SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 11
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ฮอรโมน

         ฮอรโมน (hormone) เปนสารอินทรียที่ตอมสรางขึ้น แลวมีผลไปบังคับการทํางานของเนื้อเยื่อ
อีกกลุมหนึ่ง

ตอมในรางกาย
         ตอมในรางกายมี 2 ชนิด คือ
         1. ตอมมีทอ (exocrine gland) คือตอมที่สรางสารแลวมีทอลําเลียงสารไปใช เชน ตับออน,
ตอมนํ้าลาย, ตอมนํ้าตา, ตอมเหงื่อ
         2. ตอมไรทอ (endocrine gland) คือตอมที่สรางสารแลวไมมีทอลําเลียงสารไปใช ดังแสดงในรูป




                              ภาพแสดงตอมไรทอและตอมอื่น ๆ ของคน
ตอมไพเนียล (pineal gland) เปนตอมเล็ก ๆ สีขาวอยูตรงกลางของ cerebrum ตอมไพเนียล
จะผลิตฮอรโมนไดดีตอไดรับการกระตุนจากแสงที่เขาทางตา และมี sympathetic merve ควบคุม
         ตอมไพเนียลสรางฮอรโมน melatonin เพื่อทําหนาที่ยับยั้งการเจริญของอวัยะสืบพันธุ และ
ทําใหสีของสัตวเลือดเย็นจางลง ถามีฮอรโมน melatonin มาก จะเปนหนุมสาวชากวาปกติ
         Melatonin ทํางานตรงกันขามกับฮอรโมน melanocyte stimulating hormone จากตอมใต
สมองสวนกลาง
         ตอมใตสมอง (pituitary gland) เปนตอมไรทอที่สําคัญที่สุด เนื่องจากสรางฮอรโมนหลาย
ชนิดไปควบคุมการสรางฮอรโมนของตอมไรตออื่น ๆ
         ตอมใตสมองแบงเปน 3 สวน คือ ตอมใตสมองสวนหนา สวนกลาง และสวนหลัง มีหนาที่
สรางฮอรโมนหลายชนิดแตกตางกันดังนี้
         ตอมใตสมองสวนหนา (anteriro lobe) เปนตอมใตสมองสวนที่ใหญที่สุด ภายหลังฮอรโมน
ของตอมนี้ถูกควบคุมโดยฮอรโมนประสาทจาก Hypothalamus ฮอรโมนที่สําคัญ ไดแก
         1. โกรทฮอรโมน (growth hormone) ยอวา GH หรือโซมาโตโทรฟน (somatotrophin)
ยอวา STH
         หนาที่
             - ควบคุมการเจริญเติบโตของรางกายใหเปนปกติโดยเฉพาะการแบงเซลล
             - ควบคุมการสังเคราะหโปรตีน
             - ควบคุมการสรางกระดูก
         ถาขาด GH ในเด็กจะเปนโรคเตี้ยแคระ (dwarfism) ในผูใหญจะเปนโรคที่มีนํ้าตาลในเลือด
นอย ทนความเครียดของอารมณไมได (Simmon’s disease)
         ถามี GH มากเกินไปในเด็กจะมีรางกายใหญโตผิดปกติ (gigantism) มีสัดสวนของรางกาย
แขนและขาปกติ แตมกมีสุขภาพไมแข็งแรงและอายุสั้น เนื่องจากการเติบโตที่มากเกินไป เปนการยาก
                      ั
ที่ระบบตาง ๆ ภายในรางกายจะรักษาสมดุลเอาไวได และ GH ทําใหมีระดับนํ้าตาลในเลือดสูง จึงมัก
เปนโรคเบาหวาน สําหรับในผูใหญถามีมากรางกายไมใหญโตแตเจริญเติบโตเฉพาะใบหนา มือ เทา
เรียก อะโครเมกาลี (acromegaly)
         2. โกนาโดโทรฟน (gonadotrophin หรือ gonadotrophic hormone) ประกอบดวยฮอรโมน
2 ชนิด คือ follicle stimulating hormone (FSH) กับ luteinizing hormone (LH)
หนาที่ของ FSH ในเพศหญิง กระตุนให follicle แบงเซลล และ follicle cell สราง hormone
estrogen ในเพศชาย กระตุนการเจริญเติบโตของอัณฑะและการสรางตัวอสุจิ
          หนาที่ของ LH ในเพศหญิง ทําใหเกิดการตกไข เกิด corpus luteum ซึ่งจะหลั่ง hormone
progesterone เพื่อควบคุมการเปลี่ยนแปลงที่เยื่อบุมดลูก รองรับการฝงตัวของ embryo ในเพศชาย
กระตุน interstitial cell ในอัณฑะใหหลั่ง testosterone
          3. โพรแล็กติน (prolactin) หรือ lactogenic hormone กระตุนตอมนํ้านมใหสรางนํ้านมเพื่อ
เลี้ยงลูกออนหลังคลอด พบในสัตวปกซึ่งมีผลกระตุนใหเกิดพฤติกรรมการเลี้ยงดูลูกออน
          4. อะดรีโนคอรติโคโทรฟน (adrenocorticotrophin หรือ adrenocorticotrophic hormone)
ยอวา ACTH กระตุน adrenal cortex ของตอมหมวกไต ใหทําหนาที่สรางฮอรโมนตามปกติ
          5. ไทรอยดสติมิวเลติงฮอรโมน (thyroid stimulatin hormone) ยอวา TSH ทําหนาที่กระตุน
ตอมไทรอยดใหหลั่งฮอรโมนปกติ
          การหลั่งฮอรโมนจากตอมใตสมองถูกควบคุมโดยฮอรโมนจาก hypothalamus ประกอบดวย
thyroid releasing hormone กระตุนการหลั่ง TSH และ GH inhibiting hormone ยับยั้งการหลั่ง GH
          ปจจัยที่ควบคุมการหลั่งฮอรโมนจาก hypothalamus เชน อุณหภูมิ แสง ความเครียด ระดับ
ฮอรโมน จากตอมใตสมองเอง และฮอรโมนจากตอมไรทออื่น ๆ ที่อยูภายใตการควบคุมของตอมใต
สมอง และระดับนํ้าตาลในเลือด
          ตอมใตสมองสวนกลาง (intermediate lobe) สราง melanocyte stimulating hormone (MSH)
กระตุนการสังเคราะหรงควัตถุสีนํ้าตาล (melanin) และกระตุนให melanin กระจายไปทั่วเซลลทําให
สีเขมขน
          ตอมใตสมองสวนหลัง (posterior lobe) เปนเซลลประสาทชนิดพิเศษที่ทําหนาที่สรางฮอรโมน
เรียกเซลลประสาทนี้วา neurosecretory cell ฮอรโมนที่สําคัญมี 2 ชนิด คือ
          1. วาโซเพรสซิน (vasopressin) หรือ antidiuretic hormone (ADH) ทําหนาที่ควบคุมการดูด
นํ้ากลับของทอหนวยไต และชวยกระตุนหลอดเลือดใหบีบตัวเพื่อรักษาสมดุลของนํ้าในรางกาย
          2. ออกซีโทซิน (oxytocin) ทําหนาที่กระตุนกลามเนื้อเรียบของอวัยวะภายในของผูหญิง
กระตุนเซลลกลามเนื้อรอบ ๆ ตอมนํ้านมใหหดตัวขับนํ้านมมาเลี้ยงลูกออน กระตุนใหกลามเนื้อมดลูก
บีบตัวขณะคลอด และกลับคืนเขาสูสภาพปกติ
ตอมไอสเลตออฟลางเกอรฮานส (islets of langerhans) เปนกลุมเซลลหลายแสนกลุมใน
ตับออน แตละกลุมมีเซลล 2 ชนิด คือ β-cell เปนเซลลขนาดเล็ก มีจํานวนมากอยูตรงกลางของกลุม
และ ∝-cell เปนเซลลขนาดใหญ มีจํานวนนอย อยูรอบนอกของกลุมเซลล ฮอรโมนที่สําคัญ คือ
        1. อินซูลิน (insulin) สรางจาก β-cell หนาที่รักษาระดับนํ้าตาลในเลือดใหปกติ และควบคุม
metabolism ของคารโบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน
            ถานํ้าตาลในเลือดสูง มีผลตอตับออนใหหลั่ง insulin ซึ่งจะทํางานดังนี้ insulin ไปกระตุน
ใหสราง glycogen มากขึ้น กระตุนกลามเนื้อใหเพิ่มการใช glucose และไปกระตุนเนื้อเยื่อไขมันให
เปลี่ยน glucose ไปเปนไขมัน กระบวนการทั้งหมดมีผลทําใหปริมาณ glucose ในเลือดลดลง
        2. กลูคากอน (glucagon) สรางจาก ∝-cell ทําหนาที่กระตุนเซลลใหหลั่ง insulin และ
กระตุน glucogen จากตับไปเปน glucose ในเลือด ดังรูป




