SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 10
Downloaden Sie, um offline zu lesen
บทท่ี 2

                            เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

         ในการศึกษาคนควาครั้งนี้ ผูศึกษาไดศึกษาคนควาการจัดกิจกรรมการเรียนรู เรอง การอาน
                                                                                      ่ื
จับใจความ โดยการใชคําถามตามแนวคิดของบลูม (Bloom) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ผูศึกษาคนควาไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ตามลําดับดังนี้
            1. หลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
            2. การอาน
            3. การอานจับใจความ
            4. เทคนิคการใชคําถาม
            5. การวัดผลประเมินผล
            6. แผนการจดกจกรรมการเรยนรู
                           ั ิ            ี
            7. ดัชนีประสิทธิผล
            8. การคิดวิเคราะห
            9. งานวิจัยที่เกี่ยวของ

หลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
           หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนดสาระการเรียนรูและมาตรฐานการเรียนรูเปนเกณฑ
ในการกําหนดคุณภาพของผูเรียนเมื่อเรียนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งกําหนดไวเฉพาะสวนที่จําเปน
สําหรับเปนพื้นฐานในการดํารงชีวิตใหมีคุณภาพ สําหรับสาระและมาตรฐานการเรียนรูตาม
ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเรียน สถานศึกษาสามารถพัฒนาเพิ่มเติมได สําหรับ
สาระการเรียนรูภาษาไทยมี 5 สาระ ดงน้ี    ั
           1. สาระการเรยนรู
                         ี
              สาระที่ 1 : การอาน
              สาระท่ี 2 : การเขียน
              สาระที่ 3 : การฟง การดู และการพูด
                               
              สาระที่ 4 : หลักการใชภาษา
              สาระที่ 5 : วรรณคดี และวรรณกรรม
           ในการศึกษาคนควาครั้งนี้ มุงศึกษาในสวนที่เกี่ยวของกับสาระการอาน โดยมีมาตรฐาน
การเรียนรูดังนี้
           สาระที่ 1 การอาน
มาตรฐาน ท 1.1 : ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดไปใชตัดสินใจ
แกปญหาและสรางวิสัยทัศนในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอาน
                      1. สามารถอานไดคลองและอานไดเร็วขึ้น เขาใจความหมายของคํา สานวน  ํ
โวหาร การบรรยาย การพรรณนา การเปรียบเทียบ การใชบริบท เขาใจความหมายของถอยคํา
สานวน และเนอเรอง และใชแหลงเรียนรูพัฒนาความสามารถการอาน
  ํ               ้ื ่ื
                      2. สามารถแยกแยะขอเท็จจริงและขอคิดเห็น วิเคราะหความ ตีความ
สรุปความหาคําสําคัญในเรื่องที่อานและใชแผนภาพโครงเรื่องหรือแผนภาพความคิดพัฒนา
ความสามารถการอาน นําความรูความคิดจากการอานไปใชแกปญหา ตัดสิน คาดการณ และใช
การอานเปนเครื่องมือในการพัฒนาตน การตรวจสอบความรูและคนหาเพิ่มเติม
                      3. สามารถอานในใจและอานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองไดคลอง
และรวดเร็วถูกตองตามลักษณะคําประพันธและอักขรวิธีและจําบทรอยกรองที่มีคุณคาทางความคิด
และความงดงามทางภาษา สามารถอธิบายความหมายและคุณคา นําไปใชอางอิง เลือกอานหนังสือ
สารสนเทศทั้งสื่อสิ่งพิมพและสื่ออิเล็กทรอนิกสตามจุดประสงคอยางกวางขวาง มีมารยาทการอาน
และนิสัยรักการอาน
           2. คุณภาพผูเรียนชวงชั้นที่ 2
              ผูเรียนชวงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 – 6 ผูเรียนตองมีความรู ความสามารถ
และคณธรรม จรยธรรม และคานิยมในสาระการเรียนรูภาษาไทยดังนี้ (กรมวิชาการ. 2545 ข :
         ุ          ิ
10-11)
                      1. อานไดคลองและอานไดเร็วขึ้น
                      2. เขาใจความหมายของคํา สานวน โวหาร การเปรียบเทียบ อานจับประเด็น
                                                    ํ
สําคัญ แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็น วิเคราะหความ ตีความ สรุปความ
                      3. นําความรูที่ไดจากการอานไปใชแกปญหา ตดสนใจ คาดการณ และการอาน
                                                                      ั ิ
เปนเครื่องมือในการพัฒนาตน
                      4. เลือกอานหนังสือและสื่อสารสนเทศจากแหลงเรียนรูไดตามจุดประสงค
                      5. เขียนเรียงความ ยอความ จดหมาย เขียนอธิบาย เขียนชี้แจงการปฏิบัติงาน
และรายงาน เขียนเรื่องราวจากจินตนาการและเรื่องราวที่สัมพันธกับชีวิตจริง จดบันทึกความรู
ประสบการณ เหตุการณ และการสังเกตอยางเปนระบบ
                      6. สรุปความ วิเคราะหเรื่องที่ฟงที่ดู และเปรียบเทียบกับประสบการณในชีวิต
จรง    ิ
                      7. สนทนา โตตอบ พดแสดงความรู ความคิด ความตองการ พดวเิ คราะห
                                           ู                                      ู
เรองราว พูดตอหนาชุมชน และพูดรายงาน
    ่ื
                      8. ใชทักษะภาษาเปนเครื่องมือการเรียน การดํารงชีวต และการอยูรวมกัน
                                                                          ิ
ในสังคม รวมทั้งใชไดถูกตองเหมาะสมกับบุคคลและสถานการณ
               9. เขาใจลักษณะของคําไทย คําภาษาถิ่น และคําภาษาตางประเทศที่ปรากฏ
ในภาษาไทย
               10. ใชทักษะทางภาษาเพื่อประโยชนไดตามจุดประสงค
               11. ใชหลักการพิจารณาหนังสือ พิจารณาวรรณคดีและวรรณกรรมใหเห็นคุณคา
และนําประโยชนไปใชในชีวิต
               12. ทองจําบทรอยกรองที่ไพเราะและมีคุณคาทางความคิด และนําไปใชใน
การพูดและการเขียน
               13. แตงกาพยและกลอนงาย ๆ
               14. เลานิทานพื้นบานและตํานานพื้นบานในทองถิ่น
               15. มีมารยาทในการอาน การเขียน การฟง การดู และการพูด
                                                     
