SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
1




                             จุดประสงค์การเรียนรู้
แบบฝึกศิลปะชุดทัศนธาตุและหลักการจัดภาพ               ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
     1. สาระสาคัญ
               ทัศนธาตุ (visual element) เป็นส่วนประกอบของการมองเห็นหรือสิ่งที่
เป็นปัจจัยของการเห็นในงานทัศนศิลป์อันประกอบด้วย จุด เส้น รูปร่าง และรูปทรง
น้้าหนักอ่อน-แก่ พื้นที่ว่าง พื้นผิว และสี

      2. จุดประสงค์การเรียนรู้
             1. บอกส่วนประกอบของทัศนธาตุได้
             2. เขียนภาพพื้นฐานของ จุด เส้น รูปร่าง- รูปทรง น้้าหนักอ่ อน-แก่
                 พื้นที่ว่าง พื้นผิว สี ได้
             3. สร้างสรรค์ผลงานออกแบบลวดลายจากธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อมด้วย
                ทัศนธาตุ ได้
             4. อธิบายผลงานของตนเองและแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อน ๆ ได้

      3. เนื้อหา
             ทัศนธาตุ (visual element)

      4. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
             1. มีความซื่อสัตย์สุจริต
             2. มีวินัย
             3. ใฝ่เรียนรู้
             4. มุ่งมั่นในการท้างาน
2




                      แนวทางการเรียนรู้เรื่องทัศนธาตุ


             ศึกษาแนวคิด                             ศึกษา สังเกต
              จุดประสงค์                                  วิธีการ
                 เนื้อหา                            เกี่ยวกับทัศนธาตุ



                                                                       ฝึกปฏิบัติ
  ศึกษาค้นคว้า                                                    เกี่ยวกับทัศนธาตุ
การสื่อความหมาย                  วิธีการ                           เป็นภาพต่างๆ
  ของทัศนธาตุ
                                 เรียนรู้
                                                                        ประเมินผล
       ค้นคว้า
                                                                         ปรับปรุง
  ฝึกทักษะเพิ่มเติม
                                                                          พัฒนา
     ปรึกษาผู้รู้

                               น้าความรู้ไปสร้าง
                              ภาพในชีวิตประจ้าวัน




                                 มีลักษณะอันพึง
                                     ประสงค์
3




                       คาแนะนาในการใช้แบบฝึกศิลปะ


         แบบฝึกศิลปะชุดทัศนธาตุและหลักการจัดภาพ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นกิจกรรม
การเรียนรู้ที่ได้มาจากการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ เป็นชุดการเรียนเพื่อเน้นให้ผู้เรียน
เรียนรู้ด้วยตนเองโดยการช่วยเหลือแนะน้าจากครู และกระบวนการกลุ่มพร้อมกับการ
ปฏิบัติจริง สามารถเกิดความรู้ฝังแน่นติดอยู่กับตัวพร้อมกับการปฏิบัติจริงนักเรียนจะ
สามารถสร้างภาพความคิด เกี่ยวกับศิลปะได้เป็นรูปธรรมซึ่งจะช่วยให้เกิดการเรียนรู้
ด้วยตนเองอย่างรวดเร็ว เป็นกิจกรรมที่เข้าใจง่าย น่าสนใจ นักเรียนได้เรียนรู้ใน
บรรยากาศที่ผ่อนคลายได้ท้ากิจกรรมที่ท้าทายและประสบความส้าเร็จ ดังนั้นผู้เรียนจึงควร
ด้าเนินการตามค้าแนะน้าดังต่อไปนี้
         1. ก่อนศึกษาแบบฝึกศิลปะชุดทัศนธาตุและหลักการจัดภาพ เล่มที่ 1 ทัศนธาตุ
นักเรียนควรท้าแบบทดสอบก่อนเรียนและบันทึกผลลงในแบบบันทึกผลของนักเรียนเอง
เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการเรียนรู้ของนักเรียน
         2. ให้นักเรียนเตรียมอุปกรณ์ตามค้าแนะน้าของครูศึกษาอ่านใบความรู้เรื่อง ทัศนธาตุ
ครูอธิบายเพื่อให้เข้าใจในความหมายและข้อความที่มีในใบความรู้ทัศนธาตุก่อน
         3. การศึกษาแบบฝึกศิลปะชุด ทัศนธาตุและหลักการจัดภาพให้ด้าเนินการ
ตามล้าดับในแต่ละส่วนที่ก้าหนดไว้ โดยศึกษาเนื้อหาหรือตัวอย่างที่ก้าหนดในใบความรู้ จน
เข้าใจดีแล้วจึงลงมือท้ากิจกรรมต่างๆ ในขณะปฏิบัติกิจกรรมหากพบปัญหาที่ไม่เข้าใจ
หรือไม่แน่ใจ ควรปรึกษากับครูผู้สอนทันที
         4. ตัวอย่างงานศิลปะต่างๆในใบความรู้นี้แสดงไว้เป็นแนวทางความเข้าใจเท่านั้น
นักเรียนไม่ควรลอกเลียนแบบ แต่ควรสร้างสรรค์ผลงานของตนเอง
         5. การศึกษาแบบฝึกศิลปะนี้จะบรรลุผลส้าเร็จ หากนักเรียนปฏิบัติตาม
คุณลักษณะอันพึ่งประสงค์ได้แก่มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการท้างาน
ที่ต้องการเน้นตามที่เสนอแนะในแบบฝึกศิลปะเล่มนี้
         6. เมื่อท้าครบทุกกิจกรรมเสร็จแล้วให้ท้าแบบทดสอบหลังเรียนและส่งให้ครูตรวจ
นักเรียนน้าคะแนนที่ได้ไปบันทึกลงในแบบบันทึกผลการประเมินในช่องผลการประเมินคะแนน
4
5




วัสดุอุปกรณ์
      นักเรียนควรจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อมเพื่อน้ามาสร้างสรรค์งานศิลปะได้อย่าง
สนุกสนานมีความสุข
1. กระดาษวาดเขียน




                                            5. สีน้า


2. ดินสอร่างภาพ HB




                                            6. สีโปสเตอร์

3. ดินสอแรเงา 6B หรือ EE




                                            7. จานสี
4.ปากกาเมจิกปากเล็ก
6




8. พู่กัน




                                 12. กระดาษทิชชู และผ้าเช็ดสี




9. ยางลบ


                                 13. แผ่นกระดาษรองเขียน




10 ไม้บรรทัด


                                 14.ภาชนะใส่น้า



11. มีดคัดเตอร์หรือกบเหลาดินสอ
7




                           แบบทดสอบก่อนเรียน
                             เรื่อง ทัศนธาตุ
คาชี้แจง นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1 2 3 4 และทาเครื่องหมาย
กากบาท ( X ) ลงในกระดาษคาตอบ
       1.ส่วนประกอบที่ส้าคัญที่สุด ของ ทัศนธาตุคือข้อใด
               1. สี
                2. เส้น
               3. รูปทรง
               4. แสงเงา
      2.ทัศนธาตุ หมายถึง
             1. สิ่งที่ไม่สามารถจับต้องได้
             2. การรวมตัวกันของสิ่งมีชีวิต
             3. สิ่งที่มีคุณค่าและส้าคัญต่อศิลปะ
             4. ส่วนประกอบต่าง ๆ ที่มองเห็นได้ด้วยตา
      3.ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่องค์ประกอบของทัศนธาตุ
             1. น้้าหนัก ที่ว่าง
             2. เส้น สี แสงเงา
8


        3. รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว
        4. ความสมดุล สัดส่วน จุดสนใจ
4.จุดที่เรียงต่อกันเป็นลายหรือเป็นแถวเป็นเป็นแนวในทิศทางต่าง ๆ เป็นทางยาว
  จะปรากฏเกิดเป็นสิ่งใด
         1. สี
         2. จุด
         3. เส้น
         4. รูปร่าง – รูปทรง
5. เส้นที่ให้ความรู้สึกแข็งแรง มั่นคง คือข้อใด
        1. เส้นฟันปลา
        2. เส้นตรงตามแนวตั้ง
        3. เส้นตรงตามแนวนอน
        4. เส้นเอียงหรือเส้นทแยง


6. ข้อใดคือลักษณะของรูปทรงที่ถูกต้อง
        1. รูปทรงมี 2 มิติ
        2. รูปทรงมี 3 มิติ
        3. รูปทรงไม่มีน้าหนัก
        4. รูปทรงไม่มีปริมาตร
7. สีขั้นที่ 1 หรือแม่สี ได้แก่สีอะไรบ้าง
         1. สีแดง สีส้ม สีม่วง
         2. สีน้าเงิน สีเขียว สีแดง
         3. สีเหลือง สีน้าเงิน สีม่วง
         4. สีแดง สีเหลือง สีน้าเงิน
8. ข้อใดคือลักษณะพื้นผิว
       1. ลักษณะภายในของวัตถุ
       2. ลักษณะรวมทั้งหมดของวัตถุ
9


                 3. ลักษณะภายนอกและภายในของวัตถุ
                 4. ลักษณะภายนอกของวัตถุที่มองเห็นและสัมผัสผิวได้
       9. ทัศนธาตุที่ท้าให้ภาพเหมือนจริงควรน้าวิธีใดมาใช้
              1. การร่างภาพ
              2. การใช้จุดตกแต่ง
              3. การใช้แสงเงาและสี
              4. การใช้ช่องว่างในภาพ
       10. ถ้าเราลากเส้นให้บรรจบกันท้าให้เกิดอะไร
              1. สีต่าง ๆ
              2. แสง – เงา
              3. พื้นหลังภาพ
              4. รูปร่าง – รูปทรง




                                              กระดาษคาตอบ
                                  แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ทัศนธาตุ
        ชื่อ...............................นามสกุล...................ชั้น...............เลขที่.................

