SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 10
Downloaden Sie, um offline zu lesen
นางศศิกญญา ดอนดีไพร
                   ั

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
การตกผลึก (Crystallization) คือ การแยกของแข็งออกจากสารละลายอิ่มตัว
ที่อุณหภูมิสูง เมื่ออุณหภูมิลดลงความสามารถในการละลายก็ลดลง ส่วนของตัวละลายที่มีมาก
เกินพอ จะแยกตัวออกจากสารละลายเป็นของแข็งที่มีรูปทรงเลขาคณิต เรียกว่า ผลึก
(Crystal) เมื่อเกิดการตกผลึก ในภาชนะจะประกอบด้วยสารละลายอิ่มตัวและผลึก
             ผลึก หมายถึง ของแข็งที่เป็นเนื้อเดียว ผิวมัน มีรูปทรงเรขาคณิต มีเหลี่ยมมุม
ชัดเจน ผลึกเกิดจากสารละลายอิ่มตัวยวดยิ่งที่อุณหภูมิลดลง
สารละลายอิ่มตัว หมายถึง สารละลายที่ไม่สามารถละลายตัวถูกละลายได้อีกเนื่องจากมีตัวถูก
ละลายอยู่มากที่สุดที่อุณหภูมิห้อง
สารละลายอิ่มตัวยวดยิ่ง หมายถึง สารละลายที่มีตัวถูกละลายอยู่ในปริมาณที่เกินกว่าอัตราที่
ละลายได้ที่อุณหภูมิห้อง
สารละลาย หมายถึง สารเนื้อเดียวที่เกิดจากสารบริสุทธิ์ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปผสมกัน
สารละลายมีองค์ประกอบ 2 ส่วน คือ ตัวทาละลาย และตัวถูกละลาย
วิธีพิจารณาตัวทะละลายและตัวถูกละลายในสารละลาย
 1. ถ้าตัวทาละลายและตัวถูกละลายมีสถานะต่างกัน
             - สารที่มีสถานะเดียวกันกับสารละลายจะเป็นตัวทาละลาย
             - สารที่มีสถานะต่างจากสารละลายจะเป็นตัวถูกละลาย
        สารละลาย          สถานะ          องค์ประกอบ     ตัวทาละลาย ตัวถูกละลาย
         น้าเชื่อม       ของเหลว         น้า + น้าตาล       น้า       น้าตาล
         น้าเกลือ        ของเหลว          น้า + เกลือ       น้า        เกลือ
         น้าโซดา         ของเหลว         น้า + CO2          น้า       CO2
       ยาทิงเจอร์ฯ       ของเหลว      ไอโอดีน + เอทานอล เอทานอล      ไอโอดีน
      ไอน้าในอากาศ         ก๊าซ         ไอน้า + อากาศ      อากาศ      ไอน้า
2. ถ้าตัวทาละลายและตัวถูกละลายมีสถานะเดียวกัน
                         - สารที่มีปริมาณมากกว่าจะเป็นตัวทาละลาย
                         - สารที่มีปริมาณน้อยกว่าจะเป็นตัวถูกละลาย
    สารละลาย           สถานะ               องค์ประกอบ                  ตัวทาละลาย           ตัวถูกละลาย
นาก                  ของแข็ง      ทองแดง 90% + ทองคา 10%             ทองแดง 90%         ทองคา 10%
เหรียญห้าบาท         ของแข็ง      ทองแดง 75% + นิกเกิล25%            ทองแดง 75%         นิกเกิล25%
ทองสัมฤทธิ์          ของแข็ง      ทองแดง 80% + ดีบุก 20%             ทองแดง 80%         ดีบุก 20%

                  ในชีวิตประจาวันการพูดถึงความเข้มข้นของสารละลายมักจะไม่ระบุเป็นค่าตัวเลขแต่จะระบุเป็น
      สารละลายเข้มข้นหรือสารละลายเจือจาง
       สารละลายเข้มข้น หมายถึง สารละลายที่มีปริมาณตัวถูกละลายมาก
       สารละลายเจือจาง หมายถึง สารละลายที่มีปริมาณตัวถูกละลายน้อย
      ความสามารถในการละลายของสารขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ ซึ่งสารส่วนใหญ่ที่อุณหภูมิสูงจะละลายได้มากกว่าที่
      อุณหภูมิต่า
ตัวอย่างผลึก


        ผลึกกามะถัน
รูปร่างแปดเหลี่ยมหรือปิรามิด                          ผลึกกามะถัน
ฐานสี่เหลี่ยม 2 อันประกบกัน                   รูปร่างสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน




                                                  ผลึกโซเดียมคลอไรด์
              ผลึกจุนสี                         รูปร่างสี่เหลี่ยมลูกบาศก์
           รูปร่างสี่เหลี่ยม
ใบงานเรือง การตกผลึก
                                                                 ่

1. ผลึก คือ................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
2. สารต่างชนิดกัน จะมีรูปร่างของผลึกเหมือนกันหรือไม่.....................................................................
....................................................................................................................................................................
3. การตกผลึก หมายถึง ..........................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
 4. ผลึกของสารต่อไปนี้มีรูปร่างอย่างไร
โซเดียมคลอไรด์ รูปร่าง ...........................................................................................................................
สารส้ม                    รูปร่าง .............................................................................................................................
จุนสี                   รูปร่าง ...............................................................................................................................
5. สารละลายอิ่มตัว หมายถึง...................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
6. สารละลายอิ่มตัวยวดยิ่ง หมายถึง.......................................................................................................
....................................................................................................................................................................
เฉลยใบงาน
                                                                                                  เรื่อง การตกผลึก




1. ผลึก คือ ของแข็งที่มีรปทรงเรขาคณิต มีเหลี่ยมมุม มีรปร่างเฉพาะ ผิวเรียบ แยกตัวออกจากสารละลายอิ่มตัว
                                            ู                                                              ู
2. สารต่างชนิดกัน จะมีรปร่างของผลึกเหมือนกันหรือไม่...........ไม่เหมือนกัน........................................................................
                                       ู
3. การตกผลึก หมายถึง .....ปรากฎการณ์ที่ของแข็งที่เป็ นตัวถูกละลายแยกตัวออกจากสารละลายอิ่มตัว
4. ผลึกของสารต่อไปนีมีรปร่างอย่างไร  ้ ู
โซเดียมคลอไรด์ รูปร่าง ........สี่เปลี่ยมลูกบาศก์.......................................................................................................................................
สารส้ม รูปร่าง .........แปดเหลี่ยมหรือปิรามิดฐานสี่เหลี่ยม 2 อันประกบกัน....................................................................................
จุนสี     รูปร่าง .....รูปร่างสี่เหลี่ยม..........................................................................................................................................................
5. สารละลายอิ่มตัว หมายถึง..สารละลายที่ไม่สามารถละลายตัวถูกละลายได้อีกเนื่องจากมีตัวถูกละลายอยู่มากที่สุดที่
อุณหภูมิห้อง.........................................................................................................................................................................................................
6. สารละลายอิ่มตัวยวดยิ่ง หมายถึง......สารละลายที่มีตัวถูกละลายอยู่ในปริมาณที่เกินกว่าอัตราที่ละลายได้ที่อุณหภูมิห้อง
แบบฝึกหัด
                              เรื่อง การตกผลึก

   คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนตัวทาละลายและตัวถูกละลายของสารละลายต่อไปนี้

 สารละลาย         สถานะ               องค์ประกอบ               ตัวทาละลาย   ตัวถูกละลาย
  น้าเชื่อม      ของเหลว              น้า + น้าตาล
    นาก           ของแข็ง    ทองแดง 90% + ทองคา 10%
  น้าเกลือ       ของเหลว               น้า + เกลือ
เหรียญห้าบาท      ของแข็ง    ทองแดง 75% + นิกเกิล25%
  น้าโซดา        ของเหลว              น้า + CO2
ทองสัมฤทธิ์       ของแข็ง     ทองแดง 80% + ดีบุก 20%
 ยาทิงเจอร์ฯ     ของเหลว           ไอโอดีน + เอทานอล
ไอน้าในอากาศ        ก๊าซ             ไอน้า + อากาศ
เฉลยแบบฝึกหัด


 สารละลาย       สถานะ          องค์ประกอบ          ตัวทาละลาย   ตัวถูกละลาย
  น้าเชื่อม    ของเหลว         น้า + น้าตาล            น้า         น้าตาล
    นาก        ของแข็ง   ทองแดง 90% + ทองคา 10%    ทองแดง 90%   ทองคา 10%
  น้าเกลือ     ของเหลว          น้า + เกลือ            น้า         เกลือ
เหรียญห้าบาท   ของแข็ง   ทองแดง 75% + นิกเกิล25%   ทองแดง 75%   นิกเกิล25%
  น้าโซดา      ของเหลว          น้า + CO2              น้า         CO2
 ทองสัมฤทธิ์   ของแข็ง   ทองแดง 80% + ดีบุก 20%    ทองแดง 80%   ดีบุก 20%
 ยาทิงเจอร์ฯ   ของเหลว      ไอโอดีน + เอทานอล       เอทานอล      ไอโอดีน
ไอน้าในอากาศ    ก๊าซ          ไอน้า + อากาศ          อากาศ         ไอน้า
การตกผลึก

