่หลักฐานของการพิสูจน์ทฤษฎีหรื อโมเดล แต่แสดงว่ายังไม่มีหลักฐาน
ที่มาปฏิเสธทฤษฎีหรื อโมเดล หรื อกล่าวอีกนัยหนึ่งว่าหลักฐานที่ได้สนับสนุนความเป็ นไปได้ของทฤษฎีและ
โมเดลเชิงสาเหตุ วิธีการวิเคราะห์ทางสถิติที่จะช่วยยืนยันหรื อปฏิเสธโมเดลเชิงสาเหตุท่ีผวจยพัฒนาขึ้นมามี
                                                                                             ู้ ิ ั
่
อยูหลายวิธี วิธีท่ีนิยมกันและเป็ นที่ยอมรับทัวไป ได้แก่ การวิเคราะห์เส้นทางความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่าง
                                             ่
ตัวแปร (Path Analysis) และการวิเคราะห์โครงสร้างความสัมพันธ์ เชิงสาเหตุระหว่างตัวแปร (Structural
Equation Modeling SEM หรื อ LISREL) แต่ในที่น้ ี จะขอกล่าวถึงเฉพาะ Path Analysis เท่านั้น เพื่อใช้เป็ น
พื้นฐานของการวิเคราะห์พหุ ระดับเชิงสาเหตุต่อไป

ความหมายของการวิเคราะห์ เส้ นทาง
         ไรท์ (Wright, 1934 : 193) ได้ให้ความหมายของเทคนิควิธี Path Analysis ว่าเป็ นวิธีการผสมผสาน
                                                   ั
ข้อมูลเชิงปริ มาณซึ่ งสามารถวัดได้จากค่าสหสัมพันธ์กบข้อมูลเชิงคุณภาพ ซึ่ งได้จากความรู ้ตามทฤษฎีเชิง
สาเหตุและผลเพื่อการอธิบายในเชิงสถิติ
         คิมและโคเอาท์ (Kim and Kohout, 1975 : 6) ให้ความหมายว่า เป็ นวิธีการแยกส่ วนและตีความ
สัมพันธ์เชิงเส้นตรงระหว่างตัวแปรกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง โดยกาหนดว่าความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรจะต้องเป็ น
ความสัมพันธ์เชิงเหตุผล และเป็ นความสัมพันธ์แบบปิ ด (closed system)
         เพดเฮาเซอร์ (Pedhauzer, 1982 : 580) กล่าวว่า เป็ นวิธีการศึกษาผลทางตรงและผลทางอ้อมของตัว
                     ั             ่
แปรต่าง ๆ ที่ต้ งสมมติฐานไว้วาเป็ นสาเหตุของผลนั้นแต่วธีการนี้มิใช่วธีการในการค้นหาสาเหตุหากเป็ น
                                                           ิ           ิ
วิธีการหนึ่งของการสร้างแบบจาลองเชิงสาเหตุและผล            โดยที่นกวิจยอาศัยพื้นความรู ้และข้อกาหนดตาม
                                                                  ั ั
              ่
ทฤษฎีที่มีอยูในการดาเนิ นการ
         แผนภาพเส้นทาง (Path Diagram) เป็ นแผนภาพที่เสนอแนวคิดในเรื่ อง ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร โดย
ให้ตวแปรอิสระตัวหนึ่งมีโอกาสเป็ นตัวแปรตามอีกตัวแปรอื่นได้บาง (วิยะดา ตันวัฒนากูล, 2548, 101)
     ั                                                          ้
         การวิเคราะห์เส้นทาง เป็ นวิธีที่มีพ้ืนฐานทางสถิติมาจากการวิเคราะห์การถดถอย (Regression
Analysis) โดยอาศัยแผนภาพและสมการโครงสร้างของแผนภาพเป็ นหลักในการนามาวิเคราะห์ และอธิบาย
ความสัมพันธ์ของตัวแปลผลทั้งในด้านขนาดและทิศทาง นอกจากนี้ยงสามารถอธิ บายความสัมพันธ์ทางตรง
                                                                    ั
และทางอ้อม (สาราญ มีแจ้ง, 2544,63)
         จินตนา ธนวิบูลชัย (2537: 13) กล่าวว่า เทคนิคการวิเคราะห์เส้นทาง เป็ นวิธีการวิเคราะห์ทางสถิติที่
อาศัยการประยุกต์วธีการวิเคราะห์การถดถอย มาอธิ บายความสัมพันธ์ของตัวแปรอิสระหลาย ๆ ตัวที่มีต่อตัว
                       ิ
แปรตาม ทั้งที่เป็ นความสัมพันธ์เชิงทางตรงและทางอ้อม ตลอดจนอธิบายทิศทางและปริ มาณความสัมพันธ์
ของตัวแปรต่าง ๆ โดยมีลูกศรชี้ให้เห็นแบบจาลองของสัมพันธ์ได้ การอธิ บายความสัมพันธ์น้ ีอาศัยความรู ้ใน
ปรากฏการณ์และพื้นฐานความรู ้ตามทฤษฎีที่อธิ บายเชิงเหตุและผลเป็ นสาคัญ
         อ้างใน จินตนา ธนวิบูลย์ชย(2537) เทคนิค Path Analysis ได้รับการพัฒนาขึ้นโดย ซี วอล ไรท์
                                     ั
(Sewall Wright) เมื่อ ค.ศ. 1934 ในสาขาวิชาชีววิทยา ต่อมาใน ค.ศ. 1960 จึงได้มีการนาเอามาใช้ในการวิจย   ั
ทางสังคมศาสตร์ ผูที่ได้พยายามนาเทคนิคนี้มาใช้และปรับปรุ งเทคนิควิธีการนี้ในทางสังคมศาสตร์ ได้แก่
                         ้
บลาลอค(Blalock) บาวดอน (Boudon) ดันแคน (Duncan) แลนด์ (Land) และ ไฮส์ (Heise)


                                                                                                       2
ชัยวัฒน์ รุ่ งเรื องศรี (2527 : 156) อธิ บายว่าเป็ นระเบียบวิธีวเิ คราะห์อย่างหนึ่งที่อาศัยความรู ้ทางสถิติ
และพีชคณิ ตเข้ามาประกอบกัน                     เพื่อพยายามอธิ บายความสัมพันธ์ของตัวแปร หรื อองค์ประกอบของ
พฤติกรรมทางสังคม องค์ประกอบเหล่านี้กาหนดขึ้นจากความรู ้ทางทฤษฎีท่ีสนับสนุนว่าพฤติกรรมนั้น ๆ
มีเหตุเกี่ยวเนื่ องกันเป็ นความสัมพันธ์ที่เป็ นเหตุผลสื บต่อกันในทิศทางเดียวกัน โดยสังเกตได้จากรู ปลูกศร
           สุ ชาติ ประสิ ทธิ์ รัฐสิ นธุ์ (2537: 29) กล่าวว่า การวิเคราะห์เส้นทางเป็ นเทคนิคที่ผวจยต้องการศึกษา
                                                                                                   ู้ ิ ั
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเหตุและตัวแปรผล                        โดยเปิ ดโอกาสให้ตวแปรเหตุแต่ละตัวมีผลเชิงสาเหตุ
                                                                                   ั
ทางตรงและ/หรื อทางอ้อมต่อตัวแปรผล ตามกรอบแนวคิดที่ผวิจยเขียนขึ้นเป็ นแผนภาพเส้นทาง (path
                                                                          ู้ ั
diagram) หรื อตามสมการโครงสร้าง (structural equation) โดยมักจะใช้แผนภาพและสมการโครงสร้างไป
พร้อม ๆ กัน
           นงลักษณ์ วิรัชชัย (2542: 40) กล่าวว่า การวิเคราะห์เส้นทาง เป็ นวิธีการประยุกต์การวิเคราะห์การ
ถดถอยพหุ คูณ เพื่อหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลและผลระหว่างตัวแปรเชิงปริ มาณตามพื้นความรู้ทางทฤษฎี
ให้ทราบว่าตัวแปรซึ่ งเป็ นเหตุมีอิทธิ พลต่อตัวแปรซึ่ งเป็ นผลในลักษณะใด อิทธิ พลแต่ละประเภทมีปริ มาณ
และทิศทางอย่างไร                                                        ่
                                        เพื่อวิเคราะห์ตรวจสอบทฤษฎีวารู ปแบบความสัมพันธ์เชิงเหตุผลและผลจาก
ปรากฏการณ์จริ งสอดคล้องหรื อขัดแย้งกับความสัมพันธ์ตามทฤษฎี
           สาราญ มีแจ้ง (2544 : 65) กล่าวว่า การวิเคราะห์เส้นทาง เป็ นเทคนิคทางสถิติที่อาศัยการประยุกต์
การวิเคราะห์การถดถอยพหุ คูณ โดยศึกษาขนาดและทิศทางของความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเหตุท่ีมีผลต่อ
ตัวแปรตามทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่ งความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลนี้ สามารถนามาเขียนอธิ บายได้ดวยรู ป                ้
แบบจาลองโมเดลและสมการโครงสร้างตามรู ปแบบจาลองที่สร้างขึ้น

สรุ ปความหมายของการวิเคราะห์ เส้ นทาง
          การวิเคราะห์เส้นทาง            เป็ นเทคนิคทางสถิติที่อธิบายทิศทางและความสัมพันธ์เชิงเหตุผลตาม
แบบจาลองที่ผวจยพัฒนาขึ้นมาจากหลักการ แนวคิดหรื อทฤษฎีเป็ นหลัก โดยผลของการศึกษาจะทาให้
                ู้ ิ ั
ทราบขนาดและทิศทางของผลทางตรง (direct effect) และผลทางอ้อม (indirect effect) ระหว่างตัวแปรคัด
สรรที่เกิดขึ้นตามช่วงเวลา (chronological order) หรื อตามเหตุการณ์ (event) ที่เกิดขึ้นก่อนหลังในแบบจาลองนั้น ๆ

วัตถุประสงค์ ของการวิเคราะห์ เส้ นทาง
          การวิเคราะห์เส้นทาง (Path analysis) เป็ นการศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปรในเชิงเหตุและผล
เป็ นวิธีที่มีพ้ืนฐานทางสถิติมาจากการวิเคราะห์การถดถอย (Regression analysis) โดยอาศัยแผนภาพและ
สมการโครงสร้างของแผนภาพเป็ นหลักในการนามาวิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ของตัวแปรเหตุที่มี
ต่อตัวแปรผลทั้งในด้านขนาดและทิศทาง อีกทั้งยังสามารถอธิ บายความสัมพันธ์ได้ท้ งความสัมพันธ์ทางตรง
                                                                                      ั
และทางอ้อม
                                                                      ่
                  1. เป็ นการศึกษาอิทธิ พลระหว่างตัวแปรต่าง ๆ เพื่อดูวามีอิทธิ พลทางตรงและอิทธิ พล
ทางอ้อมของตัวแปรที่สันนิษฐานว่าเป็ นสาเหตุต่อตัวแปรที่เป็ นผลหรื อไม่
                                                                                                                    3
2. สัมประสิ ทธิ์ เส้นทาง เป็ นค่าที่บ่งบอกถึงอิทธิ พลทางตรงของตัวแปรที่เป็ นสาเหตุ
ที่ทาให้อีกตัวหนึ่งเปลี่ยนแปลงไป เพื่อหาความสัมพันธ์และพยากรณ์และศึกษาอิทธิพลเชิงสาเหตุ (Path
Analysis)
             3.การวิจยที่มุ่งแสวงหาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ (Causal Analysis)
                      ั

ข้ อตกลงเบืองต้ นของการวิเคราะห์ เส้ นทาง
           ้
                  ข้อตกลงเบื้องต้นของการวิเคราะห์เส้นทางความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างตัวแปร (Path
Analysis) มีดงนี้
             ั
                  1) ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในโมเดลเชิงสาเหตุเป็ นความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง
(Linear) ,ความสัมพันธ์เชิงบวก (Additive) และเป็ นความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ (Causal)
                  2) ค่าความคลาดเคลื่อน (e) มีลกษณะดังนี้
                                                  ั
                      2.1) แจกแจงแบบปกติสาหรับทุกค่าของ X’s
                      2.2) มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 0
                      2.3) ความแปรปรวนคงที่ทุกค่าของ X’s
                      2.4) เป็ นอิสระจาก e อื่น ๆ และ X’s
                  3) ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุเป็ นไปในทิศทางเดียว (One-Way Causal Flow) ไม่มี
ทิศทางย้อนกลับ
                  4) ตัวแปรตามวัดในระดับอันตรภาค (Interval Scale) หรื ออัตราส่ วน (Ratio Scale)
                  5) ไม่มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้นในการวัดค่าตัวแปรต้น (No Measurement Errors)
                  6) ตัวแปรแอบแฝง (Residual Variable) ในสมการถดถอยพหุ คูณแต่ละสมการต้องมี
การกระจายแบบสุ่ ม ตัวแปรเหล่านี้ตองไม่มีความสัมพันธ์กนเองและไม่มีความสัมพันธ์กบตัวแปรเกณฑ์ของ
                                       ้                  ั                        ั
สมการนั้น ๆ ด้วย



ความรู้ เบืองต้ นเกียวกับวิเคราะห์ อทธิพล หรือการวิเคราะห์ เส้ นทาง (Path Analysis: PA)
           ้        ่                ิ
          การวิเคราะห์อิทธิพลเชิงสาเหตุเป็ นเทคนิควิธีการทางสถิติที่ใช้ศึกษาอิทธิพลของตัวแปรสาเหตุหรื อ
ตัวแปรทานายที่มีต่อตัวแปรตาม ทั้งอิทธิ พลทางตรง (direct effect) และอิทธิพลทางทางอ้อม (indirect
effect) Sewall Wright(1934) ผูที่ได้รับยกย่องว่าเป็ นผูริเริ่ มพัฒนาเทคนิคนี้ กล่าวว่า เทคนิคการวิเคราะห์
                                   ้                        ้
อิทธิ พลเชิงสาเหตุน้ ีไม่ใช้เทคนิคที่ใช้คนหาว่าตัวแปรใดมีอิทธิ พลต่ออีกตัวแปรหนึ่ง แต่เป็ นการตรวจสอบ
                                         ้
อิทธิ พลเชิงสาเหตุของตัวแปรหนึ่งต่ออีกหนึ่งตามที่ผวจยศึกษาหรื อกาหนดขึ้นจากสมมุติฐานหรื อแนวคิด
                                                     ู้ ิ ั
ทฤษฏีหรื อการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องโดยมีเหตุผลอยูเ่ บื้องหลังว่า ตัวแปรอิสระนั้นๆเป็ นสาเหตุต่อตัวแปร
ตามแล้วนาค่าสัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรมาวิเคราะห์ตามเทคนิคการวิเคราะห์อิทธิ พลเชิงสาเหตุ