ค้าชี้แจง นักเรียนกากบาท ( X ) ทับข้อ 1 2 3 4 ที่เห็นว่าถูกที่สุดเพียงข้อเดียว

                                        ข้อ 1             2       3        4
                                         1
                                         2
10


                                                 3
                                                 4
                                                 5
                                                 6
                                                 7
                                                 8
                                                 9
                                                10

ผลการทดสอบคะแนนที่ได้



ผู้ตรวจ.........................................................
วันที่.........../..................../..........................
11




                       ใบความรู้ เรื่อง ทัศนธาตุ
ตัวชี้วัด
ศ 1.1 ม.1/1
          บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม
โดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุ
เนื้อหา
        ผลงานทัศนศิลป์ด้านต่างๆ เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม
ภาพพิมพ์ เป็นผลงานภาพรวมที่เกิดจากการผสมรวมกันขององค์ประกอบศิลป์ที่เป็น
พื้นฐานในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยทั่วไปที่เรียกว่า ทัศนธาตุ ( visual element )
คือส่วนประกอบของการมองเห็นอันประกอบด้วย
    1. จุด ( Dot , Point )
    2. เส้น ( Line )
    3. รูปร่าง Shape) และ รูปทรง (Form)
    4. น้้าหนักอ่อนแก่ (Tone)
    5. พื้นที่ว่าง Space)
    6. พื้นผิว (Texture)
    7. สี (Color)
ทัศนธาตุมีองค์ประกอบที่ส้าคัญดังนี้
1. จุด (Dot , Point)
        จุด เป็นทัศนธาตุอันดับแรกของงานทัศนศิลป์ จุดเป็นส่วนที่มีขนาดเล็กที่สุดของ
งานศิลปะ เมื่อน้าเอาจุดจ้านวนมากๆมาเรียงต่อเนื่องกันและท้าซ้้าๆ กันก็จะท้าให้เกิดเป็น
เส้นถ้าจัดกลุ่มรวมกันจะกลายเป็นรูปร่าง รูปทรง ลักษณะผิว น้้าหนักอ่อน – แก่ แสง
เงา จุดจึงเป็นทัศนธาตุที่สามารถน้ามาสร้างสรรค์งานศิลปะได้ ซึ่งเราสามารถพบเห็นจุดใน
ลักษณะต่างๆปรากฏอยู่ในผลงานจิตรกรรมอยู่เสมอ
12




                  ภาพประกอบเรื่องจุด

จุด
                               




จุดเรียงต่อเนื่องกันเป็นเส้น

                      




จุดเรียงต่อกันเป็นรูปร่าง




จุดทาน้าหนักเป็นรูปทรง




จุดเรียงต่อเนื่องกันวาดเป็นรูปทรงเรขาคณิต
13




                          กิจกรรมฝึกเรื่องจุด

         แนวปฏิบัติ ให้นักเรียนเขียนภาพด้วยจุดเป็นรูปร่าง รูปทรง ได้แก่
รูปร่าง-รูปทรงเรขาคณิต รูปร่าง-รูปทรงธรรมชาติ รูปร่าง- รูปทรงอิสระ โดยใช้
ปากกาเมจิกหรือดินสอแรเงาสร้างสรรค์ 10 ภาพ
ตัวอย่าง
14




  ชื่อ..................................................... นามสกุล....................................ชั้น.............เลขที่..........


3. เส้น (Line)
   เส้น คือ จุดจ้านวนมากที่น้ามาเรียงติดต่อกันเชื่อมโยงกันบนพื้นระนาบของทิศทางจน
สามารถแสดงให้เห็นว่าเป็นลักษณะเส้นชนิดใด เช่น แนวตั้ง แนวนอน โค้ง คด แนว
หยัก หักเหเส้นขั้นต้นที่เป็นพื้นฐาน มี 2 ลักษณะ คือ เส้นตรง เส้นโค้ง




   ภาพประกอบลักษณะของเส้นและความรู้สึกของเส้น

   1. เส้นตั้ง                                        เส้นตั้งให้ความรู้สึก มั่นคง แข็งแรง สง่างาม เป็น
                                                      ระเบียบ
   2. เส้นนอน                                         เส้นนอนหรือเส้นระดับให้ความรู้สึกราบเรียบ สงบนิ่ง

   3. เส้นเฉียง                                       เส้นเฉียงตรงให้ความรู้สึกเอียง ไม่ตรง ความรวดเร็ว

   4. เส้นโค้ง                                        เส้นโค้งของวงกลมให้ความรู้สึกอ่อนโยน อ่อนช้อย

   5. เส้นโค้งอิสระ                                   เส้นโค้งอิสระให้ความรู้สึกโค้งขึ้นสูง ความเจริญเติบโต

   6. เส้นโค้งคดหรือก้นหอย                            เส้นโค้งคดหรือก้นหอยให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว
15


                               ขยายตัว
   7. เส้นคด                   เส้นคดให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวต่อเนื่องไม่สิ้นสุด

   8. เส้นฟันปลา               เส้นฟันปลาให้ความรู้สึกเกร็ง รุนแรง ตื่นเต้น

   9. เส้นประ หรือเส้นขาด      เส้นประหรือเส้นขาดให้ความรู้สึกไม่เป็นระเบียบ
                               ไม่มั่นคง




                        กิจกรรมฝึกเรื่องเส้น

แนวปฏิบัติ นักเรียนฝึกลากเส้นตามแบบและเขียนตามลูกศรโดยไม่ใช้ไม้บรรทัด ตาม
แบบด้านซ้ายมือ
 ตัวอย่าง
16




ชื่อ.............................................นามสกุล....................................ชั้น............เลขที่...........


        1. รูปร่างและรูปทรง (Shape & Form )
              รูปร่าง คือ รูปแบนๆ มี 2 มิติ มีความกว้าง กับ ความยาว ไม่มีความหนาเกิดจาก
              เส้นรอบนอกที่แสดงพื้นที่ขอบเขตของรูปต่างๆ เช่น รูปวงกลม รูปสามเหลี่ยม
              หรือ รูปอิสระ ที่แสดงเนื้อที่ของผิวที่เป็นระนาบมากกว่าแสดงปริมาตรหรือมวล




           รูปทรง คือ รูปที่ลักษณะเป็น 3 มิติ โดยนอกจากจะแสดง ความกว้าง ความยาว
   แล้ว ยังมีความลึก หรือความ หนา นูน ด้วย เช่น รูปทรงกลม ทรงสามเหลี่ยม
   ทรงกระบอก เป็นต้น ให้ความรู้สึกมีปริมาตร ความหนาแน่น มีมวลสาร ที่เกิดจากการใช้
   ค่าน้้าหนัก หรือการจัดองค์ประกอบของรูปทรง หลายรูปรวมกัน
17



        รูปร่างและรูปทรงเป็นรูปธรรมของงานศิลปะ ที่ใช้สื่อเรื่องราวจากงานศิลปะไปสู่
ผู้ชมรูปร่างและรูปทรงที่มีอยู่ในงานศิลปะมี 3 ลักษณะ คือ
        1.รูปร่างธรรมชาติ




       2. รูปร่างเรขาคณิต




   3.รูปร่างอิสระ




       1.รูปทรงธรรมชาติ




       2. รูปทรงเรขาคณิต
18




    3.รูปทรงอิสระ




                กิจกรรมฝึกเรื่องรูปร่าง – รูปทรง
แนวปฏิบัติ นักเรียนฝึกวาดรูปร่าง-รูปทรง 3 ลักษณะ
รู ปร่ าง                              รู ปทรง
1.รูปร่างธรรมชาติ                      1.รูปทรงธรรมชาติ
19




2. รูปร่างเรขาคณิต                                                2. รูปทรงเรขาคณิต




3.รูปร่างอิสระ                                                    3.รูปทรงอิสระ




 ชื่อ................................................นามสกุล....................................ชั้น..............เลขที.่ .......


4.หนักอ่อน – แก่ (Tone )
       น้้าหนักอ่อน – แก่หมายถึงความเข้มความอ่อนของสีต่างๆและแสงเงาตามที่
ประสาทตารับรู้เปรียบเทียบได้ว่าส่วนที่ถูกแสงสว่างวัตถุจะเป็นสีอ่อนหรือใสสว่าง ส่วนที่
ถูกแสงน้อยหรือเป็นเงาก็จะมีสีเข้มหรือมืด
20


         ในการท้าค่าของแสงเงาหรือน้้าหนักอ่อน – แก่ไปใช้ในการท้างานทัศนศิลป์โดย
การท้าน้้าหนักที่ต่างกันของสี และ แสงเงา จะท้าให้เกิดเป็นภาพระยะไกล ใกล้
ความกลมกลืน หรือตัดกันท้าให้เกิดภาพ 3 มิติ มีความเหมือนจริงและงดงามสมบูรณ์
ยิ่งขึ้น
21




                     กิจกรรมฝึกเรื่องน้าหนัก –อ่อนแก่

แนวปฏิบัติ นักเรียนฝึกการทาน้าหนัก- อ่อนแก่ ด้วยดินสอแรเงาตามแบบที่กาหนดให้
22


   ชื่อ.............................................นามสกุล....................................ชั้น..............เลขที.่ .......


5.พื้นที่ว่าง (Space)
            พื้นที่ว่าง หมายถึง บริเวณที่เป็นความว่างซึ่งไม่ใช่ส่วนที่เป็นรูปทรง หรือเนื้อหาของ
  ภาพ ในขณะที่จัดภาพหากปล่อยให้มีพื้นที่ว่างมาก และให้มีรูปร่าง รูปทรงน้อยภาพนั้นจะ
  ให้ความรู้สึกอ้างว้างโดดเดี่ยว ในทางตรงข้ามหากจัดภาพให้มีพื้นที่ว่างน้อยและจัดรูปร่าง
  รูปทรงและเนื้อหามากเกินไป ก็จะท้าให้เกิดความรู้สึกอึดอัด คับแคบ ดังนั้นการจัดวางควร
  จัดวางให้มีความพอเหมาะก็ท้าให้เกิดความรู้สึกที่พอดี น่าดูไม่ขัดตา
            การรู้จักสังเกตและทดลองฝึกหัดบ่อยๆ ครั้งก็จะเกิดประสบการณ์ในการแบ่ง
  พื้นที่ว่างให้เหมาะสมกับเนื้อหา หรือรูปร่างรูปทรงในผลงานทัศนศิลป์
23




                      กิจกรรมฝึกเรื่องพื้นที่ว่าง

แนวปฏิบัติ นักเรียนน้ารูปร่าง- รูปทรงที่ก้าหนดให้มาจัดวางลงในกรอบให้มีความ
เหมาะสมสวยงาม ระบายภาพด้วยสีไม้และตัดเส้น
24




ชื่อ....................................นามสกุล....................................ชั้น...........................เลขที่........
25