               16. มีนิสัยรักการอานและการเขียน

การอาน
            1. ความหมายของการอาน
                การอาน หมายถึง กระบวนการที่ผูอานแปลความ คํา สัญลักษณที่เปน
ตัวอักษร พิมพหรือเขียนออกมาใหเขาใจ ซึ่งเปนผลของกระบวนการสรางความหมายโดยผสมผสาน
กนระหวาง ความมุงหมายของผูเขียนและประสบการณเดิมของผูอาน
   ั      
            2. จุดมุงหมายการอาน
                จุดมุงหมายของการอาน ยอมแตกตางกันไปในทุกครั้งที่อาน ซึ่งการอานครั้งหนึ่ง ๆ
อาจมีจุดมุงหมายอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางดังนี้
                        1. อานเพื่อตองการศึกษาหาความรู 2. อานเพื่อหาคําตอบในสิ่งที่ตองการ
                        3. อานเพื่อทดสอบความเขาใจ         4. อานเพอแสดงความคดเหน
                                                                  ่ื             ิ ็
                        5. อานเพื่อปฏิบัติตามคําแนะนํา     6. อานเพื่อวิจารณ
                        7. อานเพื่อความบันเทิง
การอานจับใจความ
            1. ความหมายการอานจับใจความ
                 การอานจับใจความหมายถึง การที่ผูอานแปลความ ตีความ ขยายความ ทํา
ความเขาใจเนื้อเรื่องที่อาน จุดมุงหมายของผูเขียน จบใจความสาคญและแนวคดดวยกระบวนการคด
                                                      ั        ํ ั            ิ                ิ
วเิ คราะห และนําความรูความคิดที่ไดจากการอานไปประยุกตใชใหเกิดประโยชนสูงสุด
เทคนิคการใชคําถาม (Questioning Method)
              1. ความสําคัญของการใชคําถาม
                  การใชคําถามในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมีความสําคัญและจําเปนตอการพัฒนา
ความคิดของผูเรียนอยางยิ่ง และเปนสวนสําคัญที่ทําใหผูเรียนคิดเปน ทําเปนและแกปญหาเปน
ตามเจตนารมณของหลักสูตร การใชคําถามเปนเทคนิคการสอนที่มีประสิทธิภาพในการเรียนการสอนที่มุง
ใหผูเรียนสามารถหาความรู แกปญหา และสรปแนวคดหลกไดดวยตนเอง และไมวาครจะสอนดวยวธใด
                                                ุ      ิ ั                       ู            ิี
การใชคําถามก็ยังมีบทบาทสําคัญในการเรียนทุกครั้ง
                     ทิศนา แขมมณี (2548 : 407) ใหขอเสนอแนะเกยวกับขอควรคํานึงและพึงระวัง
                                                                      ่ี
ในการใชคําถามดังนี้
                        1. ถามคําถามทีละคําถาม ไมควรถามหลายคําถามติดตอกัน
                        2. คําถามแตละคําถาม ไมควรมีประเด็นมากเกินไป
                        3. คําถามควรชัดเจน ถาคําถามกวางเกินไป ผูเรียนตอบไมตรงประเด็น ควร
ปรับคําถามใหเฉพาะเจาะจงมากขึ้น
                        4. คําถามไมควรยาวเกินไป ผูเรียนหรือผูตอบจะจําประเด็นไมได หรออาจจะ
                                                                                           ื
หลงประเดนไปได ็
                        5. ควรใชน้ําเสียงและทาทางที่เหมาะสมประกอบการถาม
                        6. เมื่อถามคําถามแลวควรใหเวลาผูเรียนคิด (Wait Time) พอสมควร จากการ
วิจัยของ Cruickshank (ทิศนา แขมมณี. 2548 : 407 ; อางอิงมาจาก Cruickshank. 1995 :
346) พบวา ถาผูสอนใหเวลาแกผูเรียนคิดประมาณ 3- 5 นาที ผูเรียนจะสามารถตอบคําถามไดยาว
            
ขึ้นและมีคุณภาพมากขึ้น
                        7. ไมควรทวนคําถาม และไมควรทวนคําตอบของผูเรียนบอย ๆ
                        8. ผูสอนควรใหคําชมแกผูเรียนบาง แตไมบอยเกนไป ควรเปนไปตามความ
                                                                           ิ
ตองการของผูเรียนแตละคน และควรพยายามคอย ๆ เปลี่ยนการเสริมแรงจากภายนอกไปสูการ
เสริมแรงภายใน
                        9. หลีกเลี่ยงการชมประเภท ดี ........แต........
                        10. การชมตองมีฐานจากความเปนจริง และความจริงใจ
                        11. ถามผูเรียนและใหโอกาสผูเรียนในการตอบอยางทั่วถึงใหความเสมอภาคแก
ผูเรียนทั้งชายและหญิง ทั้งเกงและออน ทั้งที่สนใจและไมสนใจ
                        12. เมื่อถามคําถามแลว ผูสอนควรเรียกใหผูเรียนตอบเปนรายบุคคล ไมควรให
                                                                                              
ผูเรียนตอบพรอมกัน
                        13. เมื่อถามแลวไมมีผูใดตอบได ควรตั้งคําถามใหม โดยใชคําถามที่งายขึ้นหรืออธิบาย
ขยายความ หรือใหแนวทางในการตอบการใชคําถามเปนเทคนิคอยางหนึ่งที่ชวยใหนักเรียนคนหาแนวคิดได
คําถามมีหลายประเภท คําถามบางประเภทกระตุนใหนักเรียนคิด บางคําถามปลุกใหตื่น หรือเราใหนักเรียน
เกิดความสนใจเพื่ออานสารตามที่ครูไดแนะนาหรอมอบหมาย
                                              ํ ื
              2. ประเภทของคําถาม
              การใชคําถามสามารถแบงออกไดหลายประเภท ขึ้นอยูกับหลักเกณฑที่ใชในการแบง
ประเภท ซึ่งมีผูแบงประเภทการใชคําถามแตกตางกันไว นักการศึกษาไดแบงคําถามออกเปน 3
ประเภท ดงน้ีั
                  1. คําถามเพื่อหาคําตอบพื้นฐาน คําตอบนั้นเปนขอมูลที่ไดจากการอาน ดังนั้น
คําถามประเภทนี้มักจะถามเกี่ยวกับความจํา ความเขาใจ การนําไปใช คําตอบจึงมักจะเกี่ยวกับความ
จริงที่ปรากฏในสารที่อาน
                  2. คําถามเพื่อคิดวิจารณญาณ คําถามประเภทนี้มักตองการคําตอบ โดยใชเ นอหา้ื
จากการอาน
                  3. คําถามเพื่อคิดสรางสรรค คําถามประเภทนี้ตองการคําตอบที่เปนไปในทางการ
พัฒนาเพื่อสรางสรรคในสิ่งที่ดีงาม ทําใหจิตใจมีความสุข คําถามจึงมักเปดกวางใหผูตอบสามารถ
ตอบไดอยางเสรี ไมกาหนดตายตว
                   ํ            ั

การวัดผลประเมินผล
           1. การวัดและประเมินผลการเรียนภาษาไทย
                   1. หลักการของการประเมินผลในชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพดังนี้
                      ประการแรก : การประเมินผลในชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพจะตองสงเสริมการ
เรียนรูของผูเรียน หมายความวา ผูสอนตองประเมินการเรียนรูของผูเรียนตั้งแตเริ่มบทเรียน และ
ประเมินอยางสม่ําเสมอตลอดการสอนแตละหนวย เพื่อใหไดขอมูลมาปรับปรุงการสอน ผูสอนตอง
                                              
ตั้งเกณฑไวลวงหนาเพื่อรองรับการสอนและการประเมิน และตองอธิบายเกณฑที่ตองการใหนักเรียน
ทราบ แจงผลการประเมินใหผูเรียนทราบอยางสม่ําเสมอ เพื่อผูเรียนจะไดพัฒนาตนเองไปสูเปาหมาย
ตามเกณฑในการประเมินตนเอง
                      ประการที่สอง : การประเมินจะตองใชขอมูลจากแหลงขอมูลที่หลากหลาย
หมายความวา การประเมินผลในชั้นเรียนที่ดีตองไดจากการสังเคราะหขอมูลจากแหลงตาง ๆ
                      ประการที่สาม : การประเมินจะตองมีความเที่ยงตรง เชอถอได และยตธรรม
                                                                            ่ื ื         ุิ
หมายความวา ความเที่ยงตรง และความเชื่อมั่นหรือความคงเสนคงวาในการประเมิน เปนคุณสมบัติ
สําคัญของเครื่องมือที่ใชในการวัดผลการเรียนรูของผูเรียน สิ่งที่ผูสอน เชน กจกรรมการเรยนรท่ี
                                                                           ิ             ี ู
สอนดวยวธการอานในใจ จะประเมินผลการตอบคําถามจากเรื่องที่อาน การสรปสาระสําคัญจากเรื่องที่อาน
         ิี                                                                    ุ
การประเมินการเรียนรูที่สอน
2 การประเมินผลการสอนอานจับใจความ
                    การอานจับใจความมีวิธีการสอนหลากหลายวิธี การประเมินจึงประเมินผล
ตามลักษณะของกิจกรรมการเรียนรู ครูควรเนนการประเมินผลตามสภาพจริงที่มีประสิทธิภาพ
ประกอบดวยการประเมินดานภาษาใหครบสามประการที่กลาวมาขางตนไดแก 1) การประเมินผล
อยางสม่ําเสมอในขณะที่ทําการสอนแตละหนวย 2) การประเมินจากแหลงขอมูลที่หลากหลายหรือ
ไดจากการสังเคราะหขอมูล 3) การประเมินจากแบบทดสอบที่มีความเที่ยงตรง และความเชื่อมั่น
สิ่งที่พึงระวังก็คือ ความรูสึกสวนตนของผูสอนที่มีตอผูเรียนควรประเมินดวยความยุติธรรม
                    กลาวโดยสรป การประเมินผลการสอนอานจับใจความเปนกระบวนการ
                               ุ
ที่จะตรวจสอบคุณภาพของการเรียนการสอนวา ไดชวยใหนักเรียนบรรลุผลตามจุดประสงคที่วางไว
หรอไม ถาการวัดผลพบวา ยังไมเปนไปตามที่วางไว ครูก็ตองหันมาพิจารณาวา กระบวนการใน
    ื
ขั้นตอนใดที่ยังบกพรองจะแกไขปรับปรุงอยางไร จะเหนไดวา การวัดผลประเมินผลการอานจับ
                                                          ็ 
ใจความเปนสิ่งที่จะตองทําตลอดเวลาควบคูไปกับการเรียนการสอน ไมใชเปนกระบวนการขั้น
สุดทายของการเรียนการสอน