                                                                                                       4
ผลที่ได้จากการวิเคราะห์จะเป็ นการทดสอบความตรง (validity) ของโครงสร้างหรื อรู ปแบบตามสมมุติบาน
                                                                         ่
นั้น และยังช่วยปรับปรุ งโครงสร้างหรื อรู ปแบบอีกด้วย ซึ่ งจะบอกได้วาจากหลักฐานข้อมูลที่ไปเก็บมานั้น
                                                    ่
สามารถที่จะสนับสนุนทฤษฏีหรื อสมมุติฐานที่มีอยูหรื อไม่
       การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis: เป็ นการศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปร ในเชิงสาเหตุและผลซึ่ง
มีพ้ืนฐานมาจากการวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) โดยอาศัยแผนภาพและสมการโครงสร้าง
ของแผนภาพที่ได้มาจากสมมุติฐานหรื อแนวคิด ทฤษฎีและผลการวิจยเป็ นหลัก ในการนามาวิเคราะห์และ
                                                                     ั
อธิ บายความสัมพันธ์ของตัวแปรอิสระที่มีต่อตัวแปรตามทั้งในมิติของขนาดและมิติของทิศทาง              สามารถ
อธิ บายความสัมพันธ์ได้ท้ งทางตรงและทางอ้อม แล้วนาค่าสัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรมา
                            ั
วิเคราะห์ตามเทคนิคการวิเคราะห์เส้นทาง ผลที่ได้จากการวิเคราะห์เส้นทางจะเป็ นการทดสอบความตรง
(Validity) ของโครงสร้างหรื อรู ปแบบตามสมมุติฐานนั้น ซึ่ งเป็ นการบ่งบอกว่าข้อมูลเชิงประจักษ์ (Empirical
                                                                            ่
Data) ที่ไปเก็บมานั้นสามารถที่จะสนับสนุนทฤษฎีหรื อสมมุติฐานที่มีอยูหรื อไม่ โดยมีหลักการของ
สัมประสิ ทธิ์ เส้นทางคือ เมื่อนักวิจยเขียนแผนภาพหรื อโมเดลแสดงอิทธิ พลตามทฤษฎีและสมมุติฐานแล้ว
                                          ั
สามารถแยกค่าความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในโมเดล (r) ออกเป็ นผลรวมของพารามิเตอร์ได้ตามทฤษฎี
สัมประสิ ทธิ์ เส้นทาง โดยที่สัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสองตัวในโมเดลมีค่าเท่ากับผลบวกของ
อิทธิพลทางตรง (Direct Effect : DE) อิทธิพลทางอ้อม (Indirect Effect: IE) ความสัมพันธ์เทียม (Spurious
                                                                              ่
Relationship : SR) และอิทธิ พลร่ วม (Joint Effect : JE) ที่ไม่สามารถแยกได้วาเป็ นอิทธิ พลแบบใด ดังสมการ
ต่อไปนี้ (นงลักษณ์ วิรัชชัย.2542:188)
                              r = DE + IE + SR + JE
          ในการวิเคราะห์เส้นทางผูวจยประมาณค่าอิทธิ พลทางตรงได้จากการประมาณค่าพารามิเตอร์ ใน
                                      ้ิั
สมการถดถอยตามสมการโครงสร้างของรู ปแบบ                    แล้วนาค่าอิทธิ พลทางตรงนั้นมาประมาณค่าอิทธิ พล
ทางอ้อม ส่ วนอิทธิ พลร่ วมและอิทธิ พลเทียมได้จากการหาผลคูณของอิทธิ พลทางตรงตามลูกศรในโมเดลแต่
ในการวิเคราะห์เส้นทางนั้นเพียงแต่ประมาณค่าสหสัมพันธ์จากอิทธิ พลทางตรงและอิทธิ พลทางอ้อมเท่านั้น
ไม่รวมความสัมพันธ์เทียมและอิทธิ พล เพราะถ้าโมเดลแสดงอิทธิ พลมีความตรง (Validity) และ
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเป็ นความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลจริ ง ค่าความสัมพันธ์เทียมและอิทธิ พลร่ วม
ควรจะเป็ นศูนย์ (นงลักษณ์ วิรัชชัย .2542 : 190) ดังนั้นค่าสหสัมพันธ์จึงสามารถประมาณค่าจากผลบวกของ
อิทธิ พลทางตรงและอิทธิ พลทางอ้อมเพียงสองส่ วนเท่านั้น ซึ่ งสามารถเขียนสมการใหม่ได้ ดังนี้
r = DE + IE
          ปั จจุบนการวิเคราะห์เส้นทางสามารถดาเนินการได้หลายวิธีตามที่นกวิจยคิดหรื อพัฒนาขึ้นแต่ละวิธี
                 ั                                                         ั ั
ที่นิยมในปัจจุบนมี 2 วิธีคือ การิ วเิ คราะห์เส้นทางแบบดั้งเดิม และการวิเคราะห์เส้นทางด้วยโปรแกรมลิสเรล
                   ั
โดยมีข้ นตอนหลักที่สาคัญอยู่ 3 ขั้นตอน คือ
        ั
                      1) การประมาณค่าพารามิเตอร์ ขนาดอิทธิ พล
                     2) การตรวจสอบทฤษฎีหรื อการตรวจสอบความตรง (Validity) ของโมเดล
                     3) การวิเคราะห์แยกค่าสหสัมพันธ์ ดังนี้
                                                                                                     5
ขั้นตอนที่ 1 การประมาณค่ าพารามิเตอร์ ขนาดอิทธิพล
           วิธีการประมาณค่าอิทธิ พลในการวิเคราะห์เส้นทางแบบดั้งเดิมใช้การวิเคราะห์การถดถอยประมาณ
ค่าขนาดอิทธิ พลทางตรงหรื อค่าสัมประสิ ทธิ์ เส้นทาง (Path Coefficient) ด้วยค่าสัมประสิ ทธิ์ การถดถอย
มาตรฐาน (Standardized regression coefficient) ซึ่งเป็ นการประมาณค่าพารามิเตอร์ แบบวิธีกาลังสองน้อย
ที่สุด (OLS) การวิเคราะห์การถดถอยจะวิเคราะห์ตามสมการโครงสร้างของโมเดลทีละสมการ ซึ่ งค่า
สัมประสิ ทธิ์ ถดถอยมาตรฐานหรื อค่า Beta weight : ß ที่ได้จากสมการต่าง ๆ ก็คือค่าขนาดอิทธิ พลทางตรง
ของตัวแปรตามโมเดล ดังนั้น ค่าขนาดอิทธิ พล (Pij) ของตัวแปรที่เป็ นสาเหตุต่อตัวแปรตามที่เป็ นอิทธิ พล
                                       ่
ทางตรงก็คือค่า ß ที่ปรากฏอยูในสมการพยากรณ์ (สาเริ ง บุญเรื องรัตน์.2540) ซึ่งปัจจุบนสามารถใช้         ั
โปรแกรม SPSS ช่วยในการวิเคราะห์ ส่ วนโปรแกรมลิสเรลใช้ทฤษฎีทางสถิติวธีแบบไลค์ลิฮูดสู งสุ ด  ิ
(Maximum Likelihood Statistical Theory) หรื อ ML เป็ นพื้นฐานในการวิเคราะห์ขอมูล วิธีการประมาณค่า
                                                                                     ้
ทาได้โดยการสมมุติค่าพารามิเตอร์ ข้ ึนมาชุ ดหนึ่งแล้วหาค่าไลค์ลิฮูด หรื อความเป็ นไปได้ของการที่จะได้ค่า
สังเกตของตัวแปรจากประชากรกลุ่มที่สมมุติค่าพารามิเตอร์ ไว้น้ น วิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์ แบบนี้ ตอง
                                                                   ั                                       ้
ใช้การคานวณทวนซ้ า (Iteration) หลายครั้งจนกว่าค่าพารามิเตอร์ ที่ได้ในแต่ละครั้งจะมีค่าเข้าใกล้(Converge)
ค่าพารามิเตอร์ ที่เป็ นจริ ง
ขั้นตอนที่ 2 การตรวจสอบทฤษฎีหรือการตรวจสอบความตรงของโมเดล
           การตรวจสอบความตรงของโมเดลที่วเิ คราะห์เส้นทางแบบดั้งเดิมมีวธีการที่นิยมใช้ในปั จจุบน 2 วิธีคือ
                                                                           ิ                        ั
           1. วิธีของดันแคน (Duncan) เป็ นวิธีการที่มีการตรวจสอบความตรงของโมเดลด้วยการ
เปรี ยบเทียบค่าสหสัมพันธ์ (Correlation : r) ที่คานวณจากสู ตรสหสัมพันธ์ของเพียร์ สันกับค่าสหสัมพันธ์ที่คานวณ
จากค่าสัมประสิ ทธิ์ เส้นทาง เรี ยกวิธีการวิเคราะห์แบบนี้วาการวิเคราะห์เส้นทางแบบพีเออาร์ (Par)
                                                         ่
           2. วิธีของสเปชท์ (Specht) เป็ นวิธีตรวจสอบความตรงของโมเดลด้วยค่าสถิติคิว
(Q Statistic) นิยมเรี ยกว่า การวิเคราะห์เส้นทางแบบพีเอคิว (PAQ) การวิเคราะห์เส้นทางแบบ Par เป็ นวิธีการ
ที่ตองคานวณค่าความสอดคล้องที่ค่อนข้างจะยุงยาก ซับซ้อน เพราะนักวิจยต้องคานวณด้วยมือและไม่มีการ
     ้                                             ่                           ั
ทดสอบนัยสาคัญทางสถิติของการตรวจสอบความตรงของโมเดล อาจทาให้เกิดความผิดพลาดในการอธิบาย
ความหมายของโมเดลได้ นักวิจยส่ วนใหญ่จึงนิยมใช้การวิเคราะห์เส้นทางแบบ PAQ มากกว่า Par
                                 ั
                ส่ วนการตรวจสอบความตรงของโมเดลที่วเิ คราะห์เส้นทางแบบ PAL โปรแกรมลิสเรลเป็ น
โปรแกรมที่นกวิจยสามารถใช้ตรวจสอบโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างแบบเส้นระหว่างตัวแปรตาม
                 ั ั
ทฤษฎีวาโมเดลสอดคล้องกับข้อมูลเพียงใดได้หลายวิธีโดยใช้ไค-สแควร์ (X2 ) ดัชนีวดความเหมาะสมหรื อ
         ่                                                                               ั
ดัชนีวดระดับความกลมกลืน (Goodness of Fit Index = GFI) รากของกาลังสองของเศษเหลือเฉลี่ย (roof of
       ั
mean square residuals = RMR ) ในการตรวจสอบ เมื่อโมเดลและข้อมูลสอดคล้องกัน ผลการประมาณ
ค่าพารามิเตอร์วธี ML จะมีความถูกต้องตรงตามค่าพารามิเตอร์ แต่ถาโมเดลและข้อมูลไม่สอดคล้องกัน
                    ิ                                                        ้
โปรแกรมสิ สเรลจะมีแนวทางแนะให้นกวิจยปรับเปลี่ยนเส้นทางอิทธิพลในโมเดล
                                            ั ั                                              หรื อตรวจสอบความ
คลาดเคลื่อนในการวัดของตัวแปรจนกว่าจะได้ผลการวิเคราะห์ท่ีตองการ       ้
                                                                                                           6
่ ่
                    ผลจากการตรวจสอบความตรงของโมเดลที่วเิ คราะห์จะเป็ นดัชนีบงชี้วาถ้าโมเดล
ถูกต้องมีความตรงย่อมสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ซึ่ งจะมีผลทาให้เมทริ กซ์สหสัมพันธ์จาก
ข้อมูล (rxy ) และเมทริ กซ์สหสัมพันธ์ท่ีคานวณได้มีค่าใกล้เคียงกัน ในวิธีของ Par ถ้าโมเดลไม่สอดคล้องกับ
ข้อมูลเชิงประจักษ์ เมทริ กซ์สหสัมพันธ์จากข้อมูล (rxy ) และเมทริ กซ์สหสัมพันธ์ที่คานวณได้ (ß) จะมีค่า
แตกต่างกัน แต่ถาเป็ นวิธีการของ PAQ นักวิจยจะต้องคานวณค่า Q ซึ่งเป็ นสถิติที่ใช้วดความสอดคล้องของ
                  ้                          ั                                     ั
โมเดล (Measurement of Goodness of Fit) แล้วตรวจสอบด้วยค่าสถิติ W ซึ่งเป็ นสถิติทดสอบนัยสาคัญของ
ค่าสถิติ Q และถ้าเป็ นวิธีของ PAL จะพิจารณาจากค่า prob ของการทดสอบสถิติไค-สแควร์ ค่าสถิติ GFI และ
ค่าสถิติ AGFI เป็ นต้น
ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ แยกค่ าสหสั มพันธ์
         เมื่อตรวจสอบความตรงของโมเดลและได้ผลว่าโมเดลมีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์แล้ว
นักวิจยจึงมาวิเคราะห์แยกค่าสหสัมพันธ์หรื อการจาแนกค่าอิทธิ พลทางตรงและอิทธิ พลทางอ้อมตามโมเดล
       ั
แสดงรู ปแบบอิทธิพล ให้ได้อิทธิพลทางตรงและอิทธิ พลทางอ้อม เพื่ออธิบายความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ
ระหว่างตัวแปร การวิเคราะห์แยกค่าสหสัมพันธ์ใช้หลักและทฤษฎีสมประสิ ทธิ์ อิทธิ พลดังที่ได้กล่าวไว้แล้ว
                                                                 ั
         ผลจากการวิเคราะห์แยกค่าสหสัมพันธ์จะได้ค่าอิทธิ พลทางตรง (DE) และอิทธิพลทางอ้อม (IE) ซึ่ง
เมื่อนามารวมกันจะได้ค่าผลรวมอิทธิ พล (Total Effect : TE) และเมื่อนาค่าผลรวมอิทธิ พลไปลบออกจาก
สัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์จะได้เป็ นค่าความสัมพันธ์เทียมและอิทธิ พลร่ วมที่ไม่สามารถแยกได้วาเป็ น
                                                                                         ่
ความสัมพันธ์แบบใดตามสมการ
r หรื อ TE = DE + IE + SR + JE

 ความสั มพันธ์ และความเป็ นสาเหตุ (Correlation and Causation)
         1 ความสั มพันธ์ ระหว่าง X และ Y
             เมื่อเราพบนัยสาคัญทางสถิติของสัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร X และ Y แสดงว่าตัว
แปร X และ Y มีความผันแปรร่ วมกันในประชากร ซึ่ งความผันแปรร่ วมกันอาจเกิดขึ้นในลักษณะใดลักษณะ
หนึ่ง ดังนี้
         1) X เป็ นเหตุเดียวหรื อสาเหตุเดียวที่ทาให้เกิดผล Y
                  X                 Y
         2) X เป็ นสาเหตุร่วมกับสาเหตุอื่นที่ทาให้เกิดผล Y
                  X                 Y
                  Z
                                      ั
         3) X และ Y มีความสัมพันธ์กนทางอ้อมโดยผ่านตัวแปรแทรกซ้อน (Intervening variable)
                  X                 Z                    Y
         4) X และ Y เกิดความสัมพันธ์ลวง เนื่องจากถูกกาหนดโดยตัวแปรอื่นร่ วมกัน
                  Z                  X
                                     Y
                                                                                                   7
2 ความเป็ นสาเหตุระหว่ าง X และ Y
               ถ้า X เป็ นเหตุทาให้เกิดผล Y จริ ง จะต้องมีเงื่อนไขต่อไปนี้ เกิดขึ้น
               1) X จะต้องเกิดขึ้นก่อน Y
               2) สัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ระหว่าง X กับ Y มีนยสาคัญ
                                                                  ั
                                             ั
               3) X กับ Y มีความสัมพันธ์กนจริ ง ไม่ใช่ความสัมพันธ์ลวง
               4) จะต้องมีเหตุผลเชิงทฤษฎีสนับสนุนหรื ออธิบายกลไกของการที่เหตุ X ก่อให้เกิดผล

การออกแบบการวิจัยเพือศึกษาความสั มพันธ์ เชิ งสาเหตุระหว่ างตัวแปร
                    ่
        1 การออกแบบการวิจัยเพือการศึกษาความสั มพันธ์ เชิ งสาเหตุระหว่ างตัวแปร สามารถใช้แผนแบบ
                              ่
การวิจยเชิงทดลอง และแผนแบบการวิจยที่ไม่ใช่เชิงทดลองได้ ดังภาพที่ 1
      ั                           ั

       EXPERIMENTAL                                          NON-EXPERIMENTAL
         DESIGN                                                   DESIGN
                              (1)                  (2)
       KANDOMIZATION                                             RANDOMIZATION ?
       MANIPULATION                                              NO MANIPULATION ?