6.พื้นผิว (Texture)
         พื้นผิว หมายถึง ลักษณะของบริเวณผิวของสิ่งของต่างๆ ที่เมื่อสัมผัสจับต้องหรือ
เมื่อเห็นแล้วรู้สึกได้ว่า หยาบ ละเอียด มัน ด้าน เป็นขีด เป็นรอย เป็นเส้น เป็นจุด
พื้นผิวของวัตถุต่างๆที่เกิดจากธรรมชาติและมนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น การออกแบบสร้างสรรค์
ผลงานทัศนศิลป์ สามารถใช้เทคนิคต่างๆมาสร้างลักษณะพื้นผิว เช่น เทคนิคของรอยพู่กัน
         พื้นผิวที่มีลักษณะแตกต่างกันย่อมให้ความรู้สึกที่แตกต่างกันด้วย เช่น พื้นผิวที่
เรียบ โค้ง เว้า จะท้าให้รู้สึกสบายผ่อนคลาย ส่วนพื้นผิวที่ดูหยาบขรุขระ จะให้ความรู้สึก
ที่แข็งกระด้าง เป็นต้น


         พื้นผิวเกิดจากการใช้ดินสอแรเงาถูด้านบนของกระดาษ
  พื้นผิวปูนซีเมนต์
                                             พื้นผิวกระถางดินเผา




 พื้นผิวเปลือกต้นไม้

                                                            พื้นผิวหลังใบไม้
26




                         กิจกรรมฝึกเรื่องพื้นผิว

แนวปฏิบัติ นักเรียนน้าวัสดุที่มีผิวต่างๆมาเป็นแบบแล้วใช้กระดาษวางทับจากนั้นใช้
ดินสอแรเงามาฝนถูจะเกิดเป็นลักษณะผิวต่างๆ นักเรียนฝึกปฏิบัติให้ได้ 10 แบบ
27




ชื่อ....................................นามสกุล....................................ชั้น...........................เลขที่........




     7.สี (Colour)
         สีเป็นทัศนธาตุที่ส้าคัญในการสร้างสรรค์ศิลปะ สีปรากฏอยู่ทั่วไปรอบๆตัวเรา
     ได้แก่สีที่เกิดขึ้นเองในธรรมชาติ หรือสีที่มนุษย์สร้างขึ้น เพราะสามารถช่วยให้เกิด
     คุณค่าในองค์ประกอบอื่น ๆ เช่น การใช้สีป้ายให้เป็นเส้นต่าง ๆ การใช้สีให้เกิดรูปร่าง
     การใช้สีให้เกิดจังหวะ การใช้สีแสดงลักษณะของผิวพื้น นอกจากนี้การใช้สียังมีส่วน
     ส่งเสริมให้เกิดความคิด ความรู้สึกและอารมณ์ สีจึงเปรียบได้กับองค์ประกอบหลักที่
     สามารถควบคุมและเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบอื่น ทั้งนี้เพราะว่าสีมีส่วนเกี่ยวพันกับ
     องค์ประกอบอื่น ทั้งนี้เพราะว่าสีมีส่วนเกี่ยวพันกับองค์ประกอบทุกอย่างที่ประกอบ
     เป็นภาพขึ้นรายละเอียดในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสีมีอยู่มากมาย แต่สิ่งที่เราจ้าเป็นต้อง
     เรียนรู้เพื่อน้าไปใช้ในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์จะประกอบด้วย

           ระบบของสีแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
           สีขั้นที่ 1 ได้แก่ แดง เหลือง น้้าเงิน




           สีขั้นที่ 2 ได้แก่ ส้ม เขียว ม่วง
28




       สีขั้นที่ 3 ได้แก่ ส้มแดง ม่วงแดง ส้มเหลือง เขียวเหลือง เขียวน้้าเงิน
       ม่วงน้้าเงิน




ขั้นตอนการท้าวงสีธรรมชาติ
       1. ระบายแม่สี 3 สี เหลือง แดง น้้าเงิน




       1. ระบายสีขั้นที่ 2 เกิดจากการผสมของแม่สีอัตราส่วน 1 : 1 ได้แก่สี ส้ม เขียว
ม่วง
29




3. ระบายสีขั้นที่ 3 เกิดจากการผสมของสีขั้นที่ 1 และสีขั้นที่ 2 ได้แก่
          ส้มเหลือง ส้มแดง เขียวเหลือง เขียวน้้าเงิน ม่วงแดง ม่วงน้้าเงิน
30




  สีเหลือง                               ให้ความรู้สึก สว่าง สดใส
  สีแดง                                  ให้ความรู้สึกร้อนแรง ตื่นเต้น เร้าใจ
  สีชมพูอ่อน                             ให้ความรู้สึกนุ่มนวล อ่อนโยน
  สีเขียว                                ให้ความรู้สึกสดชื่น ปลอดภัย เจริญเติบโต
  สีน้าเงิน                              ให้ความรู้สึกหนักแน่น สุภาพ สงบ
  สีม่วง                                 ให้ความรู้สึกเยือกเย็น เศร้าโศก ลึกลับ
  สีเทา                                  ให้ความรู้สึกใจเย็น สง่า ฉลาด
  สีน้าตาล                               ให้ความรู้สึกอบอุ่น แห้งแล้ง
  สีขาว                                  ให้ความรู้สึกสะอาด เรียบร้อย บริสุทธิ์
  สีด้า                                  ให้ความรู้สึกหวาดกลัว เหงา เศร้าโศก




                              กิจกรรมฝึกเรื่องสี
แนวปฏิบัติ นักเรียนระบายสีวงสีธรรมชาติ 12 สีลงในวงกลมที่ก้าหนดให้พร้อมเขียนชื่อสี
ให้ถูกต้องด้วยสีไม้ หรือสีน้า
31




ชื่อ....................................นามสกุล....................................ชั้น...........................เลขที่........



                                             แบบทดสอบหลังเรียน
                                               เรื่อง ทัศนธาตุ

คาชี้แจง นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1 2 3 4 และทาเครื่องหมาย
กากบาท ( X ) ลงในกระดาษคาตอบ
       1. ข้อใดคือการน้าจุดมาสร้างสรรค์ในงานทัศนศิลป์
               1. การท้าจุดให้มีสีสันสดใส
               2. การท้าจุดให้เรียงเป็นเส้นตรง
               3. การท้าจุดให้กระจายเต็มภาพ
               4. การท้าน้้าหนักอ่อน – แก่แสงเงาและลักษณะผิว
           2. เส้นขั้นต้นที่เป็นพื้นฐานมีเส้นอะไรบ้าง
                   1. เส้นตรงและเส้นคด
32


         2. เส้นตรงและเส้นโค้ง
         3. เส้นตรงและเส้นฟันปลา
         4. เส้นตรงและเส้นประหรือเส้นขาด
3. รูปร่างและรูปทรงแบ่งออกได้เป็นลักษณะอะไรบ้าง
         1. ลักษณะธรรมชาติ , ดัดแปลง
         2. ลักษณะธรรมชาติ, เรขาคณิต , อิสระ
         3. ลักษณะเรขาคณิต, สร้างสรรค์, อิสระ
         4. ลักษณะดัดแปลง, เรขาคณิต , ธรรมชาติ
4. น้้าหนักอ่อน-แก่ ท้าให้เกิดเป็นลักษณะภาพอย่างไร
         1. ภาพมีลักษณะแบนราบเรียบ
         2. ภาพมีลักษณะซับซ้อนไม่เหมือนจริง
         3. ภาพมีลักษณะใกล้กลางไกลเป็นภาพ 2 มิติ
         4. ภาพมีลักษณะใกล้ไกลเหมือนจริงเกิดภาพ 3 มิติ
5. พื้นผิวหมายถึงข้อใด
         1. พื้นของวัสดุต่าง ๆ
         2. พื้นภายในของวัตถุ
         3. พื้นผิวของพื้นหลังภาพ
         4. พื้นผิวของวัตถุต่าง ๆ ที่เกิดจากธรรมชาติและมนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น


6. วงสีธรรมชาติมีทั้งหมดกี่สี
       1. 10 สี
       2. 12 สี
       3. 11 สี
       4. 9 สี
7. สีขั้นที่ 1 ได้แก่สีอะไรบ้าง
         1. สีม่วง สีส้ม สีเหลือง
         2. สีส้ม สีเหลือง สีน้าเงิน
         3. สีเหลือง สีแดง สีน้าเงิน
33


          4. สีเหลือง สีเขียว สีน้าเงิน
8. สีขั้นที่ 2 ได้แก่สีอะไรบ้าง
         1. สีส้ม สีเขียว สีม่วง
         2. สีแดง สีด้า สีม่วง
         3. สีฟ้า สีด้า สีขาว
         4. สีเหลือง สีส้ม สีเขียว
9. สีน้าเงิน ให้ความรู้สึก
        1. สว่าง สดใส ร่าเริง
        2. หนักแน่น เยือกเย็น สงบ
        3. ใจเย็น สง่า ฉลาด สุขุม
        4. ร้อนแรง ตื่นเต้น เร้าใจ อันตราย
10. สีชมพู ให้ความรู้สึก
       1. ใจเย็น ร่าเริง
       2. สว่าง สดใส
       3. ตื่นเต้น เร้าใจ
       4. นุ่มนวล อ่อนโยน




                                        กระดาษค้าตอบ
                           แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ทัศนธาตุ
 ชื่อ...............................นามสกุล...................ชั้น...............เลขที่.................
34


ค้าชี้แจง นักเรียนกากบาท ( X ) ทับข้อ 1 2 3 4 ที่เห็นว่าถูกที่สุดเพียงข้อเดียว

                                               ข้อ 1                2   3   4
                                                1
                                                2
                                                3
                                                4
                                                5
                                                6
                                                7
                                                8
                                                9
                                               10

ผลการทดสอบคะแนนที่ได้

ผู้ตรวจ.........................................................
วันที่.........../..................../..........................
35




                   แบบบันทึกผลการเรียนรู้ศิลปะก่อนเรียน – หลังเรียน
                               ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
                                  เล่มที่ 1 ทัศนธาตุ

       ชื่อ.........................................................................ชั้น.............เลขที่.......