แผนการจัดกิจกรรมการเรยนรู
                     ี

        1. ความหมายของแผนการจัดกิจกรมการเรียนรู
              แผนการจดกจกรรมการเรยนรู หมายถึง การเตรียมการสอนอยางมี
                       ั ิ           ี
ระบบเปนลายลักษณอักษรลวงหนา และเปนเครื่องมืออันสําคัญที่จะชวยใหผูเรียนไปสูจุดหมาย
ปลายทางที่หลักสูตรกําหนดไดอยางมีประสิทธิภาพ

ดัชนีประสิทธิผล
             บุญชม ศรีสะอาด (2546 : 157-159) กลาวถึงการวิเคราะหหาประสิทธิผลของสื่อ
วิธีสอน หรอนวตกรรมไววา เพื่อที่จะทราบวาสื่อการเรียนการสอน วิธีสอน หรือนวัตกรรมที่ผู
              ื ั              
ศึกษาคนควาพัฒนาขึ้นมามีประสิทธิผล (Effectiveness) เพียงใด ก็จะนําสื่อที่พัฒนาขนนนไปทดลอง
                                                                                     ้ึ ้ั
ใชกับผูเรียนที่อยูในระดับที่เหมาะสมกับที่ไดออกแบบมา แลวนําผลการทดลองมาวิเคราะหหา
ประสิทธิผล หมายถึง ความสามารถในการใหผลอยางชัดเจน แนนอน ซึ่งนิยมวิเคราะหและแปลผล
                                                                     
2 วธี
    ิ
             วิธีที่ 1 จากการพิจารณาผลของการพัฒนา
                 วิธีนี้เปนการเปรียบเทียบระหวางจุดเริ่มตนกับจุดสุดทาย เชน ระหวางกอนเรยนกบ
                                                                                   ี ั
หลังเรียน เพื่อเห็นพัฒนาการหรือความงอกงาม ผูศึกษาคนควาจะตองสรางเครื่องมือวัดในตัวแปรที่
สนใจศึกษา เชน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เปนเครื่องมือที่สรางเพื่อวัดผลการเรยนรู
                                                                                           ี
หลังจากเรียนเรื่องนั้น หรือหลังการทดลองเรื่องนั้น ซึ่งจะตองสรางใหครอบคลุมจุดประสงค เนอหา
                                                                                          ้ื
สาระที่เรียน หรือคุณลักษณะที่มุงวัด สรางไวลวงหนาเมื่อกอนจะเริ่มสอนหรือทดลอง ก็จะนํา
แบบทดสอบหรือเครื่องมือดังกลาวมาวัดกับผูเรียน เรียกวาการทดสอบกอนเรยนหรอกอนทดลอง
                                                                        ี       ื 
(Pre-test) และหลังจากเรียนจบเรื่องนั้นแลว ก็นําแบบทดสอบชุดเดิมมาทดสอบกับผูเรียนกลุมเดิม
(Post-test) นําผลการทดสอบทั้งสองครั้งมาเปรียบเทียบกัน โดยเขยนคะแนนหลงเรยนไวกอนเรยน
                                                                ี            ั ี      ี
จาแนกเปน 2 กลุม 1) การพิจารณารายบุคคล 2) การพจารณารายกลุม
 ํ                                                   ิ
            วิธีที่ 2 จากการหาดัชนีประสิทธิผล
การหาดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness Index) กรณีรายบุคคลตามแนวคิดของ
Hofland จะใหสารสนเทศที่ชัดเจนโดยใชสูตร ดงน้ี  ั
                        ดัชนีประสิทธิผล = คะแนนหลงเรยน – คะแนนกอนเรยน
                                                    ั ี               ี
                                          คะแนนเตม – คะแนนกอนเรยน
                                                  ็             ี

                     โดยทั่วไปการหาดัชนีประสิทธิผลมักหาโดยใชคะแนนของกลุม ซึ่งทําใหมีสูตร
เปลี่ยนไป ดงน้ี
           ั

ดัชนีประสิทธิผล = ผลรวมของคะแนนหลังเรียนของทุกคน–ผลรวมของคะแนนกอนเรียนของทุกคน
                  (จานวนนกเรยน X คะแนนเตม) – ผลรวมของคะแนนกอนเรยนของทุกคน
                     ํ      ั ี               ็                          ี
                เผชิญ กิจระการ และสมนก ภัททิยธนี (2545 : 31) ไดกลาววาการหาพัฒนาการที่เพิ่มขึ้น
                                        ึ
ของผูเรียนโดยอาศัยคาดัชนีประสิทธิผล โดยใช (Effectiveness Index : E.I.) มีสูตร ดงน้ี
                                                                                  ั

ดัชนีประสิทธิผล = ผลรวมของคะแนนหลังเรียนของทุกคน–ผลรวมของคะแนนกอนเรียนของทุกคน
                  (จานวนนกเรยน X คะแนนเตม) – ผลรวมของคะแนนกอนเรียนของทุกคน
                    ํ    ั ี            ็
หรอื

                  E.I. = P2 –P1
                         Total -P1

                  เมื่อ P1 แทน ผลรวมของคะแนนกอนเรยนทกคน
                                               ี ุ
                        P2 แทน ผลรวมของคะแนนหลงเรยนทกคน
                                                ั ี ุ
                        Total แทน ผลคณของจานวนนกเรยนกบคะแนนเตม
                                     ู    ํ    ั ี ั         ็

             การหาคา E.I. เปนการพิจารณาพัฒนาการในลักษณะที่วาเพิ่มขึ้นเทาไร ไมไดทดสอบ
                                                                                  
วาเพิ่มขึ้นอยางเชื่อถือไดหรือไม ซึ่งคาที่แสดงคะแนนที่เพิ่มขึ้นนั้น เรียกวา หาคาดัชนีประสิทธิผล
(E.I.) และเพื่อใหสื่อความหมายกันงายขึ้นจึงแปลงคะแนนใหอยูในรูปของรอยละ เชน จากคาดัชนี
                                                                                         
ประสิทธิผล (E.I.) 0.6240 คิดเปนรอยละ 62.40
ดัชนีประสิทธิผล = รอยละของผลรวมของคะแนนหลังเรียน–รอยละของผลรวมของคะแนนกอนเรียน
                                     100 – รอยละของผลรวมของคะแนนกอนเรียน

