SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 37
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ภาษาคอมพิวเตอร์และการโปรแกรม
CED1101 คอมพิวเตอร์ขั้นแนะนำสำหรับครู
อำจำรย์ทนันยำ คำคุ้ม
Tananya Khamkhum
Tananya Khamkhum
PROGRAM
A set of coded instructions that a computer can
understand to solve a problem or produce a desired result.
Two basic types of computer programs are
(1) an operating system, which provides the most
fundamental instructions a computer uses in its operations,
and
(2) an application program, which runs on the
operating system and does a specific job such as word
processing. Tananya Khamkhum
Programs are written either in one of high-level
programming languages (such as BASIC, C, Java) which
are easier but execute relatively slowly, or in one of low-
level languages (assembly language or machine language)
which are very complex but execute very fast.
Tananya Khamkhum
ระดับสูง (Highest level) ระดับต่ำ (Lowest level)
C
Modula-2
Pascal
Cobol
Fortran
Basic
Assembly language
Tananya Khamkhum
โปรแกรมภาษา
ภำษำคอมพิวเตอร์เป็นกำรนำชุดคำสั่งแต่ละคำสั่งมำต่อกันให้
คอมพิวเตอร์ทำงำน กำรเขียนชุดคำสั่งนี้ไม่ว่ำจะเขียนด้วยภำษำอะไรจะ
เรียกว่ำโปรแกรมต้นฉบับ (Source Program) หรือรหัสต้นฉบับ (Source
code) จำกนั้นเรำจะต้องแปลงให้เป็นภำษำเครื่องที่คอมพิวเตอร์ทำงำนได้
เรียกว่ำ Executable Program
โปรแกรม
ต้นฉบับ
ภำษำแอสเซมบลี
โปรแกรม
แอสเซมเบลอร์
รหัสภำษำเครื่อง
ตัวอย่ำง กำรแปลภำษำแอสเซมบลีเป็นภำษำเครื่อง
Tananya Khamkhum
กำรเขียนโปรแกรมด้วยภำษำระดับสูงจะมีวิธีในกำรแปล 2 ประเภท
1) การแปลคาสั่งทีละคาสั่ง (Interpreter) ให้เครื่องทำงำนทีละคำสั่ง ถ้ำ
ไม่พบข้อผิดพลำดเครื่องจะทำคำสั่งที่แปลได้แต่ถ้ำพบข้อผิดพลำดจะ
หยุดทำงำนและแจ้งข้อผิดพลำดออกมำ
2) คอมไพเลอร์ (Compiler) โดยมันจะมองโปรแกรมต้นฉบับทั้งหมด
และแปลให้เป็นรหัสภำษำเครื่อง ถ้ำพบข้อผิดพลำดก็จะแจ้งออกมำ ทำ
ให้โปรแกรมทำงำนได้เร็วขึ้น
Tananya Khamkhum
การแปลแบบ Interpreter
การแปลแบบ Compiler
Tananya Khamkhum
ประเภทของโปรแกรม
โปรแกรมระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติกำรหรือโอเอส (OS : Operating System) โปรแกรมประเภทนี้จะ
ทำหน้ำที่คอยดูแลระบบ ร่วมทั้งติดต่อกับฮำร์ดแวร์ส่วนต่ำงๆ ควบคุมกำรทำงำนของ
คีย์บอร์ด จอภำพ ระบบอ่ำนและบันทึกข้อมูล ทำให้ผู้ใช้และผู้พัฒนำโปรแกรมต่ำงๆ ไม่
ต้องเขียนโปรแกรมติดต่อกับระบบเอง โปรแกรมประเภทนี้ที่เรำรู้จักได้แก่ ดอส (Dos :
DiskOperating System), โปรแกรม UNIX, โปรแกรม Window 95/98/NT
Tananya Khamkhum
ประเภทของโปรแกรม
โปรแกรมอเนกประสงค์ (Utility Program)
โปรแกรมประเภทนี้จะช่วยอำนวยควำมสะดวกให้กับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ และยัง
เป็นเครื่องมือ ในกำรแก้ไขปัญหำหรือวิเครำะห์ปัญหำรวมทั้งตรวจสอบระบบได้อีกด้วย
โดยมีโปรแกรมที่ทำงำนหลำยประเภท เช่น โปรแกรมตรวจสอบควำมเร็วของ
คอมพิวเตอร์, โปรแกรม McAfee Virus Scan สำหรับตรวจหำไวรัส, โปรแกรม
ตรวจสอบตัวเครื่อง, โปรแกรม WinZip สำหรับบีบข้อมูล เป็นต้น
Tananya Khamkhum
ประเภทของโปรแกรม
โปรแกรมประยุกต์
โปรแกรมประเภทนี้บำงครั้งจะเรียกว่ำ ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป (Package
Software) เป็นโปรแกรมที่พัฒนำขึ้นมำสำหรับงำนเฉพำะด้ำน มีกำรทำงำนที่แตกต่ำง
กัน ตัวอย่ำงเช่น โปรแกรมเกม, โปรแกรมบัญชี, โปรแกรมด้ำนเดต้ำเบส, โปรแกรม
กรำฟิก, โปรแกรมอินเตอร์เน็ต และโปรแกรมประมวลผลคำ เป็นต้น
Tananya Khamkhum
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
1. กำหนดขอบเขตของปัญหำ โดยกำหนดรำยละเอียดให้ชัดเจนว่ำ จะให้
คอมพิวเตอร์ทำอะไร
2. กำหนดลักษณะของข้อมูลเข้ำและออกจำกระบบ (Input / Output Specification)
3. กำหนดวิธีกำรประมวลผล (Process Specification) โดยต้องรู้ว่ำจะให้
คอมพิวเตอร์ทำกำรประมวลผลอย่ำงไร จึงได้ผลลัพธ์ตำมต้องกำร
Problem Definition and problem Analysis
Tananya Khamkhum
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
จะต้องใช้เครื่องมือช่วยในกำรออกแบบโปรแกรม ซึ่งยังไม่ได้เขียนเป็น
โปรแกรมจริงๆ แต่จะช่วยให้เขียนโปรแกรมได้ง่ำยขึ้น และทำให้ผู้อื่นนำ
โปรแกรมของเรำไปพัฒนำต่อได้ง่ำยขึ้น โดยเขียนเป็นลำดับขั้นตอนกำรทำงำน
ของโปรแกรมที่เรียกว่ำ อัลกอริทึม (Algorithm) ซึ่งจะแสดงขั้นตอนกำรปัญหำ
โดยใช้ประโยคที่ชัดเจนไม่คลุมเครือ และมีรำยละเอียดกำรทำงำนพอสมควร
เพียงพอ ที่จะนำไปเขียนเป็นโปรแกรมให้ทำงำนจริง โดยอัลกอริทึมนั้น อำจ
เขียนให้อยู่ในรูปของรหัสจำลองหรือซูโดโค้ด (Pseudo-code) หรือเขียนเป็นผัง
งำน (Flowchart)
Flowchart or Pseudocoding
Tananya Khamkhum
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
จะต้องเขียนเป็นโปรแกรมเพื่อให้คอมพิวเตอร์สำมำรถประมวลผลได้ โดย
เปลี่ยนขั้นตอนกำรทำงำนให้อยู่ในรูปรหัสภำษำคอมพิวเตอร์
กำรเขียนโปรแกรมจะต้องเขียนตำมภำษำที่คอมพิวเตอร์เข้ำใจโดยอำจใช้
ภำษำระดับสูง หรือระดับต่ำ ซึ่งสำมำรถเลือกได้หลำยภำษำ กำรเขียนโปรแกรม
แต่ละภำษำจะต้องทำตำมหลักไวยำกรณ์ (Syntax) ที่กำหนดไว้ในภำษำนั้น
นอกจำกนี้กำรเลือกใช้ภำษำจะต้องพิจำรณำถึงควำมถนัดของผู้เขียนโปรแกรม
ด้วย
Programming
Tananya Khamkhum
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
หลังจำกเขียนโปรแกรมจะต้องทดสอบควำมถูกต้องของโปรแกรมที่เขียน
ขึ้น หำจุดผิดพลำดของโปรแกรมว่ำมีหรือไม่ และตรวจสอบจนไม่พบที่ผิดอีก
จุดผิดพลำดของโปรแกรมนี้เรียกว่ำ บัก (Bug) ส่วนกำรแก้ไขข้อผิดพลำดให้
ถูกต้องเรียกว่ำ ดีบัก (debug) โดยทั่วไปแล้วข้อผิดพลำดจำกกำรเขียนโปรแกรม
มีดังนี้
Program Testing and Debugging
Tananya Khamkhum
1. กำรเขียนคำสั่งไม่ถูกต้องตำมหลักกำรเขียนโปรแกรมภำษำนั้นๆ ซึ่ง
เรียกว่ำ Syntax Error หรือ Coding Error ข้อผิดพลำดประเภทนี้เรำมัก
พบตอนแปลภำษำโปรแกรมเป็นรหัสภำษำเครื่อง
2. ข้อผิดพลำดทำงตรรกะ หรือ Logic Error เป็นข้อผิดพลำดที่
โปรแกรมทำงำนได้แต่ผลลัพธ์ออกมำไม่ถูกต้อง
3. ข้อผิดพลำดระหว่ำงรัน (Run-Time Error) เกิดขึ้นในขณะที่
สั่งให้โปรแกรมทำงำน ทำให้โปรแกรมหยุดทำงำนทันที
Tananya Khamkhum
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
1. คู่มือกำรใช้หรือ User Document หรือ User Guide ซึ่งจะอธิบำย
กำรใช้โปรแกรม
2. คู่มือโปรแกรมเมอร์ หรือ Program Document หรือ Technical
Reference ซึ่งจะอำนวยควำมสะดวกในกำรแก้ไขโปรแกรม และพัฒนำ
โปรแกรมในอนำคต โดยจะมีรำยละเอียดต่ำงๆเกี่ยวกับโปรแกรม เช่น ชื่อ
โปรแกรม กำรรับข้อมูล กำรพิมพ์ผลลัพธ์ขั้นตอนต่ำงๆในโปรแกรม เป็นต้น
กำรบำรุงรักษำโปรแกรม (Maintenance) ที่ผู้เขียนโปรแกรมจะต้อง
คอยจรวจสอบกำรใช้โปรแกรมจริง เพื่อแก้ไขข้อผิดพลำดซึ่งอำจเกิดขึ้นใน
ภำยหลัง รวมทั้งพัฒนำโปรแกรมให้ทันสมัยอยู่เสมอเมื่อเวลำผ่ำนไป
Program Documentation and Maintenance
Tananya Khamkhum
ภาษาคอมพิวเตอร์สาหรับพัฒนาโปรแกรม
ภาษาเบสิก (BASIC)
เป็นภำษำคอมพิวเตอร์ระดับสูง เกิดขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1963 คำว่ำ Basic ย่อมำ
จำกคำว่ำ Beginner’s Allpurpose Symbolic Instruction Code ภำษำนี้เหมำะ
สำหรับผู้เริ่มต้นเขียนโปรแกรม เนื่องจำกเป็นรูปแบบคำสั่งที่ง่ำย แต่ควำมสำมำรถ
จะน้อยกว่ำภำษำอื่นๆ เองจำกเป็นภำษำที่พัฒนำมำนำนแล้ว คอมพิวเตอร์ IBM ใน
ยุคแรกๆ จะมีตัวแปลภำษำนี้ติดมำกับเครื่องด้วย
10 PRINT
“HELLO WIKIPEDIA”
20 GOTO 10
Tananya Khamkhum
ภาษาคอมพิวเตอร์สาหรับพัฒนาโปรแกรม
ภาษาเบสิก (BASIC)
ข้อดี
เป็นภำษำระดับสูงที่มีรูปแบบคำสั่งใช้งำนได้ง่ำย นำไปประยุกต์สร้ำง
โปรแกรมได้ทั่วไป ทั้งงำนทำงด้ำนธุรกิจและวิทยำศำสตร์ เหมำะกับผู้ที่
เริ่มต้นฝึกเขียนโปรแกรม
ข้อเสีย
ถูกพัฒนำและใช้ในยุคแรกของเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ จึงทำให้
ประสิทธิภำพของคำสั่งมีน้อยกว่ำภำษำอื่นๆ และเนื่องจำกรูปแบบของ
กำรเขียนโปรแกรมจะไม่เป็นโครงสร้ำง ดังนั้น จึงไม่เหมะกับกำรเขียน
โปรแกรมที่มีกำรเชื่อมต่อกับระบบฐำนข้อมูล
Tananya Khamkhum
ภาษาคอมพิวเตอร์สาหรับพัฒนาโปรแกรม
ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN)
เป็นภำษำระดับสูงเกิดขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1950 คำว่ำ FORTRAN ย่อมำจำกคำ
ว่ำ FORmular TRANslator ภำษำนี้เป็นภำษำที่มีประสิทธิภำพสูงในกำรคำนวณ
เหมำะสำหรับกำรเขียนโปรแกรมประยุกต์ทำงคณิตศำสตร์ที่ทำงำนบนเครื่อง
เมนเฟรม แต่ในปัจจุบันได้มีคอมไพเลอร์หลำยตัวที่พัฒนำขึ้นสำหรับแปลภำษำนี้
บนเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป
Tananya Khamkhum
Program HelloWorld
Write (*,*) ‘Hello, Student!’
end program HelloWorld
ข้อดี
เป็นภำษำระดับสูงที่ถูกพัฒนำขึ้นเพื่อใช้ในงำนที่ซับซ้อน มีประสิทธิภำพ
ในงำนคำนวณ ซึ่งถูกนำไปใช้สร้ำงโปรแกรมประยุกต์ด้ำนวิทยำศำสตร์
และวิศวกรรมศำสตร์ ที่ทำงำนบนเครื่องเมนเฟรม
ข้อเสีย
เนื่องจำกเป็นภำษำที่พัฒนำขึ้นเพื่อใช้บนเมนเฟรม จึงทำให้ต้องมีกำร
ปรับคำสั่งมำกมำยเพื่อให้เหมำะสมกับกำรนำมำใช้สร้ำงโปรแกรม
ประยุกต์บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ จึงเป็นเหตุให้หมดควำมนิยมเมื่อ
มีกำรพัฒนำภำษำเบสิกมำใช้บนไมโครคอมพิวเตอร์
Tananya Khamkhum
ภาษาคอมพิวเตอร์สาหรับพัฒนาโปรแกรม
ภาษาโคบอล (COBOL)
ถูกประกำศใช้อย่ำงเป็นทำงกำรเมื่อปี ค.ศ. 1960 มีชื่อเต็มว่ำ Common
Business Oriented Language เป็นภำษำที่ใช้เขียนโปรแกรมแบบโครงสร้ำง
(Structure Program) เหมำะสำหรับกำรพัฒนำโปรแกรมประยุกต์ทำงธุรกิจ
กำรจัดเก็บข้อมูล งำนทำงด้ำนกำรบัญชี
และกำรเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ภำยในองค์กร
Tananya Khamkhum
ข้อดี
เป็นภำษำที่นิยมใช้ในงำนธุรกิจ ได้แก่ กำรจัดเก็บข้อมูล งำน
บัญชี กำรเงิน และสินค้ำคงคลัง เพรำะมีกำรเขียนโปรแกรม
เชิงโครงสร้ำง จึงสำมำรถประยุกต์ให้ทำงำนเชื่อมต่อกับ
ฐำนข้อมูลได้ปัจจุบันมีกำรพัฒนำให้เขียนโปรแกรมในลักษณะ
ของเชิงวัตถุ (OPP)
ข้อเสีย
ผู้พัฒนำโปรแกรมต้องศึกษำโครงสร้ำงของโปรแกรม เพื่อกำร
ใช้คำสั่งได้ถูกต้อง
Tananya Khamkhum
ภาษาคอมพิวเตอร์สาหรับพัฒนาโปรแกรม
ภาษาปาสคาล (PASCAL)
ภำษำนี้เกิดเมื่อปี 1970 ชื่อของภำษำเป็นกำรตั้งชื่อตำมนักคณิตศำสตร์ที่
ประดิษฐ์เครื่องคำนวณยุคแรก ชื่อว่ำ Blaise Pascal ภำษำนี้เป็นภำษำระดับสูงที่ใช้
ในกำรเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้ำงได้ ตัวแปลภำษำที่ได้รับควำมนิยมอย่ำงมำก
คือ โปรแกรม Turbo Pascal ของบริษัทบอร์ทแลนด์ ปัจจุบัน ประเทศไทยได้ใช้โป
แรกมนี้ในกำรสอนโปรแกรมเบื้องต้นให้กับนักเรียนนักศึกษำทั่วไป
Tananya Khamkhum
Program Helloworld(output):
Begin
Writeln(‘Hello, World!’)
End.
ข้อดี
เป็นภำษำที่เขียนเชิงโครงสร้ำง เหมำะกับกำรศึกษำสำหรับผู้ที่เริ่มต้น
เขียนโปรแกรม นอกจำกนี้ คำสั่งได้ถูกออกแบบให้ทำงำนอย่ำงมี
ประสิทธิภำพ จึงสำมำรถพัฒนำไปใช้ในงำนทั่วไปได้
ข้อเสีย เป็นภำษำที่ใช้งำนยำก เมื่อเปรียบเทียบกับกำรเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
Tananya Khamkhum
ภาษาคอมพิวเตอร์สาหรับพัฒนาโปรแกรม
ภาษา C
ภำษำนี้พัฒนำขึ้นในห้องปฏิบัติกำรเบลล์ (Bell Laboratory) ของบริษัท
เอทีแอนด์ที ในปี ค.ศ.1970 เพื่อใช้บนระบบปฏิบัติกำร UNIX ตัวมำ ได้มีตัวแปร
ภำษำออกมำหลำยตัว และได้ถูกใช้อย่ำงแพร่หลำยบนเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป
ภำษำนี้เป็นภำษำที่มีควำมยืดหยุ่นสูง สำมำรถทำงำนบนระบบปฏิบัติกำรต่ำงๆ ได้
เป็นอย่ำงดี สำมำรถใช้ควบคุม Hardware ได้โดยตรง แต่ชุดคำสั่งจะมีกฎเกณฑ์
และรำยละเอียดต่ำงๆ จำนวนมำก
Tananya Khamkhum
#include “stdio.h”
int main(void)
{
Printf(“Hello My Studentn”);
Return 0;
}
ข้อดี
เป็นภำษำที่มีควำมยืดหยุ่นสูงสำมำรถทำงำนบนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วน
บุคคล และระบบปฏิบัติกำรต่ำงๆ ได้ นอกจำกนี้ ยังสำมำรถเข้ำถึง
Hardware ของคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง
ข้อเสีย
คำสั่งของภำษำ จะไม่เหมือนคำศัพท์ภำษำอังกฤษโดยตรง จึงอำจจะจดจำ
ยำกขึ้น และวิธีกำรใช้คำสั่งจะมีกฎเกณฑ์รำยละเอียดจำนวนมำก จึงไม่
เหมำะกับผู้เริ่มต้นเขียนโปรแกรม
Tananya Khamkhum
ภาษาคอมพิวเตอร์สาหรับพัฒนาโปรแกรม
ภาษา C++
ภำษำนี้พัฒนำต่อจำกภำษำ C โดยเพิ่มกำรเขียนโปรแกรมแบบ class เข้ำ
ไป ทำให้มีควำมสำมำรถในกำรทำงำนสูงขึ้น สำมำรถนำมำเขียนโปรแกรมเชิง
วัตถุ (OOP) ได้โดยกำรมองสิ่งต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นในโปรแกรมเป็นวัตถุ หรือ Object
แต่ละตัว ทำให้ภำษำนี้ได้รับควำมนิยมสูง แต่ไม่เหมำะสำหรับผู้เริ่มต้นเขียน
โปรแกรม เนื่องจำกโครงสร้ำงมีควำมซับซ้อนขึ้น
Tananya Khamkhum
#include <iostream>
int main()
{
std::count <<“Hello My
Student!”<< std::end!;
Return 0;
}
ข้อดี
เป็นภำษำที่มีรูปแบบกำรเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ สำมำรถเข้ำถึงกำรทำงำน
ของฮำร์ดแวร์ได้โดยตรง เหมำะกับกำรพัฒนำโปรแกรมประยุกต์ และ
ได้รับควำมนิยมเป็นอย่ำงสูง
ข้อเสีย
เป็นภำษำระดับสูง และมีรูปแบบกำรเขียนโปแรกมที่ซับซ้อน ไม่เหมำะ
สำหรับผู้เริ่มต้น
Tananya Khamkhum
ภาษาคอมพิวเตอร์สาหรับพัฒนาโปรแกรม
Visual Basic
ภำษำนี้พัฒนำขึ้นโดยบริษัทไมโครซอฟต์ ชุดคำสั่งต่ำงๆ จะคล้ำย
กับภำษำ Basic เดิม และเป็นภำษำที่ได้รับควำมนิยมอย่ำงมำกในกำรเขียน
โปรแกรมบนระบบปฏิบัติกำร Windows เนื่องจำกผู้เขียนสำมำรถสร้ำง
หน้ำจอในกำรติดต่อกับผู้ใช้ได้ง่ำย ปัจจุบัน ภำษำนี้ถูกนิยมใช้ในกำรเขียนโป
แกรมขนำดใหญ่ๆ จำนวนมำก ภำษำนี้เหมำะสำหรับผู้พัฒนำโปรแกรม แต่
ไม่เหมำะกับผู้เริ่มเขียนโปรแกรม
ปัจจุบัน บริษัทไมโครซอฟต์ ได้พัฒนำให้ Visual Basic ให้ทำงำน
ภำยใต้เทคโนโลยี .net มีชุดคำสั่งให้เลือกใช้มำกมำย โดยออกแบบชุดพัฒนำ
โปรแกรมออกมำชื่อว่ำ Visual Studio โปรแกรมชุดนี้ จำรวมกำรเขียน
โปรแกรมภำษำอื่นๆ ภำยใต้เทคโนโลยี .net ไว้ด้วยกัน
Tananya Khamkhum
Tananya Khamkhum
ข้อดี
เป็นกำรพัฒนำโปรแกรมที่เหมำะกับกำรทำงำนบนระบบปฏิบัติกำรแบบ
GUI เพรำะมีเครื่อง
มือที่ใช้ในกำรสร้ำงกรำฟิก เหมำะกับกำรสร้ำงโปรแกรมขนำดใหญ่
ข้อเสีย
ไม่เหมำะกับผู้เริ่มต้นเขียนโปรแกรม จะเหมำะกับผู้ที่มีพื้นฐำนกำรเขียน
โปรแกรมภำษำอื่นมำก่อน เนื่องจำกกำรเขียนโปรแกรมมีควำมซับซ้อน
Tananya Khamkhum
ภาษาคอมพิวเตอร์สาหรับพัฒนาโปรแกรม
ภาษา JAVA
ภำษำนี้เกิดขึ้นปี ค.ศ. 1990 โดยบริษัท Sun Microsystem ที่พัฒนำให้เป็น
ภำษำสำหรับกำรเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุโดยเฉพำะ สำมำรถทำงำนได้บนเครื่อง
คอมพิวเตอร์ทุกระบบ เนื่องจำกเวลำคอมไพล์ออกมำแล้วจะได้ข้อมูลแบบ ไบต์
โค้ด (Bytecode) เครื่องคอมพิวเตอร์ที่จะใช้ภำษำนี้จะต้องติดตั้ง JAVA Virtual
Machine ก่อน เพื่อให้โปรแกรมทำงำนได้ ปัจจุบัน ได้ถูกพัฒนำมำหลำยรูปแบบ มี
ทั้งกำรเขียนโปรแกรมบนเครือข่ำย กำรเขียนโปแรกมบนโทรศัพท์มือถือ
Tananya Khamkhum
// Hello.java
public class Hello {
public static void main(String[] args) {
System.out.println(“Hello, World”);
}
}
ข้อดี
เป็นภำษำที่สำมำรถทำงำนได้ทุกระบบ จึงเหมำะกับกำรพัฒนำโปรแกรม
หรือเกมที่ต้องกำรเข้ำถึงผู้ใช้ได้ในทุกระบบ
ข้อเสีย
เป็นมำตรฐำนที่มีควำมซับซ้อน กำรพัฒนำและกำรศึกษำโปรแกรม จึงยำก
กว่ำภำษำอื่นๆ
Tananya Khamkhum
ข้อควรพิจารณาในการเลือกใช้ภาษาโปรแกรมต่างๆ
1. ภำษำมำตรฐำนที่ใช้ในองค์กร กำรพัฒนำโปรแกรมที่ใช้ในองค์กร โดยส่วน
ใหญ่จะยึดภำษำใดภำษำหนึ่งไว้เป็นหลัก เพรำะไม่ต้องเสียเวลำในกำรศึกษำ
โครงสร้ำงของภำษำในกำรเขียนโปรแกรมใหม่ ทำให้สะดวกต่อกำรเขียน กำร
ดูแล และกำรบริหำรระบบ
2. คุณสมบัติและควำมเหมำะสม แต่ละภำษำมีคุณสมบัติและควำมเหมำะสมกับ
งำนเฉพำะด้ำน เพรำะฉะนั้น จึงควรเลือกใช้ภำษำในกำรเขียนที่เหมำะกับงำนด้วย
Tananya Khamkhum
3. กำรทำงำนร่วมกับโปรแกรมอื่น กำรเขียนโปรแกรมทำงำนในบำงด้ำน อำจจะ
ต้องทำงำนร่วมกับโปรแกรมอื่นด้วย เช่น กำรเขียนโปรแกรมสินค้ำคงคลัง
จำเป็นต้องเขียนทั้งส่วนติดต่อกับผู้ใช้และส่วนติดต่อกับฐำนข้อมูล ดังนั้น จึงควร
จะเลือกใช้ภำษำที่รองรับ เพื่อจะช่วยให้โปรแกรมทำงำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
4. กำรทำงำนร่วมกับระบบอื่นๆ โปรแกรมประยุกต์บำงตัว อำจมีเป้ำหมำย
ให้สำมำรถทำงำนข้ำมระบบได้ เช่น โปรแกรมกำรรับรำยกำรอำหำรจำก
ลูกค้ำ และกำรออกแบบใบเสร็จเก็บเงินลูกค้ำของภัตตำคำร ซึ่งจะต้อง
ทำงำนร่วมกันระหว่ำงโปรแกรมรับรำยกำรสินค้ำบนระบบเครื่อง PDA ของ
พนักงำนขำย และส่งข้อมูลไปยังระบบเครื่องคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์ที่จะทำ
กำรบันทึกข้อมูลรำยกำรอำหำรของลูกค้ำ เป็นต้น
Tananya Khamkhum
Tananya Khamkhum

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-742 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-7naraporn buanuch
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์Adisak' Jame
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาN'Name Phuthiphong
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7naraporn buanuch
 
19 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-719 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4Nuttapoom Tossanut
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Pete Panupong
 
ความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีssuser5adb53
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมSarocha Makranit
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-712 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์N'Name Phuthiphong
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Chatkal Sutoy
 

Was ist angesagt? (19)

32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7
 
งาน #1
งาน #1งาน #1
งาน #1
 
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-742 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7
 
19 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-719 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-7
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
ความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซี
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-712 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

Ähnlich wie ภาษาคอมพิวเตอร์และการโปรแกรม

งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมEdz Chatchawan
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++Naowarat Jaikaroon
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาPhanupong Chanayut
 
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานบทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานBaramee Chomphoo
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 1/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 1/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 1/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 1/7Know Mastikate
 
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-902 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-9naraporn buanuch
 
13 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-713 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-7naraporn buanuch
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีHathaichon Nonruongrit
 
03 พิพีฒน์-3-9
03 พิพีฒน์-3-903 พิพีฒน์-3-9
03 พิพีฒน์-3-9naraporn buanuch
 
24 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-724 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
06 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-906 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-9naraporn buanuch
 

Ähnlich wie ภาษาคอมพิวเตอร์และการโปรแกรม (20)

งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอม
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
 
14 ธเนษฐ-3-7
14 ธเนษฐ-3-714 ธเนษฐ-3-7
14 ธเนษฐ-3-7
 
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานบทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 1/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 1/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 1/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 1/7
 
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-902 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
 
13 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-713 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-7
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Computer Programming 1
Computer Programming 1Computer Programming 1
Computer Programming 1
 
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
ประวัติความเป็นมาภาษาซีประวัติความเป็นมาภาษาซี
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
03 พิพีฒน์-3-9
03 พิพีฒน์-3-903 พิพีฒน์-3-9
03 พิพีฒน์-3-9
 
24 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-724 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-7
 
Know1 2
Know1 2Know1 2
Know1 2
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
06 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-906 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-9
 

ภาษาคอมพิวเตอร์และการโปรแกรม