         CAUSAL                                                    RELATIONSHIP
       RELATIONSHIPS                                            AMONG VARIABLES



   (1) ถ้าการออกแบบมีการควบคุมตัวแปรเกินไม่เหมาะสม
   (2) ถ้าการออกแบบมีการสังเกต และใช้เทคนิคการวิเคราะห์ที่เหมาะสม

ภาพที่ 1 การออกแบบการวิจยเชิงทดลอง และไม่ใช่เชิงทดลองสาหรับการศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ
                        ั
ระหว่างตัวแปร

         ในการวิจยโดยใช้แผนแบบการทดลอง (Experimental Design) ผูวจยสามารถจัดดาเนินการสุ่ ม
                    ั                                                   ้ิั
(randomization) และสามารถจัดกระทา (Manipulation) กับตัวแปรที่สนใจได้ การจัดดาเนินการสุ่ มทาให้ได้
กลุ่มตัวอย่างที่มีความเท่าเทียมกันเข้าสู่ การทดลอง และเป็ นการควบคุมตัวแปรเกินหรื อตัวแปรแทรกซ้อน
ต่าง ๆ การจัดกระทากับตัวแปรอิสระที่สนใจทาให้สามารถสังเกตผลของการจัดกระทาที่เกิดขึ้นกับความผัน
แปรของตัวแปรตาม เนื่ องจากความสามารถในการจัดดาเนินการกับตัวแปร และกลุ่มการทดลองทาให้ไม่น่า
                                                                                               8
มีปัญหากับความตรงภายในและความตรงภายนอกของการวิจยผูวิจยจึงมีความมันใจในการสรุ ปผล
                                                            ั ้ ั          ่
ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของตัวแปรอิสระที่มีต่อตัวแปรตาม
         สาหรับการวิจยโดยใช้แผนแบบที่ไม่ใช่การทดลอง (Non-Experimental Design) ส่ วนใหญ่แล้วผูวิจย
                      ั                                                                         ้ ั
อาจสามารถทาการสุ่ มตัวอย่างได้ แต่ไม่สามารถจัดกระทากับตัวแปรที่สนใจศึกษาได้ หรื อไม่สามารถทั้ง
การจัดดาเนินการสุ่ มและการจัดกระทากับตัวแปร ผูวิจยจึงอาจใช้การควบคุมทางสถิติ (Statistical Controls)
                                                  ้ ั
มาทดแทนการสุ่ มได้ แต่เนื่องจากผูวจยไม่สามารถสังเกตความสัมพันธ์ตามช่วงเวลาของตัวแปรอิสระและ
                                  ้ิั
ผลอันเนื่ องมาจากตัวแปรอิสระต่อตัวแปรตามได้ จึงยากแก่การสรุ ปว่าความผันแปรอันเกิดขึ้นกับตัวแปรตาม
เป็ นผลเนื่องมาจากตัวแปรอิสระหรื อไม่ ดังนั้นการแปลความหมายผลการวิเคราะห์ จึงต้องกระทาด้วยความ
ระมัดระวัง
         อย่างไรก็ตาม ผูวิจยพึงระลึกเสมอว่า ถ้าการวิจยเชิงทดลองมิได้ออกแบบการทดลองอย่างรอบคอบ
                        ้ ั                           ั
ขาดความสมบูรณ์ของการจัดดาเนินการสุ่ มและการจัดกระทากับตัวแปรขาดความเหมาะสมแล้ว ย่อมเกิด
ความผิดพลาดคลาดเคลื่อนในการสรุ ปความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างตัวแปร ผูวจยสามารถสรุ ปผลได้เพียง
                                                                             ้ิั
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเท่านั้น ในทางตรงข้ามถ้าผูวิจยใช้แผนแบบการวิจยที่ไม่ใช่การทดลองแต่ได้มี
                                                        ้ ั              ั
การศึกษาทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน มีการออกแบบการศึกษาที่ครอบคลุมตัวแปรสาคัญอย่างรัดกุม มี
                                                                                 ่
การติดตามสังเกตผลอย่างเป็ นระบบซ้ า ๆ และใช้การวิเคราะห์ทางสถิติท่ีเหมาะสม ก็ยอมทาให้ผวจยสามารถ
                                                                                        ู้ ิ ั
สรุ ปผลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างตัวแปรได้เช่นกัน

                                                                                     ่ ้
              การแสดงลาดับความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ยึดหลักการเขียนว่าตัวแปรเหตุจะอยูตน
                   ่
ลูกศร ตัวแปรผลจะอยูปลายลูกศร
              สัญลักษณ์ที่ใช้ มีดงนี้
                                 ั

                               แทนตัวแปรสังเกตได้ (Observed Variable)

                               แทนตัวแปรที่ไม่สามารถสังเกตได้หรื อตัวแปรแฝง (Latent Variable)

                               แสดงตัวแปรที่ปลายลูกศร ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโดยตรงกับตัวแปร
                                     ่ ั
                               ที่อยูหวลูกศร
                               แสดงว่าตัวแปรที่ปลายลูกศรเมื่อพิจารณาตามแนวคิด/ทฤษฎี น่าจะทาให้
                                                                      ่ ั
                               เกิดการเปลี่ยนแปลงโดยตรงกับตัวแปรที่อยูหวลูกศร แต่จากการ
                               ตรวจสอบด้วยข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่าไม่เป็ นตามนั้นหรื อไม่มีนยสาคัญ
                                                                                            ั



                                                                                                 9
ั ั
                                แสดงว่าตัวแปรที่ปลายลูกศรทั้งสองมีความสัมพันธ์กน ที่ยงไม่สามารถ
                                ระบุทิศทางความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของกันและกันได้ จึงมีทิศทางที่
                                เป็ นไปได้ท้ ง 2 ทาง
                                             ั

                  Pij แสดงสัมประสิ ทธิ์ เส้นทางซึ่ งเป็ นขนาดของผลของตัวแปรเหตุ j ที่มีต่อตัวแปรผล i
                                                                        ่                  ่
       การแสดงลาดับความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ยึดหลักการเขียนที่วา ตัวแปรอิสระอยูทางซ้ายของตัว
       แปรตาม
        1. ความสั มพันธ์ เชิ งเหตุและผล
       ลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในรู ปแบบความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล สามารถ
เกิดและผล สามารถเกิดขึ้นได้หลายรู ปแบบ ดังนี้
               1.ความสั มพันธ์ ทางตรง เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวโดยที่ตวแปรหนึ่งเป็ นตัว
                                                                                         ั
แปรเหตุท่ีมีอิทธิ พลถึงอีกตัวแปรหนึ่งซึ่ งเป็ นตัวแปรผลตัวแปรทั้งสองไม่มีตวแปรอื่นมาเกี่ยวข้อง
                                                                          ั



                               X
                               X                                Y
                                                                Y

         จากภาพ แสดงว่า ตัวแปร X มีอิทธิ พลหรื อมีความสัมพันธ์อย่างแท้จริ งต่อตัวแปร Y เนื่องจากไม่มี
ตัวแปรใดมาเกี่ยวข้องต่ออิทธิ พลของความสัมพันธ์น้ นตัวอย่างเช่นนักวิจยต้องการศึกษาเกี่ยวกับ
                                                      ั               ั
ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ จึงศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจยที่เกี่ยวข้องพบว่าแรงจูงใจ
                                                                              ั
ใฝ่ สัมฤทธิ์ทางการเรี ยนคณิ ตศาสตร์ (X) มีอิทธิ พลทางตรงต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ (Y)
         2.ความสั มพันธ์ ทมีตัวแปรคั่นกลาง (Intervening Variable) เป็ นความสัมพันธ์ของตัวแปร
                             ี่
2 ตัว โดยมีตวแปรอื่นมาเป็ นตัวเชื่อมความสัมพันธ์
              ั

                                   X                    Z                      Y

                 จากภาพ แสดงว่า ตัวแปร X มีอิทธิ พลต่อตัวแปร Y โดยผ่านไปที่ตวแปร Z ตัวอย่างเช่น
                                                                              ั
สถานภาพทางเศรษฐกิจ (X) มีอิทธิ พลต่อแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนคณิ ตศาสตร์ (Z) และแรงจูงใจใฝ่
สัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนคณิ ตศาสตร์ มีอิทธิ พลต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ (Y)




                                                                                                  10
3.ความสั มพันธ์ มีอทธิพลทางตรงและทางอ้อม (Direct Effect and Indirect Effect)
                              ิ
คือ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเหตุที่มีอิทธิ พลโดยตรงต่อตัวแปรผล นอกจากนี้ตวแปรเหตุยงมีอิทธิ พล
                                                                             ั          ั
ทางอ้อมต่อตัวแปลผลโดยส่ งผ่านตัวแปรอื่น


                                               Z



                            X                                    Y


         จากภาพ แสดงว่า ตัวแปร X มีอิทธิ พลทางตรงต่อตัวแปร Y และมีอิทธิ พลทางอ้อมต่อตาแปร Y
โดยส่ งผ่านตัวแปร Z ตัวอย่างเช่น เจคติต่อวิชาคณิ ตศาสตร์ (X) มีอิทธิ พลทางตรงต่อความสามารถในการ
แก้ไขปั ญหาทางคณิ ตศาสตร์ (Y) นอกจากนั้นยังอิทธิ พลทางอ้อมต่อความสามารถในการแก้ไขปั ญหาทาง
คณิ ตศาสตร์ โดยผ่านแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ทางการคณิ ตศาสตร์ (Z)
                                                                                  ั
              4.ความสั มพันธ์ แบบมีตัวกด คือ ความสัมพันธ์ท่ีตวแปรมีความสัมพันธ์กบตัวแปรเหตุไม่มี
                                                              ั
                ั
ความสัมพันธ์กบตัวแปรผล


                  Z



                 X                                 Y

                                                    ั                             ั
         จากภาพ แสดงว่าตัวแปร Z มีความสัมพันธ์กบตัวแปร X แต่ไม่มีความสัมพันธ์กบตัวแปร Y
ตัวอย่างเช่น ความสัมพันธ์ทางด้านภาษาไทย (Z) เป็ นตัวแปรที่ส่งผลต่อความสามารถในการแก้ไขปั ญหาทาง
คณิ ตศาสตร์ (X) และความสามารถในการแก้ไขปั ญหาทางคณิ ตสาสตร์ ส่ งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางคณิ ตศาสตร์ (Y)
              5. ความสั มพันธ์ เชิ งเหตุและผลย้ อนกลับ (Reciprocal Causal Relationship) คือ
ความสัมพันธ์ของตัวแปร2 ตัวที่ต่างก็มีอิทธิ พลซึ่ งกันและกัน


                                X                      Y



                                                                                                11
จากภาพ แสดงว่า ตัวแปร X และตัวแปร Y ต่างมีอิทธิ พลต่อกัน แสดงทิศทางอิทธิ พลด้วยลูกศรจาก
ตัวแปร X ไปตัวแปร Y และจากตัวแปร Y ไปตัวแปร X ตัวอย่างเช่น รู ปแบบการสอนของครู (X) ส่ งผลต่อ
การจัดการเรี ยนการสอน (Y) ส่ งผลต่อรู ปแบบการสอนของครู (X)

โมเดลเชิ งสาเหตุ : การสร้ างและการวิเคราะห์
       ในที่น้ ีขอยกตัวอย่างโมเดลเชิ งสาเหตุข้ ึนพื้นฐาน สาหรับ 2, 3 และ 4 ตัวแปรเพื่อเป็ นการศึกษา
ลักษณะของโมเดลสมการโครงสร้างและการคานวณสัมประสิ ทธิ์ เส้นทาง
       1 โมเดลเชิงสาเหตุของ 2 ตัวแปร
                 1) โมเดล :
                                         P21                        R2
                         X1                                X2



                         ภาพที่ 9.3 โมเดลเชิงสาเหตุของ 2 ตัวแปร

        ตัวแปร X1 ถือว่าเป็ นตัวแปรสาเหตุ (ตัวแปรอิสระ) เพียงตัวเดียวของการเกิดผล X2 (ตัวแปรตาม)
สาหรับ R2 ถือเป็ นส่ วนที่เหลือ (Residual) หรื อตัวแปรอื่น ๆ ที่มิได้นามาศึกษาในสมการ (Unmeasured
Variables)
               2) สมการโครงสร้าง :
                         สมการในรู ปคะแนนดิบ                X2 = a + bX1 + e2
                         สมการในรู ปคะแนนมาตรฐาน Z2 = P21 Z1 + e2
                                                    หรื อ Z2 = P21 Z1 + P22 R2
               เมื่อ P21 = สัมประสิ ทธิ์ เส้นทางจากตัวแปรอิสระ X1 ไปยังตัวแปรตาม X2
                                  ซึ่งบอกขนาดของผลการเปลี่ยนแปลงในตัวแปรตาม X2 อันเนื่อง
                                  มาจากการเปลี่ยนแปลงไป 1 หน่วยของตัวแปรอิสระ X1
                     P22 = สัมประสิ ทธิ์ เส้นทางจากตัวแปรอิสระอื่น ๆ (R2 ) ที่มิได้นามาศึกษาที่
                                  ส่ งผลต่อตัวแปรตาม X2
               3) การคานวณสัมประสิ ทธิ์ เส้นทาง
                         สัมประสิ ทธิ์ เส้นทางสาหรับโมเดลที่สร้างขึ้นมาสามารถคานวณได้ จากการแยก
ส่ วนความสัมพันธ์ (Decomposition of Correlations) ระหว่างตัวแปรในโมเดลดังนี้



                                                                                                      12
จาก                   r        
                                                                  1
                                                                           Z 1Z 2
                                                        12
                                                                 N


                                                        1
                                                
                                                     N
                                                                Z 1 ( P21 Z 1  e 2 )



                                                                               
                                                                        2
                                                                 (Z1)                   ( Z 1 )( e 2 )
                                                 P21                       
                                                                 N                        N




                          
                                      2
                              Z1
        เนื่องจาก                              เป็ นความแปรปรวนของคะแนนมาตรฐานจึงมีค่าเป็ น 1
                              N




        สาหรับ           ( Z 1 )( e 2 )
                                                เป็ นความแปรปรวนร่ วมระหว่างตัวแปร X1 กับ e2 ตามข้อตกลง
                              N
เบื้องต้นมีค่าเป็ น 0
                     r12 =         P21 หรื อ ß 21
          ดังนั้น ในโมเดลที่ตวแปรตามเป็ นผลเนื่ องมาจากตัวแปรอิสระเพียง 1 ตัว และตัวแปรส่ วนที่เหลือ R
                               ั
อีก 1 ตัว ค่าสัมประสิ ทธิ์ เส้นทางจะมีคาเท่ากับสัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์อย่างง่ายระหว่างตัวแปรนั้น ๆ
                                       ่
          ในทานองเดียวกัน จะได้ r22 = P22 = ß 22
          สมมุติวา P21 = 0.6 แสดงว่า X1 สามารถอธิบายการผันแปรของ X2 ได้ [ (.6)2 x 100]
                   ่
 เท่ากับ 36%
          ส่ วน P  1  ( r )  1  0 . 36  0 . 8
                 22                   12
                                           2
                                                                แสดงว่า R2 สามารถอธิบายการผันแปรของ
                   2
X2 ได้ [1-( r12 ) ) x 100] เท่ากับ 64%
2. โมเดลเชิงสาเหตุของ 3 ตัวแปร
          กรณี ที่ 1
          1) โมเดล (A) : ความเป็ นสาเหตุเกิดจากตัวแปรภายในที่เป็ นอิสระจากกัน

                                               P31                                                  R3
                              1

                                                                                   3


                                 2

                                     P32
                                 ภาพที่ 9.4 โมเดลเชิงสาเหตุของ 3 ตัวแปร (A)
        ตัวแปรอิสระ X1 และ X2 ต่างเป็ นตัวแปรที่เป็ นอิสระต่อกันหรื อไม่ข้ ึนต่อกัน (Independent causes)
และถือว่าเป็ นสาเหตุร่วมกันของการเกิดผล X3 (ตัวแปรตาม) สาหรับ R3 ถือเป็ นตัวแปรอิสระอื่น ๆ ภายนอกที่