                                        หรอ E.I. = P2 % - P1%
                                          ื
                                                    100 - P1%
งานวิจัยที่เกี่ยวของ
             1. งานวิจัยในประเทศ
                  เนาวรตน แตงยิ้ม (2541 : 60) ไดศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการอานจับใจความ
                         ั
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 จงหวดเพชรบรี ปการศึกษา 2540 พบวา นักเรียนที่เรียนโดยใช
                                          ั ั         ุ                     
แบบฝกจากแผนการสอน “เทคนิค 9 คําถาม” มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและ
หลังเรียน แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมคะแนนหลงเรยนสงกวากอนเรยน
                                                                    ี         ั ี ู   ี
และนักเรียนที่เปนกลุมทดลองมีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวากลุมควบคุม
                  ยภาวดี ขันธุลา (2546 : บทคัดยอ) ไดทําการวิจัยเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์และเจตคติ
                   ุ
ตอการอานจับใจความภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2546 อาเภอ        ํ
หนองกุงศรี จงหวดกาฬสนธุ ผลการวิจัยพบวา หลังการทดลองนักเรียนที่เรียนแบบรวมมือกัน
                  ั ั         ิ
เรยนรโดยใชโปรแกรม CIRC มีผลสัมฤทธิ์การอานจับใจความภาษาไทยสูงกวานักเรียนที่เรียน
   ี ู         
ตามคูมือครู อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01
                  ศุภิสรา วงศคําจันทร (2547 : 78) ไดศึกษาการพัฒนาแผนการเรียนรูและบทเรียน
สําเรจรปประกอบการตน เพื่อฝกทักษะการอานจับใจความ วิชาภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปที่ 4
       ็ ู                 ู
ผลการศึกษาพบวา แผนการเรียนรูและบทเรียนสําเร็จรูปประกอบการอานเพื่อจับใจความ วชา           ิ
ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 มีประสิทธิภาพเทากับ 81.44/87.80 ซึ่งเปนไปตามเกณฑ 80/80
ที่ตั้งไว และแผนการเรียนรูภาษาไทย การอานจับใจความชั้นประถมศึกษาปที่ 4 มีดัชนีประสิทธิผล
เทากับ 0.7010 หมายถึงนักเรียนมีความรูเพิ่มขึ้นรอยละ 70.10
                  วารุณี พิมพวงศทอง (2547 : 72) ไดศึกษาผลการสอนแบบสืบเสาะหาความรูโดยการ
ใชคําถามตามรูปแบบของบลูม ที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลสัมฤทธิ์ดานทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 กลุมตัวอยางไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
โรงเรยนบานศรไกรลาส สํานักงานการประถมศึกษาอําเภอลาดยาว จงหวดนครสวรรค จานวน 304
        ี  ี                                                           ั ั               ํ
คน เครื่องมือที่ใช แผนการสอนวิทยาศาสตร (ว305) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ
แบบทดสอบวักผลสัมฤทธิ์ดานกระบวนการทางวิทยาศาสตร สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลไดแก
คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาไค-สแคร ผลการวิวิจัยพบวา นักเรียนที่เรียนโดยวิธีสืบเสาะหา
ความรูโดยการใชคําถามตามแนวคิดของบลูมหลังเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวากอนเรียน
อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01
              2. งานวิจัยตางประเทศ
                  ดาหลเกรน (Dahlgren. 2003 : 1954-A) ไดศึกษาการแกไขความผิดพลาดทาง
                       
อักขรวิธีในการเขียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน มีความมุงหมายเพื่ออธิบายประสิทธิภาพของโปรแกรม
การแทรกแซงคือ การอานและการเขียนจากความรูสึกสัมผัสหลายทาง การมุงเนนอยูที่ขั้นตอนของ
การสะกดคําเชิงพัฒนา และการเพิ่มความสามารถในการสะกดคําในบทเรียงความที่เขียนขึ้น การ
ประเมินการเขียนของนักเรียนกระทําเพื่อคุณภาพและปริมาณ การแสดงออกทางการเขียนเปนการ
มุงเนนรองลงของการศึกษาครั้งนี้ กลุมตัวอยางเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตนจํานวน 16 คน
ที่เขาเรียนโปรแกรมโรงเรียนภาคฤดูรอนในกลุมในเมืองชั้นในกลุมหนึ่ง การศึกษาเปนการออกแบบ
เชิงคุณภาพที่ใชวิธีการเชิงเปรียบเทียบอยางสม่ําเสมอเพื่อสรางทฤษฎีเบื้องตน ทฤษฎีเบื้องตนนี้ซึ่ง
รูจักกันวาเปนวิธีการเปรียบเทียบกับขอมูลที่เก็บรวบรวมมาและตีความขอมูลวาเปนการลําเอียงเขาขาง
การเกิดขึ้นของทฤษฎี วิธีการนี้มาทางโตเหตุผลพิสูจนสมมุติฐานที่เกิดขึ้นตลอดการศึกษาครั้งนี้
ผลการศึกษาพบวา การวิเคราะหเชิงคุณภาพเกี่ยวกับการสะกดคําชี้ใหเห็นการเติบโตในขั้นตอนการ
สะกดคํา จําแนกประเภทที่ไดจากขั้นตอนการสะกดความเชิงพัฒนาในการเขียนของนักเรียน ผูให
คะแนน 2 คน ใหคะแนนการประเมินการเขียนเปนรายบุคคลแลวประชุมปรึกษากันเรื่องการเขียน
ไมมีการเปลี่ยนแปลงในดานคุณภาพและปริมาณการเขียน นาคะแนนของผใหคะแนนมาวเิ คราะห
                                                                ํ            ู 
โดยใชสัมประสิทธิสหสัมพันธของ Spearman Rho พบวามีสหสัมพันธภายในผูใหคะแนนระหวาง
คะแนนทใหอสระ (r) เทากับ .83 , p เทากับ .01 สําหรับคะแนนคุณภาพ ความแตกตางใด ๆ
            ่ี  ิ
ระหวางผใหคะแนนไดนามาอภปรายและประนประนอมกนใหไดความเหนสอดคลองกน 100%
         ู                ํ     ิ             ี            ั       ็             ั
ในการวิเคราะหสุดทาย ขอคนพบทางทฤษฎีในการศึกษาชี้แนะวา ความตองการของนักเรียนที่จะ
เพิ่มการยืนมาตรฐานทางวิชาการมีความสําคัญ เมอใหโอกาสมสวนรวมในการแทรกแซง ซึ่งใหการ
                                                    ่ื            ี  
สอนทเ่ี ปนแบบมีโครงสรางและมีความรูสึกสัมผัสไดหลายทาง นักเรียนก็เพิ่มระดับการปฏิบัติขึ้น
เวลา 6 สัปดาหไมเพียงพอที่จะไดเห็นการเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญ
                  คิม (Kim. 2004 : 2753-A) ไดศึกษาหนาที่ของภาษาเขียนในการพัฒนาภาษาพูด
สําหรับนักเรียนชั้นอนุบาลถึงประถมปที่ 2 ที่เรียนภาษาอังกฤษเปนภาษาที่สอง ผูวิจัยการรูหนังสือ
หลายคนสนับสนุนการปฏิบัติการสอนทักษะทั้ง 4 ทักษะ และโตแยงวานักเรียนที่เรียนภาษาอังกฤษ
เปนภาษาที่สอง สามารถเรียนอานไดกอน สามารถแสดงใหเ หนขนตอนความกาวหนาในความ
                                                                  ็ ้ั                
คลองแคลวทางภาษาพูดภาษาอังกฤษ อยางไรก็ตามทัศนะที่นิยมเกี่ยวกับการอานภาษาอังกฤษเปน
ภาษาที่สอง ในกจกรรมการอานและการเขยนนนควรจะเลอนออกไปจนกวาภาษาพดของนกเรยน
                     ิ                      ี ้ั           ่ื                     ู     ั ี
เขาที่ดีแลวเสียกอน
เนื่องจากมีทัศนะที่โตแยงกันมาก การศึกษาครั้งนี้จึงมีความมุงหมาย เพอหาคาตอบ
                                                                                         ่ื    ํ
ของคําถามที่วาการอานและการเขียนที่อาศัยโรงเรียนเปนฐานนั้นสามารถจะนําไปใชอยางมี
ประสิทธิผล เพื่อพัฒนาทักษะภาษาพูดภาษาอังกฤษกับเด็กที่อายุยังนอย ที่เรียนภาษาอังกฤษเปน
ภาษาที่สองไดอยางไร เมื่อนําเอากรณีศึกษา 7 กรณี และการศึกษาแบบเขาแทรกแซง 1 กรณี
โดยใชการศึกษาเชิงทดลองกับเด็กเพียงคนเดียว พบวา สามารถอธิบายหนาที่ของการอานและการ
                                                      
เขียนภาษาอังกฤษในการพัฒนาทักษะภาษาพูดของนักเรียนที่เรียนภาษาอังกฤษเปนภาษาที่สองได
                  จากงานวิจัยและการศึกษาคนควาอิสระทั้งภายในประเทศและตางประเทศ สรุปไดวา
การจดกจกรรมการเรยนเรยนรู โดยการใชคําถาม เปนกิจกรรมการเรียนรูที่สามารถสงผลใหผูเรียนมี
      ั ิ              ี ี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น มีเจตคติที่ดีตอการเรียนและยังทําใหผูเรียนเกิดการคิดวิเคราะหอีก
ดวย ดังนั้น ผูศึกษาคนควาจึงมีความสนใจที่จะศึกษาคนควาการจัดกิจกรรมการเรียนรู เรอง การ
                                                                                           ่ื
อานจับใจความ โดยการใชคําถามตามแนวคิดดานพุทธิพิสัยของบลูม (Bloom) มาใชในการจัด
กจกรรมการเรยนรู เพื่อฝกทักษะการตอบคําถามจากเรื่องที่อาน สามารถประเมินผลไดครอบคลุม
  ิ             ี
ผลการเรียนรูที่คาดหวังของหลักสูตรและเปนประโยชนในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู
ในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยใหมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุดตอผูเรียนตอไป

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญneeranuch wongkom
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑พัน พัน
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
ข้อสอบสุขศึกษา
ข้อสอบสุขศึกษาข้อสอบสุขศึกษา
ข้อสอบสุขศึกษาPhichak Penpattanakul
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์Maruko Supertinger
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกลWijitta DevilTeacher
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการaispretty
 

Was ist angesagt? (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
Cippa model
Cippa modelCippa model
Cippa model
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
ข้อสอบสุขศึกษา
ข้อสอบสุขศึกษาข้อสอบสุขศึกษา
ข้อสอบสุขศึกษา
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
เล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทานเล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทาน
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการ
 

Ähnlich wie บทที่ 2วิจัยการอ่าน

เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนkittitach06709
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรคู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรniralai
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวนิตยา ทองดียิ่ง
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)niralai
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubonWaree Wera
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรทับทิม เจริญตา
 
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงvru.ac.th
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลtassanee chaicharoen
 

Ähnlich wie บทที่ 2วิจัยการอ่าน (20)

เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรคู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากร
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 
NT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal TestNT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal Test
 
ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213
 
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
 
05chap3
05chap305chap3
05chap3
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubon
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 

บทที่ 2วิจัยการอ่าน

  • 1. บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในการศึกษาคนควาครั้งนี้ ผูศึกษาไดศึกษาคนควาการจัดกิจกรรมการเรียนรู เรอง การอาน ่ื จับใจความ โดยการใชคําถามตามแนวคิดของบลูม (Bloom) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ผูศึกษาคนควาไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ตามลําดับดังนี้ 1. หลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย 2. การอาน 3. การอานจับใจความ 4. เทคนิคการใชคําถาม 5. การวัดผลประเมินผล 6. แผนการจดกจกรรมการเรยนรู ั ิ ี 7. ดัชนีประสิทธิผล 8. การคิดวิเคราะห 9. งานวิจัยที่เกี่ยวของ หลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนดสาระการเรียนรูและมาตรฐานการเรียนรูเปนเกณฑ ในการกําหนดคุณภาพของผูเรียนเมื่อเรียนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งกําหนดไวเฉพาะสวนที่จําเปน สําหรับเปนพื้นฐานในการดํารงชีวิตใหมีคุณภาพ สําหรับสาระและมาตรฐานการเรียนรูตาม ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเรียน สถานศึกษาสามารถพัฒนาเพิ่มเติมได สําหรับ สาระการเรียนรูภาษาไทยมี 5 สาระ ดงน้ี ั 1. สาระการเรยนรู ี สาระที่ 1 : การอาน สาระท่ี 2 : การเขียน สาระที่ 3 : การฟง การดู และการพูด  สาระที่ 4 : หลักการใชภาษา สาระที่ 5 : วรรณคดี และวรรณกรรม ในการศึกษาคนควาครั้งนี้ มุงศึกษาในสวนที่เกี่ยวของกับสาระการอาน โดยมีมาตรฐาน การเรียนรูดังนี้ สาระที่ 1 การอาน
  • 2. มาตรฐาน ท 1.1 : ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดไปใชตัดสินใจ แกปญหาและสรางวิสัยทัศนในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอาน 1. สามารถอานไดคลองและอานไดเร็วขึ้น เขาใจความหมายของคํา สานวน ํ โวหาร การบรรยาย การพรรณนา การเปรียบเทียบ การใชบริบท เขาใจความหมายของถอยคํา สานวน และเนอเรอง และใชแหลงเรียนรูพัฒนาความสามารถการอาน ํ ้ื ่ื 2. สามารถแยกแยะขอเท็จจริงและขอคิดเห็น วิเคราะหความ ตีความ สรุปความหาคําสําคัญในเรื่องที่อานและใชแผนภาพโครงเรื่องหรือแผนภาพความคิดพัฒนา ความสามารถการอาน นําความรูความคิดจากการอานไปใชแกปญหา ตัดสิน คาดการณ และใช การอานเปนเครื่องมือในการพัฒนาตน การตรวจสอบความรูและคนหาเพิ่มเติม 3. สามารถอานในใจและอานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองไดคลอง และรวดเร็วถูกตองตามลักษณะคําประพันธและอักขรวิธีและจําบทรอยกรองที่มีคุณคาทางความคิด และความงดงามทางภาษา สามารถอธิบายความหมายและคุณคา นําไปใชอางอิง เลือกอานหนังสือ สารสนเทศทั้งสื่อสิ่งพิมพและสื่ออิเล็กทรอนิกสตามจุดประสงคอยางกวางขวาง มีมารยาทการอาน และนิสัยรักการอาน 2. คุณภาพผูเรียนชวงชั้นที่ 2 ผูเรียนชวงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 – 6 ผูเรียนตองมีความรู ความสามารถ และคณธรรม จรยธรรม และคานิยมในสาระการเรียนรูภาษาไทยดังนี้ (กรมวิชาการ. 2545 ข : ุ ิ 10-11) 1. อานไดคลองและอานไดเร็วขึ้น 2. เขาใจความหมายของคํา สานวน โวหาร การเปรียบเทียบ อานจับประเด็น ํ สําคัญ แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็น วิเคราะหความ ตีความ สรุปความ 3. นําความรูที่ไดจากการอานไปใชแกปญหา ตดสนใจ คาดการณ และการอาน ั ิ เปนเครื่องมือในการพัฒนาตน 4. เลือกอานหนังสือและสื่อสารสนเทศจากแหลงเรียนรูไดตามจุดประสงค 5. เขียนเรียงความ ยอความ จดหมาย เขียนอธิบาย เขียนชี้แจงการปฏิบัติงาน และรายงาน เขียนเรื่องราวจากจินตนาการและเรื่องราวที่สัมพันธกับชีวิตจริง จดบันทึกความรู ประสบการณ เหตุการณ และการสังเกตอยางเปนระบบ 6. สรุปความ วิเคราะหเรื่องที่ฟงที่ดู และเปรียบเทียบกับประสบการณในชีวิต จรง ิ 7. สนทนา โตตอบ พดแสดงความรู ความคิด ความตองการ พดวเิ คราะห  ู ู เรองราว พูดตอหนาชุมชน และพูดรายงาน ่ื 8. ใชทักษะภาษาเปนเครื่องมือการเรียน การดํารงชีวต และการอยูรวมกัน ิ
