SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
วิทยาศาสตร์ (ว30102) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
โดย..คุณครูจริยา ใจยศ
โรงเรียนสา จังหวัดน่าน
ชนิดของธาตุ มี 3 ชนิด
ชนิดของ
ธาตุ
สถานะ ณ
อุณหภูมิห้อง
สมบัติ หมายเหตุ
โลหะ ของแข็ง นาไฟฟ้า
นาความร้อนได้ดี
ยกเว้น ปรอทเป็น
ของเหลว
กึ่งโลหะ ของแข็ง นาไฟฟ้าได้ปานกลาง
เปราะ แตกหักง่าย
-
อโลหะ ของแข็ง
ของเหลว ก๊าซ
ไม่นาไฟฟ้า
เปราะ แตกหักง่าย
ยกเว้น แกรไฟต์
นาไฟฟ้า
คาถามชวนคิด...สารไหนคือโลหะ อโลหะ
ตารางธาตุ
HTTP://WWW.PTABLE.COM/?LANG=TH
คาบ (ระดับพลังงาน)
หมู่
(เวเลนซ์
อิเล็ก
ตรอน)
ธาตุ 20 ธาตุแรกในตารางธาตุ
สัญลักษณ์
ของธาตุ
ชื่อธาตุ ตาแหน่งของธาตุ
หมู่ คาบ
อะตอม
วิทยาศาสตร์ (ว30102) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
โดย..คุณครูจริยา ใจยศ
โรงเรียนสา จังหวัดน่าน
อะตอม
จากภาษากรีกที่ว่า atoms ซึ่งมีความหมายว่า ไม่สามารถแบ่งแยก
ได้อีก
ดิโมคริตุส เป็นผู้ตั้งชื่อ อะตอม
พัฒนาการแบบจาลองอะตม
1. แบบจาลองอะตอมของดอลตัน
เซอร์จอห์น ดอลตัน นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ
เสนอแบบจาลองอะตอมไว้ว่า
“อะตอมมีลักษณะทรงกลมตันและภายในไม่มีประจุไฟฟ้า”
พัฒนาการแบบจาลองอะตอม
2. แบบจาลองอะตอมของทอมสัน
เซอร์โจเซฟ จอห์น ทอมสัน เสนอแบบจาลองอะตอมไว้ว่า
“อะตอมประกอบด้วยประจุบวกเรียกว่าโปรตอนและประจุลบ
เรียกว่าอิเล็กตรอน ซึ่งมีจานวนเท่ากัน กระจายอยู่ทั่วไป”
พัฒนาการแบบจาลองอะตอม
3. แบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
ลอร์ด ออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ดเสนอแบบจาลองอะตอมไว้ว่า
“อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสที่มีขนาดเล็กมากอยู่ตรงกลาง
ในนิวเคลียสมีโปรตอนและนิวตรอน และรอบนิวเคลียสมี
อิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยู่”
พัฒนาการแบบจาลองอะตอม
4. แบบจาลองอะตอมของโบร์
นีลส์ โบร์ เสนอแบบจาลองอะตอมไว้ว่า
“อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสที่มีขนาดเล็กมากอยู่ตรง
กลาง มีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบๆนิวเคลียสคล้ายวงโคจร
ของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์”
พัฒนาการแบบจาลองอะตอม
5. แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกอิเล็กตรอน
นีลส์ โบร์ เสนอแบบจาลองอะตอมไว้ว่า
“อิเล็กตรอนไม่สามารถวิ่งรอบนิวเคลียสด้วยรัศมีที่แน่นอน จึงไม่
สามารถบอกตาแหน่งที่แน่นอนได้ คล้ายกลุ่มหมอก”
สรุปแบบจาลอง
อะตอม
สัญลักษณ์นิวเคลียร์
วิทยาศาสตร์ (ว30102) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
โดย..คุณครูจริยา ใจยศ
โรงเรียนสา จังหวัดน่าน
อนุภาคมูลฐานของอะตอม
สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
คาถามชวนคิด.....
เลขมวล = เลขอะตอม =
จานวนโปรตอน =
จานวนอิเล็กตรอน =
จานวนนิวตรอน =
Mg24
12
เลขมวล = เลขอะตอม =
จานวนโปรตอน =
จานวนอิเล็กตรอน =
จานวนนิวตรอน =
P31
15
คาถามชวนคิด.....
เลขมวล = 24 เลขอะตอม = 12
จานวนโปรตอน = 12 อนุภาค
จานวนอิเล็กตรอน = 12 อนุภาค
จานวนนิวตรอน = 24-12 = 12 อนุภาค
Mg24
12
เลขมวล = 31 เลขอะตอม = 15
จานวนโปรตอน = 15 อนุภาค
จานวนอิเล็กตรอน = 15 อนุภาค
จานวนนิวตรอน = 31-15 = 16 อนุภาค
P31
15
ไอโซโทปของธาตุ
คือ ธาตุชนิดเดียวกัน ที่มีเลขอะตอมเท่ากันแต่เลขมวลต่างกัน
หรือธาตุที่มีจานวนโปรตอนเท่ากัน แต่นิวตรอนต่างกัน
การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ระดับพลังงานหลัก n=1 มีอิเล็กตรอนไม่เกิน 2 อิเล็กตรอน
ระดับพลังงานหลัก n=2 มีอิเล็กตรอนไม่เกิน 8 อิเล็กตรอน
ระดับพลังงานหลัก n=3 มีอิเล็กตรอนไม่เกิน 18 อิเล็กตรอน
ระดับพลังงานหลัก n=4 มีอิเล็กตรอนไม่เกิน 32 อิเล็กตรอน
ระดับพลังงานหลัก n=5 มีอิเล็กตรอนไม่เกิน 32 อิเล็กตรอน
ระดับพลังงานหลัก n=6 มีอิเล็กตรอนไม่เกิน 32 อิเล็กตรอน
อิเล็กตรอนชั้น
สุดท้าย เรียกว่า
เวเลนซ์อิเล็กตรอน
จานวนชั้นพลังงาน บอก คาบ จานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนบอก หมู่
การจัดเรียงอิเล็กตรอนของอย่างย่อของ Na คือ 2 8 1
จานวนชั้นพลังงานของ Na = 3
จานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอน = 1
ตาแหน่งของธาตุ Na ในตารางธาตุ เป็นธาตุ หมู่ 1 คาบที่ 3
ธาตุ เลขอะตอม การจัดเรียงอิเล็กตรอน
อย่างย่อ
ตาแหน่งธาตุ
หมู่ คาบ
Na
Mg
Al
Si
P
S
Cl
Ar
K
Ca
Se
Br
พันธะเคมี
วิทยาศาสตร์ (ว30102) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
โดย..คุณครูจริยา ใจยศ
โรงเรียนสา จังหวัดน่าน
ความหมายของพันธะเคมี
พันธะเคมี หมายถึง แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมหรือไอออนของ
ธาตุให้อยู่รวมกันเป็นโครงผลึกหรือโมเลกุล
ความหมายของพันธะเคมี
Cl36
17
คาถามชวนคิด.....
เลขมวล = เลขอะตอม =
จานวนโปรตอน =
จานวนอิเล็กตรอน =
จานวนนิวตรอน =
เลขมวล = เลขอะตอม =
จานวนโปรตอน =
จานวนอิเล็กตรอน =
จานวนนิวตรอน =
คาถามชวนคิด.....
เลขมวล = เลขอะตอม =
จานวนโปรตอน =
จานวนอิเล็กตรอน =
จานวนนิวตรอน =
เลขมวล = เลขอะตอม =
จานวนโปรตอน =
จานวนอิเล็กตรอน =
จานวนนิวตรอน =