                                                                                                         13
ไม่ได้นามาศึกษา (Residual) ทั้ง X1 และ X2 จึงถือว่าเป็ นตัวแปรอิสระในโมเดล ซึ่งความผันแปรของมันถูก
                        ่
อธิ บายโดยตัวแปรที่อยูนอกโมเดล (Exogenous Vauiables) ดังนั้นการแปรผันของ X1 และ X2
                                                      ่
อันเนื่องมาจากการกาหนดของตัวแปรภายนอกจึงไม่อยูในเป้ าหมายของการศึกษา ส่ วน X3 เป็ นตัวแปรตาม
                                                        ่
ในโมเดล ซึ่ งความผันแปรของมันถูกอธิ บายโดยตัวแปรที่อยูในโมเดล (Endogenous Variable) คือ X1 และ X2
         2) สมการโครงสร้าง
                  Z.3 = P31 Z1 + P32 Z2 + e3
         เมื่อ P31 = สัมประสิ ทธิ์ เส้นทางจากตัวแปรอิสระ X1 ไปยังตัวแปรตาม X3 ซึ่งบอกขนาดของผล
การเปลี่ยนแปลงในตัวแปรตาม X3 อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงไป 1 หน่วยของตัวแปรอิสระ X1
                  P32 = สัมประสิ ทธิ์ เส้นทางจากตัวแปรอิสระ X2 ไปยังตัวแปรตาม X3
         3) การคานวณสัมประสิ ทธิ์ เส้นทาง
              สัมประสิ ทธิ์ เส้นทางสาหรับโมเดลนี้สามารถคานวณได้จากการแยกส่ วนความสัมพันธ์ระหว่าง
ตัวแปรในโมเดล ดังนี้
             เพราะว่า                          1
                                                    Z Z         r   13
                                                                                        N
                                                                                                       1   3




                                                                                        1
                                                                              
                                                                                     N
                                                                                                   Z 1 ( P31 Z 1  P32 Z 2  e 3 )


                                                                                                                                       
                                                                                                            2
                                                                                                    (Z1)                    Z 1Z 2           ( Z 1 )( e 3 )
                                                                           P31                                  P32                
                                                                                                    N                       N                  N




       เพราะฉะนั้น r   13
                                          P 31          หรื อ                31


       ทานองเดียวกัน r          23
                                           P 32         หรื อ                    32

                                                                               k

       แต่เนื่ องจาก        R
                                2
                                    Y . X 1 X 2 X 3 ... Xk                            r y.xp     p
                                                                              p 1


         เพราะฉะนั้น R      r    r
                                    2
                                        3 . 12
                                                        2
                                                            13
                                                                               2
                                                                                   23



               ่
         สมมติวา P  0.5 , P  0.4 แสดงว่าตัวแปรอิสระ X1 และ X2 สามารถร่ วมกันอธิ บายการ
                       31                          32


ผันแปรของตัวแปรตาม X3 ได้  0 . 5    0 . 4   100 เท่ากับ 41% ส่ วน P  1 - (R )
                                                                          2                     2
                                                                                                                                                              32                3.12
                                                                                                                                                                                       2




 P  1 - 0.41  0.77
 32
                       แสดงว่า R3 สามารถอธิบายการผันแปรของ X3 ได้ [( 1  R )  100 ]                                                                               2
                                                                                                                                                                       3 . 12



เท่ากับ 59%




                                                                                                                                                                                       14
กรณี ที่ 2
          1) โมเดล (B) : ความเป็ นสาเหตุเกิดจากตัวแปรภายในที่ส่งผลต่อกัน




ภาพที่ 9.5 โมเดลเชิงสาเหตุของ 3 ตัวแปร (B)

       ตัวแปร X3 เป็ นผลเนื่องมาจากตัวแปร X1 และ X2 ซึ่ งไม่เป็ นอิสระจากกันโดยตัวแปร X2
ถูกกาหนดโดยตัวแปรอิสระ X1 (Mediatd cause) ความผันแปรของ X1 ไม่ได้ถูกกาหนดโดยตัวแปรใดเลย
ในโมเดลตัวแปร X1 จะเป็ น Exogenous Variable ส่ วนตัวแปร X2 และ X3 ความผันแปรของมันถูก
กาหนดโดยตัวแปรในโมเดล ทั้ง X2 และ X3 (Endogenous Variable)
       2) สมการโครงสร้าง
                    Z 2  P 21 Z 1  e 2

                    Z 3  P 31 Z 1  P 32 Z 2  e 3
            เมื่อ   P31   31   2


                    P32   32.1




                                                                                     15
3) การคานวณสัมประสิ ทธิ์ เส้นทาง
          สัมประสิ ทธิ์ เส้นทางสาหรับโมเดลนี้สามารถคานวณได้จากการแยกส่ วนความสัมพันธ์ระหว่าง
ตัวแปรในโมเดล ดังนี้
                                 1
                         r12 
                                 N
                                        Z 1Z 2    P 21




         ่
สมมติวา P21=0.6 ,P32=0.4 แสดงว่าตัวแปรอิสระ X1และX2สามารถร่ วมกันอธิ บายการผันแปรของตัวแปรตาม
X3ได้ [(0.5)2+(0.4)2+2(0.5)(0.4)(0.6)]เท่ากับ0.65หรื อ 65% ส่ วนR3สามารถอธิบายความผันแปรของ X3ได้35%




                                                                                                 16
กรณี ที่ 3
                                                                         ั
             1) โมเดล (C ): ความเป็ นสาเหตุเกิดจากตัวแปรภายในที่สัมพันธ์กน




ภาพที่ 9.6 โมเดลเชิงสาเหตุของ 3 ตัวแปร (C)

        ตัวแปรอิสระ X1 และ X2 ถือว่าเป็ นสาเหตุร่วมกันของการเกิดผล X3 (ตัวแปรตาม) โดยตัวแปร
                              ั
X1 และ X2 มีความสัมพันธ์กน ซึ่ งไม่มีกาหนดทิศทางของสาเหตุ (Correlated Causes) ทั้ง X1 และ X2 ต่าง
เป็ น Exogenous Variable ส่ วน X3 เป็ น Exogenous Variable สัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ระหว่าง X1 และ X1
และ X2 เสมือนเป็ นค่าที่ถูกกาหนดขึ้นมาจากตัวแปรภายนอก จึงไม่สามารถแยกส่ วนความสัมพันธ์เป็ น
องค์ประกอบย่อยได้
        2) สมการโครงสร้าง
             Z.3 = P31 Z1 + P32 Z2 + e3
            เมื่อ P31 = สัมประสิ ทธิ์ เส้นทางจากตัวแปรอิสระ X1 ไปยังตัวแปรตาม
                   P32 = สัมประสิ ทธิ์ เส้นทางจากตัวแปรอิสระ X2 ไปยังตัวแปรตาม X3
        3) การคานวณสัมประสิ ทธิ์ เส้นทาง
                            1
                 r12 
                            N
                                        Z 1Z 2

                            1
                 r13 
                            N
                                        Z 1Z 3

                        1
                  
                        N
                                   Z 1 ( P31 Z 1  P32 Z 2  e 3 )



                                                                       ( Z 1 ) e 3 
                                     2
                                Z1                    Z1 Z 2
                 P 31                    P 32                 
                                N                      N                    N


                  P31                                P32 r12         =     …………………….(3)

                   Direct Effect)                     (Unanalyzed Component)

                                                                                                 17
1
              r23 
                           N
                                   Z 1Z 3

                           1
                  
                           N
                                   Z 2 ( P31 Z 1  P32 Z 2  e 3 )



                                                                        ( Z 2 ) e 3 
                                                            2
                                     Z1 Z 2                Z2
                   P 31                       P 32            
                                     N                  N                    N


                      P31 r12                      = …………………….(4)
                                                         P            32




(Unanalyzed Component)                       (Direct Effect)



     ทั้ง r และ r ประกอบด้วย 2 ส่ วน ได้แก่
         13           23


    1) ผลทางตรงและ
    2) ผลอันเนื่ องมาจากสาเหตุร่วมที่มีความสัมพันธ์กนเนื่องไม่ทราบทิศทางของความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ
                                                      ั
          จึงเป็ นส่ วนที่ไม่สามารถวิเคราะห์และแปลความหมายได้
          จาก(3) และ (4) เราสามารถแก้สมการหาค่าของ P และ P ได้                    31        32


          จากโมเดลความสัมพันธ์สาเหตุ(A) , (B) และ (C) พอสรุ ปได้วา สัมประสิ ทธิ์ สหพันธ์ระหว่างตัว
                                                                   ่
          แปรอิสระและตัวแปรตามคู่ใดคู่หนึ่ง สามารถแยกแยะลักษณะความพันธ์ออกเป็ นส่ วนย่อย ได้แก่

           1. ผลทางตรง (Direct Effect หรื อ DE) เป็ นความสัมพันธ์โดยตรงระหว่างตัวแปร
           2. ผลทางอ้อม (Indirect Effect หรื อ IE ) เป็ นความสัมพันธ์ทางอ้อมระห่างตัวแปร
           3. ผลที่ไม่สามารถนามาวิเคราะห์ (Unanalyzed Component หรื อU) อันเนื่องมาจากเป็ นสาเหตุร่วม
                                 ั
              ที่มีความสัมพันธ์กน (Correlated Causes)
           4. ผลลวงที่เกิดขึ้น (Spurious Component หรื อ S) เป็ นความสัมพันธ์ลวง อันเนื่องมาจากสาเหตุ
              ร่ วมกัน (Common Carses)
              ผลรวมของ DE กับ IE เรี ยกว่า Total Effect หรื อ Effect Coefficient ซึ่งแสดงถึงผลในเชิง
สาเหตุท้ งหมด ส่ วนผลรวมของ U และ S เป็ นส่ วนของความสัมพันธ์ที่ไม่ใช่ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ
         ั




                                                                                                  18
3 โมเดลเชิงสาเหตุของ 4 ตัวแปร
       1) โมเดล




                                19
ตัวอย่าง โมเดลเชิงสาเหตุแบบ 4 ตัวแปร โมเดลโครงสร้างแบบเต็มรู ป (Full Model or Just – Identified Model)
สมมุติให้ X1 = SES                =      สถานภาพาทางเศรษฐกิจและสังคม
            X2 = IQ               =      คะแนนสถิติปัญญา
            X3 = ACH              =      ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
            X4 = GPA              =      คะแนนสถิติปัญญา
            Z4 = P41 Z1 + P42 Z2 + P43 Z3 + e4
           Z3 = P31 Z1 + P32 Z2 + e4




        หมายเหตุ         ตัวเลขหน้าวงเล็บแสดงสัมประสิ ทธิ์ เส้นทาง
                         ตัวเลขในวงเล็บแสดงความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน

        จากการคานวณค่าสัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ที่ได้จากโมเดลเชิงสาเหตุ (Reproduced Correlation)
แบบเต็มรู ป ตามสมการ (5) , (6) , (7), (8) และ (9) ซึ่ งจะได้เท่ากับค่าสัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ที่ได้จากข้อมูล
เชิงประจักษ์ (Observed Correlation)
        ตัวอย่าง โมเดลเชิงสาเหตุแบบ 4 ตัวแปร : โมเดลโครงสร้างแบบไม่เต็มรู ป(Overidentified Model)
        จากตัวอย่างโมเดลโครงสร้างแบบเต็มรู ป พบว่าผลทางตรงของ SES ต่อ GPA และผลทางตรงของ
IQ ต่อ ACH มีขนาดเล็กมากเมื่อพิจารณาทั้งในทางสถิติ (Statistic) และทางปฏิบติ (Practicality) จึงอาจลบ
                                                                                    ั
เส้นทางทั้งสองออกจากโมเดลเชิงสาเหตุ โดยตั้งสมมุติฐานว่าผลตามเส้นทางทั้งสองมีค่าเป็ น 0 เมื่อปรับปรุ ง
โมเดลเชิงสาเหตุใหม่ตามสมมุติฐานด้วยการลบเส้นทางทั้งสองออก จะได้โมเดลตามสมมุติฐาน หรื อโมเดล

                                                                                                         20
โครงสร้างแบบไม่เต็มรู ป (Overidentified Model) ซึ่ งเป็ นโมเดลที่มีการลบบางเส้นทางออกจากโมเดลเต็มรู ป หรื อ
เป็ นการกาหนดให้บางเส้นทางมีผลเป็ น 0 นันเอง เมื่อคานวณค่าสัมประสิ ทธิ์ เส้นทางจะปรากฏผลดังรู ปข้างล่าง
                                         ่
          Z4 = P41 Z1 + P43 Z3 + e4
          Z3 = P31 Z1 + e3




เ
มื่อคานวณค่าสัมประสิ ทธิ์สหสัมพันธ์ที่ได้จากโมเดลปรากฏผล ดังนี้
            r13 = P31        =         .41
          r23 = P31 r12 = .123
          r14 = P42 r12 + P43 r13 = .323
          r24 = P42 + P43 r13 = .555
         r14 = P42 r23 + P43           = .482
                  ตารางที่ 9.1 สัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ที่ได้จากโมเดล (ค่าที่อยูได้เส้นทแยงมุม) กับ สัมประสิ ทธิ์
                                                                                ่
สหสัมพันธ์ที่ได้จากข้อมูล (ค่าที่อยูเ่ หนือเส้นทแยงมุม)

         ตัวแปร                     1                 2                  3                 4
                                    SES               IQ                 ACH               GPA
         1 SES                      1.000             .300               .410              .330
         2 IQ                       .300              1.000              .160              .570
         3 ACH                      .410              .123               1.000             .500
         4 GPA                      .323              .555               .482              1.000

                                                                      ่
       เราสามารถทาการทดสอบสมมุติฐานศูนย์ (Null Hypothesis, H0 ) ที่วาโมเดลสอดคล้องกับข้อมูลเชิง
ประจักษ์โดยการใช้ X2 - test ระหว่างสัมประสิ ทธิ์สหสัมพันธ์ที่คานวณได้จากโมเดล (Reproduced Correlation)


                                                                                                               21
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1Utai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการsawed kodnara
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง0804900158
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการSukanya Maneechot
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์Watcharin Chongkonsatit
 
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 
Six building blocks pdf 19 มิถุนายน 2557
Six building blocks   pdf 19 มิถุนายน 2557Six building blocks   pdf 19 มิถุนายน 2557
Six building blocks pdf 19 มิถุนายน 2557Kamol Khositrangsikun
 
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชมการศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชมNarubordinPremsri
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยการอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยThana Chirapiwat
 
4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสาร4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสารNitinop Tongwassanasong
 
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรการตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรDuangdenSandee
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 
ระเบียบวิธีวิจัย.ppt
ระเบียบวิธีวิจัย.pptระเบียบวิธีวิจัย.ppt
ระเบียบวิธีวิจัย.pptAey Usanee
 
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงานWijitta DevilTeacher
 
4. กลวิธี star
4. กลวิธี star4. กลวิธี star
4. กลวิธี starkrurutsamee
 
แอลดี1
แอลดี1แอลดี1
แอลดี1Pa'rig Prig
 

Was ist angesagt? (20)

ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
 
5 behavior theory 15092558 (1)
5 behavior theory 15092558 (1)5 behavior theory 15092558 (1)
5 behavior theory 15092558 (1)
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์
 
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Six building blocks pdf 19 มิถุนายน 2557
Six building blocks   pdf 19 มิถุนายน 2557Six building blocks   pdf 19 มิถุนายน 2557
Six building blocks pdf 19 มิถุนายน 2557
 
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชมการศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
 
56 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่1_การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์
56 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่1_การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์56 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่1_การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์
56 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่1_การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัย
 
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยการอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
 