                                ผลการประเมิน
                                                                                                             หมายเหตุ
คะแนนก่อนเรียน                 คะแนนหลังเรียน                        ความก้าวหน้า




    ข้อเสนอแนะ
    ..................................................................................................................................
    ..................................................................................................................................
    ..................................................................................................................................
36




                     แบบสอบถามความพึงพอใจในการฝึกศิลปะ
            แบบฝึกศิลปะทัศนธาตุและหลักการจัดภาพ เล่มที่ 1 เรื่องทัศนธาตุ

       ชื่อ................................................................................เลขที่..................ชั้น

ค้าชี้แจง โปรดท้าเครื่องหมาย / ลงในช่องว่างตามล้าดับความพึงพอใจ

                                                                        เกณฑ์ระดับความพึงพอใจ
ข้อ
                  รายการ                         มากที่สุด             มาก ปานกลาง น้อย                                   น้อยที่สุด
ที่
                                                   (4)                 ( 3)       (2 )     (1 )                             (0)
  ค้าแนะในการใช้แบบฝึก
1
  ศิลปะ
  เข้าใจสาระส้าคัญของ
2
  เนื้อหาที่ศึกษา
  การใช้ภาษาเข้าใจง่าย
3
  เข้าใจขั้นตอนในการฝึก
4
  ปฏิบัติในกิจกรรมต่าง
  เนื้อหามีความสมบูรณ์
5
  น่าสนใจ
      ได้แนวคิดในการ
6
      สร้างสรรค์ผลงานศิลปะ
7 เรียนรู้ด้วยความสุข
37


   สนุกสนานเพลิดเพลิน
   น้าความรู้ไปประยุกต์ใช้กับ
 8
   วิชาอื่นได้
   เวลาในการฝึกและปฏิบัติ
 9
   เหมาะสม
   ขนาดรูปเล่ม สวยงาม
10
   น่าสนใจ
38


                       แบบสังเกตกระบวนการทางานของนักเรียน
               ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องทัศนธาตุและหลักการจัดภาพ


                                            การเตรียม การ
               การวางแผน      ขั้นตอนการ                    การแก้ปัญหา              ผลการ
                                            ใช้ และการเก็บ
                การทางาน          ทางาน                    ขณะปฏิบัติงาน รวม ร้อย    ประเมิน
ชื่อนักเรียน                                    อุปกรณ์
                                                                          12 ละ

               3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0                                      ผ่าน     ไม่
                                                                                            ผ่าน




   รวม

   เฉลี่ย

  ร้อยละ
     หมายเหตุ ทาเครื่องหมาย .ในช่องรายการที่ตรงกับรายการประเมินนักเรียน
     ระดับคุณภาพ
         3 หมายถึง ระดับคุณภาพดีมาก
         2 หมายถึง ระดับคุณภาพดี
         1 หมายถึง ระดับคุณภาพอยู่ในเกณฑ์พอใช้
     0 หมายถึง ระดับคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ที่ต้องแก้ไข
     เกณฑ์การประเมิน
        1. นักเรียนได้คะแนนประเมินร้อยละ 70 ขึ้นไปจากคะแนนเต็ม ถือว่า ผ่าน
39


   2. นักเรียนได้คะแนนต่ากว่าร้อยละ 70 จากคะแนนเต็ม ถือว่า ไม่ผ่าน

                                                          ลงชื่อ...............................ผู้สอน




                แบบสังเกตคุณลักษณะนิสัยการทางานของนักเรียน
           ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องทัศนธาตุและหลักการจัดภาพ


           ความมั่นใจใน                      ความ                 ความ
                          การรักษาความ                                                                   ผลการ
           การวาดภาพ                     กระตือรือร้นใน       รับผิดชอบใน
   ชื่อ                      สะอาด                                                 รวม ร้อย              ประเมิน
                                           การทางาน            การทางาน
นักเรียน                                                                            12 ละ
           3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0                                                              ผ่าน     ไม่
                                                                                                                ผ่าน




 รวม

 เฉลี่ย

ร้อยละ
หมายเหตุ ทาเครื่องหมาย .ในช่องรายการที่ตรงกับรายการประเมินนักเรียน
ระดับคุณภาพ
    3 หมายถึง ระดับคุณภาพดีมาก
40


            2 หมายถึง ระดับคุณภาพดี
        1 หมายถึง ระดับคุณภาพอยู่ในเกณฑ์พอใช้
    0 หมายถึง ระดับคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ที่ต้องแก้ไข
    เกณฑ์การประเมิน
       1. นักเรียนได้คะแนนประเมินร้อยละ 70 ขึ้นไปจากคะแนนเต็ม ถือว่า ผ่าน
       2. นักเรียนได้คะแนนต่ากว่าร้อยละ 70 จากคะแนนเต็ม ถือว่า ไม่ผ่าน

                                                                             ลงชื่อ.........................ผู้สอน




                                       แบบประเมินผลงานของนักเรียน

                   ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องทัศนธาตุและหลักการจัดภาพ

                                ความละเอียด                    การใช้เส้น     การจัด
               ความคิดริเริ่ม                 เนื้อหาตรงตาม                                                   ผลการ
                                  ประณีต                      เหมาะสมกับ    องค์ประกอบ
                สร้างสรรค์                        เป้าหมาย                                   รวม ร้อย         ประเมิน
ชื่อนักเรียน                      สวยงาม                         ภาพ         ของภาพ
                                                                                              12 ละ
                                                                                                                      ไม่
               3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0                                                      ผ่าน
                                                                                                                     ผ่าน




   รวม


   เฉลี่ย

  ร้อยละ
41




           หมายเหตุ ทาเครื่องหมาย .ในช่องรายการที่ตรงกับรายการประเมินนักเรียน
           ระดับคุณภาพ
               3 หมายถึง ระดับคุณภาพดีมาก
              2 หมายถึง ระดับคุณภาพดี
              1 หมายถึง ระดับคุณภาพอยู่ในเกณฑ์พอใช้
              0 หมายถึง ระดับคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ที่ต้องแก้ไข
           เกณฑ์การประเมิน
              1. นักเรียนได้คะแนนประเมินร้อยละ 70 ขึ้นไปจากคะแนนเต็ม ถือว่า ผ่าน
              2. นักเรียนได้คะแนนต่ากว่าร้อยละ 70 จากคะแนนเต็ม ถือว่า ไม่ผ่าน

                                                                   ลงชื่อ...............................ผู้สอน




                        แบบประเมินคุณลักษณะนิสัยในชีวิตประจาวันของนักเรียน
                      ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องทัศนธาตุและหลักการจัดภาพ
                 การนา
                            การศึกษาหา                    การประเมิน       การยกย่อง
            ภาพวาดไปใช้                       ความ                                                                 ผลการ
                               ความรู้                    คุณภาพงาน      ชมเชยเพื่อนผู้
   ชื่อ           ใน                      ขยันหมันเพียร
                                                 ่                                      รวม ร้อย                   ประเมิน
                              เพิ่มเติม                   ด้วยตนเอง      มีผลงานดีเด่น
นักเรียน    ชีวิตประจาวัน                                                                12 ละ
                                                                                                                         ไม่
            3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0                                                              ผ่าน
                                                                                                                        ผ่าน
42




 รวม

 เฉลี่ย
ร้อยละ

          หมายเหตุ ทาเครื่องหมาย .ในช่องรายการที่ตรงกับรายการประเมินนักเรียน
          ระดับคุณภาพ
              3 หมายถึง ระดับคุณภาพดีมาก
              2 หมายถึง ระดับคุณภาพดี
             1 หมายถึง ระดับคุณภาพอยู่ในเกณฑ์พอใช้
             0 หมายถึง ระดับคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ที่ต้องแก้ไข
          เกณฑ์การประเมิน
             1. นักเรียนได้คะแนนประเมินร้อยละ 70 ขึ้นไปจากคะแนนเต็ม ถือว่า ผ่าน
             2. นักเรียนได้คะแนนต่ากว่าร้อยละ 70 จากคะแนนเต็ม ถือว่า ไม่ผ่า

                                                             ลงชื่อ...............................ผู้สอน


                                            บรรณานุกรม

          ฉัตรชัย อรรถปัทษ์. ( 2551 ). องค์ประกอบศิลป์. กรุงเทพฯ: บริษัทวิทยพัฒน์ จ้ากัด .
          อารี สุทธิพันธุ์. การวาดเขียน. กรุงเทพมหานคร : วิฌวลอาร์ต, 2528.
                  . การออกแบบ. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช, 2521
          ปัญญา ทรงเสรี , และคณะ. ( 2539 ). ศิลปะกับชีวิต 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.
                    กรุงเทพฯ:ส้านักพิมพ์โอเดียนสโตร์
                 . (2540). สมุดปฏิบัตการทัศนศิลป์ ศ 101 ศิลปะกับชีวิต1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
                                      ิ
                 ภาคเรียนที่ 1. กรุงเทพฯ. ส้านักพิมพ์วัฒนาพาณิช.
43


        . (2540). สมุดปฏิบัตการทัศนศิลป์ ศ 102 ศิลปะกับชีวิต1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
                              ิ
         ภาคเรียนที่ 2. กรุงเทพฯ. ส้านักพิมพ์วัฒนาพาณิช.
ปัญญา ทรงเสรี, เศรษฐ์ศิริ สายกระสุนและคณะ. ( 2542 ). สมุดปฏิบัติกิจกรรม 1
        ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. กรุงเทพฯ: ส้านักพิมพ์วัฒนาพาณิช.
          . (2542 ) สมุดปฏิบัติกิจกรรม 2 ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. กรุงเทพฯ:
        ส้านักพิมพ์วัฒนาพาณิช.
สุชาติ เถาทอง, และคณะ. ( 2550 ) หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการ
         เรียนรู้ศิลปะ ทัศนศิลป์ ม.1. กรุงเทพฯ: บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จ้ากัด.
วิโชค มุกดามณี (2550). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานทัศนศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษา
         ปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ . กรุงเทพฯ: ส้านักพิมพ์พัฒนาคุณภาพวิชาการ
        ( พว.) จ้ากัด.
วิทูรย์ โสแก้ว. (2546). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานทัศนศิลป์
        ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพฯ: ส้านักพิมพ์วัฒนาพาณิช. จ้ากัด
44




ภาคผนวก
45




          เฉลยคาตอบ
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง “ทัศนธาตุ ”
    ข้อ. 1      ตอบข้อ 2
    ข้อ. 2      ตอบข้อ 4
    ข้อ. 3      ตอบข้อ 2
    ข้อ. 4      ตอบข้อ 3
    ข้อ. 5      ตอบข้อ 2
    ข้อ. 6      ตอบข้อ 2
    ข้อ. 7      ตอบข้อ 4
    ข้อ. 8      ตอบข้อ 4
    ข้อ. 9      ตอบข้อ 3
   ข้อ. 10 ตอบข้อ 4
46




          เฉลยคาตอบ
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง “ทัศนธาตุ ”
   ข้อ. 1       ตอบข้อ        4
   ข้อ. 2       ตอบข้อ        2
   ข้อ. 3       ตอบข้อ        2
   ข้อ. 4       ตอบข้อ        4
   ข้อ. 5       ตอบข้อ        4
   ข้อ. 6       ตอบข้อ        2
   ข้อ. 7       ตอบข้อ        2
   ข้อ. 8       ตอบข้อ        2
   ข้อ. 9       ตอบข้อ        2
   ข้อ. 10 ตอบข้อ             4

More Related Content

What's hot

โครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษาโครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษาSaranda Nim
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงานMeaw Sukee
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfJiruttiPommeChuaikho
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างkrupeak
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 

What's hot (20)

โครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษาโครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษา
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
 
ข้อสอบศิลปะ
ข้อสอบศิลปะข้อสอบศิลปะ
ข้อสอบศิลปะ
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่าง
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
 
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 

Similar to ทัศนธาตุ

5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)Kruthai Kidsdee
 
แผนการสอนJm100
แผนการสอนJm100แผนการสอนJm100
แผนการสอนJm100Pises Tantimala
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการsrkschool
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรทับทิม เจริญตา
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]Aon Narinchoti
 
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2thkitiya
 

Similar to ทัศนธาตุ (20)

5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
 
แผนการสอนJm100
แผนการสอนJm100แผนการสอนJm100
แผนการสอนJm100
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
A
AA
A
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
 
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
 
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
 
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 

More from Nattapon

About Python
About PythonAbout Python
About PythonNattapon
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีNattapon
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorNattapon
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...Nattapon
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8Nattapon
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potNattapon
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meNattapon
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationNattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationNattapon
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010Nattapon
 

More from Nattapon (20)

Resume
ResumeResume
Resume
 
About Python
About PythonAbout Python
About Python
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
 

ทัศนธาตุ

  • 1. 1 จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบฝึกศิลปะชุดทัศนธาตุและหลักการจัดภาพ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 1. สาระสาคัญ ทัศนธาตุ (visual element) เป็นส่วนประกอบของการมองเห็นหรือสิ่งที่ เป็นปัจจัยของการเห็นในงานทัศนศิลป์อันประกอบด้วย จุด เส้น รูปร่าง และรูปทรง น้้าหนักอ่อน-แก่ พื้นที่ว่าง พื้นผิว และสี 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกส่วนประกอบของทัศนธาตุได้ 2. เขียนภาพพื้นฐานของ จุด เส้น รูปร่าง- รูปทรง น้้าหนักอ่ อน-แก่ พื้นที่ว่าง พื้นผิว สี ได้ 3. สร้างสรรค์ผลงานออกแบบลวดลายจากธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อมด้วย ทัศนธาตุ ได้ 4. อธิบายผลงานของตนเองและแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อน ๆ ได้ 3. เนื้อหา ทัศนธาตุ (visual element) 4. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีความซื่อสัตย์สุจริต 2. มีวินัย 3. ใฝ่เรียนรู้ 4. มุ่งมั่นในการท้างาน
  • 2. 2 แนวทางการเรียนรู้เรื่องทัศนธาตุ ศึกษาแนวคิด ศึกษา สังเกต จุดประสงค์ วิธีการ เนื้อหา เกี่ยวกับทัศนธาตุ ฝึกปฏิบัติ ศึกษาค้นคว้า เกี่ยวกับทัศนธาตุ การสื่อความหมาย วิธีการ เป็นภาพต่างๆ ของทัศนธาตุ เรียนรู้ ประเมินผล ค้นคว้า ปรับปรุง ฝึกทักษะเพิ่มเติม พัฒนา ปรึกษาผู้รู้ น้าความรู้ไปสร้าง ภาพในชีวิตประจ้าวัน มีลักษณะอันพึง ประสงค์
  • 3. 3 คาแนะนาในการใช้แบบฝึกศิลปะ แบบฝึกศิลปะชุดทัศนธาตุและหลักการจัดภาพ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นกิจกรรม การเรียนรู้ที่ได้มาจากการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ เป็นชุดการเรียนเพื่อเน้นให้ผู้เรียน เรียนรู้ด้วยตนเองโดยการช่วยเหลือแนะน้าจากครู และกระบวนการกลุ่มพร้อมกับการ ปฏิบัติจริง สามารถเกิดความรู้ฝังแน่นติดอยู่กับตัวพร้อมกับการปฏิบัติจริงนักเรียนจะ สามารถสร้างภาพความคิด เกี่ยวกับศิลปะได้เป็นรูปธรรมซึ่งจะช่วยให้เกิดการเรียนรู้ ด้วยตนเองอย่างรวดเร็ว เป็นกิจกรรมที่เข้าใจง่าย น่าสนใจ นักเรียนได้เรียนรู้ใน บรรยากาศที่ผ่อนคลายได้ท้ากิจกรรมที่ท้าทายและประสบความส้าเร็จ ดังนั้นผู้เรียนจึงควร ด้าเนินการตามค้าแนะน้าดังต่อไปนี้ 1. ก่อนศึกษาแบบฝึกศิลปะชุดทัศนธาตุและหลักการจัดภาพ เล่มที่ 1 ทัศนธาตุ นักเรียนควรท้าแบบทดสอบก่อนเรียนและบันทึกผลลงในแบบบันทึกผลของนักเรียนเอง เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการเรียนรู้ของนักเรียน 2. ให้นักเรียนเตรียมอุปกรณ์ตามค้าแนะน้าของครูศึกษาอ่านใบความรู้เรื่อง ทัศนธาตุ ครูอธิบายเพื่อให้เข้าใจในความหมายและข้อความที่มีในใบความรู้ทัศนธาตุก่อน 3. การศึกษาแบบฝึกศิลปะชุด ทัศนธาตุและหลักการจัดภาพให้ด้าเนินการ ตามล้าดับในแต่ละส่วนที่ก้าหนดไว้ โดยศึกษาเนื้อหาหรือตัวอย่างที่ก้าหนดในใบความรู้ จน เข้าใจดีแล้วจึงลงมือท้ากิจกรรมต่างๆ ในขณะปฏิบัติกิจกรรมหากพบปัญหาที่ไม่เข้าใจ หรือไม่แน่ใจ ควรปรึกษากับครูผู้สอนทันที 4. ตัวอย่างงานศิลปะต่างๆในใบความรู้นี้แสดงไว้เป็นแนวทางความเข้าใจเท่านั้น นักเรียนไม่ควรลอกเลียนแบบ แต่ควรสร้างสรรค์ผลงานของตนเอง 5. การศึกษาแบบฝึกศิลปะนี้จะบรรลุผลส้าเร็จ หากนักเรียนปฏิบัติตาม คุณลักษณะอันพึ่งประสงค์ได้แก่มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการท้างาน ที่ต้องการเน้นตามที่เสนอแนะในแบบฝึกศิลปะเล่มนี้ 6. เมื่อท้าครบทุกกิจกรรมเสร็จแล้วให้ท้าแบบทดสอบหลังเรียนและส่งให้ครูตรวจ นักเรียนน้าคะแนนที่ได้ไปบันทึกลงในแบบบันทึกผลการประเมินในช่องผลการประเมินคะแนน
  • 4. 4
  • 5. 5 วัสดุอุปกรณ์ นักเรียนควรจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อมเพื่อน้ามาสร้างสรรค์งานศิลปะได้อย่าง สนุกสนานมีความสุข 1. กระดาษวาดเขียน 5. สีน้า 2. ดินสอร่างภาพ HB 6. สีโปสเตอร์ 3. ดินสอแรเงา 6B หรือ EE 7. จานสี 4.ปากกาเมจิกปากเล็ก
  • 6. 6 8. พู่กัน 12. กระดาษทิชชู และผ้าเช็ดสี 9. ยางลบ 13. แผ่นกระดาษรองเขียน 10 ไม้บรรทัด 14.ภาชนะใส่น้า 11. มีดคัดเตอร์หรือกบเหลาดินสอ
  • 7. 7 แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ทัศนธาตุ คาชี้แจง นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1 2 3 4 และทาเครื่องหมาย กากบาท ( X ) ลงในกระดาษคาตอบ 1.ส่วนประกอบที่ส้าคัญที่สุด ของ ทัศนธาตุคือข้อใด 1. สี 2. เส้น 3. รูปทรง 4. แสงเงา 2.ทัศนธาตุ หมายถึง 1. สิ่งที่ไม่สามารถจับต้องได้ 2. การรวมตัวกันของสิ่งมีชีวิต 3. สิ่งที่มีคุณค่าและส้าคัญต่อศิลปะ 4. ส่วนประกอบต่าง ๆ ที่มองเห็นได้ด้วยตา 3.ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่องค์ประกอบของทัศนธาตุ 1. น้้าหนัก ที่ว่าง 2. เส้น สี แสงเงา
  • 8. 8 3. รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว 4. ความสมดุล สัดส่วน จุดสนใจ 4.จุดที่เรียงต่อกันเป็นลายหรือเป็นแถวเป็นเป็นแนวในทิศทางต่าง ๆ เป็นทางยาว จะปรากฏเกิดเป็นสิ่งใด 1. สี 2. จุด 3. เส้น 4. รูปร่าง – รูปทรง 5. เส้นที่ให้ความรู้สึกแข็งแรง มั่นคง คือข้อใด 1. เส้นฟันปลา 2. เส้นตรงตามแนวตั้ง 3. เส้นตรงตามแนวนอน 4. เส้นเอียงหรือเส้นทแยง 6. ข้อใดคือลักษณะของรูปทรงที่ถูกต้อง 1. รูปทรงมี 2 มิติ 2. รูปทรงมี 3 มิติ 3. รูปทรงไม่มีน้าหนัก 4. รูปทรงไม่มีปริมาตร 7. สีขั้นที่ 1 หรือแม่สี ได้แก่สีอะไรบ้าง 1. สีแดง สีส้ม สีม่วง 2. สีน้าเงิน สีเขียว สีแดง 3. สีเหลือง สีน้าเงิน สีม่วง 4. สีแดง สีเหลือง สีน้าเงิน 8. ข้อใดคือลักษณะพื้นผิว 1. ลักษณะภายในของวัตถุ 2. ลักษณะรวมทั้งหมดของวัตถุ
  • 9. 9 3. ลักษณะภายนอกและภายในของวัตถุ 4. ลักษณะภายนอกของวัตถุที่มองเห็นและสัมผัสผิวได้ 9. ทัศนธาตุที่ท้าให้ภาพเหมือนจริงควรน้าวิธีใดมาใช้ 1. การร่างภาพ 2. การใช้จุดตกแต่ง 3. การใช้แสงเงาและสี 4. การใช้ช่องว่างในภาพ 10. ถ้าเราลากเส้นให้บรรจบกันท้าให้เกิดอะไร 1. สีต่าง ๆ 2. แสง – เงา 3. พื้นหลังภาพ 4. รูปร่าง – รูปทรง กระดาษคาตอบ แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ทัศนธาตุ ชื่อ...............................นามสกุล...................ชั้น...............เลขที่................. ค้าชี้แจง นักเรียนกากบาท ( X ) ทับข้อ 1 2 3 4 ที่เห็นว่าถูกที่สุดเพียงข้อเดียว ข้อ 1 2 3 4 1 2
  • 10. 10 3 4 5 6 7 8 9 10 ผลการทดสอบคะแนนที่ได้ ผู้ตรวจ......................................................... วันที่.........../..................../..........................
  • 11. 11 ใบความรู้ เรื่อง ทัศนธาตุ ตัวชี้วัด ศ 1.1 ม.1/1 บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม โดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุ เนื้อหา ผลงานทัศนศิลป์ด้านต่างๆ เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม ภาพพิมพ์ เป็นผลงานภาพรวมที่เกิดจากการผสมรวมกันขององค์ประกอบศิลป์ที่เป็น พื้นฐานในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยทั่วไปที่เรียกว่า ทัศนธาตุ ( visual element ) คือส่วนประกอบของการมองเห็นอันประกอบด้วย 1. จุด ( Dot , Point ) 2. เส้น ( Line ) 3. รูปร่าง Shape) และ รูปทรง (Form) 4. น้้าหนักอ่อนแก่ (Tone) 5. พื้นที่ว่าง Space) 6. พื้นผิว (Texture) 7. สี (Color) ทัศนธาตุมีองค์ประกอบที่ส้าคัญดังนี้ 1. จุด (Dot , Point) จุด เป็นทัศนธาตุอันดับแรกของงานทัศนศิลป์ จุดเป็นส่วนที่มีขนาดเล็กที่สุดของ งานศิลปะ เมื่อน้าเอาจุดจ้านวนมากๆมาเรียงต่อเนื่องกันและท้าซ้้าๆ กันก็จะท้าให้เกิดเป็น เส้นถ้าจัดกลุ่มรวมกันจะกลายเป็นรูปร่าง รูปทรง ลักษณะผิว น้้าหนักอ่อน – แก่ แสง เงา จุดจึงเป็นทัศนธาตุที่สามารถน้ามาสร้างสรรค์งานศิลปะได้ ซึ่งเราสามารถพบเห็นจุดใน ลักษณะต่างๆปรากฏอยู่ในผลงานจิตรกรรมอยู่เสมอ
  • 12. 12 ภาพประกอบเรื่องจุด จุด  จุดเรียงต่อเนื่องกันเป็นเส้น  จุดเรียงต่อกันเป็นรูปร่าง จุดทาน้าหนักเป็นรูปทรง จุดเรียงต่อเนื่องกันวาดเป็นรูปทรงเรขาคณิต
  • 13. 13 กิจกรรมฝึกเรื่องจุด แนวปฏิบัติ ให้นักเรียนเขียนภาพด้วยจุดเป็นรูปร่าง รูปทรง ได้แก่ รูปร่าง-รูปทรงเรขาคณิต รูปร่าง-รูปทรงธรรมชาติ รูปร่าง- รูปทรงอิสระ โดยใช้ ปากกาเมจิกหรือดินสอแรเงาสร้างสรรค์ 10 ภาพ ตัวอย่าง
  • 14. 14 ชื่อ..................................................... นามสกุล....................................ชั้น.............เลขที่.......... 3. เส้น (Line) เส้น คือ จุดจ้านวนมากที่น้ามาเรียงติดต่อกันเชื่อมโยงกันบนพื้นระนาบของทิศทางจน สามารถแสดงให้เห็นว่าเป็นลักษณะเส้นชนิดใด เช่น แนวตั้ง แนวนอน โค้ง คด แนว หยัก หักเหเส้นขั้นต้นที่เป็นพื้นฐาน มี 2 ลักษณะ คือ เส้นตรง เส้นโค้ง ภาพประกอบลักษณะของเส้นและความรู้สึกของเส้น 1. เส้นตั้ง เส้นตั้งให้ความรู้สึก มั่นคง แข็งแรง สง่างาม เป็น ระเบียบ 2. เส้นนอน เส้นนอนหรือเส้นระดับให้ความรู้สึกราบเรียบ สงบนิ่ง 3. เส้นเฉียง เส้นเฉียงตรงให้ความรู้สึกเอียง ไม่ตรง ความรวดเร็ว 4. เส้นโค้ง เส้นโค้งของวงกลมให้ความรู้สึกอ่อนโยน อ่อนช้อย 5. เส้นโค้งอิสระ เส้นโค้งอิสระให้ความรู้สึกโค้งขึ้นสูง ความเจริญเติบโต 6. เส้นโค้งคดหรือก้นหอย เส้นโค้งคดหรือก้นหอยให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว
  • 15. 15 ขยายตัว 7. เส้นคด เส้นคดให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวต่อเนื่องไม่สิ้นสุด 8. เส้นฟันปลา เส้นฟันปลาให้ความรู้สึกเกร็ง รุนแรง ตื่นเต้น 9. เส้นประ หรือเส้นขาด เส้นประหรือเส้นขาดให้ความรู้สึกไม่เป็นระเบียบ ไม่มั่นคง กิจกรรมฝึกเรื่องเส้น แนวปฏิบัติ นักเรียนฝึกลากเส้นตามแบบและเขียนตามลูกศรโดยไม่ใช้ไม้บรรทัด ตาม แบบด้านซ้ายมือ ตัวอย่าง
  • 16. 16 ชื่อ.............................................นามสกุล....................................ชั้น............เลขที่........... 1. รูปร่างและรูปทรง (Shape & Form ) รูปร่าง คือ รูปแบนๆ มี 2 มิติ มีความกว้าง กับ ความยาว ไม่มีความหนาเกิดจาก เส้นรอบนอกที่แสดงพื้นที่ขอบเขตของรูปต่างๆ เช่น รูปวงกลม รูปสามเหลี่ยม หรือ รูปอิสระ ที่แสดงเนื้อที่ของผิวที่เป็นระนาบมากกว่าแสดงปริมาตรหรือมวล รูปทรง คือ รูปที่ลักษณะเป็น 3 มิติ โดยนอกจากจะแสดง ความกว้าง ความยาว แล้ว ยังมีความลึก หรือความ หนา นูน ด้วย เช่น รูปทรงกลม ทรงสามเหลี่ยม ทรงกระบอก เป็นต้น ให้ความรู้สึกมีปริมาตร ความหนาแน่น มีมวลสาร ที่เกิดจากการใช้ ค่าน้้าหนัก หรือการจัดองค์ประกอบของรูปทรง หลายรูปรวมกัน
  • 17. 17 รูปร่างและรูปทรงเป็นรูปธรรมของงานศิลปะ ที่ใช้สื่อเรื่องราวจากงานศิลปะไปสู่ ผู้ชมรูปร่างและรูปทรงที่มีอยู่ในงานศิลปะมี 3 ลักษณะ คือ 1.รูปร่างธรรมชาติ 2. รูปร่างเรขาคณิต 3.รูปร่างอิสระ 1.รูปทรงธรรมชาติ 2. รูปทรงเรขาคณิต
  • 18. 18 3.รูปทรงอิสระ กิจกรรมฝึกเรื่องรูปร่าง – รูปทรง แนวปฏิบัติ นักเรียนฝึกวาดรูปร่าง-รูปทรง 3 ลักษณะ รู ปร่ าง รู ปทรง 1.รูปร่างธรรมชาติ 1.รูปทรงธรรมชาติ
  • 19. 19 2. รูปร่างเรขาคณิต 2. รูปทรงเรขาคณิต 3.รูปร่างอิสระ 3.รูปทรงอิสระ ชื่อ................................................นามสกุล....................................ชั้น..............เลขที.่ ....... 4.หนักอ่อน – แก่ (Tone ) น้้าหนักอ่อน – แก่หมายถึงความเข้มความอ่อนของสีต่างๆและแสงเงาตามที่ ประสาทตารับรู้เปรียบเทียบได้ว่าส่วนที่ถูกแสงสว่างวัตถุจะเป็นสีอ่อนหรือใสสว่าง ส่วนที่ ถูกแสงน้อยหรือเป็นเงาก็จะมีสีเข้มหรือมืด
  • 20. 20 ในการท้าค่าของแสงเงาหรือน้้าหนักอ่อน – แก่ไปใช้ในการท้างานทัศนศิลป์โดย การท้าน้้าหนักที่ต่างกันของสี และ แสงเงา จะท้าให้เกิดเป็นภาพระยะไกล ใกล้ ความกลมกลืน หรือตัดกันท้าให้เกิดภาพ 3 มิติ มีความเหมือนจริงและงดงามสมบูรณ์ ยิ่งขึ้น
  • 21. 21 กิจกรรมฝึกเรื่องน้าหนัก –อ่อนแก่ แนวปฏิบัติ นักเรียนฝึกการทาน้าหนัก- อ่อนแก่ ด้วยดินสอแรเงาตามแบบที่กาหนดให้
  • 22. 22 ชื่อ.............................................นามสกุล....................................ชั้น..............เลขที.่ ....... 5.พื้นที่ว่าง (Space) พื้นที่ว่าง หมายถึง บริเวณที่เป็นความว่างซึ่งไม่ใช่ส่วนที่เป็นรูปทรง หรือเนื้อหาของ ภาพ ในขณะที่จัดภาพหากปล่อยให้มีพื้นที่ว่างมาก และให้มีรูปร่าง รูปทรงน้อยภาพนั้นจะ ให้ความรู้สึกอ้างว้างโดดเดี่ยว ในทางตรงข้ามหากจัดภาพให้มีพื้นที่ว่างน้อยและจัดรูปร่าง รูปทรงและเนื้อหามากเกินไป ก็จะท้าให้เกิดความรู้สึกอึดอัด คับแคบ ดังนั้นการจัดวางควร จัดวางให้มีความพอเหมาะก็ท้าให้เกิดความรู้สึกที่พอดี น่าดูไม่ขัดตา การรู้จักสังเกตและทดลองฝึกหัดบ่อยๆ ครั้งก็จะเกิดประสบการณ์ในการแบ่ง พื้นที่ว่างให้เหมาะสมกับเนื้อหา หรือรูปร่างรูปทรงในผลงานทัศนศิลป์
  • 23. 23 กิจกรรมฝึกเรื่องพื้นที่ว่าง แนวปฏิบัติ นักเรียนน้ารูปร่าง- รูปทรงที่ก้าหนดให้มาจัดวางลงในกรอบให้มีความ เหมาะสมสวยงาม ระบายภาพด้วยสีไม้และตัดเส้น
  • 25. 25 6.พื้นผิว (Texture) พื้นผิว หมายถึง ลักษณะของบริเวณผิวของสิ่งของต่างๆ ที่เมื่อสัมผัสจับต้องหรือ เมื่อเห็นแล้วรู้สึกได้ว่า หยาบ ละเอียด มัน ด้าน เป็นขีด เป็นรอย เป็นเส้น เป็นจุด พื้นผิวของวัตถุต่างๆที่เกิดจากธรรมชาติและมนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น การออกแบบสร้างสรรค์ ผลงานทัศนศิลป์ สามารถใช้เทคนิคต่างๆมาสร้างลักษณะพื้นผิว เช่น เทคนิคของรอยพู่กัน พื้นผิวที่มีลักษณะแตกต่างกันย่อมให้ความรู้สึกที่แตกต่างกันด้วย เช่น พื้นผิวที่ เรียบ โค้ง เว้า จะท้าให้รู้สึกสบายผ่อนคลาย ส่วนพื้นผิวที่ดูหยาบขรุขระ จะให้ความรู้สึก ที่แข็งกระด้าง เป็นต้น พื้นผิวเกิดจากการใช้ดินสอแรเงาถูด้านบนของกระดาษ พื้นผิวปูนซีเมนต์ พื้นผิวกระถางดินเผา พื้นผิวเปลือกต้นไม้ พื้นผิวหลังใบไม้
  • 26. 26 กิจกรรมฝึกเรื่องพื้นผิว แนวปฏิบัติ นักเรียนน้าวัสดุที่มีผิวต่างๆมาเป็นแบบแล้วใช้กระดาษวางทับจากนั้นใช้ ดินสอแรเงามาฝนถูจะเกิดเป็นลักษณะผิวต่างๆ นักเรียนฝึกปฏิบัติให้ได้ 10 แบบ
  • 27. 27 ชื่อ....................................นามสกุล....................................ชั้น...........................เลขที่........ 7.สี (Colour) สีเป็นทัศนธาตุที่ส้าคัญในการสร้างสรรค์ศิลปะ สีปรากฏอยู่ทั่วไปรอบๆตัวเรา ได้แก่สีที่เกิดขึ้นเองในธรรมชาติ หรือสีที่มนุษย์สร้างขึ้น เพราะสามารถช่วยให้เกิด คุณค่าในองค์ประกอบอื่น ๆ เช่น การใช้สีป้ายให้เป็นเส้นต่าง ๆ การใช้สีให้เกิดรูปร่าง การใช้สีให้เกิดจังหวะ การใช้สีแสดงลักษณะของผิวพื้น นอกจากนี้การใช้สียังมีส่วน ส่งเสริมให้เกิดความคิด ความรู้สึกและอารมณ์ สีจึงเปรียบได้กับองค์ประกอบหลักที่ สามารถควบคุมและเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบอื่น ทั้งนี้เพราะว่าสีมีส่วนเกี่ยวพันกับ องค์ประกอบอื่น ทั้งนี้เพราะว่าสีมีส่วนเกี่ยวพันกับองค์ประกอบทุกอย่างที่ประกอบ เป็นภาพขึ้นรายละเอียดในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสีมีอยู่มากมาย แต่สิ่งที่เราจ้าเป็นต้อง เรียนรู้เพื่อน้าไปใช้ในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์จะประกอบด้วย ระบบของสีแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ สีขั้นที่ 1 ได้แก่ แดง เหลือง น้้าเงิน สีขั้นที่ 2 ได้แก่ ส้ม เขียว ม่วง
  • 28. 28 สีขั้นที่ 3 ได้แก่ ส้มแดง ม่วงแดง ส้มเหลือง เขียวเหลือง เขียวน้้าเงิน ม่วงน้้าเงิน ขั้นตอนการท้าวงสีธรรมชาติ 1. ระบายแม่สี 3 สี เหลือง แดง น้้าเงิน 1. ระบายสีขั้นที่ 2 เกิดจากการผสมของแม่สีอัตราส่วน 1 : 1 ได้แก่สี ส้ม เขียว ม่วง
  • 29. 29 3. ระบายสีขั้นที่ 3 เกิดจากการผสมของสีขั้นที่ 1 และสีขั้นที่ 2 ได้แก่ ส้มเหลือง ส้มแดง เขียวเหลือง เขียวน้้าเงิน ม่วงแดง ม่วงน้้าเงิน
  • 30. 30 สีเหลือง ให้ความรู้สึก สว่าง สดใส สีแดง ให้ความรู้สึกร้อนแรง ตื่นเต้น เร้าใจ สีชมพูอ่อน ให้ความรู้สึกนุ่มนวล อ่อนโยน สีเขียว ให้ความรู้สึกสดชื่น ปลอดภัย เจริญเติบโต สีน้าเงิน ให้ความรู้สึกหนักแน่น สุภาพ สงบ สีม่วง ให้ความรู้สึกเยือกเย็น เศร้าโศก ลึกลับ สีเทา ให้ความรู้สึกใจเย็น สง่า ฉลาด สีน้าตาล ให้ความรู้สึกอบอุ่น แห้งแล้ง สีขาว ให้ความรู้สึกสะอาด เรียบร้อย บริสุทธิ์ สีด้า ให้ความรู้สึกหวาดกลัว เหงา เศร้าโศก กิจกรรมฝึกเรื่องสี แนวปฏิบัติ นักเรียนระบายสีวงสีธรรมชาติ 12 สีลงในวงกลมที่ก้าหนดให้พร้อมเขียนชื่อสี ให้ถูกต้องด้วยสีไม้ หรือสีน้า
  • 31. 31 ชื่อ....................................นามสกุล....................................ชั้น...........................เลขที่........ แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ทัศนธาตุ คาชี้แจง นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1 2 3 4 และทาเครื่องหมาย กากบาท ( X ) ลงในกระดาษคาตอบ 1. ข้อใดคือการน้าจุดมาสร้างสรรค์ในงานทัศนศิลป์ 1. การท้าจุดให้มีสีสันสดใส 2. การท้าจุดให้เรียงเป็นเส้นตรง 3. การท้าจุดให้กระจายเต็มภาพ 4. การท้าน้้าหนักอ่อน – แก่แสงเงาและลักษณะผิว 2. เส้นขั้นต้นที่เป็นพื้นฐานมีเส้นอะไรบ้าง 1. เส้นตรงและเส้นคด
  • 32. 32 2. เส้นตรงและเส้นโค้ง 3. เส้นตรงและเส้นฟันปลา 4. เส้นตรงและเส้นประหรือเส้นขาด 3. รูปร่างและรูปทรงแบ่งออกได้เป็นลักษณะอะไรบ้าง 1. ลักษณะธรรมชาติ , ดัดแปลง 2. ลักษณะธรรมชาติ, เรขาคณิต , อิสระ 3. ลักษณะเรขาคณิต, สร้างสรรค์, อิสระ 4. ลักษณะดัดแปลง, เรขาคณิต , ธรรมชาติ 4. น้้าหนักอ่อน-แก่ ท้าให้เกิดเป็นลักษณะภาพอย่างไร 1. ภาพมีลักษณะแบนราบเรียบ 2. ภาพมีลักษณะซับซ้อนไม่เหมือนจริง 3. ภาพมีลักษณะใกล้กลางไกลเป็นภาพ 2 มิติ 4. ภาพมีลักษณะใกล้ไกลเหมือนจริงเกิดภาพ 3 มิติ 5. พื้นผิวหมายถึงข้อใด 1. พื้นของวัสดุต่าง ๆ 2. พื้นภายในของวัตถุ 3. พื้นผิวของพื้นหลังภาพ 4. พื้นผิวของวัตถุต่าง ๆ ที่เกิดจากธรรมชาติและมนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น 6. วงสีธรรมชาติมีทั้งหมดกี่สี 1. 10 สี 2. 12 สี 3. 11 สี 4. 9 สี 7. สีขั้นที่ 1 ได้แก่สีอะไรบ้าง 1. สีม่วง สีส้ม สีเหลือง 2. สีส้ม สีเหลือง สีน้าเงิน 3. สีเหลือง สีแดง สีน้าเงิน