                   ภาพแสดงวงจรการกระตุนและยับยั้งการหลั่งฮอรโมนจากตับออน
โรคที่เกิดจากตอมไอสเลตออฟกลางเกอรฮานสผิดปกติคือ โรคเบาหวาน มี 2 แบบ คือ
         แบบที่หนึ่ง เกิดจากตับออนไมสามารถสรางอินซูลินไดเลย ผูปวยตองไดรับการฉีดฮอรโมน
อินซูลินเพื่อควบคุมปริมาณนํ้าตาล และตองระวังไมใหระดับนํ้าตาลในเลือดตํ่าจนเกิดการช็อกเพราะ
ขาดนํ้าตาล
         แบบที่สอง พบมากถึง 90% ของผูปวยที่เปนเบาหวาน เกิดกับทุกเพศทุกวัน เกิดจากตับออน
สรางฮอรโมนอินซูลินปกติ แตเซลลรางกายไมสังเคราะหตัวรับอินซูลิน ทําใหอินซูลินทํางานไมได
ปริมาณนํ้าตาลในเลือดของผูปวยจึงสูง
         ตอมไทรอยด (thyroid gland) เปนตอมไรทอที่มีขนาดใหญที่สุด ธาตุไอโอดีจําเปนในการ
สรางฮอรโมนของตอมนี้ ฮอรโมนที่สําคัญคือ
         1. ไทรอกซิน (thyroxin) สรางจาก thyroid follicle มีหนาที่ควบคุมอัตรา metabolism ของ
รางกาย และจําเปนตอการเจริญและพัฒนาการของรางกายโดยเฉพาะพัฒนาการของสมอง
         ถาขาด thyroxin ในวัยเด็กจะมีผลใหพัฒนาการทางรางกายและสมองดอยลง ทําใหรางกาย
เตี้ยแคระ แขนขาสั้น ผิวหยาบ แหง ผมบาง การเจริญเติบโตชากวาเด็กปกติ ปญญาออน เรียกกลุม
อาการนี้วา cretinism
         ถาขาด thyroxin ในวัยผูใหญจะทําใหมีอาการเหนื่อยงาย นํ้าหนักเพิ่ม ทนความหนาวไมได
กลามเนื้อออนแรง ผมและผิวแหง หัวใจโต รางกายออนแอติดเชื้องาย มีอาการซึม เฉื่อยชา และ
ความจําเสื่อม เรียกกลุมอาการนี้วา myxedema
         ถารางกายสรางฮอรโมน thyroxin มากเกินไป เนื่องจากตอมไทรอยดผิดปกติ จะมีอาการ
เหนื่อยงาย กินจุ นํ้าหนักลด อัตราเมแทบอลิซึมสูง ประสาทเครียด นอนไมหลับ หงุดหงิดฉุนเฉียว
งาย บางรายอาจมีตาโปนแตคอไมโต เรียกกลุมอาการนี้วา toxic goiter หรือ exophthalmic goiter
         ในสัตวครึ่งนํ้าครึ่งบก thyroxin ทําหนาที่กระตุน metabolism ของรางกาย และกระตุนให
ลูกออดเปลี่ยนเปนกบตัวเต็มวัยในกระบวนการ metamorphosis
         2. แคลซิโตนิน (calcitonin) ทําหนาที่ลดระดับแคลเซียมในเลือดที่สูงเกินปกติใหเขาสูระดับ
ปกติ โดยดึงแคลเซียมสวนเกินไปไวที่กระดู calcitonin ทํางานรวมกับฮอรโมนจากตอมพาราไทรอยด
และวิตามินดี
ตอมพาราไทรอยด (parathyroid gland) เปนตอมเล็ก ๆ 4 ตอมติดอยูกับตอมไทรอยด
สรางฮอรโมนชื่อ พาราทอรโมน (parathormone) ทําหนาที่รักษาระดับสมดุลของแคลเซียมใน
รางกายใหคงที่ โดยทํางานรวมกับ calcitonin จาก thyroid gland ดังภาพ




              ภาพแสดงการควบคุมสมดุลของแคลเซียมโดยแคลซิโตนินและพาราทอรโมน

           ถาขาดพาราทอรโมน การดูดแคลเซียมกลับที่ทอของหนวยไตลดนอยลง ทําใหสูญเสียแคลเซียม
ไปกับปสสาวะ ระดับแคลเซียมในเลือดตํ่า กลามเนื้อเกิดอาการเกร็งและชักกระตุก ปอดไมสามารถ
ทํางานได และตายในที่สุด วิธีแกคือฉีดพาราทอรโมนและใหวิตามินดี
           ถาตอมสรางพาราทอรโมนมากไปจะดึงเอาแคลเซียมจากกระดูกและฟนออกมา ทําใหเลือดมี Ca++
สูงกวาปกติเกิดอาการกระดูกบาง ฟนผุ
           ตอมหมวกไต (adrenal gland) เปนตอมไรทอที่อยูเหนือไตทั้งสองขาง ตอมนี้ประกอบดวย
เนื้อเยื่อ 2 ชั้น คือ ชั้นนอก เรียก adrenal cortex และชั้นในเรียก adrenal medulla การผลิตฮอรโมน ดังนี้
           อะดรีนัลคอรเทกซ (adrenal cortex) ผลิตฮอรโมนมากกวา 50 ชนิด ฮอรโมนเหลานี้เปน
สเตรอยด (steriod) รางกายสังเคราะหไดจากคอเลสเทอรอล ไดแก
           1. กลุมฮอรโมนกลูโคคอรติคอยด (glucocorticoid) ทําหนาที่ควบคุม metabolism ของ
คารโบไฮเดรต ตัวอยางฮอรโมนกลุมนี้คือ cortisol หนาที่เพิ่มระดับนํ้าตาลในเลือดใหสูงขึ้น โดยกระตุน
เซลลตับใหเปลี่ยนกรดอะมิโต และกรดไขมันเปนคารโบไฮเดรต และเก็บสะสมไวในรูปของไกลโคเจน
หลังจากนั้นกระตุนใหตับเปลี่ยน glycogen เปน glucose สงเขากระแสเลือด
ถามี glucocorticoid มากเกินไป ทําใหเกิดโรคคูชชิ่ง (cushing’s syndrome) ผลคือ มีความ
ผิดปกติเกี่ยวกับ metabolism ของคารโบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน ระดับนํ้าตาลในเลือดสูงขึ้น
กลามเนื้อออนแรง เนื่องจากมีการสลายโปรตีน และไขมันตามบริเวณแขนขา แตมีการสะสมไขมันที่
บริเวณแกนกลางของลําตัวและใบหนาทําใหหนากลมเหมือนพระจันทร (moon face) บริเวณตนคอมี
หนอกยื่นออกมา (buffalo hump)
           2. กลุมฮอรโมนมิเนราโลคอรติคอยด (mineralocorticoid) มีหนาที่ควบคุมสมดุลของนํ้าและ
แรธาตุ ฮอรโมนที่สําคัญของกลุมนี้ คือ aldosterone ควบคุมการทํางานของไตในการดูดนํ้าและโซเดียม
เขาสูเสนเลือด และขับโพแทสเซียมออกจากทอของหนวยไตใหสมดุลกับความตองการของรางกาย
           ถาขาด aldosterone ทําใหรางกายสูญเสียนํ้าและโซเดียมไปพรอมกับปสสาวะเปนจํานวนมาก
ปริมาณเลือดในรางกายลดลงความดันเลือดตํ่า
           3. ฮอรโมนเพศ (sex hormone) มีเพียงเล็กนอยเมื่อเทียบกับอวัยวะเพศ เพศหญิงถามีมากจะมี
หนวดเคราขึ้น
           ถา adrenal cortex ถูกทําลายจนไมสามารถสรางฮอรโมนได จะเปนโรค Addison’s disease
อาการคือคนไขซูบผอม ผิวหนังตกกระ รางกายไมสามารถรักษาสมดุลของแรธาตุไดเปนเหตุใหผูปวย
ถึงแกความตาย
           อะดรีนัลเมดัลลา (adrenal medulla) สรางฮอรโมน 2 ชนิดคือ
           1. อะดรีนาลินฮอรโมน (adrenalin hormone หรือ epinephrine) ซึ่งหลั่งแลวมีผลทําใหนํ้าตาล
ในเลือดเพิ่มมากขึ้น กระตุนใหหัวใจเตนเร็ว ความดันเลือดสูง
           2. นอรอะดรีนาลินฮอรโมน (noradrenalin hormone หรือ norepinephrine) ฮอรโมนนี้หลั่ง
จากปลายเสนประสาท sympathetic ดวย ทําใหความดันเลือดสูง ทําใหหลอดเลือดไปเลี้ยงอวัยวะภายใน
ตาง ๆ บีบตัว

ฮอรโมนจากอวัยวะเพศ
         อินเตอรสติเชียลเซลล (interstitial cell) ซึ่งอยูระหวางหลอดสรางอสุจิในอัณฑะ สรางฮอรโมน
เพศชายเรียกวา แอนโดรเจน (androgens) ประกอบดวยฮอรโมนหลายชนิด เชน เทสโตสเตอโรน
(testosterone) ทําหนาที่ควบคุมลักษณะของเพศชาย คือ ลักษณะเสียงแตก นมขึ้นพาน ลูกกระเดือกแหลม
มีหนวดขึ้นบริเวณริมฝปาก มีขนหนาแขง รักแร และอวัยวะเพศ
รังไข (ovary) สรางฮอรโมนเพศหญิง 2 ชนิด คือ
          1. Estrogen สรางจากกลุมเซลล follicle ในรังไข ทําหนาที่ในการควบคุมลักษณะของเพศ
หญิง คือ ลักษณะเสียงแหลม สะโพกผาย มีขนขึ้นตามอวัยวะเพศ รักแร และควบคมุการเปลี่ยนแปลง
ที่รังไขและเยื่อบุมดลูก
          2. Progesterone สรางจาก Corpus luteum มีหนาที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่รังไขและมดลูก
การทํางานของฮอรโมนนี้อยูภายใตการควบคุมของฮอรโมน FSH และ LH จากตอมใตสมองสวนหนา
ดังภาพ




ฮอรโมน




 รังไข




               1 2 3 4 5 6 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 11 22 23 24 26 27 28   1234
               ระยะมีประจําเดือน ระยะกอนตกไข              ระยะหลังตกไข                     วัน
                                           ระยะตกไข


          ภาพแสดงระดับของฮอรโมนและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชวงตาง ๆ ของรอบประจําเดือน
ฮอรโมนจากตอมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่น ๆ ในรางกาย
         ตอมไทมัส (thymus gland) เปนเนื้อเยื่อนํ้าเหลืองทําหนาที่สรางลิมโฟไซตชนิดที (T-lymphocyte)
หรือ เซลลที (cell-T) มีลักษณะเปนพู 2 พู อยูตรงทรวงอกรอบเสนเลือดใหญของหัวใจ ตอมนี้เจริญเต็มที่
ตั้งแตทารกยังอยูในครรภมารดาจะเสื่อมสภาพและฝอไปตามอายุเริ่มตนตั้งแตวัยรุน
         แกสตริน (gastrin) สรางจากเนื้อเยื่อชั้นในของกระเพาะอาหาร มีหนาที่กระตุนใหเกิดการหลั่ง
นํ้ายอยและกรดไฮโดรคลอริก และการหลั่งนํ้ายอยจากตับออน รวมทั้งควบคุมการเคลื่อนไหวของกระเพาะ
อาหารและลําไสเล็ก
         ซีครีติน (secretin) สรางจากเนื้อเยื่อชั้นในของลําไสเล็กบริเวณดูโอดีนัม หนาที่กระตุนตับออน
ใหหลั่งนํ้ายอย และกระตุนใหตับออนหลั่งนํ้าดี

ควบคุมการทํางานของฮอรโมน
         ฮอรโมนเมื่อสรางจากตอมไรทอแลวจะลําเลียงไปยังอวัยวะเปาหมาย โดยระบบหมุนเวียนเลือด
ที่อวัยวะเปาหมายมีหนวยรับเฉพาะ (specific receptor) ที่สัมพันธกับฮอรโมนแตละชนิด หนวยรับเฉพาะ
ของเซลลที่อวัยวะเปาหมายเปนสารพวกโปรตีน ถารางกายไมสรางหนวยรับเฉพาะขึ้นมาฮอรโมนก็จะไม
สามารถออกฤทธิ์ที่อวัยวะเปาหมายได
         ฟโรโมน (pheromone) หมายถึงสารเคมีที่สัตวสรางออกมากภายนอกรางกายแลวสามารถที่จะไป
มีผลตอสัตวตัวอื่นที่เปนชนิดเดียวกัน ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมและสรีระเฉพาะอยางได
         สัตวตัวอื่นรับ pheromone ได 3 ทาง คือ
         1. กลิ่น          - เพื่อลอเพศตรงขาม
                           - บอกใหรูวาอยูท่ใด
                                               ี
                           - เตือนอันตราย
         2. กิน            - ผึ้งกรรมกรกินสารที่ผึ้งนางพญาสรางขึ้นมาแลวเปนหมัน
         3. ดูดซึม         - ตัวเมียปลอยไว ตัวผูถูก แลวตามหาเพื่อนผสมพันธุ
                           - หลังผสมพันธุ ตัวผูปลอยไว ตัวออนถูกแลวกระตุนใหเติบโต
Hormone พืช
1. Auxin (Indol acetic adcid) - สรางบริเวณยอดออนรากออน
2. Gibberellin - กระตุนการเจริญของ cell ชวงระหวางขอ ทําใหตนไมสูง
3. Cytokinin     - กระตุนการแบงเซลล
                 - พบในนํ้ามะพราว, สารที่สกัดจากยีสต
4. Abscisic acid - ยับยั้งการเจริญเติบโตของพืช
                 - ชวยในการรวงของใบและผล
                 - ในเมล็ดพืชระยะฟกตัวมีสารนี้สูง
5. Ethylene      - เกิดในกระบวนการ Metabolism
                 - ทําใหผลไมสุก
                 - กระตุนการออกดอกของพืชพวกสับปะรด
                 - กระตุนการรวงของใบไมและการผลัดใบตามฤดูกาล



การควบคุมกลไกตาง ๆ ของรางกาย
ไฮโพทาลามัส

                                                     ควบคุม

                                         ตอมใตสมองสวนหนา                       ตอมใตสมองสวนหลัง
                                                  กระตุน
                                                                                      สราง
                                         FSH                    LH                    ออกซิโทซิน
                                            กระตุน
คอรปสลูเทียม   เปลี่ยนแปลงจาก         ฟอลลิเคิล                           กระตุนใหตกไข

    สราง                       อสุจิ     +           ไข
                   กระตุน
โพรเจสเทอโรน                            ไซโกต
                                                     เปลี่ยนแปลง                   บีบตัว
                                                            เจริญ 9 เดือน
                                                                                              เกิด
                 เปนที่ฝงตัวของ
       มดลูก                             เอ็มบริโอ                              การคลอด              เด็กทารก

hCG        ติดตอถึง
 สรางจาก
        รก

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนsukanya petin
 
โจทย์ปัญหาการบวกและการลบ
โจทย์ปัญหาการบวกและการลบโจทย์ปัญหาการบวกและการลบ
โจทย์ปัญหาการบวกและการลบวรัญญา มาวาย
 
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22phornphan1111
 
4.โรคทางพันธุกรรม
4.โรคทางพันธุกรรม4.โรคทางพันธุกรรม
4.โรคทางพันธุกรรมJiraporn Chaimongkol
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมJiraporn
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54Oui Nuchanart
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงChanon Mala
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุสำเร็จ นางสีคุณ
 

Was ist angesagt? (20)

การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
โจทย์ปัญหาการบวกและการลบ
โจทย์ปัญหาการบวกและการลบโจทย์ปัญหาการบวกและการลบ
โจทย์ปัญหาการบวกและการลบ
 
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
 
4.โรคทางพันธุกรรม
4.โรคทางพันธุกรรม4.โรคทางพันธุกรรม
4.โรคทางพันธุกรรม
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
 
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
Thai boxing
Thai boxingThai boxing
Thai boxing
 
ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54
 
พละ ม.1
พละ ม.1พละ ม.1
พละ ม.1
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 

Ähnlich wie ฮอร์โมน

ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWan Ngamwongwan
 
Biology Computer Project
Biology Computer ProjectBiology Computer Project
Biology Computer ProjectBee Attarit
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อฟลุ๊ค ลำพูน
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2Kobchai Khamboonruang
 
1.3 endocrine system
1.3 endocrine system1.3 endocrine system
1.3 endocrine systemPiro Jnn
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWichai Likitponrak
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530CUPress
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ Thitaree Samphao
 
เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2Aon Narinchoti
 
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามนวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามIsyapatr
 
สื่อการสอนร่างกาย
สื่อการสอนร่างกายสื่อการสอนร่างกาย
สื่อการสอนร่างกายsaengthawan
 
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่นระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่นพัน พัน
 
เรื่องต่อม
เรื่องต่อมเรื่องต่อม
เรื่องต่อมComputer ITSWKJ
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวานbeam35734
 

Ähnlich wie ฮอร์โมน (20)

Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
Biology Computer Project
Biology Computer ProjectBiology Computer Project
Biology Computer Project
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
 
1.3 endocrine system
1.3 endocrine system1.3 endocrine system
1.3 endocrine system
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2
 
Hypertension
HypertensionHypertension
Hypertension
 
Ihd
IhdIhd
Ihd
 
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามนวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
 
สื่อการสอนร่างกาย
สื่อการสอนร่างกายสื่อการสอนร่างกาย
สื่อการสอนร่างกาย
 
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่นระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
 
เรื่องต่อม
เรื่องต่อมเรื่องต่อม
เรื่องต่อม
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวาน
 

Mehr von โรงเรียนบ่อไร่วิทยาคม

ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์โรงเรียนบ่อไร่วิทยาคม
 

Mehr von โรงเรียนบ่อไร่วิทยาคม (20)

การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
พันธูกรรม1
พันธูกรรม1พันธูกรรม1
พันธูกรรม1
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
Knowledge
KnowledgeKnowledge
Knowledge
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
Reproduction
ReproductionReproduction
Reproduction
 
Reproduction
ReproductionReproduction
Reproduction
 
เกรด.5ปี53.
เกรด.5ปี53.เกรด.5ปี53.
เกรด.5ปี53.
 
เกรด.5ปี53
เกรด.5ปี53เกรด.5ปี53
เกรด.5ปี53
 
เกรดม.4ปี53
เกรดม.4ปี53เกรดม.4ปี53
เกรดม.4ปี53
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
1 repro
1 repro1 repro
1 repro
 
Hemo
HemoHemo
Hemo
 
Hemo
HemoHemo
Hemo
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์
 
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
 

ฮอร์โมน

  • 1. ฮอรโมน ฮอรโมน (hormone) เปนสารอินทรียที่ตอมสรางขึ้น แลวมีผลไปบังคับการทํางานของเนื้อเยื่อ อีกกลุมหนึ่ง ตอมในรางกาย ตอมในรางกายมี 2 ชนิด คือ 1. ตอมมีทอ (exocrine gland) คือตอมที่สรางสารแลวมีทอลําเลียงสารไปใช เชน ตับออน, ตอมนํ้าลาย, ตอมนํ้าตา, ตอมเหงื่อ 2. ตอมไรทอ (endocrine gland) คือตอมที่สรางสารแลวไมมีทอลําเลียงสารไปใช ดังแสดงในรูป ภาพแสดงตอมไรทอและตอมอื่น ๆ ของคน
  • 2. ตอมไพเนียล (pineal gland) เปนตอมเล็ก ๆ สีขาวอยูตรงกลางของ cerebrum ตอมไพเนียล จะผลิตฮอรโมนไดดีตอไดรับการกระตุนจากแสงที่เขาทางตา และมี sympathetic merve ควบคุม ตอมไพเนียลสรางฮอรโมน melatonin เพื่อทําหนาที่ยับยั้งการเจริญของอวัยะสืบพันธุ และ ทําใหสีของสัตวเลือดเย็นจางลง ถามีฮอรโมน melatonin มาก จะเปนหนุมสาวชากวาปกติ Melatonin ทํางานตรงกันขามกับฮอรโมน melanocyte stimulating hormone จากตอมใต สมองสวนกลาง ตอมใตสมอง (pituitary gland) เปนตอมไรทอที่สําคัญที่สุด เนื่องจากสรางฮอรโมนหลาย ชนิดไปควบคุมการสรางฮอรโมนของตอมไรตออื่น ๆ ตอมใตสมองแบงเปน 3 สวน คือ ตอมใตสมองสวนหนา สวนกลาง และสวนหลัง มีหนาที่ สรางฮอรโมนหลายชนิดแตกตางกันดังนี้ ตอมใตสมองสวนหนา (anteriro lobe) เปนตอมใตสมองสวนที่ใหญที่สุด ภายหลังฮอรโมน ของตอมนี้ถูกควบคุมโดยฮอรโมนประสาทจาก Hypothalamus ฮอรโมนที่สําคัญ ไดแก 1. โกรทฮอรโมน (growth hormone) ยอวา GH หรือโซมาโตโทรฟน (somatotrophin) ยอวา STH หนาที่ - ควบคุมการเจริญเติบโตของรางกายใหเปนปกติโดยเฉพาะการแบงเซลล - ควบคุมการสังเคราะหโปรตีน - ควบคุมการสรางกระดูก ถาขาด GH ในเด็กจะเปนโรคเตี้ยแคระ (dwarfism) ในผูใหญจะเปนโรคที่มีนํ้าตาลในเลือด นอย ทนความเครียดของอารมณไมได (Simmon’s disease) ถามี GH มากเกินไปในเด็กจะมีรางกายใหญโตผิดปกติ (gigantism) มีสัดสวนของรางกาย แขนและขาปกติ แตมกมีสุขภาพไมแข็งแรงและอายุสั้น เนื่องจากการเติบโตที่มากเกินไป เปนการยาก ั ที่ระบบตาง ๆ ภายในรางกายจะรักษาสมดุลเอาไวได และ GH ทําใหมีระดับนํ้าตาลในเลือดสูง จึงมัก เปนโรคเบาหวาน สําหรับในผูใหญถามีมากรางกายไมใหญโตแตเจริญเติบโตเฉพาะใบหนา มือ เทา เรียก อะโครเมกาลี (acromegaly) 2. โกนาโดโทรฟน (gonadotrophin หรือ gonadotrophic hormone) ประกอบดวยฮอรโมน 2 ชนิด คือ follicle stimulating hormone (FSH) กับ luteinizing hormone (LH)
  • 3. หนาที่ของ FSH ในเพศหญิง กระตุนให follicle แบงเซลล และ follicle cell สราง hormone estrogen ในเพศชาย กระตุนการเจริญเติบโตของอัณฑะและการสรางตัวอสุจิ หนาที่ของ LH ในเพศหญิง ทําใหเกิดการตกไข เกิด corpus luteum ซึ่งจะหลั่ง hormone progesterone เพื่อควบคุมการเปลี่ยนแปลงที่เยื่อบุมดลูก รองรับการฝงตัวของ embryo ในเพศชาย กระตุน interstitial cell ในอัณฑะใหหลั่ง testosterone 3. โพรแล็กติน (prolactin) หรือ lactogenic hormone กระตุนตอมนํ้านมใหสรางนํ้านมเพื่อ เลี้ยงลูกออนหลังคลอด พบในสัตวปกซึ่งมีผลกระตุนใหเกิดพฤติกรรมการเลี้ยงดูลูกออน 4. อะดรีโนคอรติโคโทรฟน (adrenocorticotrophin หรือ adrenocorticotrophic hormone) ยอวา ACTH กระตุน adrenal cortex ของตอมหมวกไต ใหทําหนาที่สรางฮอรโมนตามปกติ 5. ไทรอยดสติมิวเลติงฮอรโมน (thyroid stimulatin hormone) ยอวา TSH ทําหนาที่กระตุน ตอมไทรอยดใหหลั่งฮอรโมนปกติ การหลั่งฮอรโมนจากตอมใตสมองถูกควบคุมโดยฮอรโมนจาก hypothalamus ประกอบดวย thyroid releasing hormone กระตุนการหลั่ง TSH และ GH inhibiting hormone ยับยั้งการหลั่ง GH ปจจัยที่ควบคุมการหลั่งฮอรโมนจาก hypothalamus เชน อุณหภูมิ แสง ความเครียด ระดับ ฮอรโมน จากตอมใตสมองเอง และฮอรโมนจากตอมไรทออื่น ๆ ที่อยูภายใตการควบคุมของตอมใต สมอง และระดับนํ้าตาลในเลือด ตอมใตสมองสวนกลาง (intermediate lobe) สราง melanocyte stimulating hormone (MSH) กระตุนการสังเคราะหรงควัตถุสีนํ้าตาล (melanin) และกระตุนให melanin กระจายไปทั่วเซลลทําให สีเขมขน ตอมใตสมองสวนหลัง (posterior lobe) เปนเซลลประสาทชนิดพิเศษที่ทําหนาที่สรางฮอรโมน เรียกเซลลประสาทนี้วา neurosecretory cell ฮอรโมนที่สําคัญมี 2 ชนิด คือ 1. วาโซเพรสซิน (vasopressin) หรือ antidiuretic hormone (ADH) ทําหนาที่ควบคุมการดูด นํ้ากลับของทอหนวยไต และชวยกระตุนหลอดเลือดใหบีบตัวเพื่อรักษาสมดุลของนํ้าในรางกาย 2. ออกซีโทซิน (oxytocin) ทําหนาที่กระตุนกลามเนื้อเรียบของอวัยวะภายในของผูหญิง กระตุนเซลลกลามเนื้อรอบ ๆ ตอมนํ้านมใหหดตัวขับนํ้านมมาเลี้ยงลูกออน กระตุนใหกลามเนื้อมดลูก บีบตัวขณะคลอด และกลับคืนเขาสูสภาพปกติ
  • 4. ตอมไอสเลตออฟลางเกอรฮานส (islets of langerhans) เปนกลุมเซลลหลายแสนกลุมใน ตับออน แตละกลุมมีเซลล 2 ชนิด คือ β-cell เปนเซลลขนาดเล็ก มีจํานวนมากอยูตรงกลางของกลุม และ ∝-cell เปนเซลลขนาดใหญ มีจํานวนนอย อยูรอบนอกของกลุมเซลล ฮอรโมนที่สําคัญ คือ 1. อินซูลิน (insulin) สรางจาก β-cell หนาที่รักษาระดับนํ้าตาลในเลือดใหปกติ และควบคุม metabolism ของคารโบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน ถานํ้าตาลในเลือดสูง มีผลตอตับออนใหหลั่ง insulin ซึ่งจะทํางานดังนี้ insulin ไปกระตุน ใหสราง glycogen มากขึ้น กระตุนกลามเนื้อใหเพิ่มการใช glucose และไปกระตุนเนื้อเยื่อไขมันให เปลี่ยน glucose ไปเปนไขมัน กระบวนการทั้งหมดมีผลทําใหปริมาณ glucose ในเลือดลดลง 2. กลูคากอน (glucagon) สรางจาก ∝-cell ทําหนาที่กระตุนเซลลใหหลั่ง insulin และ กระตุน glucogen จากตับไปเปน glucose ในเลือด ดังรูป ภาพแสดงวงจรการกระตุนและยับยั้งการหลั่งฮอรโมนจากตับออน
  • 5. โรคที่เกิดจากตอมไอสเลตออฟกลางเกอรฮานสผิดปกติคือ โรคเบาหวาน มี 2 แบบ คือ แบบที่หนึ่ง เกิดจากตับออนไมสามารถสรางอินซูลินไดเลย ผูปวยตองไดรับการฉีดฮอรโมน อินซูลินเพื่อควบคุมปริมาณนํ้าตาล และตองระวังไมใหระดับนํ้าตาลในเลือดตํ่าจนเกิดการช็อกเพราะ ขาดนํ้าตาล แบบที่สอง พบมากถึง 90% ของผูปวยที่เปนเบาหวาน เกิดกับทุกเพศทุกวัน เกิดจากตับออน สรางฮอรโมนอินซูลินปกติ แตเซลลรางกายไมสังเคราะหตัวรับอินซูลิน ทําใหอินซูลินทํางานไมได ปริมาณนํ้าตาลในเลือดของผูปวยจึงสูง ตอมไทรอยด (thyroid gland) เปนตอมไรทอที่มีขนาดใหญที่สุด ธาตุไอโอดีจําเปนในการ สรางฮอรโมนของตอมนี้ ฮอรโมนที่สําคัญคือ 1. ไทรอกซิน (thyroxin) สรางจาก thyroid follicle มีหนาที่ควบคุมอัตรา metabolism ของ รางกาย และจําเปนตอการเจริญและพัฒนาการของรางกายโดยเฉพาะพัฒนาการของสมอง ถาขาด thyroxin ในวัยเด็กจะมีผลใหพัฒนาการทางรางกายและสมองดอยลง ทําใหรางกาย เตี้ยแคระ แขนขาสั้น ผิวหยาบ แหง ผมบาง การเจริญเติบโตชากวาเด็กปกติ ปญญาออน เรียกกลุม อาการนี้วา cretinism ถาขาด thyroxin ในวัยผูใหญจะทําใหมีอาการเหนื่อยงาย นํ้าหนักเพิ่ม ทนความหนาวไมได กลามเนื้อออนแรง ผมและผิวแหง หัวใจโต รางกายออนแอติดเชื้องาย มีอาการซึม เฉื่อยชา และ ความจําเสื่อม เรียกกลุมอาการนี้วา myxedema ถารางกายสรางฮอรโมน thyroxin มากเกินไป เนื่องจากตอมไทรอยดผิดปกติ จะมีอาการ เหนื่อยงาย กินจุ นํ้าหนักลด อัตราเมแทบอลิซึมสูง ประสาทเครียด นอนไมหลับ หงุดหงิดฉุนเฉียว งาย บางรายอาจมีตาโปนแตคอไมโต เรียกกลุมอาการนี้วา toxic goiter หรือ exophthalmic goiter ในสัตวครึ่งนํ้าครึ่งบก thyroxin ทําหนาที่กระตุน metabolism ของรางกาย และกระตุนให ลูกออดเปลี่ยนเปนกบตัวเต็มวัยในกระบวนการ metamorphosis 2. แคลซิโตนิน (calcitonin) ทําหนาที่ลดระดับแคลเซียมในเลือดที่สูงเกินปกติใหเขาสูระดับ ปกติ โดยดึงแคลเซียมสวนเกินไปไวที่กระดู calcitonin ทํางานรวมกับฮอรโมนจากตอมพาราไทรอยด และวิตามินดี
  • 6. ตอมพาราไทรอยด (parathyroid gland) เปนตอมเล็ก ๆ 4 ตอมติดอยูกับตอมไทรอยด สรางฮอรโมนชื่อ พาราทอรโมน (parathormone) ทําหนาที่รักษาระดับสมดุลของแคลเซียมใน รางกายใหคงที่ โดยทํางานรวมกับ calcitonin จาก thyroid gland ดังภาพ ภาพแสดงการควบคุมสมดุลของแคลเซียมโดยแคลซิโตนินและพาราทอรโมน ถาขาดพาราทอรโมน การดูดแคลเซียมกลับที่ทอของหนวยไตลดนอยลง ทําใหสูญเสียแคลเซียม ไปกับปสสาวะ ระดับแคลเซียมในเลือดตํ่า กลามเนื้อเกิดอาการเกร็งและชักกระตุก ปอดไมสามารถ ทํางานได และตายในที่สุด วิธีแกคือฉีดพาราทอรโมนและใหวิตามินดี ถาตอมสรางพาราทอรโมนมากไปจะดึงเอาแคลเซียมจากกระดูกและฟนออกมา ทําใหเลือดมี Ca++ สูงกวาปกติเกิดอาการกระดูกบาง ฟนผุ ตอมหมวกไต (adrenal gland) เปนตอมไรทอที่อยูเหนือไตทั้งสองขาง ตอมนี้ประกอบดวย เนื้อเยื่อ 2 ชั้น คือ ชั้นนอก เรียก adrenal cortex และชั้นในเรียก adrenal medulla การผลิตฮอรโมน ดังนี้ อะดรีนัลคอรเทกซ (adrenal cortex) ผลิตฮอรโมนมากกวา 50 ชนิด ฮอรโมนเหลานี้เปน สเตรอยด (steriod) รางกายสังเคราะหไดจากคอเลสเทอรอล ไดแก 1. กลุมฮอรโมนกลูโคคอรติคอยด (glucocorticoid) ทําหนาที่ควบคุม metabolism ของ คารโบไฮเดรต ตัวอยางฮอรโมนกลุมนี้คือ cortisol หนาที่เพิ่มระดับนํ้าตาลในเลือดใหสูงขึ้น โดยกระตุน เซลลตับใหเปลี่ยนกรดอะมิโต และกรดไขมันเปนคารโบไฮเดรต และเก็บสะสมไวในรูปของไกลโคเจน หลังจากนั้นกระตุนใหตับเปลี่ยน glycogen เปน glucose สงเขากระแสเลือด