  • 3. ในสังคม รวมทั้งใชไดถูกตองเหมาะสมกับบุคคลและสถานการณ 9. เขาใจลักษณะของคําไทย คําภาษาถิ่น และคําภาษาตางประเทศที่ปรากฏ ในภาษาไทย 10. ใชทักษะทางภาษาเพื่อประโยชนไดตามจุดประสงค 11. ใชหลักการพิจารณาหนังสือ พิจารณาวรรณคดีและวรรณกรรมใหเห็นคุณคา และนําประโยชนไปใชในชีวิต 12. ทองจําบทรอยกรองที่ไพเราะและมีคุณคาทางความคิด และนําไปใชใน การพูดและการเขียน 13. แตงกาพยและกลอนงาย ๆ 14. เลานิทานพื้นบานและตํานานพื้นบานในทองถิ่น 15. มีมารยาทในการอาน การเขียน การฟง การดู และการพูด  16. มีนิสัยรักการอานและการเขียน การอาน 1. ความหมายของการอาน การอาน หมายถึง กระบวนการที่ผูอานแปลความ คํา สัญลักษณที่เปน ตัวอักษร พิมพหรือเขียนออกมาใหเขาใจ ซึ่งเปนผลของกระบวนการสรางความหมายโดยผสมผสาน กนระหวาง ความมุงหมายของผูเขียนและประสบการณเดิมของผูอาน ั  2. จุดมุงหมายการอาน จุดมุงหมายของการอาน ยอมแตกตางกันไปในทุกครั้งที่อาน ซึ่งการอานครั้งหนึ่ง ๆ อาจมีจุดมุงหมายอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางดังนี้ 1. อานเพื่อตองการศึกษาหาความรู 2. อานเพื่อหาคําตอบในสิ่งที่ตองการ 3. อานเพื่อทดสอบความเขาใจ 4. อานเพอแสดงความคดเหน  ่ื ิ ็ 5. อานเพื่อปฏิบัติตามคําแนะนํา 6. อานเพื่อวิจารณ 7. อานเพื่อความบันเทิง การอานจับใจความ 1. ความหมายการอานจับใจความ การอานจับใจความหมายถึง การที่ผูอานแปลความ ตีความ ขยายความ ทํา ความเขาใจเนื้อเรื่องที่อาน จุดมุงหมายของผูเขียน จบใจความสาคญและแนวคดดวยกระบวนการคด ั ํ ั ิ  ิ วเิ คราะห และนําความรูความคิดที่ไดจากการอานไปประยุกตใชใหเกิดประโยชนสูงสุด
  • 4. เทคนิคการใชคําถาม (Questioning Method) 1. ความสําคัญของการใชคําถาม การใชคําถามในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมีความสําคัญและจําเปนตอการพัฒนา ความคิดของผูเรียนอยางยิ่ง และเปนสวนสําคัญที่ทําใหผูเรียนคิดเปน ทําเปนและแกปญหาเปน ตามเจตนารมณของหลักสูตร การใชคําถามเปนเทคนิคการสอนที่มีประสิทธิภาพในการเรียนการสอนที่มุง ใหผูเรียนสามารถหาความรู แกปญหา และสรปแนวคดหลกไดดวยตนเอง และไมวาครจะสอนดวยวธใด   ุ ิ ั   ู  ิี การใชคําถามก็ยังมีบทบาทสําคัญในการเรียนทุกครั้ง ทิศนา แขมมณี (2548 : 407) ใหขอเสนอแนะเกยวกับขอควรคํานึงและพึงระวัง  ่ี ในการใชคําถามดังนี้ 1. ถามคําถามทีละคําถาม ไมควรถามหลายคําถามติดตอกัน 2. คําถามแตละคําถาม ไมควรมีประเด็นมากเกินไป 3. คําถามควรชัดเจน ถาคําถามกวางเกินไป ผูเรียนตอบไมตรงประเด็น ควร ปรับคําถามใหเฉพาะเจาะจงมากขึ้น 4. คําถามไมควรยาวเกินไป ผูเรียนหรือผูตอบจะจําประเด็นไมได หรออาจจะ ื หลงประเดนไปได ็ 5. ควรใชน้ําเสียงและทาทางที่เหมาะสมประกอบการถาม 6. เมื่อถามคําถามแลวควรใหเวลาผูเรียนคิด (Wait Time) พอสมควร จากการ วิจัยของ Cruickshank (ทิศนา แขมมณี. 2548 : 407 ; อางอิงมาจาก Cruickshank. 1995 : 346) พบวา ถาผูสอนใหเวลาแกผูเรียนคิดประมาณ 3- 5 นาที ผูเรียนจะสามารถตอบคําถามไดยาว  ขึ้นและมีคุณภาพมากขึ้น 7. ไมควรทวนคําถาม และไมควรทวนคําตอบของผูเรียนบอย ๆ 8. ผูสอนควรใหคําชมแกผูเรียนบาง แตไมบอยเกนไป ควรเปนไปตามความ ิ ตองการของผูเรียนแตละคน และควรพยายามคอย ๆ เปลี่ยนการเสริมแรงจากภายนอกไปสูการ เสริมแรงภายใน 9. หลีกเลี่ยงการชมประเภท ดี ........แต........ 10. การชมตองมีฐานจากความเปนจริง และความจริงใจ 11. ถามผูเรียนและใหโอกาสผูเรียนในการตอบอยางทั่วถึงใหความเสมอภาคแก ผูเรียนทั้งชายและหญิง ทั้งเกงและออน ทั้งที่สนใจและไมสนใจ 12. เมื่อถามคําถามแลว ผูสอนควรเรียกใหผูเรียนตอบเปนรายบุคคล ไมควรให  ผูเรียนตอบพรอมกัน 13. เมื่อถามแลวไมมีผูใดตอบได ควรตั้งคําถามใหม โดยใชคําถามที่งายขึ้นหรืออธิบาย ขยายความ หรือใหแนวทางในการตอบการใชคําถามเปนเทคนิคอยางหนึ่งที่ชวยใหนักเรียนคนหาแนวคิดได
  • 5. คําถามมีหลายประเภท คําถามบางประเภทกระตุนใหนักเรียนคิด บางคําถามปลุกใหตื่น หรือเราใหนักเรียน เกิดความสนใจเพื่ออานสารตามที่ครูไดแนะนาหรอมอบหมาย ํ ื 2. ประเภทของคําถาม การใชคําถามสามารถแบงออกไดหลายประเภท ขึ้นอยูกับหลักเกณฑที่ใชในการแบง ประเภท ซึ่งมีผูแบงประเภทการใชคําถามแตกตางกันไว นักการศึกษาไดแบงคําถามออกเปน 3 ประเภท ดงน้ีั 1. คําถามเพื่อหาคําตอบพื้นฐาน คําตอบนั้นเปนขอมูลที่ไดจากการอาน ดังนั้น คําถามประเภทนี้มักจะถามเกี่ยวกับความจํา ความเขาใจ การนําไปใช คําตอบจึงมักจะเกี่ยวกับความ จริงที่ปรากฏในสารที่อาน 2. คําถามเพื่อคิดวิจารณญาณ คําถามประเภทนี้มักตองการคําตอบ โดยใชเ นอหา้ื จากการอาน 3. คําถามเพื่อคิดสรางสรรค คําถามประเภทนี้ตองการคําตอบที่เปนไปในทางการ พัฒนาเพื่อสรางสรรคในสิ่งที่ดีงาม ทําใหจิตใจมีความสุข คําถามจึงมักเปดกวางใหผูตอบสามารถ ตอบไดอยางเสรี ไมกาหนดตายตว   ํ ั การวัดผลประเมินผล 1. การวัดและประเมินผลการเรียนภาษาไทย 1. หลักการของการประเมินผลในชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพดังนี้ ประการแรก : การประเมินผลในชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพจะตองสงเสริมการ เรียนรูของผูเรียน หมายความวา ผูสอนตองประเมินการเรียนรูของผูเรียนตั้งแตเริ่มบทเรียน และ ประเมินอยางสม่ําเสมอตลอดการสอนแตละหนวย เพื่อใหไดขอมูลมาปรับปรุงการสอน ผูสอนตอง  ตั้งเกณฑไวลวงหนาเพื่อรองรับการสอนและการประเมิน และตองอธิบายเกณฑที่ตองการใหนักเรียน ทราบ แจงผลการประเมินใหผูเรียนทราบอยางสม่ําเสมอ เพื่อผูเรียนจะไดพัฒนาตนเองไปสูเปาหมาย ตามเกณฑในการประเมินตนเอง ประการที่สอง : การประเมินจะตองใชขอมูลจากแหลงขอมูลที่หลากหลาย หมายความวา การประเมินผลในชั้นเรียนที่ดีตองไดจากการสังเคราะหขอมูลจากแหลงตาง ๆ ประการที่สาม : การประเมินจะตองมีความเที่ยงตรง เชอถอได และยตธรรม ่ื ื ุิ หมายความวา ความเที่ยงตรง และความเชื่อมั่นหรือความคงเสนคงวาในการประเมิน เปนคุณสมบัติ สําคัญของเครื่องมือที่ใชในการวัดผลการเรียนรูของผูเรียน สิ่งที่ผูสอน เชน กจกรรมการเรยนรท่ี  ิ ี ู สอนดวยวธการอานในใจ จะประเมินผลการตอบคําถามจากเรื่องที่อาน การสรปสาระสําคัญจากเรื่องที่อาน  ิี  ุ การประเมินการเรียนรูที่สอน