  • 33. 33 4. สีเหลือง สีเขียว สีน้าเงิน 8. สีขั้นที่ 2 ได้แก่สีอะไรบ้าง 1. สีส้ม สีเขียว สีม่วง 2. สีแดง สีด้า สีม่วง 3. สีฟ้า สีด้า สีขาว 4. สีเหลือง สีส้ม สีเขียว 9. สีน้าเงิน ให้ความรู้สึก 1. สว่าง สดใส ร่าเริง 2. หนักแน่น เยือกเย็น สงบ 3. ใจเย็น สง่า ฉลาด สุขุม 4. ร้อนแรง ตื่นเต้น เร้าใจ อันตราย 10. สีชมพู ให้ความรู้สึก 1. ใจเย็น ร่าเริง 2. สว่าง สดใส 3. ตื่นเต้น เร้าใจ 4. นุ่มนวล อ่อนโยน กระดาษค้าตอบ แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ทัศนธาตุ ชื่อ...............................นามสกุล...................ชั้น...............เลขที่.................
  • 34. 34 ค้าชี้แจง นักเรียนกากบาท ( X ) ทับข้อ 1 2 3 4 ที่เห็นว่าถูกที่สุดเพียงข้อเดียว ข้อ 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ผลการทดสอบคะแนนที่ได้ ผู้ตรวจ......................................................... วันที่.........../..................../..........................
  • 35. 35 แบบบันทึกผลการเรียนรู้ศิลปะก่อนเรียน – หลังเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1 ทัศนธาตุ ชื่อ.........................................................................ชั้น.............เลขที่....... ผลการประเมิน หมายเหตุ คะแนนก่อนเรียน คะแนนหลังเรียน ความก้าวหน้า ข้อเสนอแนะ .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. ..................................................................................................................................
  • 36. 36 แบบสอบถามความพึงพอใจในการฝึกศิลปะ แบบฝึกศิลปะทัศนธาตุและหลักการจัดภาพ เล่มที่ 1 เรื่องทัศนธาตุ ชื่อ................................................................................เลขที่..................ชั้น ค้าชี้แจง โปรดท้าเครื่องหมาย / ลงในช่องว่างตามล้าดับความพึงพอใจ เกณฑ์ระดับความพึงพอใจ ข้อ รายการ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ที่ (4) ( 3) (2 ) (1 ) (0) ค้าแนะในการใช้แบบฝึก 1 ศิลปะ เข้าใจสาระส้าคัญของ 2 เนื้อหาที่ศึกษา การใช้ภาษาเข้าใจง่าย 3 เข้าใจขั้นตอนในการฝึก 4 ปฏิบัติในกิจกรรมต่าง เนื้อหามีความสมบูรณ์ 5 น่าสนใจ ได้แนวคิดในการ 6 สร้างสรรค์ผลงานศิลปะ 7 เรียนรู้ด้วยความสุข
  • 37. 37 สนุกสนานเพลิดเพลิน น้าความรู้ไปประยุกต์ใช้กับ 8 วิชาอื่นได้ เวลาในการฝึกและปฏิบัติ 9 เหมาะสม ขนาดรูปเล่ม สวยงาม 10 น่าสนใจ
  • 38. 38 แบบสังเกตกระบวนการทางานของนักเรียน ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องทัศนธาตุและหลักการจัดภาพ การเตรียม การ การวางแผน ขั้นตอนการ การแก้ปัญหา ผลการ ใช้ และการเก็บ การทางาน ทางาน ขณะปฏิบัติงาน รวม ร้อย ประเมิน ชื่อนักเรียน อุปกรณ์ 12 ละ 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 ผ่าน ไม่ ผ่าน รวม เฉลี่ย ร้อยละ หมายเหตุ ทาเครื่องหมาย .ในช่องรายการที่ตรงกับรายการประเมินนักเรียน ระดับคุณภาพ 3 หมายถึง ระดับคุณภาพดีมาก 2 หมายถึง ระดับคุณภาพดี 1 หมายถึง ระดับคุณภาพอยู่ในเกณฑ์พอใช้ 0 หมายถึง ระดับคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ที่ต้องแก้ไข เกณฑ์การประเมิน 1. นักเรียนได้คะแนนประเมินร้อยละ 70 ขึ้นไปจากคะแนนเต็ม ถือว่า ผ่าน
  • 39. 39 2. นักเรียนได้คะแนนต่ากว่าร้อยละ 70 จากคะแนนเต็ม ถือว่า ไม่ผ่าน ลงชื่อ...............................ผู้สอน แบบสังเกตคุณลักษณะนิสัยการทางานของนักเรียน ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องทัศนธาตุและหลักการจัดภาพ ความมั่นใจใน ความ ความ การรักษาความ ผลการ การวาดภาพ กระตือรือร้นใน รับผิดชอบใน ชื่อ สะอาด รวม ร้อย ประเมิน การทางาน การทางาน นักเรียน 12 ละ 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 ผ่าน ไม่ ผ่าน รวม เฉลี่ย ร้อยละ หมายเหตุ ทาเครื่องหมาย .ในช่องรายการที่ตรงกับรายการประเมินนักเรียน ระดับคุณภาพ 3 หมายถึง ระดับคุณภาพดีมาก
  • 40. 40 2 หมายถึง ระดับคุณภาพดี 1 หมายถึง ระดับคุณภาพอยู่ในเกณฑ์พอใช้ 0 หมายถึง ระดับคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ที่ต้องแก้ไข เกณฑ์การประเมิน 1. นักเรียนได้คะแนนประเมินร้อยละ 70 ขึ้นไปจากคะแนนเต็ม ถือว่า ผ่าน 2. นักเรียนได้คะแนนต่ากว่าร้อยละ 70 จากคะแนนเต็ม ถือว่า ไม่ผ่าน ลงชื่อ.........................ผู้สอน แบบประเมินผลงานของนักเรียน ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องทัศนธาตุและหลักการจัดภาพ ความละเอียด การใช้เส้น การจัด ความคิดริเริ่ม เนื้อหาตรงตาม ผลการ ประณีต เหมาะสมกับ องค์ประกอบ สร้างสรรค์ เป้าหมาย รวม ร้อย ประเมิน ชื่อนักเรียน สวยงาม ภาพ ของภาพ 12 ละ ไม่ 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 ผ่าน ผ่าน รวม เฉลี่ย ร้อยละ
  • 41. 41 หมายเหตุ ทาเครื่องหมาย .ในช่องรายการที่ตรงกับรายการประเมินนักเรียน ระดับคุณภาพ 3 หมายถึง ระดับคุณภาพดีมาก 2 หมายถึง ระดับคุณภาพดี 1 หมายถึง ระดับคุณภาพอยู่ในเกณฑ์พอใช้ 0 หมายถึง ระดับคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ที่ต้องแก้ไข เกณฑ์การประเมิน 1. นักเรียนได้คะแนนประเมินร้อยละ 70 ขึ้นไปจากคะแนนเต็ม ถือว่า ผ่าน 2. นักเรียนได้คะแนนต่ากว่าร้อยละ 70 จากคะแนนเต็ม ถือว่า ไม่ผ่าน ลงชื่อ...............................ผู้สอน แบบประเมินคุณลักษณะนิสัยในชีวิตประจาวันของนักเรียน ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องทัศนธาตุและหลักการจัดภาพ การนา การศึกษาหา การประเมิน การยกย่อง ภาพวาดไปใช้ ความ ผลการ ความรู้ คุณภาพงาน ชมเชยเพื่อนผู้ ชื่อ ใน ขยันหมันเพียร ่ รวม ร้อย ประเมิน เพิ่มเติม ด้วยตนเอง มีผลงานดีเด่น นักเรียน ชีวิตประจาวัน 12 ละ ไม่ 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 ผ่าน ผ่าน
  • 42. 42 รวม เฉลี่ย ร้อยละ หมายเหตุ ทาเครื่องหมาย .ในช่องรายการที่ตรงกับรายการประเมินนักเรียน ระดับคุณภาพ 3 หมายถึง ระดับคุณภาพดีมาก 2 หมายถึง ระดับคุณภาพดี 1 หมายถึง ระดับคุณภาพอยู่ในเกณฑ์พอใช้ 0 หมายถึง ระดับคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ที่ต้องแก้ไข เกณฑ์การประเมิน 1. นักเรียนได้คะแนนประเมินร้อยละ 70 ขึ้นไปจากคะแนนเต็ม ถือว่า ผ่าน 2. นักเรียนได้คะแนนต่ากว่าร้อยละ 70 จากคะแนนเต็ม ถือว่า ไม่ผ่า ลงชื่อ...............................ผู้สอน บรรณานุกรม ฉัตรชัย อรรถปัทษ์. ( 2551 ). องค์ประกอบศิลป์. กรุงเทพฯ: บริษัทวิทยพัฒน์ จ้ากัด . อารี สุทธิพันธุ์. การวาดเขียน. กรุงเทพมหานคร : วิฌวลอาร์ต, 2528. . การออกแบบ. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช, 2521 ปัญญา ทรงเสรี , และคณะ. ( 2539 ). ศิลปะกับชีวิต 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพฯ:ส้านักพิมพ์โอเดียนสโตร์ . (2540). สมุดปฏิบัตการทัศนศิลป์ ศ 101 ศิลปะกับชีวิต1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ิ ภาคเรียนที่ 1. กรุงเทพฯ. ส้านักพิมพ์วัฒนาพาณิช.
  • 43. 43 . (2540). สมุดปฏิบัตการทัศนศิลป์ ศ 102 ศิลปะกับชีวิต1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ิ ภาคเรียนที่ 2. กรุงเทพฯ. ส้านักพิมพ์วัฒนาพาณิช. ปัญญา ทรงเสรี, เศรษฐ์ศิริ สายกระสุนและคณะ. ( 2542 ). สมุดปฏิบัติกิจกรรม 1 ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. กรุงเทพฯ: ส้านักพิมพ์วัฒนาพาณิช. . (2542 ) สมุดปฏิบัติกิจกรรม 2 ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. กรุงเทพฯ: ส้านักพิมพ์วัฒนาพาณิช. สุชาติ เถาทอง, และคณะ. ( 2550 ) หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการ เรียนรู้ศิลปะ ทัศนศิลป์ ม.1. กรุงเทพฯ: บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จ้ากัด. วิโชค มุกดามณี (2550). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานทัศนศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ . กรุงเทพฯ: ส้านักพิมพ์พัฒนาคุณภาพวิชาการ ( พว.) จ้ากัด. วิทูรย์ โสแก้ว. (2546). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานทัศนศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพฯ: ส้านักพิมพ์วัฒนาพาณิช. จ้ากัด
  • 45. 45 เฉลยคาตอบ แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง “ทัศนธาตุ ” ข้อ. 1 ตอบข้อ 2 ข้อ. 2 ตอบข้อ 4 ข้อ. 3 ตอบข้อ 2 ข้อ. 4 ตอบข้อ 3 ข้อ. 5 ตอบข้อ 2 ข้อ. 6 ตอบข้อ 2 ข้อ. 7 ตอบข้อ 4 ข้อ. 8 ตอบข้อ 4 ข้อ. 9 ตอบข้อ 3 ข้อ. 10 ตอบข้อ 4
  • 46. 46 เฉลยคาตอบ แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง “ทัศนธาตุ ” ข้อ. 1 ตอบข้อ 4 ข้อ. 2 ตอบข้อ 2 ข้อ. 3 ตอบข้อ 2 ข้อ. 4 ตอบข้อ 4 ข้อ. 5 ตอบข้อ 4 ข้อ. 6 ตอบข้อ 2 ข้อ. 7 ตอบข้อ 2 ข้อ. 8 ตอบข้อ 2 ข้อ. 9 ตอบข้อ 2 ข้อ. 10 ตอบข้อ 4