4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสาร4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสาร
 
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรการตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
ระเบียบวิธีวิจัย.ppt
ระเบียบวิธีวิจัย.pptระเบียบวิธีวิจัย.ppt
ระเบียบวิธีวิจัย.ppt
 
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
 
4. กลวิธี star
4. กลวิธี star4. กลวิธี star
4. กลวิธี star
 
แอลดี1
แอลดี1แอลดี1
แอลดี1
 

Ähnlich wie 1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2kanwan0429
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2kanwan0429
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างอรุณศรี
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์พิทักษ์ ทวี
 
ขอบข่ายและประเภทโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทโครงงานขอบข่ายและประเภทโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทโครงงานPennapa Boopphacharoensok
 
9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691CUPress
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592CUPress
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำsliderubtumproject.com
 

Ähnlich wie 1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis (20)

Week 7 conceptual_framework
Week 7 conceptual_frameworkWeek 7 conceptual_framework
Week 7 conceptual_framework
 
ppt
pptppt
ppt
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
06
0606
06
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่าง
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
 
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
 
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
ขอบข่ายและประเภทโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทโครงงานขอบข่ายและประเภทโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทโครงงาน
 
9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 

1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis

  • 1. โดย พระครู ปริ ยติสุวรรณรังสี อวยพร ออละมาลี รุ่ งทิวา ปุณะตุง สุ ธินี เคนไชยวงศ์ ทนงศักดิ์ ใจสบาย ั การวิเคราะห์ เส้ นทางความสั มพันธ์ เชิ งสาเหตุระหว่างตัวแปร (Path Analysis) บทนา การศึกษาปั จจัยที่เป็ นสาเหตุของเหตุการณ์หรื อปรากฏการณ์ เป็ นสิ่ งที่นกวิจยให้ความสนใจ ั ั เสมอมา ในการศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างตัวแปรทางสังคมศาสตร์ ค่อนข้างมีความสลับซับซ้อน ั ่ เนื่องจากมีตวแปรแทรกซ้อนอยูจานวนมาก นักวิจยจึงจาเป็ นต้องมีกรอบแนวคิดทางทฤษฎีของความเป็ น ั สาเหตุ มีการออกแบบการวิจยและใช้เทคนิคการวิเคราะห์ที่เหมาะสม จึงจะช่วยให้สามารถทดสอบความเป็ น ั สาเหตุระหว่างตัวแปรตามสามมุติฐานได้ คาถามในทานอง “ทาไมเรื่ อง (สิ่ ง/เหตุการณ์/)นั้นจึงเกิดขึ้น?” เป็ นคาถามที่แฝงความต้องการคาตอบในลักษณะของ “ความเป็ นสาเหตุของเรื่ อง (สิ่ ง/เหตุการณ์/)นั้น” การ แสวงหาสาเหตุของสิ่ งต่าง ๆ เป็ นเรื่ องที่อยูในใจของมนุษย์ตลอดมา คาว่า “สาเหตุ” เป็ นคาที่สาคัญ แต่ก็เป็ น ่ คาที่สร้างปั ญหาให้นกปรัชญาและนักวิจยได้ขบคิดและโต้แย้งกันมาเป็ นเวลานานจนถึงปั จจุบน อย่างไรก็ ั ั ั ตาม นักวิจยคงปฏิเสธไม่ได้วา ความคิดเกี่ยวกับความเป็ นสาเหตุมีบทบาทสาคัญต่อเป้ าหมายของการวิจย ั ่ ั เสมอมา เช่น นักวิจยทางพฤติกรรมศาสตร์ ที่มีความสนใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมต่าง ๆ ของ ั มนุษย์ เป็ นต้น การแสวงหาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างตัวแปรในการวิจยใดก็ตาม ทฤษฎี (Theory) ที่ ั เกี่ยวข้องกับเรื่ องที่สนใจศึกษาจัดว่าเป็ นแหล่งแนวคิด / ความรู ้ ที่สาคัญในการเสนอคาอธิ บายเชิงสาเหตุ ระหว่างตัวแปร รวมทั้งลาดับขั้นการเกิด และลักษณะความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ระหว่างตัวแปร ทฤษฎีจึงมี บทบาทสาคัญที่ช่วยเป็ นพื้นฐานในการเชื่ อมโยงความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างตัวแปรเพื่อสร้างโมเดลเชิง สาเหตุ (Causal Models) ซึ่ งแสดงรู ปแบบของกลไกความเกี่ยวข้องสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างตัวแปร หรื อ ให้แนวคิดในการปรับเปลี่ยนโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในโมเดลเชิงสาเหตุ ผูวจยอาจจะต้อง ้ิั อาศัยวิธีการวิเคราะห์ดวยหลักเหตุผล (Logical Analysis) หรื อ อาจทาการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงประจักษ์ ้ แล้วนามาทาการวิเคราะห์ทางสถิติ เพื่อช่วยตรวจสอบ ยืนยันความเหมาะสมของโมเดลหรื อปฏิเสธโมเดล การวิเคราะห์ขอมูลเชิงประจักษ์เป็ นวิธีการอย่างหนึ่ง ในการหาหลักฐานเพื่อตอบคาถามว่าโมเดลเชิง ้ สาเหตุที่ผวจยพัฒนาขึ้นมา มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิ งประจักษ์หรื อไม่ ถ้าโมเดลไม่สอดคล้องกับข้อมูล ู้ ิ ั ผูวจยอาจมุ่งความสงสัยไปยังทฤษฎีที่นามาใช้เป็ นพื้นฐานในการสร้างโมเดลว่ามีความเหมาะสมเพียงใด ้ิั หรื อ อาจสงสัยเกี่ยวกับความเหมาะสมของการออกแบบการวิจย และการดาเนินการวิจย แต่ถาพบว่าโมเดลมี ั ั ้ ความสอดคล้องกับข้อมูล สิ่ งนี้มิใช่หลักฐานของการพิสูจน์ทฤษฎีหรื อโมเดล แต่แสดงว่ายังไม่มีหลักฐาน ที่มาปฏิเสธทฤษฎีหรื อโมเดล หรื อกล่าวอีกนัยหนึ่งว่าหลักฐานที่ได้สนับสนุนความเป็ นไปได้ของทฤษฎีและ โมเดลเชิงสาเหตุ วิธีการวิเคราะห์ทางสถิติที่จะช่วยยืนยันหรื อปฏิเสธโมเดลเชิงสาเหตุท่ีผวจยพัฒนาขึ้นมามี ู้ ิ ั
  • 2. ่ อยูหลายวิธี วิธีท่ีนิยมกันและเป็ นที่ยอมรับทัวไป ได้แก่ การวิเคราะห์เส้นทางความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่าง ่ ตัวแปร (Path Analysis) และการวิเคราะห์โครงสร้างความสัมพันธ์ เชิงสาเหตุระหว่างตัวแปร (Structural Equation Modeling SEM หรื อ LISREL) แต่ในที่น้ ี จะขอกล่าวถึงเฉพาะ Path Analysis เท่านั้น เพื่อใช้เป็ น พื้นฐานของการวิเคราะห์พหุ ระดับเชิงสาเหตุต่อไป ความหมายของการวิเคราะห์ เส้ นทาง ไรท์ (Wright, 1934 : 193) ได้ให้ความหมายของเทคนิควิธี Path Analysis ว่าเป็ นวิธีการผสมผสาน ั ข้อมูลเชิงปริ มาณซึ่ งสามารถวัดได้จากค่าสหสัมพันธ์กบข้อมูลเชิงคุณภาพ ซึ่ งได้จากความรู ้ตามทฤษฎีเชิง สาเหตุและผลเพื่อการอธิบายในเชิงสถิติ คิมและโคเอาท์ (Kim and Kohout, 1975 : 6) ให้ความหมายว่า เป็ นวิธีการแยกส่ วนและตีความ สัมพันธ์เชิงเส้นตรงระหว่างตัวแปรกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง โดยกาหนดว่าความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรจะต้องเป็ น ความสัมพันธ์เชิงเหตุผล และเป็ นความสัมพันธ์แบบปิ ด (closed system) เพดเฮาเซอร์ (Pedhauzer, 1982 : 580) กล่าวว่า เป็ นวิธีการศึกษาผลทางตรงและผลทางอ้อมของตัว ั ่ แปรต่าง ๆ ที่ต้ งสมมติฐานไว้วาเป็ นสาเหตุของผลนั้นแต่วธีการนี้มิใช่วธีการในการค้นหาสาเหตุหากเป็ น ิ ิ วิธีการหนึ่งของการสร้างแบบจาลองเชิงสาเหตุและผล โดยที่นกวิจยอาศัยพื้นความรู ้และข้อกาหนดตาม ั ั ่ ทฤษฎีที่มีอยูในการดาเนิ นการ แผนภาพเส้นทาง (Path Diagram) เป็ นแผนภาพที่เสนอแนวคิดในเรื่ อง ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร โดย ให้ตวแปรอิสระตัวหนึ่งมีโอกาสเป็ นตัวแปรตามอีกตัวแปรอื่นได้บาง (วิยะดา ตันวัฒนากูล, 2548, 101) ั ้ การวิเคราะห์เส้นทาง เป็ นวิธีที่มีพ้ืนฐานทางสถิติมาจากการวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) โดยอาศัยแผนภาพและสมการโครงสร้างของแผนภาพเป็ นหลักในการนามาวิเคราะห์ และอธิบาย ความสัมพันธ์ของตัวแปลผลทั้งในด้านขนาดและทิศทาง นอกจากนี้ยงสามารถอธิ บายความสัมพันธ์ทางตรง ั และทางอ้อม (สาราญ มีแจ้ง, 2544,63) จินตนา ธนวิบูลชัย (2537: 13) กล่าวว่า เทคนิคการวิเคราะห์เส้นทาง เป็ นวิธีการวิเคราะห์ทางสถิติที่ อาศัยการประยุกต์วธีการวิเคราะห์การถดถอย มาอธิ บายความสัมพันธ์ของตัวแปรอิสระหลาย ๆ ตัวที่มีต่อตัว ิ แปรตาม ทั้งที่เป็ นความสัมพันธ์เชิงทางตรงและทางอ้อม ตลอดจนอธิบายทิศทางและปริ มาณความสัมพันธ์ ของตัวแปรต่าง ๆ โดยมีลูกศรชี้ให้เห็นแบบจาลองของสัมพันธ์ได้ การอธิ บายความสัมพันธ์น้ ีอาศัยความรู ้ใน ปรากฏการณ์และพื้นฐานความรู ้ตามทฤษฎีที่อธิ บายเชิงเหตุและผลเป็ นสาคัญ อ้างใน จินตนา ธนวิบูลย์ชย(2537) เทคนิค Path Analysis ได้รับการพัฒนาขึ้นโดย ซี วอล ไรท์ ั (Sewall Wright) เมื่อ ค.ศ. 1934 ในสาขาวิชาชีววิทยา ต่อมาใน ค.ศ. 1960 จึงได้มีการนาเอามาใช้ในการวิจย ั ทางสังคมศาสตร์ ผูที่ได้พยายามนาเทคนิคนี้มาใช้และปรับปรุ งเทคนิควิธีการนี้ในทางสังคมศาสตร์ ได้แก่ ้ บลาลอค(Blalock) บาวดอน (Boudon) ดันแคน (Duncan) แลนด์ (Land) และ ไฮส์ (Heise) 2
  • 3. ชัยวัฒน์ รุ่ งเรื องศรี (2527 : 156) อธิ บายว่าเป็ นระเบียบวิธีวเิ คราะห์อย่างหนึ่งที่อาศัยความรู ้ทางสถิติ และพีชคณิ ตเข้ามาประกอบกัน เพื่อพยายามอธิ บายความสัมพันธ์ของตัวแปร หรื อองค์ประกอบของ พฤติกรรมทางสังคม องค์ประกอบเหล่านี้กาหนดขึ้นจากความรู ้ทางทฤษฎีท่ีสนับสนุนว่าพฤติกรรมนั้น ๆ มีเหตุเกี่ยวเนื่ องกันเป็ นความสัมพันธ์ที่เป็ นเหตุผลสื บต่อกันในทิศทางเดียวกัน โดยสังเกตได้จากรู ปลูกศร สุ ชาติ ประสิ ทธิ์ รัฐสิ นธุ์ (2537: 29) กล่าวว่า การวิเคราะห์เส้นทางเป็ นเทคนิคที่ผวจยต้องการศึกษา ู้ ิ ั ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเหตุและตัวแปรผล โดยเปิ ดโอกาสให้ตวแปรเหตุแต่ละตัวมีผลเชิงสาเหตุ ั ทางตรงและ/หรื อทางอ้อมต่อตัวแปรผล ตามกรอบแนวคิดที่ผวิจยเขียนขึ้นเป็ นแผนภาพเส้นทาง (path ู้ ั diagram) หรื อตามสมการโครงสร้าง (structural equation) โดยมักจะใช้แผนภาพและสมการโครงสร้างไป พร้อม ๆ กัน นงลักษณ์ วิรัชชัย (2542: 40) กล่าวว่า การวิเคราะห์เส้นทาง เป็ นวิธีการประยุกต์การวิเคราะห์การ ถดถอยพหุ คูณ เพื่อหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลและผลระหว่างตัวแปรเชิงปริ มาณตามพื้นความรู้ทางทฤษฎี ให้ทราบว่าตัวแปรซึ่ งเป็ นเหตุมีอิทธิ พลต่อตัวแปรซึ่ งเป็ นผลในลักษณะใด อิทธิ พลแต่ละประเภทมีปริ มาณ และทิศทางอย่างไร ่ เพื่อวิเคราะห์ตรวจสอบทฤษฎีวารู ปแบบความสัมพันธ์เชิงเหตุผลและผลจาก ปรากฏการณ์จริ งสอดคล้องหรื อขัดแย้งกับความสัมพันธ์ตามทฤษฎี สาราญ มีแจ้ง (2544 : 65) กล่าวว่า การวิเคราะห์เส้นทาง เป็ นเทคนิคทางสถิติที่อาศัยการประยุกต์ การวิเคราะห์การถดถอยพหุ คูณ โดยศึกษาขนาดและทิศทางของความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเหตุท่ีมีผลต่อ ตัวแปรตามทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่ งความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลนี้ สามารถนามาเขียนอธิ บายได้ดวยรู ป ้ แบบจาลองโมเดลและสมการโครงสร้างตามรู ปแบบจาลองที่สร้างขึ้น สรุ ปความหมายของการวิเคราะห์ เส้ นทาง การวิเคราะห์เส้นทาง เป็ นเทคนิคทางสถิติที่อธิบายทิศทางและความสัมพันธ์เชิงเหตุผลตาม แบบจาลองที่ผวจยพัฒนาขึ้นมาจากหลักการ แนวคิดหรื อทฤษฎีเป็ นหลัก โดยผลของการศึกษาจะทาให้ ู้ ิ ั ทราบขนาดและทิศทางของผลทางตรง (direct effect) และผลทางอ้อม (indirect effect) ระหว่างตัวแปรคัด สรรที่เกิดขึ้นตามช่วงเวลา (chronological order) หรื อตามเหตุการณ์ (event) ที่เกิดขึ้นก่อนหลังในแบบจาลองนั้น ๆ วัตถุประสงค์ ของการวิเคราะห์ เส้ นทาง การวิเคราะห์เส้นทาง (Path analysis) เป็ นการศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปรในเชิงเหตุและผล เป็ นวิธีที่มีพ้ืนฐานทางสถิติมาจากการวิเคราะห์การถดถอย (Regression analysis) โดยอาศัยแผนภาพและ สมการโครงสร้างของแผนภาพเป็ นหลักในการนามาวิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ของตัวแปรเหตุที่มี ต่อตัวแปรผลทั้งในด้านขนาดและทิศทาง อีกทั้งยังสามารถอธิ บายความสัมพันธ์ได้ท้ งความสัมพันธ์ทางตรง ั และทางอ้อม ่ 1. เป็ นการศึกษาอิทธิ พลระหว่างตัวแปรต่าง ๆ เพื่อดูวามีอิทธิ พลทางตรงและอิทธิ พล ทางอ้อมของตัวแปรที่สันนิษฐานว่าเป็ นสาเหตุต่อตัวแปรที่เป็ นผลหรื อไม่ 3
  • 4. 2. สัมประสิ ทธิ์ เส้นทาง เป็ นค่าที่บ่งบอกถึงอิทธิ พลทางตรงของตัวแปรที่เป็ นสาเหตุ ที่ทาให้อีกตัวหนึ่งเปลี่ยนแปลงไป เพื่อหาความสัมพันธ์และพยากรณ์และศึกษาอิทธิพลเชิงสาเหตุ (Path Analysis) 3.การวิจยที่มุ่งแสวงหาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ (Causal Analysis) ั ข้ อตกลงเบืองต้ นของการวิเคราะห์ เส้ นทาง ้ ข้อตกลงเบื้องต้นของการวิเคราะห์เส้นทางความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างตัวแปร (Path Analysis) มีดงนี้ ั 1) ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในโมเดลเชิงสาเหตุเป็ นความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง (Linear) ,ความสัมพันธ์เชิงบวก (Additive) และเป็ นความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ (Causal) 2) ค่าความคลาดเคลื่อน (e) มีลกษณะดังนี้ ั 2.1) แจกแจงแบบปกติสาหรับทุกค่าของ X’s 2.2) มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 0 2.3) ความแปรปรวนคงที่ทุกค่าของ X’s 2.4) เป็ นอิสระจาก e อื่น ๆ และ X’s 3) ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุเป็ นไปในทิศทางเดียว (One-Way Causal Flow) ไม่มี ทิศทางย้อนกลับ 4) ตัวแปรตามวัดในระดับอันตรภาค (Interval Scale) หรื ออัตราส่ วน (Ratio Scale) 5) ไม่มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้นในการวัดค่าตัวแปรต้น (No Measurement Errors) 6) ตัวแปรแอบแฝง (Residual Variable) ในสมการถดถอยพหุ คูณแต่ละสมการต้องมี การกระจายแบบสุ่ ม ตัวแปรเหล่านี้ตองไม่มีความสัมพันธ์กนเองและไม่มีความสัมพันธ์กบตัวแปรเกณฑ์ของ ้ ั ั สมการนั้น ๆ ด้วย ความรู้ เบืองต้ นเกียวกับวิเคราะห์ อทธิพล หรือการวิเคราะห์ เส้ นทาง (Path Analysis: PA) ้ ่ ิ การวิเคราะห์อิทธิพลเชิงสาเหตุเป็ นเทคนิควิธีการทางสถิติที่ใช้ศึกษาอิทธิพลของตัวแปรสาเหตุหรื อ ตัวแปรทานายที่มีต่อตัวแปรตาม ทั้งอิทธิ พลทางตรง (direct effect) และอิทธิพลทางทางอ้อม (indirect effect) Sewall Wright(1934) ผูที่ได้รับยกย่องว่าเป็ นผูริเริ่ มพัฒนาเทคนิคนี้ กล่าวว่า เทคนิคการวิเคราะห์ ้ ้ อิทธิ พลเชิงสาเหตุน้ ีไม่ใช้เทคนิคที่ใช้คนหาว่าตัวแปรใดมีอิทธิ พลต่ออีกตัวแปรหนึ่ง แต่เป็ นการตรวจสอบ ้ อิทธิ พลเชิงสาเหตุของตัวแปรหนึ่งต่ออีกหนึ่งตามที่ผวจยศึกษาหรื อกาหนดขึ้นจากสมมุติฐานหรื อแนวคิด ู้ ิ ั ทฤษฏีหรื อการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องโดยมีเหตุผลอยูเ่ บื้องหลังว่า ตัวแปรอิสระนั้นๆเป็ นสาเหตุต่อตัวแปร ตามแล้วนาค่าสัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรมาวิเคราะห์ตามเทคนิคการวิเคราะห์อิทธิ พลเชิงสาเหตุ 4
  • 5. ผลที่ได้จากการวิเคราะห์จะเป็ นการทดสอบความตรง (validity) ของโครงสร้างหรื อรู ปแบบตามสมมุติบาน ่ นั้น และยังช่วยปรับปรุ งโครงสร้างหรื อรู ปแบบอีกด้วย ซึ่ งจะบอกได้วาจากหลักฐานข้อมูลที่ไปเก็บมานั้น ่ สามารถที่จะสนับสนุนทฤษฏีหรื อสมมุติฐานที่มีอยูหรื อไม่ การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis: เป็ นการศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปร ในเชิงสาเหตุและผลซึ่ง มีพ้ืนฐานมาจากการวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) โดยอาศัยแผนภาพและสมการโครงสร้าง ของแผนภาพที่ได้มาจากสมมุติฐานหรื อแนวคิด ทฤษฎีและผลการวิจยเป็ นหลัก ในการนามาวิเคราะห์และ ั อธิ บายความสัมพันธ์ของตัวแปรอิสระที่มีต่อตัวแปรตามทั้งในมิติของขนาดและมิติของทิศทาง สามารถ อธิ บายความสัมพันธ์ได้ท้ งทางตรงและทางอ้อม แล้วนาค่าสัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรมา ั วิเคราะห์ตามเทคนิคการวิเคราะห์เส้นทาง ผลที่ได้จากการวิเคราะห์เส้นทางจะเป็ นการทดสอบความตรง (Validity) ของโครงสร้างหรื อรู ปแบบตามสมมุติฐานนั้น ซึ่ งเป็ นการบ่งบอกว่าข้อมูลเชิงประจักษ์ (Empirical ่ Data) ที่ไปเก็บมานั้นสามารถที่จะสนับสนุนทฤษฎีหรื อสมมุติฐานที่มีอยูหรื อไม่ โดยมีหลักการของ สัมประสิ ทธิ์ เส้นทางคือ เมื่อนักวิจยเขียนแผนภาพหรื อโมเดลแสดงอิทธิ พลตามทฤษฎีและสมมุติฐานแล้ว ั สามารถแยกค่าความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในโมเดล (r) ออกเป็ นผลรวมของพารามิเตอร์ได้ตามทฤษฎี สัมประสิ ทธิ์ เส้นทาง โดยที่สัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสองตัวในโมเดลมีค่าเท่ากับผลบวกของ อิทธิพลทางตรง (Direct Effect : DE) อิทธิพลทางอ้อม (Indirect Effect: IE) ความสัมพันธ์เทียม (Spurious ่ Relationship : SR) และอิทธิ พลร่ วม (Joint Effect : JE) ที่ไม่สามารถแยกได้วาเป็ นอิทธิ พลแบบใด ดังสมการ ต่อไปนี้ (นงลักษณ์ วิรัชชัย.2542:188) r = DE + IE + SR + JE ในการวิเคราะห์เส้นทางผูวจยประมาณค่าอิทธิ พลทางตรงได้จากการประมาณค่าพารามิเตอร์ ใน ้ิั สมการถดถอยตามสมการโครงสร้างของรู ปแบบ แล้วนาค่าอิทธิ พลทางตรงนั้นมาประมาณค่าอิทธิ พล ทางอ้อม ส่ วนอิทธิ พลร่ วมและอิทธิ พลเทียมได้จากการหาผลคูณของอิทธิ พลทางตรงตามลูกศรในโมเดลแต่ ในการวิเคราะห์เส้นทางนั้นเพียงแต่ประมาณค่าสหสัมพันธ์จากอิทธิ พลทางตรงและอิทธิ พลทางอ้อมเท่านั้น ไม่รวมความสัมพันธ์เทียมและอิทธิ พล เพราะถ้าโมเดลแสดงอิทธิ พลมีความตรง (Validity) และ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเป็ นความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลจริ ง ค่าความสัมพันธ์เทียมและอิทธิ พลร่ วม ควรจะเป็ นศูนย์ (นงลักษณ์ วิรัชชัย .2542 : 190) ดังนั้นค่าสหสัมพันธ์จึงสามารถประมาณค่าจากผลบวกของ อิทธิ พลทางตรงและอิทธิ พลทางอ้อมเพียงสองส่ วนเท่านั้น ซึ่ งสามารถเขียนสมการใหม่ได้ ดังนี้ r = DE + IE ปั จจุบนการวิเคราะห์เส้นทางสามารถดาเนินการได้หลายวิธีตามที่นกวิจยคิดหรื อพัฒนาขึ้นแต่ละวิธี ั ั ั ที่นิยมในปัจจุบนมี 2 วิธีคือ การิ วเิ คราะห์เส้นทางแบบดั้งเดิม และการวิเคราะห์เส้นทางด้วยโปรแกรมลิสเรล ั โดยมีข้ นตอนหลักที่สาคัญอยู่ 3 ขั้นตอน คือ ั 1) การประมาณค่าพารามิเตอร์ ขนาดอิทธิ พล 2) การตรวจสอบทฤษฎีหรื อการตรวจสอบความตรง (Validity) ของโมเดล 3) การวิเคราะห์แยกค่าสหสัมพันธ์ ดังนี้ 5
  • 6. ขั้นตอนที่ 1 การประมาณค่ าพารามิเตอร์ ขนาดอิทธิพล วิธีการประมาณค่าอิทธิ พลในการวิเคราะห์เส้นทางแบบดั้งเดิมใช้การวิเคราะห์การถดถอยประมาณ ค่าขนาดอิทธิ พลทางตรงหรื อค่าสัมประสิ ทธิ์ เส้นทาง (Path Coefficient) ด้วยค่าสัมประสิ ทธิ์ การถดถอย มาตรฐาน (Standardized regression coefficient) ซึ่งเป็ นการประมาณค่าพารามิเตอร์ แบบวิธีกาลังสองน้อย ที่สุด (OLS) การวิเคราะห์การถดถอยจะวิเคราะห์ตามสมการโครงสร้างของโมเดลทีละสมการ ซึ่ งค่า สัมประสิ ทธิ์ ถดถอยมาตรฐานหรื อค่า Beta weight : ß ที่ได้จากสมการต่าง ๆ ก็คือค่าขนาดอิทธิ พลทางตรง ของตัวแปรตามโมเดล ดังนั้น ค่าขนาดอิทธิ พล (Pij) ของตัวแปรที่เป็ นสาเหตุต่อตัวแปรตามที่เป็ นอิทธิ พล ่ ทางตรงก็คือค่า ß ที่ปรากฏอยูในสมการพยากรณ์ (สาเริ ง บุญเรื องรัตน์.2540) ซึ่งปัจจุบนสามารถใช้ ั โปรแกรม SPSS ช่วยในการวิเคราะห์ ส่ วนโปรแกรมลิสเรลใช้ทฤษฎีทางสถิติวธีแบบไลค์ลิฮูดสู งสุ ด ิ (Maximum Likelihood Statistical Theory) หรื อ ML เป็ นพื้นฐานในการวิเคราะห์ขอมูล วิธีการประมาณค่า ้ ทาได้โดยการสมมุติค่าพารามิเตอร์ ข้ ึนมาชุ ดหนึ่งแล้วหาค่าไลค์ลิฮูด หรื อความเป็ นไปได้ของการที่จะได้ค่า สังเกตของตัวแปรจากประชากรกลุ่มที่สมมุติค่าพารามิเตอร์ ไว้น้ น วิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์ แบบนี้ ตอง ั ้ ใช้การคานวณทวนซ้ า (Iteration) หลายครั้งจนกว่าค่าพารามิเตอร์ ที่ได้ในแต่ละครั้งจะมีค่าเข้าใกล้(Converge) ค่าพารามิเตอร์ ที่เป็ นจริ ง ขั้นตอนที่ 2 การตรวจสอบทฤษฎีหรือการตรวจสอบความตรงของโมเดล การตรวจสอบความตรงของโมเดลที่วเิ คราะห์เส้นทางแบบดั้งเดิมมีวธีการที่นิยมใช้ในปั จจุบน 2 วิธีคือ ิ ั 1. วิธีของดันแคน (Duncan) เป็ นวิธีการที่มีการตรวจสอบความตรงของโมเดลด้วยการ เปรี ยบเทียบค่าสหสัมพันธ์ (Correlation : r) ที่คานวณจากสู ตรสหสัมพันธ์ของเพียร์ สันกับค่าสหสัมพันธ์ที่คานวณ จากค่าสัมประสิ ทธิ์ เส้นทาง เรี ยกวิธีการวิเคราะห์แบบนี้วาการวิเคราะห์เส้นทางแบบพีเออาร์ (Par) ่ 2. วิธีของสเปชท์ (Specht) เป็ นวิธีตรวจสอบความตรงของโมเดลด้วยค่าสถิติคิว (Q Statistic) นิยมเรี ยกว่า การวิเคราะห์เส้นทางแบบพีเอคิว (PAQ) การวิเคราะห์เส้นทางแบบ Par เป็ นวิธีการ ที่ตองคานวณค่าความสอดคล้องที่ค่อนข้างจะยุงยาก ซับซ้อน เพราะนักวิจยต้องคานวณด้วยมือและไม่มีการ ้ ่ ั ทดสอบนัยสาคัญทางสถิติของการตรวจสอบความตรงของโมเดล อาจทาให้เกิดความผิดพลาดในการอธิบาย ความหมายของโมเดลได้ นักวิจยส่ วนใหญ่จึงนิยมใช้การวิเคราะห์เส้นทางแบบ PAQ มากกว่า Par ั ส่ วนการตรวจสอบความตรงของโมเดลที่วเิ คราะห์เส้นทางแบบ PAL โปรแกรมลิสเรลเป็ น โปรแกรมที่นกวิจยสามารถใช้ตรวจสอบโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างแบบเส้นระหว่างตัวแปรตาม ั ั ทฤษฎีวาโมเดลสอดคล้องกับข้อมูลเพียงใดได้หลายวิธีโดยใช้ไค-สแควร์ (X2 ) ดัชนีวดความเหมาะสมหรื อ ่ ั ดัชนีวดระดับความกลมกลืน (Goodness of Fit Index = GFI) รากของกาลังสองของเศษเหลือเฉลี่ย (roof of ั mean square residuals = RMR ) ในการตรวจสอบ เมื่อโมเดลและข้อมูลสอดคล้องกัน ผลการประมาณ ค่าพารามิเตอร์วธี ML จะมีความถูกต้องตรงตามค่าพารามิเตอร์ แต่ถาโมเดลและข้อมูลไม่สอดคล้องกัน ิ ้ โปรแกรมสิ สเรลจะมีแนวทางแนะให้นกวิจยปรับเปลี่ยนเส้นทางอิทธิพลในโมเดล ั ั หรื อตรวจสอบความ คลาดเคลื่อนในการวัดของตัวแปรจนกว่าจะได้ผลการวิเคราะห์ท่ีตองการ ้ 6