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลายJariya Jaiyot
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนดอกหญ้า ธรรมดา
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วJariya Jaiyot
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 
ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2oraneehussem
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีSutisa Tantikulwijit
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดkrupornpana55
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

Was ist angesagt? (20)

ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 

Mehr von ศศิกัญญา ดอนดีไพร (8)

การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
การตกผลึก
การตกผลึกการตกผลึก
การตกผลึก
 
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลายการสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
 
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลายการสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
การกรอง
การกรองการกรอง
การกรอง
 

การตกผลึก

  • 1. นางศศิกญญา ดอนดีไพร ั สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
  • 2. การตกผลึก (Crystallization) คือ การแยกของแข็งออกจากสารละลายอิ่มตัว ที่อุณหภูมิสูง เมื่ออุณหภูมิลดลงความสามารถในการละลายก็ลดลง ส่วนของตัวละลายที่มีมาก เกินพอ จะแยกตัวออกจากสารละลายเป็นของแข็งที่มีรูปทรงเลขาคณิต เรียกว่า ผลึก (Crystal) เมื่อเกิดการตกผลึก ในภาชนะจะประกอบด้วยสารละลายอิ่มตัวและผลึก ผลึก หมายถึง ของแข็งที่เป็นเนื้อเดียว ผิวมัน มีรูปทรงเรขาคณิต มีเหลี่ยมมุม ชัดเจน ผลึกเกิดจากสารละลายอิ่มตัวยวดยิ่งที่อุณหภูมิลดลง สารละลายอิ่มตัว หมายถึง สารละลายที่ไม่สามารถละลายตัวถูกละลายได้อีกเนื่องจากมีตัวถูก ละลายอยู่มากที่สุดที่อุณหภูมิห้อง สารละลายอิ่มตัวยวดยิ่ง หมายถึง สารละลายที่มีตัวถูกละลายอยู่ในปริมาณที่เกินกว่าอัตราที่ ละลายได้ที่อุณหภูมิห้อง
  • 3. สารละลาย หมายถึง สารเนื้อเดียวที่เกิดจากสารบริสุทธิ์ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปผสมกัน สารละลายมีองค์ประกอบ 2 ส่วน คือ ตัวทาละลาย และตัวถูกละลาย วิธีพิจารณาตัวทะละลายและตัวถูกละลายในสารละลาย 1. ถ้าตัวทาละลายและตัวถูกละลายมีสถานะต่างกัน - สารที่มีสถานะเดียวกันกับสารละลายจะเป็นตัวทาละลาย - สารที่มีสถานะต่างจากสารละลายจะเป็นตัวถูกละลาย สารละลาย สถานะ องค์ประกอบ ตัวทาละลาย ตัวถูกละลาย น้าเชื่อม ของเหลว น้า + น้าตาล น้า น้าตาล น้าเกลือ ของเหลว น้า + เกลือ น้า เกลือ น้าโซดา ของเหลว น้า + CO2 น้า CO2 ยาทิงเจอร์ฯ ของเหลว ไอโอดีน + เอทานอล เอทานอล ไอโอดีน ไอน้าในอากาศ ก๊าซ ไอน้า + อากาศ อากาศ ไอน้า
  • 4. 2. ถ้าตัวทาละลายและตัวถูกละลายมีสถานะเดียวกัน - สารที่มีปริมาณมากกว่าจะเป็นตัวทาละลาย - สารที่มีปริมาณน้อยกว่าจะเป็นตัวถูกละลาย สารละลาย สถานะ องค์ประกอบ ตัวทาละลาย ตัวถูกละลาย นาก ของแข็ง ทองแดง 90% + ทองคา 10% ทองแดง 90% ทองคา 10% เหรียญห้าบาท ของแข็ง ทองแดง 75% + นิกเกิล25% ทองแดง 75% นิกเกิล25% ทองสัมฤทธิ์ ของแข็ง ทองแดง 80% + ดีบุก 20% ทองแดง 80% ดีบุก 20% ในชีวิตประจาวันการพูดถึงความเข้มข้นของสารละลายมักจะไม่ระบุเป็นค่าตัวเลขแต่จะระบุเป็น สารละลายเข้มข้นหรือสารละลายเจือจาง สารละลายเข้มข้น หมายถึง สารละลายที่มีปริมาณตัวถูกละลายมาก สารละลายเจือจาง หมายถึง สารละลายที่มีปริมาณตัวถูกละลายน้อย ความสามารถในการละลายของสารขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ ซึ่งสารส่วนใหญ่ที่อุณหภูมิสูงจะละลายได้มากกว่าที่ อุณหภูมิต่า
  • 5. ตัวอย่างผลึก ผลึกกามะถัน รูปร่างแปดเหลี่ยมหรือปิรามิด ผลึกกามะถัน ฐานสี่เหลี่ยม 2 อันประกบกัน รูปร่างสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ผลึกโซเดียมคลอไรด์ ผลึกจุนสี รูปร่างสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ รูปร่างสี่เหลี่ยม