  • 6. 2 การประเมินผลการสอนอานจับใจความ การอานจับใจความมีวิธีการสอนหลากหลายวิธี การประเมินจึงประเมินผล ตามลักษณะของกิจกรรมการเรียนรู ครูควรเนนการประเมินผลตามสภาพจริงที่มีประสิทธิภาพ ประกอบดวยการประเมินดานภาษาใหครบสามประการที่กลาวมาขางตนไดแก 1) การประเมินผล อยางสม่ําเสมอในขณะที่ทําการสอนแตละหนวย 2) การประเมินจากแหลงขอมูลที่หลากหลายหรือ ไดจากการสังเคราะหขอมูล 3) การประเมินจากแบบทดสอบที่มีความเที่ยงตรง และความเชื่อมั่น สิ่งที่พึงระวังก็คือ ความรูสึกสวนตนของผูสอนที่มีตอผูเรียนควรประเมินดวยความยุติธรรม กลาวโดยสรป การประเมินผลการสอนอานจับใจความเปนกระบวนการ  ุ ที่จะตรวจสอบคุณภาพของการเรียนการสอนวา ไดชวยใหนักเรียนบรรลุผลตามจุดประสงคที่วางไว หรอไม ถาการวัดผลพบวา ยังไมเปนไปตามที่วางไว ครูก็ตองหันมาพิจารณาวา กระบวนการใน ื ขั้นตอนใดที่ยังบกพรองจะแกไขปรับปรุงอยางไร จะเหนไดวา การวัดผลประเมินผลการอานจับ ็  ใจความเปนสิ่งที่จะตองทําตลอดเวลาควบคูไปกับการเรียนการสอน ไมใชเปนกระบวนการขั้น สุดทายของการเรียนการสอน แผนการจัดกิจกรรมการเรยนรู ี 1. ความหมายของแผนการจัดกิจกรมการเรียนรู แผนการจดกจกรรมการเรยนรู หมายถึง การเตรียมการสอนอยางมี ั ิ ี ระบบเปนลายลักษณอักษรลวงหนา และเปนเครื่องมืออันสําคัญที่จะชวยใหผูเรียนไปสูจุดหมาย ปลายทางที่หลักสูตรกําหนดไดอยางมีประสิทธิภาพ ดัชนีประสิทธิผล บุญชม ศรีสะอาด (2546 : 157-159) กลาวถึงการวิเคราะหหาประสิทธิผลของสื่อ วิธีสอน หรอนวตกรรมไววา เพื่อที่จะทราบวาสื่อการเรียนการสอน วิธีสอน หรือนวัตกรรมที่ผู ื ั  ศึกษาคนควาพัฒนาขึ้นมามีประสิทธิผล (Effectiveness) เพียงใด ก็จะนําสื่อที่พัฒนาขนนนไปทดลอง ้ึ ้ั ใชกับผูเรียนที่อยูในระดับที่เหมาะสมกับที่ไดออกแบบมา แลวนําผลการทดลองมาวิเคราะหหา ประสิทธิผล หมายถึง ความสามารถในการใหผลอยางชัดเจน แนนอน ซึ่งนิยมวิเคราะหและแปลผล  2 วธี ิ วิธีที่ 1 จากการพิจารณาผลของการพัฒนา วิธีนี้เปนการเปรียบเทียบระหวางจุดเริ่มตนกับจุดสุดทาย เชน ระหวางกอนเรยนกบ    ี ั หลังเรียน เพื่อเห็นพัฒนาการหรือความงอกงาม ผูศึกษาคนควาจะตองสรางเครื่องมือวัดในตัวแปรที่ สนใจศึกษา เชน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เปนเครื่องมือที่สรางเพื่อวัดผลการเรยนรู  ี
  • 7. หลังจากเรียนเรื่องนั้น หรือหลังการทดลองเรื่องนั้น ซึ่งจะตองสรางใหครอบคลุมจุดประสงค เนอหา ้ื สาระที่เรียน หรือคุณลักษณะที่มุงวัด สรางไวลวงหนาเมื่อกอนจะเริ่มสอนหรือทดลอง ก็จะนํา แบบทดสอบหรือเครื่องมือดังกลาวมาวัดกับผูเรียน เรียกวาการทดสอบกอนเรยนหรอกอนทดลอง  ี ื  (Pre-test) และหลังจากเรียนจบเรื่องนั้นแลว ก็นําแบบทดสอบชุดเดิมมาทดสอบกับผูเรียนกลุมเดิม (Post-test) นําผลการทดสอบทั้งสองครั้งมาเปรียบเทียบกัน โดยเขยนคะแนนหลงเรยนไวกอนเรยน ี ั ี  ี จาแนกเปน 2 กลุม 1) การพิจารณารายบุคคล 2) การพจารณารายกลุม ํ  ิ วิธีที่ 2 จากการหาดัชนีประสิทธิผล การหาดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness Index) กรณีรายบุคคลตามแนวคิดของ Hofland จะใหสารสนเทศที่ชัดเจนโดยใชสูตร ดงน้ี ั ดัชนีประสิทธิผล = คะแนนหลงเรยน – คะแนนกอนเรยน ั ี  ี คะแนนเตม – คะแนนกอนเรยน ็  ี โดยทั่วไปการหาดัชนีประสิทธิผลมักหาโดยใชคะแนนของกลุม ซึ่งทําใหมีสูตร เปลี่ยนไป ดงน้ี ั ดัชนีประสิทธิผล = ผลรวมของคะแนนหลังเรียนของทุกคน–ผลรวมของคะแนนกอนเรียนของทุกคน (จานวนนกเรยน X คะแนนเตม) – ผลรวมของคะแนนกอนเรยนของทุกคน ํ ั ี ็  ี เผชิญ กิจระการ และสมนก ภัททิยธนี (2545 : 31) ไดกลาววาการหาพัฒนาการที่เพิ่มขึ้น ึ ของผูเรียนโดยอาศัยคาดัชนีประสิทธิผล โดยใช (Effectiveness Index : E.I.) มีสูตร ดงน้ี ั ดัชนีประสิทธิผล = ผลรวมของคะแนนหลังเรียนของทุกคน–ผลรวมของคะแนนกอนเรียนของทุกคน (จานวนนกเรยน X คะแนนเตม) – ผลรวมของคะแนนกอนเรียนของทุกคน ํ ั ี ็ หรอื E.I. = P2 –P1 Total -P1 เมื่อ P1 แทน ผลรวมของคะแนนกอนเรยนทกคน  ี ุ P2 แทน ผลรวมของคะแนนหลงเรยนทกคน ั ี ุ Total แทน ผลคณของจานวนนกเรยนกบคะแนนเตม ู ํ ั ี ั ็ การหาคา E.I. เปนการพิจารณาพัฒนาการในลักษณะที่วาเพิ่มขึ้นเทาไร ไมไดทดสอบ  
  • 8. วาเพิ่มขึ้นอยางเชื่อถือไดหรือไม ซึ่งคาที่แสดงคะแนนที่เพิ่มขึ้นนั้น เรียกวา หาคาดัชนีประสิทธิผล (E.I.) และเพื่อใหสื่อความหมายกันงายขึ้นจึงแปลงคะแนนใหอยูในรูปของรอยละ เชน จากคาดัชนี  ประสิทธิผล (E.I.) 0.6240 คิดเปนรอยละ 62.40 ดัชนีประสิทธิผล = รอยละของผลรวมของคะแนนหลังเรียน–รอยละของผลรวมของคะแนนกอนเรียน 100 – รอยละของผลรวมของคะแนนกอนเรียน หรอ E.I. = P2 % - P1% ื 100 - P1% งานวิจัยที่เกี่ยวของ 1. งานวิจัยในประเทศ เนาวรตน แตงยิ้ม (2541 : 60) ไดศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการอานจับใจความ ั ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 จงหวดเพชรบรี ปการศึกษา 2540 พบวา นักเรียนที่เรียนโดยใช ั ั ุ  แบบฝกจากแผนการสอน “เทคนิค 9 คําถาม” มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและ หลังเรียน แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมคะแนนหลงเรยนสงกวากอนเรยน ี ั ี ู   ี และนักเรียนที่เปนกลุมทดลองมีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวากลุมควบคุม ยภาวดี ขันธุลา (2546 : บทคัดยอ) ไดทําการวิจัยเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์และเจตคติ ุ ตอการอานจับใจความภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2546 อาเภอ ํ หนองกุงศรี จงหวดกาฬสนธุ ผลการวิจัยพบวา หลังการทดลองนักเรียนที่เรียนแบบรวมมือกัน ั ั ิ เรยนรโดยใชโปรแกรม CIRC มีผลสัมฤทธิ์การอานจับใจความภาษาไทยสูงกวานักเรียนที่เรียน ี ู  ตามคูมือครู อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ศุภิสรา วงศคําจันทร (2547 : 78) ไดศึกษาการพัฒนาแผนการเรียนรูและบทเรียน สําเรจรปประกอบการตน เพื่อฝกทักษะการอานจับใจความ วิชาภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ็ ู ู ผลการศึกษาพบวา แผนการเรียนรูและบทเรียนสําเร็จรูปประกอบการอานเพื่อจับใจความ วชา ิ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 มีประสิทธิภาพเทากับ 81.44/87.80 ซึ่งเปนไปตามเกณฑ 80/80 ที่ตั้งไว และแผนการเรียนรูภาษาไทย การอานจับใจความชั้นประถมศึกษาปที่ 4 มีดัชนีประสิทธิผล เทากับ 0.7010 หมายถึงนักเรียนมีความรูเพิ่มขึ้นรอยละ 70.10 วารุณี พิมพวงศทอง (2547 : 72) ไดศึกษาผลการสอนแบบสืบเสาะหาความรูโดยการ ใชคําถามตามรูปแบบของบลูม ที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลสัมฤทธิ์ดานทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 กลุมตัวอยางไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรยนบานศรไกรลาส สํานักงานการประถมศึกษาอําเภอลาดยาว จงหวดนครสวรรค จานวน 304 ี  ี ั ั ํ คน เครื่องมือที่ใช แผนการสอนวิทยาศาสตร (ว305) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ แบบทดสอบวักผลสัมฤทธิ์ดานกระบวนการทางวิทยาศาสตร สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลไดแก
  • 9. คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาไค-สแคร ผลการวิวิจัยพบวา นักเรียนที่เรียนโดยวิธีสืบเสาะหา ความรูโดยการใชคําถามตามแนวคิดของบลูมหลังเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. งานวิจัยตางประเทศ ดาหลเกรน (Dahlgren. 2003 : 1954-A) ไดศึกษาการแกไขความผิดพลาดทาง  อักขรวิธีในการเขียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน มีความมุงหมายเพื่ออธิบายประสิทธิภาพของโปรแกรม การแทรกแซงคือ การอานและการเขียนจากความรูสึกสัมผัสหลายทาง การมุงเนนอยูที่ขั้นตอนของ การสะกดคําเชิงพัฒนา และการเพิ่มความสามารถในการสะกดคําในบทเรียงความที่เขียนขึ้น การ ประเมินการเขียนของนักเรียนกระทําเพื่อคุณภาพและปริมาณ การแสดงออกทางการเขียนเปนการ มุงเนนรองลงของการศึกษาครั้งนี้ กลุมตัวอยางเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตนจํานวน 16 คน ที่เขาเรียนโปรแกรมโรงเรียนภาคฤดูรอนในกลุมในเมืองชั้นในกลุมหนึ่ง การศึกษาเปนการออกแบบ เชิงคุณภาพที่ใชวิธีการเชิงเปรียบเทียบอยางสม่ําเสมอเพื่อสรางทฤษฎีเบื้องตน ทฤษฎีเบื้องตนนี้ซึ่ง รูจักกันวาเปนวิธีการเปรียบเทียบกับขอมูลที่เก็บรวบรวมมาและตีความขอมูลวาเปนการลําเอียงเขาขาง การเกิดขึ้นของทฤษฎี วิธีการนี้มาทางโตเหตุผลพิสูจนสมมุติฐานที่เกิดขึ้นตลอดการศึกษาครั้งนี้ ผลการศึกษาพบวา การวิเคราะหเชิงคุณภาพเกี่ยวกับการสะกดคําชี้ใหเห็นการเติบโตในขั้นตอนการ สะกดคํา จําแนกประเภทที่ไดจากขั้นตอนการสะกดความเชิงพัฒนาในการเขียนของนักเรียน ผูให คะแนน 2 คน ใหคะแนนการประเมินการเขียนเปนรายบุคคลแลวประชุมปรึกษากันเรื่องการเขียน ไมมีการเปลี่ยนแปลงในดานคุณภาพและปริมาณการเขียน นาคะแนนของผใหคะแนนมาวเิ คราะห ํ ู  โดยใชสัมประสิทธิสหสัมพันธของ Spearman Rho พบวามีสหสัมพันธภายในผูใหคะแนนระหวาง คะแนนทใหอสระ (r) เทากับ .83 , p เทากับ .01 สําหรับคะแนนคุณภาพ ความแตกตางใด ๆ ่ี  ิ ระหวางผใหคะแนนไดนามาอภปรายและประนประนอมกนใหไดความเหนสอดคลองกน 100%  ู   ํ ิ ี ั   ็  ั ในการวิเคราะหสุดทาย ขอคนพบทางทฤษฎีในการศึกษาชี้แนะวา ความตองการของนักเรียนที่จะ เพิ่มการยืนมาตรฐานทางวิชาการมีความสําคัญ เมอใหโอกาสมสวนรวมในการแทรกแซง ซึ่งใหการ ่ื  ี   สอนทเ่ี ปนแบบมีโครงสรางและมีความรูสึกสัมผัสไดหลายทาง นักเรียนก็เพิ่มระดับการปฏิบัติขึ้น เวลา 6 สัปดาหไมเพียงพอที่จะไดเห็นการเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญ คิม (Kim. 2004 : 2753-A) ไดศึกษาหนาที่ของภาษาเขียนในการพัฒนาภาษาพูด สําหรับนักเรียนชั้นอนุบาลถึงประถมปที่ 2 ที่เรียนภาษาอังกฤษเปนภาษาที่สอง ผูวิจัยการรูหนังสือ หลายคนสนับสนุนการปฏิบัติการสอนทักษะทั้ง 4 ทักษะ และโตแยงวานักเรียนที่เรียนภาษาอังกฤษ เปนภาษาที่สอง สามารถเรียนอานไดกอน สามารถแสดงใหเ หนขนตอนความกาวหนาในความ ็ ้ั   คลองแคลวทางภาษาพูดภาษาอังกฤษ อยางไรก็ตามทัศนะที่นิยมเกี่ยวกับการอานภาษาอังกฤษเปน ภาษาที่สอง ในกจกรรมการอานและการเขยนนนควรจะเลอนออกไปจนกวาภาษาพดของนกเรยน ิ  ี ้ั ่ื  ู ั ี เขาที่ดีแลวเสียกอน
  • 10. เนื่องจากมีทัศนะที่โตแยงกันมาก การศึกษาครั้งนี้จึงมีความมุงหมาย เพอหาคาตอบ ่ื ํ ของคําถามที่วาการอานและการเขียนที่อาศัยโรงเรียนเปนฐานนั้นสามารถจะนําไปใชอยางมี ประสิทธิผล เพื่อพัฒนาทักษะภาษาพูดภาษาอังกฤษกับเด็กที่อายุยังนอย ที่เรียนภาษาอังกฤษเปน ภาษาที่สองไดอยางไร เมื่อนําเอากรณีศึกษา 7 กรณี และการศึกษาแบบเขาแทรกแซง 1 กรณี โดยใชการศึกษาเชิงทดลองกับเด็กเพียงคนเดียว พบวา สามารถอธิบายหนาที่ของการอานและการ  เขียนภาษาอังกฤษในการพัฒนาทักษะภาษาพูดของนักเรียนที่เรียนภาษาอังกฤษเปนภาษาที่สองได จากงานวิจัยและการศึกษาคนควาอิสระทั้งภายในประเทศและตางประเทศ สรุปไดวา การจดกจกรรมการเรยนเรยนรู โดยการใชคําถาม เปนกิจกรรมการเรียนรูที่สามารถสงผลใหผูเรียนมี ั ิ ี ี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น มีเจตคติที่ดีตอการเรียนและยังทําใหผูเรียนเกิดการคิดวิเคราะหอีก ดวย ดังนั้น ผูศึกษาคนควาจึงมีความสนใจที่จะศึกษาคนควาการจัดกิจกรรมการเรียนรู เรอง การ  ่ื อานจับใจความ โดยการใชคําถามตามแนวคิดดานพุทธิพิสัยของบลูม (Bloom) มาใชในการจัด กจกรรมการเรยนรู เพื่อฝกทักษะการตอบคําถามจากเรื่องที่อาน สามารถประเมินผลไดครอบคลุม ิ ี ผลการเรียนรูที่คาดหวังของหลักสูตรและเปนประโยชนในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู ในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยใหมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุดตอผูเรียนตอไป