SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 30
APEC : Asia-Pacific Economic
        cooperation
  ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
     เอเชีย - แปซิฟิก
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย –
แปซิฟิก ได้เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2532 โดยความคิด
ริเริ่มของนาย Bob Hawke นายกรัฐมนตรีของ
ออสเตรเลีย เนืองจากเล็งเห็นว่า ภูมิภาคเอเชีย -
                  ่
แปซิฟิก มีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่สง  ู
ที่สดในโลก มีเสถียรภาพ มีแหล่ง
      ุ
ทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ เป็นตลาดขนาด
ใหญ่และมีศักยภาพ
         จึงได้มการหารือแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นใน
                ี
เรื่องความร่วมมือทางเศรษฐกิจให้มากขึ้น ซึ่ง
นายกรัฐมนตรีออสเตรเลียได้นำาเรื่องนี้หารือกับ
ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และนิวซีแลนด์ รวมทั้งนายก
จำานวนสมาชิกของ APEC
สมาชิกเอเปค มีจำานวน 21 เขตเศรษฐกิจ ได้แก่
1.ออสเตรเลีย          8.ญี่ปุ่น               15.
  ฟิลปปินส์
       ิ
2.บรูไนดารุสซาลาม     9.สาธารณรัฐเกาหลี
  16.รัสเซีย
3.แคนาดา        10.มาเลเซีย      17.สิงคโปร์
4.ชิลี          11. เม็กซิโก           18.จีน
  ไทเป
5.สาธารณรัฐประชาชนจีน 12.นิวซีแลนด์
  19.ไทย
6.จีนฮ่องกง     13.ปาปัวนิวกินี        20.
  สหรัฐอเมริกา
•          เอเปคมีระเบียบการเรียกชื่อสมาชิกเขต
    เศรษฐกิจ ต่างจากที่เรียกขานตามปกติทั้งใน
    เอกสาร และในการประชุมอย่างเป็นทางการของ
    เอเปค คือ จะใช้คำาว่า "Economy - เขต
    เศรษฐกิจ" แทนคำาว่า "Country - ประเทศ"
    ข้อสังเกต ในการประชุมของเอเปคไม่ว่าในระดับ
    ใด จะไม่มีการประดับธงชาติของเขตเศรษฐกิจ
    สมาชิกไว้ ณ สถานที่ประชุม ไม่วาจะเป็นบนโต๊ะ
                                  ่
    ประชุม ในห้องประชุม หรืออาคารที่จัดประชุมเช่น
    เดียวกับการประชุมระดับนานาชาติอื่นๆ ทั้งนี้
    เนืองจากเรียกขานสมาชิกว่า Economy มิใช่
       ่
    country จึงไม่ควรมีธงชาติมาแสดงความเป็นประ
สำาหรับการจัดโต๊ะประชุม จะต้องเสมอกันทุก
เขตเศรษฐกิจ โดยจัดเป็นรูปวงกลมหรือ
สีเหลี่ยม โดยเรียงตามลำาดับชื่อเขตเศรษฐกิจ
  ่
ตามตัวอักษรภาษาอังกฤษไปโดยรอบ
วัตถุประสงค์ของ APEC
1. สนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการค้า
    ของภูมิภาคและของโลก
2. พัฒนาและส่งเสริมระบบการค้า และสนับสนุน
    ผลักดันให้การเจรจาการค้าหลายฝ่ายรอบอุรุก
    วัยประสบผลสำาเร็จ
3. ศึกษาลู่ทางในการเปิดเสรีการค้าในภูมิภาค ใน
    ลักษณะที่มิใช่การรวมกลุ่มทางการค้ากีดกัน
    ประเทศนอกกลุ่ม
4. ลดอุปสรรคและอำานวยความสะดวกให้การค้า
    สินค้า การค้าบริการ และการลงทุนระหว่าง
เป้าหมายของเอเปค

     เพือเสริมสร้างภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ให้มี
        ่
ความก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจ และการพัฒนา
ที่เสมอภาคกัน ด้วยความร่วมมือทางด้านการค้า
และเศรษฐกิจ เป็นการดำาเนินการร่วมเพื่อ ส่ง
เสริมการค้าขายระหว่างกัน ซึ่งกิจกรรมหลัก
ได้แก่ การร่วมกันหารือและดำาเนินการเพื่อให้
เกิดความคืบหน้าเกี่ยวกับการลดอุปสรรค
ทางการค้าได้แก่ ภาษี และอุปสรรคทางการค้า
ที่ไม่ใช่ภาษี การผ่อนคลายกฎระเบียบเพื่อเอื้อ
อำานวยต่อการค้าขายระหว่างกัน การระงับข้อ
ส่วนความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการ
เป็นสาขาความร่วมมือที่มีความสำาคัญอย่างยิ่ง
โดยเฉพาะต่อสมาชิกที่กำาลังพัฒนาเช่น ไทย
เพราะความร่วมมือดังกล่าวมีบทบาทในการช่วย
เตรียมความพร้อมรับผลกระทบจากการเปิดเสรีให้
แก่สมาชิกประเทศที่กำาลังพัฒนา
    ความร่วมมือสำาคัญอีกสาขาหนึงซึ่งมีบทบาท
                                 ่
สำาคัญต่อการกระตุ้นความคืบหน้าของความร่วม
มือในความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในภูมิภาค
คือ พันธมิตรที่เข้มแข็งระหว่างเอเปคและภาค
เอกชน เนื่องจากเอเปค ตระหนักถึงบทบาทของ
ภาคธุรกิจในการเพิ่มพูนรายได้และสร้างงานใน
ภูมิภาค
การดำาเนินงานของเอเปค
     ประเทศออสเตรเลียเป็นเจ้าภาพจัดการ
ประชุมรัฐมนตรีความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย
– แปซิฟิก ขึ้นครั้งแรก เมื่อวันที่ 6-7 พฤศจิกายน
พ.ศ. 2532 ณ กรุงเคนเบอร์รา มีประเทศผู้เข้า
ร่วมประชุม 12 ประเทศ คือ อาเซียน 6 ประเทศ
ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ สหรัฐฯ
และแคนาดา
    เอเปคดำาเนินงานด้วยมติ ที่เป็นเอกฉันท์ใน
หมู่สมาชิก กล่าวคือหากเขตเศรษฐกิจใดไม่เห็น
ด้วยกับข้อเสนอใดแล้ว ให้ถือว่าข้อเสนอนันตก้
• เอเปคได้จัดตั้งสำานักงานเลขาธิการเอเปค
  (APEC Secretariat) ขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2535
  โดยตังอยู่ ณ ประเทศสิงคโปร์ เพื่อทำาหน้าที่
       ้
  ประสานงานด้านโครงการ และงบประมาณ
  กลางของเอเปค
• เจ้าหน้าที่บริหารของสำานักงานเลขาธิการเอเปค
  คือ Executive Director ดำารงตำาแหน่งวาระละ
  1 ปี
โครงสร้างองค์กรของเอเปค
    เอเปคก่อตั้งขึ้นมาด้วยความต้องการที่จะ
เป็นกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจแบบหลวมๆ
จึงไม่มีการจัดตั้งโครงสร้างองค์กรกลางใน
ลักษณะเช่นเดียวกับองค์การความร่วมมืออื่นๆ
เช่น สหภาพยุโรป หากแต่ประกอบด้วย
โครงสร้างองค์กรที่สำาคัญๆ 2 ส่วน คือ
1. ส่วนที่เป็นกลไกการดำาเนินงานในแต่ละปีซึ่ง
เป็นความรับผิดชอบของสมาชิกที่ได้รับเลือกให้
เป็นประธานของการประชุมปีนนๆ    ั้
2. ส่วนที่เป็นองค์กรกลางที่เรียกว่าสำานัก
สำาหรับโครงสร้างองค์กรส่วนที่ 1 นั้น
   ประกอบด้วยกลไกการดำาเนินการหลัก 6 ระดับ
   ได้แก่
2. การประชุมผู้นำาเศรษฐกิจ (Economic Leaders’
   Meeting) เป็นการประชุมระดับสูงสุดของเอเปค
   โดยมีผู้นำาประเทศ/รัฐบาลและเขตเศรษฐกิจ
   ของแต่ละสมาชิกเข้าร่วมประชุม จัดประชุมปีละ
   1 ครั้ง ครั้งแรกที่สหรัฐอเมริกา เมื่อ พ.ศ. 2536
3. การประชุมรัฐมนตรี (Ministerial Meeting)
   เป็นการประชุมร่วมของรัฐมนตรีตางประเทศและ
                                     ่
   รัฐมนตรีที่รับผิดชอบด้านการค้าประจำาปี เจ้า
   ภาพจัดการประชุม คือสมาชิกที่เป็นเจ้าภาพการ
•   การประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส (Senior
    Officials’ Meeting - SOM) จะมีการประชุม
    อย่างเป็นทางการ 3 ครั้งและไม่เป็นทางการ 2
    ครั้ง
•   การประชุมรัฐมนตรีเอเปคในสาขาต่าง ๆ
    (Sectoral Ministerial Meeting) ได้แก่ ด้าน
    การค้า ด้านการศึกษา ด้านพลังงาน ด้านสิง ่
    แวดล้อมและการพัฒนาที่ยั่งยืน ด้านการคลัง
    ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ด้าน
    วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านวิสาหกิจ
    ขนาดกลางและ ขนาดย่อม ด้านโทรคมนาคม
    และอุตสาหกรรมสารสนเทศ และด้าน
5.2 คณะกรรมการเศรษฐกิจ ทำาหน้าที่ศกษา  ึ
    วิเคราะห์แนวโน้มและประเด็นที่อยู่ในความ
    สนใจของสมาชิกเอเปค
    5.3 คณะกรรมการว่าด้วยงบประมาณและการ
    บริหาร ให้คำาแนะนำาต่อเจ้าหน้าที่อาวุโสเอเปค
    5.4 คณะกรรมการของเจ้าหน้าที่อาวุโสว่าด้วย
    ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการ มี
    บทบาทในการประสานและ กำาหนดกรอบ
    นโยบายด้านความร่วมมือทางเศรษฐกิจและ
    วิชาการ
6. คณะทำางาน (Working Group) เป็นการประชุม
    ผู้เชี่ยวชาญเพื่อพิจารณาประเด็นเฉพาะด้าน
การประชุมประจำาปี
ครั ้ ง
                        ปี                       เจ้ า ภาพ     สถานที ่
 ที ่
1         1989, 6 พฤศจิกายน-7 พฤศจิกายน    ออสเตรเลีย        แคนเบอร์รา

2         1990, 29 กรกฎาคม-31 กรกฎาคม      สิงคโปร์          สิงคโปร์

          1991, 12 พฤศจิกายน-14 
3                                          เกาหลีใต้         โซล
          พฤศจิกายน


4         1992, 10 กันยายน-11 กันยายน      ไทย               กรุงเทพมหานคร


          1993, 19 พฤศจิกายน-20 
5                                          สหรัฐอเมริกา      ซีแอทเทิล
          พฤศจิกายน

6         1994, 15 พฤศจิกายน               อินโดนีเซีย       โบกอร์
ครั ้ ง
                            ปี                 เจ้ า ภาพ        สถานที ่
 ที ่
7         1995, 19 พฤศจิกายน                 ญีปุ่น
                                               ่           โอซาก้า

8         1996, 25 พฤศจิกายน                 ฟิลิปปินส์    มะนิลา

9         1997, 24 พฤศจิกายน-25 พฤศจิกายน    แคนาดา        แวนคูเวอร์

10        1998, 17 พฤศจิกายน-18 พฤศจิกายน    มาเลเซีย      กัวลาลัมเปอร์

11        1999, 12 กันยายน-13 กันยายน        นิวซีแลนด์    โอคแลนด์

12        2000, 15 พฤศจิกายน-16 พฤศจิกายน    บรูไน         บันดาร์เสรีเบกาวัน

13        2001, 20 ตุลาคม-21 ตุลาคม          จีน           เซียงไฮ้
                                                              ่

14        2002, 26 ตุลาคม-27 ตุลาคม          เม็กซิโก      ลอสคาบอส

15        2003, 20 ตุลาคม-21 ตุลาคม          ไทย           กรุงเทพมหานคร
ครั ้ ง
                           ปี                  เจ้ า ภาพ          สถานที ่
 ที ่
16        2004, 20 พฤศจิกายน-21 พฤศจิกายน    ชิลี          ซานติอาโก

17        2005, 18 พฤศจิกายน-19 พฤศจิกายน    เกาหลีใต้     ปูซาน

18        2006, 18 พฤศจิกายน-19 พฤศจิกายน    เวียดนาม      ฮานอย

19        2007, 8 กันยายน-9 กันยายน          ออสเตรเลีย    ซิดนีย์

20        2008, 22 พฤศจิกายน-23 พฤศจิกายน    เปรู          ลิมา

21        2009, 14 พฤศจิกายน-15 พฤศจิกายน    สิงคโปร์      สิงคโปร์


22        2010, 13 พฤศจิกายน-14 พฤศจิกายน    ญีปุ่น
                                               ่           โยโกฮามา
รูปภาพการประชุมครั้งล่าสุด
 ทีโยโกฮามา ประเทศญี่ปุ่น
   ่
บทบาทของธนาคารแห่ง
        ประเทศไทย
     ธปท. มีสวนร่วมในการให้ข้อมูลความเห็น
              ่
เกี่ยวกับหัวข้อการหารือ (Policy Initiative) ซึ่ง
จะถูกหยิบยกขึ้นในเวทีการประชุมรัฐมนตรีชวย   ่
ว่าการกระทรวงการคลังและรองผู้ว่าการธนาคาร
กลางของเอเปค และการประชุมเศรษฐกิจระดับ
เจ้าหน้าที่อาวุโส (SFOM) อีกทั้ง ยังเป็นหนึ่งใน
องค์กร ที่ให้ความร่วมมือในส่วนที่เกี่ยวข้อง
หลายด้าน อาทิ การมีสวนร่วมในการร่างและ
                       ่
ปรับปรุง APEC Model Measures เพื่อใช้
เป็นต้นแบบสำาหรับการเจรจาจัดทำาความตกลง
บทบาทของไทยในเอเปค

• สมัยก่อตั้งเอเปค ไทยได้เป็นเจ้าภาพจัดการ
  ประชุมรัฐมนตรีเอเปค ครั้งที่ 4 เมื่อ พ.ศ. 2535
  โดยในขณะนันมีนายอาสา สารสิน รัฐมนตรี
                 ้
  ว่าการกระทรวงการต่างประเทศดำารงตำาแหน่ง
  หัวหน้าคณะผู้แทนฝ่ายไทย
• สมัยวิกฤตเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-ในช่วง
  เวลาดังกล่าว ไทยได้มีบทบาทนำาในการรณรงค์
  ให้มีการหารือเกี่ยวกับปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจใน
  ที่ประชุมผู้นำาเศรษฐกิจ ครั้งที่ 5
นอกจากนี้ ไทยยังได้ยกประเด็นความ
สำาคัญของการต่อต้านการแพร่ระบาดของโรค
เอดส์ ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงต่อความเจริญ
เติบโตทางเศรษฐกิจในภูมภาค ขึ้นหารือในที่
                         ิ
ประชุมผู้นำาเศรษฐกิจเอเปคครั้งที่ 12 ซึ่งผู้นำาฯ
ต่างเห็นพ้องถึงความสำาคัญและได้ประกาศใน
ปฏิญญาถึงความตั้งใจร่วมกัน การรณรงค์ต่อ
ต้านโรคเอดส์และยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้
ป่วย
ประโยชน์ทไทยได้รับจากเอเปคใน
           ี่
      ระดับระหว่างประเทศ
1. เอเปคเป็นพัฒนาการอีกขั้นหนึ่งของความร่วม
   มือระดับภูมิภาค นอกเหนือจากกรอบของ
   อาเซียนซึ่งมีบทบาทเสริมความร่วมมือในระดับ
   ภูมิภาค
2. เนืองจากไทยมีอำานาจการต่อรองทาง
      ่
   เศรษฐกิจในระดับปานกลางในองค์การการค้า
   โลก การเป็นสมาชิกเอเปคทำาให้ไทยมี
   พันธมิตรที่เข้มแข็งทางเศรษฐกิจ
3. ไทยมีสวนร่วมในการกำาหนดทิศทางความร่วม
           ่
ประโยชน์ทไทยได้รับจากเอเปคใน
          ี่
      ระดับภายในประเทศ
• ภาคธุรกิจ การเปิดเสรีและอำานวยความสะดวก
  ทางการค้าภายในภูมิภาคจะส่งผลให้การค้าขาย
  ระหว่างกันขยายตัวมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังมี
  ความร่วมมือเพือส่งเสริมความแข็งแกร่งของ
                ่
  วิสาหกิจขนากลางและขนาดย่อม
• ภาควิชาการ ได้รับประโยชน์จากความร่วมมือ
  ด้านเทคโนโลยีระหว่างเศรษฐกิจสมาชิกผ่าน
  คณะทำางานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  เพืออุตสาหกรรม
     ่
• ภาคการเกษตร เอเปคมีคณะทำางานเฉพาะ
  เกี่ยวกับเทคนิคการเกษตร เพื่อวิจัย พัฒนาและ
  เผยแพร่เทคนิคชีวภาพการเกษตรกรรม วิธีการ
  ผลิต การตลาด การแจกจ่ายและบริโภคผลผลิต
  ทางการเกษตร และสนับสนุนด้านเงินทุนแก่
  เกษตรกรรม
• ภาคแรงงานและการศึกษา ได้รับประโยชน์
  จากกิจกรรมในกรอบคณะทำางานด้านทรัพยากร
  มนุษย์ของเอเปค ซึ่งมุ่งเน้นการแลกเปลี่ยนการ
  ฝึกอบรมแรงงาน
• ภาคสังคมบทบาทสตรี เอเปคได้จัดตั้งคณะ
  ทำางานเฉพาะกิจด้านสตรีโดยเฉพาะเพือส่งเสริม
                                       ่
  ให้สตรีเข้ามามีบทบาทในกิจกรรมของเอเปค
  และสนับสนุนให้สตรีเข้าไปมีบทบาทในกิจกรรม
นโยบายของไทยต่อความร่วมมือ
   ทางเศรษฐกิจของ APEC
    นับตั้งแต่ที่ไทยเริ่มเข้าเป็นสมาชิกในความ
ร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย – แปซิฟิก นโยบาย
ของไทยยังคงยึดมั่นและสนับสนุนการค้าใน
ระบบพหุภาคี ต้องการให้เอเปค เป็นเวทีสำาหรับ
การแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นและปรึกษาหารือ ใน
ประเด็นด้านเศรษฐกิจการค้ามิใช่เวทีของการ
เจรจา หรือต่อรองแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ รวม
ทั้งต้องการให้เอเปคเป็นการรวมกลุ่มในลักษณะ
ภูมิภาคนิยมแบบเปิด ที่จะไม่กีดกันประเทศนอก
กลุ่ม
    ในบรรดาสมาชิกเอเปคทั้งหมด ไทยนับว่า
นโยบายของไทยต่อเอเปคใน
        อนาคต
     ไทยให้ความสำาคัญกับประเด็นด้าน
สาธารณสุข อาทิ ความร่วมมือเพื่อการป้องกัน
และควบคุมโรคติดต่อ ความร่วมมือด้าน
เทคโนโลยีวิทยาศาสตร์และการแพทย์สมัยใหม่
และประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงของ
มนุษย์ และไทยยังคงให้ความสำาคัญอย่างต่อ
เนืองกับการผลักดันความร่วมมือด้านการพัฒนา
   ่
ทรัพยากรมนุษย์
     และให้ความสำาคัญกับการเผยแพร่บทบาท
กิจกรรมสำาคัญของเอเปคสู่สาธารณชน และ
ขยายความร่วมมือเอเปค โดยการสนับสนุน
จบการนำาเสนอ “ขอบคุณค่ะ”
สมาชิกผู้จัดทำา

Weitere ähnliche Inhalte

Empfohlen

Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Empfohlen (20)

PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy Presentation
 

ภูวิช รัตนดิษฐ์

  • 1. APEC : Asia-Pacific Economic cooperation ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ เอเชีย - แปซิฟิก
  • 2. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย – แปซิฟิก ได้เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2532 โดยความคิด ริเริ่มของนาย Bob Hawke นายกรัฐมนตรีของ ออสเตรเลีย เนืองจากเล็งเห็นว่า ภูมิภาคเอเชีย - ่ แปซิฟิก มีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่สง ู ที่สดในโลก มีเสถียรภาพ มีแหล่ง ุ ทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ เป็นตลาดขนาด ใหญ่และมีศักยภาพ จึงได้มการหารือแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นใน ี เรื่องความร่วมมือทางเศรษฐกิจให้มากขึ้น ซึ่ง นายกรัฐมนตรีออสเตรเลียได้นำาเรื่องนี้หารือกับ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และนิวซีแลนด์ รวมทั้งนายก
  • 3. จำานวนสมาชิกของ APEC สมาชิกเอเปค มีจำานวน 21 เขตเศรษฐกิจ ได้แก่ 1.ออสเตรเลีย 8.ญี่ปุ่น 15. ฟิลปปินส์ ิ 2.บรูไนดารุสซาลาม 9.สาธารณรัฐเกาหลี 16.รัสเซีย 3.แคนาดา 10.มาเลเซีย 17.สิงคโปร์ 4.ชิลี 11. เม็กซิโก 18.จีน ไทเป 5.สาธารณรัฐประชาชนจีน 12.นิวซีแลนด์ 19.ไทย 6.จีนฮ่องกง 13.ปาปัวนิวกินี 20. สหรัฐอเมริกา
  • 4. เอเปคมีระเบียบการเรียกชื่อสมาชิกเขต เศรษฐกิจ ต่างจากที่เรียกขานตามปกติทั้งใน เอกสาร และในการประชุมอย่างเป็นทางการของ เอเปค คือ จะใช้คำาว่า "Economy - เขต เศรษฐกิจ" แทนคำาว่า "Country - ประเทศ" ข้อสังเกต ในการประชุมของเอเปคไม่ว่าในระดับ ใด จะไม่มีการประดับธงชาติของเขตเศรษฐกิจ สมาชิกไว้ ณ สถานที่ประชุม ไม่วาจะเป็นบนโต๊ะ ่ ประชุม ในห้องประชุม หรืออาคารที่จัดประชุมเช่น เดียวกับการประชุมระดับนานาชาติอื่นๆ ทั้งนี้ เนืองจากเรียกขานสมาชิกว่า Economy มิใช่ ่ country จึงไม่ควรมีธงชาติมาแสดงความเป็นประ
  • 5. สำาหรับการจัดโต๊ะประชุม จะต้องเสมอกันทุก เขตเศรษฐกิจ โดยจัดเป็นรูปวงกลมหรือ สีเหลี่ยม โดยเรียงตามลำาดับชื่อเขตเศรษฐกิจ ่ ตามตัวอักษรภาษาอังกฤษไปโดยรอบ
  • 6. วัตถุประสงค์ของ APEC 1. สนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการค้า ของภูมิภาคและของโลก 2. พัฒนาและส่งเสริมระบบการค้า และสนับสนุน ผลักดันให้การเจรจาการค้าหลายฝ่ายรอบอุรุก วัยประสบผลสำาเร็จ 3. ศึกษาลู่ทางในการเปิดเสรีการค้าในภูมิภาค ใน ลักษณะที่มิใช่การรวมกลุ่มทางการค้ากีดกัน ประเทศนอกกลุ่ม 4. ลดอุปสรรคและอำานวยความสะดวกให้การค้า สินค้า การค้าบริการ และการลงทุนระหว่าง
  • 7. เป้าหมายของเอเปค เพือเสริมสร้างภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ให้มี ่ ความก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจ และการพัฒนา ที่เสมอภาคกัน ด้วยความร่วมมือทางด้านการค้า และเศรษฐกิจ เป็นการดำาเนินการร่วมเพื่อ ส่ง เสริมการค้าขายระหว่างกัน ซึ่งกิจกรรมหลัก ได้แก่ การร่วมกันหารือและดำาเนินการเพื่อให้ เกิดความคืบหน้าเกี่ยวกับการลดอุปสรรค ทางการค้าได้แก่ ภาษี และอุปสรรคทางการค้า ที่ไม่ใช่ภาษี การผ่อนคลายกฎระเบียบเพื่อเอื้อ อำานวยต่อการค้าขายระหว่างกัน การระงับข้อ
  • 8. ส่วนความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการ เป็นสาขาความร่วมมือที่มีความสำาคัญอย่างยิ่ง โดยเฉพาะต่อสมาชิกที่กำาลังพัฒนาเช่น ไทย เพราะความร่วมมือดังกล่าวมีบทบาทในการช่วย เตรียมความพร้อมรับผลกระทบจากการเปิดเสรีให้ แก่สมาชิกประเทศที่กำาลังพัฒนา ความร่วมมือสำาคัญอีกสาขาหนึงซึ่งมีบทบาท ่ สำาคัญต่อการกระตุ้นความคืบหน้าของความร่วม มือในความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในภูมิภาค คือ พันธมิตรที่เข้มแข็งระหว่างเอเปคและภาค เอกชน เนื่องจากเอเปค ตระหนักถึงบทบาทของ ภาคธุรกิจในการเพิ่มพูนรายได้และสร้างงานใน ภูมิภาค
  • 9. การดำาเนินงานของเอเปค ประเทศออสเตรเลียเป็นเจ้าภาพจัดการ ประชุมรัฐมนตรีความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย – แปซิฟิก ขึ้นครั้งแรก เมื่อวันที่ 6-7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 ณ กรุงเคนเบอร์รา มีประเทศผู้เข้า ร่วมประชุม 12 ประเทศ คือ อาเซียน 6 ประเทศ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ สหรัฐฯ และแคนาดา เอเปคดำาเนินงานด้วยมติ ที่เป็นเอกฉันท์ใน หมู่สมาชิก กล่าวคือหากเขตเศรษฐกิจใดไม่เห็น ด้วยกับข้อเสนอใดแล้ว ให้ถือว่าข้อเสนอนันตก้
  • 10. • เอเปคได้จัดตั้งสำานักงานเลขาธิการเอเปค (APEC Secretariat) ขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2535 โดยตังอยู่ ณ ประเทศสิงคโปร์ เพื่อทำาหน้าที่ ้ ประสานงานด้านโครงการ และงบประมาณ กลางของเอเปค • เจ้าหน้าที่บริหารของสำานักงานเลขาธิการเอเปค คือ Executive Director ดำารงตำาแหน่งวาระละ 1 ปี
  • 11. โครงสร้างองค์กรของเอเปค เอเปคก่อตั้งขึ้นมาด้วยความต้องการที่จะ เป็นกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจแบบหลวมๆ จึงไม่มีการจัดตั้งโครงสร้างองค์กรกลางใน ลักษณะเช่นเดียวกับองค์การความร่วมมืออื่นๆ เช่น สหภาพยุโรป หากแต่ประกอบด้วย โครงสร้างองค์กรที่สำาคัญๆ 2 ส่วน คือ 1. ส่วนที่เป็นกลไกการดำาเนินงานในแต่ละปีซึ่ง เป็นความรับผิดชอบของสมาชิกที่ได้รับเลือกให้ เป็นประธานของการประชุมปีนนๆ ั้ 2. ส่วนที่เป็นองค์กรกลางที่เรียกว่าสำานัก
  • 12. สำาหรับโครงสร้างองค์กรส่วนที่ 1 นั้น ประกอบด้วยกลไกการดำาเนินการหลัก 6 ระดับ ได้แก่ 2. การประชุมผู้นำาเศรษฐกิจ (Economic Leaders’ Meeting) เป็นการประชุมระดับสูงสุดของเอเปค โดยมีผู้นำาประเทศ/รัฐบาลและเขตเศรษฐกิจ ของแต่ละสมาชิกเข้าร่วมประชุม จัดประชุมปีละ 1 ครั้ง ครั้งแรกที่สหรัฐอเมริกา เมื่อ พ.ศ. 2536 3. การประชุมรัฐมนตรี (Ministerial Meeting) เป็นการประชุมร่วมของรัฐมนตรีตางประเทศและ ่ รัฐมนตรีที่รับผิดชอบด้านการค้าประจำาปี เจ้า ภาพจัดการประชุม คือสมาชิกที่เป็นเจ้าภาพการ
  • 13. การประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส (Senior Officials’ Meeting - SOM) จะมีการประชุม อย่างเป็นทางการ 3 ครั้งและไม่เป็นทางการ 2 ครั้ง • การประชุมรัฐมนตรีเอเปคในสาขาต่าง ๆ (Sectoral Ministerial Meeting) ได้แก่ ด้าน การค้า ด้านการศึกษา ด้านพลังงาน ด้านสิง ่ แวดล้อมและการพัฒนาที่ยั่งยืน ด้านการคลัง ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านวิสาหกิจ ขนาดกลางและ ขนาดย่อม ด้านโทรคมนาคม และอุตสาหกรรมสารสนเทศ และด้าน
  • 14. 5.2 คณะกรรมการเศรษฐกิจ ทำาหน้าที่ศกษา ึ วิเคราะห์แนวโน้มและประเด็นที่อยู่ในความ สนใจของสมาชิกเอเปค 5.3 คณะกรรมการว่าด้วยงบประมาณและการ บริหาร ให้คำาแนะนำาต่อเจ้าหน้าที่อาวุโสเอเปค 5.4 คณะกรรมการของเจ้าหน้าที่อาวุโสว่าด้วย ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการ มี บทบาทในการประสานและ กำาหนดกรอบ นโยบายด้านความร่วมมือทางเศรษฐกิจและ วิชาการ 6. คณะทำางาน (Working Group) เป็นการประชุม ผู้เชี่ยวชาญเพื่อพิจารณาประเด็นเฉพาะด้าน
  • 15. การประชุมประจำาปี ครั ้ ง ปี เจ้ า ภาพ สถานที ่ ที ่ 1 1989, 6 พฤศจิกายน-7 พฤศจิกายน  ออสเตรเลีย  แคนเบอร์รา 2 1990, 29 กรกฎาคม-31 กรกฎาคม  สิงคโปร์ สิงคโปร์ 1991, 12 พฤศจิกายน-14  3  เกาหลีใต้ โซล พฤศจิกายน 4 1992, 10 กันยายน-11 กันยายน  ไทย กรุงเทพมหานคร 1993, 19 พฤศจิกายน-20  5  สหรัฐอเมริกา ซีแอทเทิล พฤศจิกายน 6 1994, 15 พฤศจิกายน  อินโดนีเซีย โบกอร์
  • 16. ครั ้ ง ปี เจ้ า ภาพ สถานที ่ ที ่ 7 1995, 19 พฤศจิกายน  ญีปุ่น ่ โอซาก้า 8 1996, 25 พฤศจิกายน  ฟิลิปปินส์ มะนิลา 9 1997, 24 พฤศจิกายน-25 พฤศจิกายน  แคนาดา แวนคูเวอร์ 10 1998, 17 พฤศจิกายน-18 พฤศจิกายน  มาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์ 11 1999, 12 กันยายน-13 กันยายน  นิวซีแลนด์ โอคแลนด์ 12 2000, 15 พฤศจิกายน-16 พฤศจิกายน  บรูไน บันดาร์เสรีเบกาวัน 13 2001, 20 ตุลาคม-21 ตุลาคม  จีน เซียงไฮ้ ่ 14 2002, 26 ตุลาคม-27 ตุลาคม  เม็กซิโก ลอสคาบอส 15 2003, 20 ตุลาคม-21 ตุลาคม  ไทย กรุงเทพมหานคร
  • 17. ครั ้ ง ปี เจ้ า ภาพ สถานที ่ ที ่ 16 2004, 20 พฤศจิกายน-21 พฤศจิกายน  ชิลี ซานติอาโก 17 2005, 18 พฤศจิกายน-19 พฤศจิกายน  เกาหลีใต้ ปูซาน 18 2006, 18 พฤศจิกายน-19 พฤศจิกายน  เวียดนาม ฮานอย 19 2007, 8 กันยายน-9 กันยายน  ออสเตรเลีย ซิดนีย์ 20 2008, 22 พฤศจิกายน-23 พฤศจิกายน  เปรู ลิมา 21 2009, 14 พฤศจิกายน-15 พฤศจิกายน  สิงคโปร์ สิงคโปร์ 22 2010, 13 พฤศจิกายน-14 พฤศจิกายน  ญีปุ่น ่ โยโกฮามา
  • 19.
  • 20.
  • 21. บทบาทของธนาคารแห่ง ประเทศไทย ธปท. มีสวนร่วมในการให้ข้อมูลความเห็น ่ เกี่ยวกับหัวข้อการหารือ (Policy Initiative) ซึ่ง จะถูกหยิบยกขึ้นในเวทีการประชุมรัฐมนตรีชวย ่ ว่าการกระทรวงการคลังและรองผู้ว่าการธนาคาร กลางของเอเปค และการประชุมเศรษฐกิจระดับ เจ้าหน้าที่อาวุโส (SFOM) อีกทั้ง ยังเป็นหนึ่งใน องค์กร ที่ให้ความร่วมมือในส่วนที่เกี่ยวข้อง หลายด้าน อาทิ การมีสวนร่วมในการร่างและ ่ ปรับปรุง APEC Model Measures เพื่อใช้ เป็นต้นแบบสำาหรับการเจรจาจัดทำาความตกลง
  • 22. บทบาทของไทยในเอเปค • สมัยก่อตั้งเอเปค ไทยได้เป็นเจ้าภาพจัดการ ประชุมรัฐมนตรีเอเปค ครั้งที่ 4 เมื่อ พ.ศ. 2535 โดยในขณะนันมีนายอาสา สารสิน รัฐมนตรี ้ ว่าการกระทรวงการต่างประเทศดำารงตำาแหน่ง หัวหน้าคณะผู้แทนฝ่ายไทย • สมัยวิกฤตเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-ในช่วง เวลาดังกล่าว ไทยได้มีบทบาทนำาในการรณรงค์ ให้มีการหารือเกี่ยวกับปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจใน ที่ประชุมผู้นำาเศรษฐกิจ ครั้งที่ 5
  • 23. นอกจากนี้ ไทยยังได้ยกประเด็นความ สำาคัญของการต่อต้านการแพร่ระบาดของโรค เอดส์ ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงต่อความเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจในภูมภาค ขึ้นหารือในที่ ิ ประชุมผู้นำาเศรษฐกิจเอเปคครั้งที่ 12 ซึ่งผู้นำาฯ ต่างเห็นพ้องถึงความสำาคัญและได้ประกาศใน ปฏิญญาถึงความตั้งใจร่วมกัน การรณรงค์ต่อ ต้านโรคเอดส์และยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้ ป่วย
  • 24. ประโยชน์ทไทยได้รับจากเอเปคใน ี่ ระดับระหว่างประเทศ 1. เอเปคเป็นพัฒนาการอีกขั้นหนึ่งของความร่วม มือระดับภูมิภาค นอกเหนือจากกรอบของ อาเซียนซึ่งมีบทบาทเสริมความร่วมมือในระดับ ภูมิภาค 2. เนืองจากไทยมีอำานาจการต่อรองทาง ่ เศรษฐกิจในระดับปานกลางในองค์การการค้า โลก การเป็นสมาชิกเอเปคทำาให้ไทยมี พันธมิตรที่เข้มแข็งทางเศรษฐกิจ 3. ไทยมีสวนร่วมในการกำาหนดทิศทางความร่วม ่
  • 25. ประโยชน์ทไทยได้รับจากเอเปคใน ี่ ระดับภายในประเทศ • ภาคธุรกิจ การเปิดเสรีและอำานวยความสะดวก ทางการค้าภายในภูมิภาคจะส่งผลให้การค้าขาย ระหว่างกันขยายตัวมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังมี ความร่วมมือเพือส่งเสริมความแข็งแกร่งของ ่ วิสาหกิจขนากลางและขนาดย่อม • ภาควิชาการ ได้รับประโยชน์จากความร่วมมือ ด้านเทคโนโลยีระหว่างเศรษฐกิจสมาชิกผ่าน คณะทำางานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพืออุตสาหกรรม ่
  • 26. • ภาคการเกษตร เอเปคมีคณะทำางานเฉพาะ เกี่ยวกับเทคนิคการเกษตร เพื่อวิจัย พัฒนาและ เผยแพร่เทคนิคชีวภาพการเกษตรกรรม วิธีการ ผลิต การตลาด การแจกจ่ายและบริโภคผลผลิต ทางการเกษตร และสนับสนุนด้านเงินทุนแก่ เกษตรกรรม • ภาคแรงงานและการศึกษา ได้รับประโยชน์ จากกิจกรรมในกรอบคณะทำางานด้านทรัพยากร มนุษย์ของเอเปค ซึ่งมุ่งเน้นการแลกเปลี่ยนการ ฝึกอบรมแรงงาน • ภาคสังคมบทบาทสตรี เอเปคได้จัดตั้งคณะ ทำางานเฉพาะกิจด้านสตรีโดยเฉพาะเพือส่งเสริม ่ ให้สตรีเข้ามามีบทบาทในกิจกรรมของเอเปค และสนับสนุนให้สตรีเข้าไปมีบทบาทในกิจกรรม
  • 27. นโยบายของไทยต่อความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจของ APEC นับตั้งแต่ที่ไทยเริ่มเข้าเป็นสมาชิกในความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย – แปซิฟิก นโยบาย ของไทยยังคงยึดมั่นและสนับสนุนการค้าใน ระบบพหุภาคี ต้องการให้เอเปค เป็นเวทีสำาหรับ การแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นและปรึกษาหารือ ใน ประเด็นด้านเศรษฐกิจการค้ามิใช่เวทีของการ เจรจา หรือต่อรองแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ รวม ทั้งต้องการให้เอเปคเป็นการรวมกลุ่มในลักษณะ ภูมิภาคนิยมแบบเปิด ที่จะไม่กีดกันประเทศนอก กลุ่ม ในบรรดาสมาชิกเอเปคทั้งหมด ไทยนับว่า
  • 28. นโยบายของไทยต่อเอเปคใน อนาคต ไทยให้ความสำาคัญกับประเด็นด้าน สาธารณสุข อาทิ ความร่วมมือเพื่อการป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ ความร่วมมือด้าน เทคโนโลยีวิทยาศาสตร์และการแพทย์สมัยใหม่ และประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงของ มนุษย์ และไทยยังคงให้ความสำาคัญอย่างต่อ เนืองกับการผลักดันความร่วมมือด้านการพัฒนา ่ ทรัพยากรมนุษย์ และให้ความสำาคัญกับการเผยแพร่บทบาท กิจกรรมสำาคัญของเอเปคสู่สาธารณชน และ ขยายความร่วมมือเอเปค โดยการสนับสนุน