  • 6. ใบงานเรือง การตกผลึก ่ 1. ผลึก คือ................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... 2. สารต่างชนิดกัน จะมีรูปร่างของผลึกเหมือนกันหรือไม่..................................................................... .................................................................................................................................................................... 3. การตกผลึก หมายถึง .......................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 4. ผลึกของสารต่อไปนี้มีรูปร่างอย่างไร โซเดียมคลอไรด์ รูปร่าง ........................................................................................................................... สารส้ม รูปร่าง ............................................................................................................................. จุนสี รูปร่าง ............................................................................................................................... 5. สารละลายอิ่มตัว หมายถึง................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 6. สารละลายอิ่มตัวยวดยิ่ง หมายถึง....................................................................................................... ....................................................................................................................................................................
  • 7. เฉลยใบงาน เรื่อง การตกผลึก 1. ผลึก คือ ของแข็งที่มีรปทรงเรขาคณิต มีเหลี่ยมมุม มีรปร่างเฉพาะ ผิวเรียบ แยกตัวออกจากสารละลายอิ่มตัว ู ู 2. สารต่างชนิดกัน จะมีรปร่างของผลึกเหมือนกันหรือไม่...........ไม่เหมือนกัน........................................................................ ู 3. การตกผลึก หมายถึง .....ปรากฎการณ์ที่ของแข็งที่เป็ นตัวถูกละลายแยกตัวออกจากสารละลายอิ่มตัว 4. ผลึกของสารต่อไปนีมีรปร่างอย่างไร ้ ู โซเดียมคลอไรด์ รูปร่าง ........สี่เปลี่ยมลูกบาศก์....................................................................................................................................... สารส้ม รูปร่าง .........แปดเหลี่ยมหรือปิรามิดฐานสี่เหลี่ยม 2 อันประกบกัน.................................................................................... จุนสี รูปร่าง .....รูปร่างสี่เหลี่ยม.......................................................................................................................................................... 5. สารละลายอิ่มตัว หมายถึง..สารละลายที่ไม่สามารถละลายตัวถูกละลายได้อีกเนื่องจากมีตัวถูกละลายอยู่มากที่สุดที่ อุณหภูมิห้อง......................................................................................................................................................................................................... 6. สารละลายอิ่มตัวยวดยิ่ง หมายถึง......สารละลายที่มีตัวถูกละลายอยู่ในปริมาณที่เกินกว่าอัตราที่ละลายได้ที่อุณหภูมิห้อง
  • 8. แบบฝึกหัด เรื่อง การตกผลึก คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนตัวทาละลายและตัวถูกละลายของสารละลายต่อไปนี้ สารละลาย สถานะ องค์ประกอบ ตัวทาละลาย ตัวถูกละลาย น้าเชื่อม ของเหลว น้า + น้าตาล นาก ของแข็ง ทองแดง 90% + ทองคา 10% น้าเกลือ ของเหลว น้า + เกลือ เหรียญห้าบาท ของแข็ง ทองแดง 75% + นิกเกิล25% น้าโซดา ของเหลว น้า + CO2 ทองสัมฤทธิ์ ของแข็ง ทองแดง 80% + ดีบุก 20% ยาทิงเจอร์ฯ ของเหลว ไอโอดีน + เอทานอล ไอน้าในอากาศ ก๊าซ ไอน้า + อากาศ
  • 9. เฉลยแบบฝึกหัด สารละลาย สถานะ องค์ประกอบ ตัวทาละลาย ตัวถูกละลาย น้าเชื่อม ของเหลว น้า + น้าตาล น้า น้าตาล นาก ของแข็ง ทองแดง 90% + ทองคา 10% ทองแดง 90% ทองคา 10% น้าเกลือ ของเหลว น้า + เกลือ น้า เกลือ เหรียญห้าบาท ของแข็ง ทองแดง 75% + นิกเกิล25% ทองแดง 75% นิกเกิล25% น้าโซดา ของเหลว น้า + CO2 น้า CO2 ทองสัมฤทธิ์ ของแข็ง ทองแดง 80% + ดีบุก 20% ทองแดง 80% ดีบุก 20% ยาทิงเจอร์ฯ ของเหลว ไอโอดีน + เอทานอล เอทานอล ไอโอดีน ไอน้าในอากาศ ก๊าซ ไอน้า + อากาศ อากาศ ไอน้า