  • 7. ่ ่ ผลจากการตรวจสอบความตรงของโมเดลที่วเิ คราะห์จะเป็ นดัชนีบงชี้วาถ้าโมเดล ถูกต้องมีความตรงย่อมสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ซึ่ งจะมีผลทาให้เมทริ กซ์สหสัมพันธ์จาก ข้อมูล (rxy ) และเมทริ กซ์สหสัมพันธ์ท่ีคานวณได้มีค่าใกล้เคียงกัน ในวิธีของ Par ถ้าโมเดลไม่สอดคล้องกับ ข้อมูลเชิงประจักษ์ เมทริ กซ์สหสัมพันธ์จากข้อมูล (rxy ) และเมทริ กซ์สหสัมพันธ์ที่คานวณได้ (ß) จะมีค่า แตกต่างกัน แต่ถาเป็ นวิธีการของ PAQ นักวิจยจะต้องคานวณค่า Q ซึ่งเป็ นสถิติที่ใช้วดความสอดคล้องของ ้ ั ั โมเดล (Measurement of Goodness of Fit) แล้วตรวจสอบด้วยค่าสถิติ W ซึ่งเป็ นสถิติทดสอบนัยสาคัญของ ค่าสถิติ Q และถ้าเป็ นวิธีของ PAL จะพิจารณาจากค่า prob ของการทดสอบสถิติไค-สแควร์ ค่าสถิติ GFI และ ค่าสถิติ AGFI เป็ นต้น ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ แยกค่ าสหสั มพันธ์ เมื่อตรวจสอบความตรงของโมเดลและได้ผลว่าโมเดลมีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์แล้ว นักวิจยจึงมาวิเคราะห์แยกค่าสหสัมพันธ์หรื อการจาแนกค่าอิทธิ พลทางตรงและอิทธิ พลทางอ้อมตามโมเดล ั แสดงรู ปแบบอิทธิพล ให้ได้อิทธิพลทางตรงและอิทธิ พลทางอ้อม เพื่ออธิบายความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ระหว่างตัวแปร การวิเคราะห์แยกค่าสหสัมพันธ์ใช้หลักและทฤษฎีสมประสิ ทธิ์ อิทธิ พลดังที่ได้กล่าวไว้แล้ว ั ผลจากการวิเคราะห์แยกค่าสหสัมพันธ์จะได้ค่าอิทธิ พลทางตรง (DE) และอิทธิพลทางอ้อม (IE) ซึ่ง เมื่อนามารวมกันจะได้ค่าผลรวมอิทธิ พล (Total Effect : TE) และเมื่อนาค่าผลรวมอิทธิ พลไปลบออกจาก สัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์จะได้เป็ นค่าความสัมพันธ์เทียมและอิทธิ พลร่ วมที่ไม่สามารถแยกได้วาเป็ น ่ ความสัมพันธ์แบบใดตามสมการ r หรื อ TE = DE + IE + SR + JE ความสั มพันธ์ และความเป็ นสาเหตุ (Correlation and Causation) 1 ความสั มพันธ์ ระหว่าง X และ Y เมื่อเราพบนัยสาคัญทางสถิติของสัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร X และ Y แสดงว่าตัว แปร X และ Y มีความผันแปรร่ วมกันในประชากร ซึ่ งความผันแปรร่ วมกันอาจเกิดขึ้นในลักษณะใดลักษณะ หนึ่ง ดังนี้ 1) X เป็ นเหตุเดียวหรื อสาเหตุเดียวที่ทาให้เกิดผล Y X Y 2) X เป็ นสาเหตุร่วมกับสาเหตุอื่นที่ทาให้เกิดผล Y X Y Z ั 3) X และ Y มีความสัมพันธ์กนทางอ้อมโดยผ่านตัวแปรแทรกซ้อน (Intervening variable) X Z Y 4) X และ Y เกิดความสัมพันธ์ลวง เนื่องจากถูกกาหนดโดยตัวแปรอื่นร่ วมกัน Z X Y 7
  • 8. 2 ความเป็ นสาเหตุระหว่ าง X และ Y ถ้า X เป็ นเหตุทาให้เกิดผล Y จริ ง จะต้องมีเงื่อนไขต่อไปนี้ เกิดขึ้น 1) X จะต้องเกิดขึ้นก่อน Y 2) สัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ระหว่าง X กับ Y มีนยสาคัญ ั ั 3) X กับ Y มีความสัมพันธ์กนจริ ง ไม่ใช่ความสัมพันธ์ลวง 4) จะต้องมีเหตุผลเชิงทฤษฎีสนับสนุนหรื ออธิบายกลไกของการที่เหตุ X ก่อให้เกิดผล การออกแบบการวิจัยเพือศึกษาความสั มพันธ์ เชิ งสาเหตุระหว่ างตัวแปร ่ 1 การออกแบบการวิจัยเพือการศึกษาความสั มพันธ์ เชิ งสาเหตุระหว่ างตัวแปร สามารถใช้แผนแบบ ่ การวิจยเชิงทดลอง และแผนแบบการวิจยที่ไม่ใช่เชิงทดลองได้ ดังภาพที่ 1 ั ั EXPERIMENTAL NON-EXPERIMENTAL DESIGN DESIGN (1) (2) KANDOMIZATION RANDOMIZATION ? MANIPULATION NO MANIPULATION ? CAUSAL RELATIONSHIP RELATIONSHIPS AMONG VARIABLES (1) ถ้าการออกแบบมีการควบคุมตัวแปรเกินไม่เหมาะสม (2) ถ้าการออกแบบมีการสังเกต และใช้เทคนิคการวิเคราะห์ที่เหมาะสม ภาพที่ 1 การออกแบบการวิจยเชิงทดลอง และไม่ใช่เชิงทดลองสาหรับการศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ั ระหว่างตัวแปร ในการวิจยโดยใช้แผนแบบการทดลอง (Experimental Design) ผูวจยสามารถจัดดาเนินการสุ่ ม ั ้ิั (randomization) และสามารถจัดกระทา (Manipulation) กับตัวแปรที่สนใจได้ การจัดดาเนินการสุ่ มทาให้ได้ กลุ่มตัวอย่างที่มีความเท่าเทียมกันเข้าสู่ การทดลอง และเป็ นการควบคุมตัวแปรเกินหรื อตัวแปรแทรกซ้อน ต่าง ๆ การจัดกระทากับตัวแปรอิสระที่สนใจทาให้สามารถสังเกตผลของการจัดกระทาที่เกิดขึ้นกับความผัน แปรของตัวแปรตาม เนื่ องจากความสามารถในการจัดดาเนินการกับตัวแปร และกลุ่มการทดลองทาให้ไม่น่า 8
  • 9. มีปัญหากับความตรงภายในและความตรงภายนอกของการวิจยผูวิจยจึงมีความมันใจในการสรุ ปผล ั ้ ั ่ ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของตัวแปรอิสระที่มีต่อตัวแปรตาม สาหรับการวิจยโดยใช้แผนแบบที่ไม่ใช่การทดลอง (Non-Experimental Design) ส่ วนใหญ่แล้วผูวิจย ั ้ ั อาจสามารถทาการสุ่ มตัวอย่างได้ แต่ไม่สามารถจัดกระทากับตัวแปรที่สนใจศึกษาได้ หรื อไม่สามารถทั้ง การจัดดาเนินการสุ่ มและการจัดกระทากับตัวแปร ผูวิจยจึงอาจใช้การควบคุมทางสถิติ (Statistical Controls) ้ ั มาทดแทนการสุ่ มได้ แต่เนื่องจากผูวจยไม่สามารถสังเกตความสัมพันธ์ตามช่วงเวลาของตัวแปรอิสระและ ้ิั ผลอันเนื่ องมาจากตัวแปรอิสระต่อตัวแปรตามได้ จึงยากแก่การสรุ ปว่าความผันแปรอันเกิดขึ้นกับตัวแปรตาม เป็ นผลเนื่องมาจากตัวแปรอิสระหรื อไม่ ดังนั้นการแปลความหมายผลการวิเคราะห์ จึงต้องกระทาด้วยความ ระมัดระวัง อย่างไรก็ตาม ผูวิจยพึงระลึกเสมอว่า ถ้าการวิจยเชิงทดลองมิได้ออกแบบการทดลองอย่างรอบคอบ ้ ั ั ขาดความสมบูรณ์ของการจัดดาเนินการสุ่ มและการจัดกระทากับตัวแปรขาดความเหมาะสมแล้ว ย่อมเกิด ความผิดพลาดคลาดเคลื่อนในการสรุ ปความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างตัวแปร ผูวจยสามารถสรุ ปผลได้เพียง ้ิั ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเท่านั้น ในทางตรงข้ามถ้าผูวิจยใช้แผนแบบการวิจยที่ไม่ใช่การทดลองแต่ได้มี ้ ั ั การศึกษาทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน มีการออกแบบการศึกษาที่ครอบคลุมตัวแปรสาคัญอย่างรัดกุม มี ่ การติดตามสังเกตผลอย่างเป็ นระบบซ้ า ๆ และใช้การวิเคราะห์ทางสถิติท่ีเหมาะสม ก็ยอมทาให้ผวจยสามารถ ู้ ิ ั สรุ ปผลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างตัวแปรได้เช่นกัน ่ ้ การแสดงลาดับความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ยึดหลักการเขียนว่าตัวแปรเหตุจะอยูตน ่ ลูกศร ตัวแปรผลจะอยูปลายลูกศร สัญลักษณ์ที่ใช้ มีดงนี้ ั แทนตัวแปรสังเกตได้ (Observed Variable) แทนตัวแปรที่ไม่สามารถสังเกตได้หรื อตัวแปรแฝง (Latent Variable) แสดงตัวแปรที่ปลายลูกศร ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโดยตรงกับตัวแปร ่ ั ที่อยูหวลูกศร แสดงว่าตัวแปรที่ปลายลูกศรเมื่อพิจารณาตามแนวคิด/ทฤษฎี น่าจะทาให้ ่ ั เกิดการเปลี่ยนแปลงโดยตรงกับตัวแปรที่อยูหวลูกศร แต่จากการ ตรวจสอบด้วยข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่าไม่เป็ นตามนั้นหรื อไม่มีนยสาคัญ ั 9
  • 10. ั ั แสดงว่าตัวแปรที่ปลายลูกศรทั้งสองมีความสัมพันธ์กน ที่ยงไม่สามารถ ระบุทิศทางความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของกันและกันได้ จึงมีทิศทางที่ เป็ นไปได้ท้ ง 2 ทาง ั Pij แสดงสัมประสิ ทธิ์ เส้นทางซึ่ งเป็ นขนาดของผลของตัวแปรเหตุ j ที่มีต่อตัวแปรผล i ่ ่ การแสดงลาดับความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ยึดหลักการเขียนที่วา ตัวแปรอิสระอยูทางซ้ายของตัว แปรตาม 1. ความสั มพันธ์ เชิ งเหตุและผล ลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในรู ปแบบความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล สามารถ เกิดและผล สามารถเกิดขึ้นได้หลายรู ปแบบ ดังนี้ 1.ความสั มพันธ์ ทางตรง เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวโดยที่ตวแปรหนึ่งเป็ นตัว ั แปรเหตุท่ีมีอิทธิ พลถึงอีกตัวแปรหนึ่งซึ่ งเป็ นตัวแปรผลตัวแปรทั้งสองไม่มีตวแปรอื่นมาเกี่ยวข้อง ั X X Y Y จากภาพ แสดงว่า ตัวแปร X มีอิทธิ พลหรื อมีความสัมพันธ์อย่างแท้จริ งต่อตัวแปร Y เนื่องจากไม่มี ตัวแปรใดมาเกี่ยวข้องต่ออิทธิ พลของความสัมพันธ์น้ นตัวอย่างเช่นนักวิจยต้องการศึกษาเกี่ยวกับ ั ั ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ จึงศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจยที่เกี่ยวข้องพบว่าแรงจูงใจ ั ใฝ่ สัมฤทธิ์ทางการเรี ยนคณิ ตศาสตร์ (X) มีอิทธิ พลทางตรงต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ (Y) 2.ความสั มพันธ์ ทมีตัวแปรคั่นกลาง (Intervening Variable) เป็ นความสัมพันธ์ของตัวแปร ี่ 2 ตัว โดยมีตวแปรอื่นมาเป็ นตัวเชื่อมความสัมพันธ์ ั X Z Y จากภาพ แสดงว่า ตัวแปร X มีอิทธิ พลต่อตัวแปร Y โดยผ่านไปที่ตวแปร Z ตัวอย่างเช่น ั สถานภาพทางเศรษฐกิจ (X) มีอิทธิ พลต่อแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนคณิ ตศาสตร์ (Z) และแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนคณิ ตศาสตร์ มีอิทธิ พลต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ (Y) 10
  • 11. 3.ความสั มพันธ์ มีอทธิพลทางตรงและทางอ้อม (Direct Effect and Indirect Effect) ิ คือ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเหตุที่มีอิทธิ พลโดยตรงต่อตัวแปรผล นอกจากนี้ตวแปรเหตุยงมีอิทธิ พล ั ั ทางอ้อมต่อตัวแปลผลโดยส่ งผ่านตัวแปรอื่น Z X Y จากภาพ แสดงว่า ตัวแปร X มีอิทธิ พลทางตรงต่อตัวแปร Y และมีอิทธิ พลทางอ้อมต่อตาแปร Y โดยส่ งผ่านตัวแปร Z ตัวอย่างเช่น เจคติต่อวิชาคณิ ตศาสตร์ (X) มีอิทธิ พลทางตรงต่อความสามารถในการ แก้ไขปั ญหาทางคณิ ตศาสตร์ (Y) นอกจากนั้นยังอิทธิ พลทางอ้อมต่อความสามารถในการแก้ไขปั ญหาทาง คณิ ตศาสตร์ โดยผ่านแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ทางการคณิ ตศาสตร์ (Z) ั 4.ความสั มพันธ์ แบบมีตัวกด คือ ความสัมพันธ์ท่ีตวแปรมีความสัมพันธ์กบตัวแปรเหตุไม่มี ั ั ความสัมพันธ์กบตัวแปรผล Z X Y ั ั จากภาพ แสดงว่าตัวแปร Z มีความสัมพันธ์กบตัวแปร X แต่ไม่มีความสัมพันธ์กบตัวแปร Y ตัวอย่างเช่น ความสัมพันธ์ทางด้านภาษาไทย (Z) เป็ นตัวแปรที่ส่งผลต่อความสามารถในการแก้ไขปั ญหาทาง คณิ ตศาสตร์ (X) และความสามารถในการแก้ไขปั ญหาทางคณิ ตสาสตร์ ส่ งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางคณิ ตศาสตร์ (Y) 5. ความสั มพันธ์ เชิ งเหตุและผลย้ อนกลับ (Reciprocal Causal Relationship) คือ ความสัมพันธ์ของตัวแปร2 ตัวที่ต่างก็มีอิทธิ พลซึ่ งกันและกัน X Y 11
  • 12. จากภาพ แสดงว่า ตัวแปร X และตัวแปร Y ต่างมีอิทธิ พลต่อกัน แสดงทิศทางอิทธิ พลด้วยลูกศรจาก ตัวแปร X ไปตัวแปร Y และจากตัวแปร Y ไปตัวแปร X ตัวอย่างเช่น รู ปแบบการสอนของครู (X) ส่ งผลต่อ การจัดการเรี ยนการสอน (Y) ส่ งผลต่อรู ปแบบการสอนของครู (X) โมเดลเชิ งสาเหตุ : การสร้ างและการวิเคราะห์ ในที่น้ ีขอยกตัวอย่างโมเดลเชิ งสาเหตุข้ ึนพื้นฐาน สาหรับ 2, 3 และ 4 ตัวแปรเพื่อเป็ นการศึกษา ลักษณะของโมเดลสมการโครงสร้างและการคานวณสัมประสิ ทธิ์ เส้นทาง 1 โมเดลเชิงสาเหตุของ 2 ตัวแปร 1) โมเดล : P21 R2 X1 X2 ภาพที่ 9.3 โมเดลเชิงสาเหตุของ 2 ตัวแปร ตัวแปร X1 ถือว่าเป็ นตัวแปรสาเหตุ (ตัวแปรอิสระ) เพียงตัวเดียวของการเกิดผล X2 (ตัวแปรตาม) สาหรับ R2 ถือเป็ นส่ วนที่เหลือ (Residual) หรื อตัวแปรอื่น ๆ ที่มิได้นามาศึกษาในสมการ (Unmeasured Variables) 2) สมการโครงสร้าง : สมการในรู ปคะแนนดิบ X2 = a + bX1 + e2 สมการในรู ปคะแนนมาตรฐาน Z2 = P21 Z1 + e2 หรื อ Z2 = P21 Z1 + P22 R2 เมื่อ P21 = สัมประสิ ทธิ์ เส้นทางจากตัวแปรอิสระ X1 ไปยังตัวแปรตาม X2 ซึ่งบอกขนาดของผลการเปลี่ยนแปลงในตัวแปรตาม X2 อันเนื่อง มาจากการเปลี่ยนแปลงไป 1 หน่วยของตัวแปรอิสระ X1 P22 = สัมประสิ ทธิ์ เส้นทางจากตัวแปรอิสระอื่น ๆ (R2 ) ที่มิได้นามาศึกษาที่ ส่ งผลต่อตัวแปรตาม X2 3) การคานวณสัมประสิ ทธิ์ เส้นทาง สัมประสิ ทธิ์ เส้นทางสาหรับโมเดลที่สร้างขึ้นมาสามารถคานวณได้ จากการแยก ส่ วนความสัมพันธ์ (Decomposition of Correlations) ระหว่างตัวแปรในโมเดลดังนี้ 12
  • 13. จาก r  1  Z 1Z 2 12 N 1  N  Z 1 ( P21 Z 1  e 2 )   2 (Z1) ( Z 1 )( e 2 )  P21  N N  2 Z1 เนื่องจาก เป็ นความแปรปรวนของคะแนนมาตรฐานจึงมีค่าเป็ น 1 N สาหรับ  ( Z 1 )( e 2 ) เป็ นความแปรปรวนร่ วมระหว่างตัวแปร X1 กับ e2 ตามข้อตกลง N เบื้องต้นมีค่าเป็ น 0 r12 = P21 หรื อ ß 21 ดังนั้น ในโมเดลที่ตวแปรตามเป็ นผลเนื่ องมาจากตัวแปรอิสระเพียง 1 ตัว และตัวแปรส่ วนที่เหลือ R ั อีก 1 ตัว ค่าสัมประสิ ทธิ์ เส้นทางจะมีคาเท่ากับสัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์อย่างง่ายระหว่างตัวแปรนั้น ๆ ่ ในทานองเดียวกัน จะได้ r22 = P22 = ß 22 สมมุติวา P21 = 0.6 แสดงว่า X1 สามารถอธิบายการผันแปรของ X2 ได้ [ (.6)2 x 100] ่ เท่ากับ 36% ส่ วน P  1  ( r )  1  0 . 36  0 . 8 22 12 2 แสดงว่า R2 สามารถอธิบายการผันแปรของ 2 X2 ได้ [1-( r12 ) ) x 100] เท่ากับ 64% 2. โมเดลเชิงสาเหตุของ 3 ตัวแปร กรณี ที่ 1 1) โมเดล (A) : ความเป็ นสาเหตุเกิดจากตัวแปรภายในที่เป็ นอิสระจากกัน P31 R3 1  3  2 P32 ภาพที่ 9.4 โมเดลเชิงสาเหตุของ 3 ตัวแปร (A) ตัวแปรอิสระ X1 และ X2 ต่างเป็ นตัวแปรที่เป็ นอิสระต่อกันหรื อไม่ข้ ึนต่อกัน (Independent causes) และถือว่าเป็ นสาเหตุร่วมกันของการเกิดผล X3 (ตัวแปรตาม) สาหรับ R3 ถือเป็ นตัวแปรอิสระอื่น ๆ ภายนอกที่ 13
  • 14. ไม่ได้นามาศึกษา (Residual) ทั้ง X1 และ X2 จึงถือว่าเป็ นตัวแปรอิสระในโมเดล ซึ่งความผันแปรของมันถูก ่ อธิ บายโดยตัวแปรที่อยูนอกโมเดล (Exogenous Vauiables) ดังนั้นการแปรผันของ X1 และ X2 ่ อันเนื่องมาจากการกาหนดของตัวแปรภายนอกจึงไม่อยูในเป้ าหมายของการศึกษา ส่ วน X3 เป็ นตัวแปรตาม ่ ในโมเดล ซึ่ งความผันแปรของมันถูกอธิ บายโดยตัวแปรที่อยูในโมเดล (Endogenous Variable) คือ X1 และ X2 2) สมการโครงสร้าง Z.3 = P31 Z1 + P32 Z2 + e3 เมื่อ P31 = สัมประสิ ทธิ์ เส้นทางจากตัวแปรอิสระ X1 ไปยังตัวแปรตาม X3 ซึ่งบอกขนาดของผล การเปลี่ยนแปลงในตัวแปรตาม X3 อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงไป 1 หน่วยของตัวแปรอิสระ X1 P32 = สัมประสิ ทธิ์ เส้นทางจากตัวแปรอิสระ X2 ไปยังตัวแปรตาม X3 3) การคานวณสัมประสิ ทธิ์ เส้นทาง สัมประสิ ทธิ์ เส้นทางสาหรับโมเดลนี้สามารถคานวณได้จากการแยกส่ วนความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรในโมเดล ดังนี้ เพราะว่า 1  Z Z r 13 N  1 3 1  N  Z 1 ( P31 Z 1  P32 Z 2  e 3 )    2 (Z1) Z 1Z 2 ( Z 1 )( e 3 )  P31  P32  N N N เพราะฉะนั้น r  13 P 31 หรื อ  31 ทานองเดียวกัน r 23  P 32 หรื อ  32 k แต่เนื่ องจาก R 2 Y . X 1 X 2 X 3 ... Xk   r y.xp  p p 1 เพราะฉะนั้น R  r  r 2 3 . 12 2 13 2 23 ่ สมมติวา P  0.5 , P  0.4 แสดงว่าตัวแปรอิสระ X1 และ X2 สามารถร่ วมกันอธิ บายการ 31 32 ผันแปรของตัวแปรตาม X3 ได้  0 . 5    0 . 4   100 เท่ากับ 41% ส่ วน P  1 - (R ) 2 2 32 3.12 2 P  1 - 0.41  0.77 32 แสดงว่า R3 สามารถอธิบายการผันแปรของ X3 ได้ [( 1  R )  100 ] 2 3 . 12 เท่ากับ 59% 14
  • 15. กรณี ที่ 2 1) โมเดล (B) : ความเป็ นสาเหตุเกิดจากตัวแปรภายในที่ส่งผลต่อกัน ภาพที่ 9.5 โมเดลเชิงสาเหตุของ 3 ตัวแปร (B) ตัวแปร X3 เป็ นผลเนื่องมาจากตัวแปร X1 และ X2 ซึ่ งไม่เป็ นอิสระจากกันโดยตัวแปร X2 ถูกกาหนดโดยตัวแปรอิสระ X1 (Mediatd cause) ความผันแปรของ X1 ไม่ได้ถูกกาหนดโดยตัวแปรใดเลย ในโมเดลตัวแปร X1 จะเป็ น Exogenous Variable ส่ วนตัวแปร X2 และ X3 ความผันแปรของมันถูก กาหนดโดยตัวแปรในโมเดล ทั้ง X2 และ X3 (Endogenous Variable) 2) สมการโครงสร้าง Z 2  P 21 Z 1  e 2 Z 3  P 31 Z 1  P 32 Z 2  e 3 เมื่อ P31   31 2 P32   32.1 15
  • 16. 3) การคานวณสัมประสิ ทธิ์ เส้นทาง สัมประสิ ทธิ์ เส้นทางสาหรับโมเดลนี้สามารถคานวณได้จากการแยกส่ วนความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรในโมเดล ดังนี้ 1 r12  N  Z 1Z 2  P 21 ่ สมมติวา P21=0.6 ,P32=0.4 แสดงว่าตัวแปรอิสระ X1และX2สามารถร่ วมกันอธิ บายการผันแปรของตัวแปรตาม X3ได้ [(0.5)2+(0.4)2+2(0.5)(0.4)(0.6)]เท่ากับ0.65หรื อ 65% ส่ วนR3สามารถอธิบายความผันแปรของ X3ได้35% 16
  • 17. กรณี ที่ 3 ั 1) โมเดล (C ): ความเป็ นสาเหตุเกิดจากตัวแปรภายในที่สัมพันธ์กน ภาพที่ 9.6 โมเดลเชิงสาเหตุของ 3 ตัวแปร (C) ตัวแปรอิสระ X1 และ X2 ถือว่าเป็ นสาเหตุร่วมกันของการเกิดผล X3 (ตัวแปรตาม) โดยตัวแปร ั X1 และ X2 มีความสัมพันธ์กน ซึ่ งไม่มีกาหนดทิศทางของสาเหตุ (Correlated Causes) ทั้ง X1 และ X2 ต่าง เป็ น Exogenous Variable ส่ วน X3 เป็ น Exogenous Variable สัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ระหว่าง X1 และ X1 และ X2 เสมือนเป็ นค่าที่ถูกกาหนดขึ้นมาจากตัวแปรภายนอก จึงไม่สามารถแยกส่ วนความสัมพันธ์เป็ น องค์ประกอบย่อยได้ 2) สมการโครงสร้าง Z.3 = P31 Z1 + P32 Z2 + e3 เมื่อ P31 = สัมประสิ ทธิ์ เส้นทางจากตัวแปรอิสระ X1 ไปยังตัวแปรตาม P32 = สัมประสิ ทธิ์ เส้นทางจากตัวแปรอิสระ X2 ไปยังตัวแปรตาม X3 3) การคานวณสัมประสิ ทธิ์ เส้นทาง 1 r12  N  Z 1Z 2 1 r13  N  Z 1Z 3 1  N  Z 1 ( P31 Z 1  P32 Z 2  e 3 )    ( Z 1 ) e 3  2 Z1 Z1 Z 2  P 31  P 32  N N N P31  P32 r12 = …………………….(3) Direct Effect) (Unanalyzed Component) 17
  • 18. 1 r23  N  Z 1Z 3 1  N  Z 2 ( P31 Z 1  P32 Z 2  e 3 )    ( Z 2 ) e 3  2 Z1 Z 2 Z2  P 31  P 32  N N N P31 r12 = …………………….(4) P 32 (Unanalyzed Component) (Direct Effect) ทั้ง r และ r ประกอบด้วย 2 ส่ วน ได้แก่ 13 23 1) ผลทางตรงและ 2) ผลอันเนื่ องมาจากสาเหตุร่วมที่มีความสัมพันธ์กนเนื่องไม่ทราบทิศทางของความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ั จึงเป็ นส่ วนที่ไม่สามารถวิเคราะห์และแปลความหมายได้ จาก(3) และ (4) เราสามารถแก้สมการหาค่าของ P และ P ได้ 31 32 จากโมเดลความสัมพันธ์สาเหตุ(A) , (B) และ (C) พอสรุ ปได้วา สัมประสิ ทธิ์ สหพันธ์ระหว่างตัว ่ แปรอิสระและตัวแปรตามคู่ใดคู่หนึ่ง สามารถแยกแยะลักษณะความพันธ์ออกเป็ นส่ วนย่อย ได้แก่ 1. ผลทางตรง (Direct Effect หรื อ DE) เป็ นความสัมพันธ์โดยตรงระหว่างตัวแปร 2. ผลทางอ้อม (Indirect Effect หรื อ IE ) เป็ นความสัมพันธ์ทางอ้อมระห่างตัวแปร 3. ผลที่ไม่สามารถนามาวิเคราะห์ (Unanalyzed Component หรื อU) อันเนื่องมาจากเป็ นสาเหตุร่วม ั ที่มีความสัมพันธ์กน (Correlated Causes) 4. ผลลวงที่เกิดขึ้น (Spurious Component หรื อ S) เป็ นความสัมพันธ์ลวง อันเนื่องมาจากสาเหตุ ร่ วมกัน (Common Carses) ผลรวมของ DE กับ IE เรี ยกว่า Total Effect หรื อ Effect Coefficient ซึ่งแสดงถึงผลในเชิง สาเหตุท้ งหมด ส่ วนผลรวมของ U และ S เป็ นส่ วนของความสัมพันธ์ที่ไม่ใช่ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ั 18
  • 19. 3 โมเดลเชิงสาเหตุของ 4 ตัวแปร 1) โมเดล 19
  • 20. ตัวอย่าง โมเดลเชิงสาเหตุแบบ 4 ตัวแปร โมเดลโครงสร้างแบบเต็มรู ป (Full Model or Just – Identified Model) สมมุติให้ X1 = SES = สถานภาพาทางเศรษฐกิจและสังคม X2 = IQ = คะแนนสถิติปัญญา X3 = ACH = ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน X4 = GPA = คะแนนสถิติปัญญา Z4 = P41 Z1 + P42 Z2 + P43 Z3 + e4 Z3 = P31 Z1 + P32 Z2 + e4 หมายเหตุ ตัวเลขหน้าวงเล็บแสดงสัมประสิ ทธิ์ เส้นทาง ตัวเลขในวงเล็บแสดงความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน จากการคานวณค่าสัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ที่ได้จากโมเดลเชิงสาเหตุ (Reproduced Correlation) แบบเต็มรู ป ตามสมการ (5) , (6) , (7), (8) และ (9) ซึ่ งจะได้เท่ากับค่าสัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ที่ได้จากข้อมูล เชิงประจักษ์ (Observed Correlation) ตัวอย่าง โมเดลเชิงสาเหตุแบบ 4 ตัวแปร : โมเดลโครงสร้างแบบไม่เต็มรู ป(Overidentified Model) จากตัวอย่างโมเดลโครงสร้างแบบเต็มรู ป พบว่าผลทางตรงของ SES ต่อ GPA และผลทางตรงของ IQ ต่อ ACH มีขนาดเล็กมากเมื่อพิจารณาทั้งในทางสถิติ (Statistic) และทางปฏิบติ (Practicality) จึงอาจลบ ั เส้นทางทั้งสองออกจากโมเดลเชิงสาเหตุ โดยตั้งสมมุติฐานว่าผลตามเส้นทางทั้งสองมีค่าเป็ น 0 เมื่อปรับปรุ ง โมเดลเชิงสาเหตุใหม่ตามสมมุติฐานด้วยการลบเส้นทางทั้งสองออก จะได้โมเดลตามสมมุติฐาน หรื อโมเดล 20
  • 21. โครงสร้างแบบไม่เต็มรู ป (Overidentified Model) ซึ่ งเป็ นโมเดลที่มีการลบบางเส้นทางออกจากโมเดลเต็มรู ป หรื อ เป็ นการกาหนดให้บางเส้นทางมีผลเป็ น 0 นันเอง เมื่อคานวณค่าสัมประสิ ทธิ์ เส้นทางจะปรากฏผลดังรู ปข้างล่าง ่ Z4 = P41 Z1 + P43 Z3 + e4 Z3 = P31 Z1 + e3 เ มื่อคานวณค่าสัมประสิ ทธิ์สหสัมพันธ์ที่ได้จากโมเดลปรากฏผล ดังนี้ r13 = P31 = .41 r23 = P31 r12 = .123 r14 = P42 r12 + P43 r13 = .323 r24 = P42 + P43 r13 = .555 r14 = P42 r23 + P43 = .482 ตารางที่ 9.1 สัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ที่ได้จากโมเดล (ค่าที่อยูได้เส้นทแยงมุม) กับ สัมประสิ ทธิ์ ่ สหสัมพันธ์ที่ได้จากข้อมูล (ค่าที่อยูเ่ หนือเส้นทแยงมุม) ตัวแปร 1 2 3 4 SES IQ ACH GPA 1 SES 1.000 .300 .410 .330 2 IQ .300 1.000 .160 .570 3 ACH .410 .123 1.000 .500 4 GPA .323 .555 .482 1.000 ่ เราสามารถทาการทดสอบสมมุติฐานศูนย์ (Null Hypothesis, H0 ) ที่วาโมเดลสอดคล้องกับข้อมูลเชิง ประจักษ์โดยการใช้ X2 - test ระหว่างสัมประสิ ทธิ์สหสัมพันธ์ที่คานวณได้จากโมเดล (Reproduced Correlation) 21