Cl35
17
216
8O
ประเภทพันธะเคมี
พันธะเคมี มี 3 ประเภท คือ
1. พันธะโลหะ (ระหว่างอะตอมโลหะ)
2. พันธะไอออนิก (โลหะ+อโลหะ)
3. พันธะโคเวเลนต์ (อโลหะ+อโลหะ)
กิจกรรม
1. พันธะโลหะ เกิดขึ้นได้อย่างไร
2. เปรียบเทียบจุดเดือดของโลหะ หมู่ 1 หมู่ 2 และอโลหะหมู่ 7
3. จงบอกสมบัติโดยทั่วไปของโลหะ
4. พันธะไอออนิกเกิดขึ้นได้อย่างไร
5. ธาตุแคลเซียมกับกามะถัน สร้างพันธะแล้วเกิดเป็นพันธะไอ
ออนิกหรือไม่ เพราะอะไร
6. ธาตุฟอสฟอรัสกับออกซิเจนสร้างพันธะแล้วเกิดเป็นพันธะไอ
ออนิกหรือไม่ เพราะอะไร
กิจกรรม
7. พันธะโคเวเลนต์เกิดขึ้นได้อย่างไร
8. สารต่อไปนี้เกิดพันธะใดในโครงสร้าง
S8 NaCl
Fe(แท่งเหล็ก) Na2S
N2 Zn (แผ่นสังกะสี)
SO2 K2O
9. เปรียบเทียบสมบัติต่อไปนี้ของสารโคเวเลนต์และ
สารประกอบไอออนิก
• สถานะ
• จุดหลอมเหลว และจุดเดือด
พันธะโลหะ
พันธะโลหะ คือ แรงดึงดูดระหว่างไอออนบวกที่เรียงชิดกันกับ
อิเล็กตรอนที่อยู่โดยรอบ
แบบจาลองทะเลอิเล็กตรอน (electron sea model)
พันธะโลหะกับสมบัติบางประการของโลหะ
1. นาไฟฟ้าและความร้อนได้ดี
2. สามารถตีเป็นแผ่นหรือดึงเป็นเส้นได้
3. มีผิวเป็นมันวาว
4. มีจุดหลอมเหลวสูง
พันธะไอออนิก
คือ แรงดึงดูดทางไฟฟ้าระหว่างไอออนบวกกับไอออน
ลบ พันธะไอออนิกเกิดขึ้นเมื่อโลหะรวมตัวกับอโลหะ
โลหะให้อิเล็กตรอนแก่
อโลหะ อะตอมของอโลหะ
กลายเป็นไอออนลบ อะตอม
ของโลหะกลายเป็นไอออน
บวก
ประจุไฟฟ้าต่างกันจึงเกิดแรงดึงดูดทางไฟฟ้ายึดเหนี่ยว
อะตอมทั้งสองเข้าด้วยกัน
สมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก
1. สารประกอบไอออนิกทุกชนิดมีสถานะเป็นของแข็งที่
อุณหภูมิห้อง และเปราะ
2.สารประกอบไอออนิกมีจุดดือดและจุดหลอมเหลวสูง
พันธะโคเวเลนต์
พันธะโคเวเลนต์ คือ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมที่เกิดจาก
อะตอมใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกันเป็นคู่ๆ ระหว่างอะตอม
อโลหะกับอโลหะ
เตรียมตัวสอบนะค่ะ
จบ....
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ

More Related Content

What's hot

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6Supaluk Juntap
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptxTinnakritWarisson
 

What's hot (20)

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
 

Viewers also liked

เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)Coco Tan
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)Ajchariya Sitthikaew
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุkrupatcharee
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุoraneehussem
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบoraneehussem
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 

Viewers also liked (8)

เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 

More from Jariya Jaiyot

โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรืองโครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรืองJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
สมบัติของแก๊ส
สมบัติของแก๊สสมบัติของแก๊ส
สมบัติของแก๊สJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1Jariya Jaiyot
 
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57Jariya Jaiyot
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสJariya Jaiyot
 
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาJariya Jaiyot
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วJariya Jaiyot
 
อันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถืออันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถือJariya Jaiyot
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันการกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันJariya Jaiyot
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
ไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริงไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริงJariya Jaiyot
 

More from Jariya Jaiyot (20)

โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรืองโครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
สมบัติของแก๊ส
สมบัติของแก๊สสมบัติของแก๊ส
สมบัติของแก๊ส
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
Lab4
Lab4Lab4
Lab4
 
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
 
ไวนิล 3
ไวนิล 3ไวนิล 3
ไวนิล 3
 
ไวนิล 2
ไวนิล 2ไวนิล 2
ไวนิล 2
 
ไวนิล 1
ไวนิล 1ไวนิล 1
ไวนิล 1
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
 
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
อันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถืออันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถือ
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันการกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
ไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริงไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริง
 

บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