  • 7. ถามี glucocorticoid มากเกินไป ทําใหเกิดโรคคูชชิ่ง (cushing’s syndrome) ผลคือ มีความ ผิดปกติเกี่ยวกับ metabolism ของคารโบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน ระดับนํ้าตาลในเลือดสูงขึ้น กลามเนื้อออนแรง เนื่องจากมีการสลายโปรตีน และไขมันตามบริเวณแขนขา แตมีการสะสมไขมันที่ บริเวณแกนกลางของลําตัวและใบหนาทําใหหนากลมเหมือนพระจันทร (moon face) บริเวณตนคอมี หนอกยื่นออกมา (buffalo hump) 2. กลุมฮอรโมนมิเนราโลคอรติคอยด (mineralocorticoid) มีหนาที่ควบคุมสมดุลของนํ้าและ แรธาตุ ฮอรโมนที่สําคัญของกลุมนี้ คือ aldosterone ควบคุมการทํางานของไตในการดูดนํ้าและโซเดียม เขาสูเสนเลือด และขับโพแทสเซียมออกจากทอของหนวยไตใหสมดุลกับความตองการของรางกาย ถาขาด aldosterone ทําใหรางกายสูญเสียนํ้าและโซเดียมไปพรอมกับปสสาวะเปนจํานวนมาก ปริมาณเลือดในรางกายลดลงความดันเลือดตํ่า 3. ฮอรโมนเพศ (sex hormone) มีเพียงเล็กนอยเมื่อเทียบกับอวัยวะเพศ เพศหญิงถามีมากจะมี หนวดเคราขึ้น ถา adrenal cortex ถูกทําลายจนไมสามารถสรางฮอรโมนได จะเปนโรค Addison’s disease อาการคือคนไขซูบผอม ผิวหนังตกกระ รางกายไมสามารถรักษาสมดุลของแรธาตุไดเปนเหตุใหผูปวย ถึงแกความตาย อะดรีนัลเมดัลลา (adrenal medulla) สรางฮอรโมน 2 ชนิดคือ 1. อะดรีนาลินฮอรโมน (adrenalin hormone หรือ epinephrine) ซึ่งหลั่งแลวมีผลทําใหนํ้าตาล ในเลือดเพิ่มมากขึ้น กระตุนใหหัวใจเตนเร็ว ความดันเลือดสูง 2. นอรอะดรีนาลินฮอรโมน (noradrenalin hormone หรือ norepinephrine) ฮอรโมนนี้หลั่ง จากปลายเสนประสาท sympathetic ดวย ทําใหความดันเลือดสูง ทําใหหลอดเลือดไปเลี้ยงอวัยวะภายใน ตาง ๆ บีบตัว ฮอรโมนจากอวัยวะเพศ อินเตอรสติเชียลเซลล (interstitial cell) ซึ่งอยูระหวางหลอดสรางอสุจิในอัณฑะ สรางฮอรโมน เพศชายเรียกวา แอนโดรเจน (androgens) ประกอบดวยฮอรโมนหลายชนิด เชน เทสโตสเตอโรน (testosterone) ทําหนาที่ควบคุมลักษณะของเพศชาย คือ ลักษณะเสียงแตก นมขึ้นพาน ลูกกระเดือกแหลม มีหนวดขึ้นบริเวณริมฝปาก มีขนหนาแขง รักแร และอวัยวะเพศ
  • 8. รังไข (ovary) สรางฮอรโมนเพศหญิง 2 ชนิด คือ 1. Estrogen สรางจากกลุมเซลล follicle ในรังไข ทําหนาที่ในการควบคุมลักษณะของเพศ หญิง คือ ลักษณะเสียงแหลม สะโพกผาย มีขนขึ้นตามอวัยวะเพศ รักแร และควบคมุการเปลี่ยนแปลง ที่รังไขและเยื่อบุมดลูก 2. Progesterone สรางจาก Corpus luteum มีหนาที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่รังไขและมดลูก การทํางานของฮอรโมนนี้อยูภายใตการควบคุมของฮอรโมน FSH และ LH จากตอมใตสมองสวนหนา ดังภาพ ฮอรโมน รังไข 1 2 3 4 5 6 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 11 22 23 24 26 27 28 1234 ระยะมีประจําเดือน ระยะกอนตกไข ระยะหลังตกไข วัน ระยะตกไข ภาพแสดงระดับของฮอรโมนและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชวงตาง ๆ ของรอบประจําเดือน
  • 9. ฮอรโมนจากตอมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่น ๆ ในรางกาย ตอมไทมัส (thymus gland) เปนเนื้อเยื่อนํ้าเหลืองทําหนาที่สรางลิมโฟไซตชนิดที (T-lymphocyte) หรือ เซลลที (cell-T) มีลักษณะเปนพู 2 พู อยูตรงทรวงอกรอบเสนเลือดใหญของหัวใจ ตอมนี้เจริญเต็มที่ ตั้งแตทารกยังอยูในครรภมารดาจะเสื่อมสภาพและฝอไปตามอายุเริ่มตนตั้งแตวัยรุน แกสตริน (gastrin) สรางจากเนื้อเยื่อชั้นในของกระเพาะอาหาร มีหนาที่กระตุนใหเกิดการหลั่ง นํ้ายอยและกรดไฮโดรคลอริก และการหลั่งนํ้ายอยจากตับออน รวมทั้งควบคุมการเคลื่อนไหวของกระเพาะ อาหารและลําไสเล็ก ซีครีติน (secretin) สรางจากเนื้อเยื่อชั้นในของลําไสเล็กบริเวณดูโอดีนัม หนาที่กระตุนตับออน ใหหลั่งนํ้ายอย และกระตุนใหตับออนหลั่งนํ้าดี ควบคุมการทํางานของฮอรโมน ฮอรโมนเมื่อสรางจากตอมไรทอแลวจะลําเลียงไปยังอวัยวะเปาหมาย โดยระบบหมุนเวียนเลือด ที่อวัยวะเปาหมายมีหนวยรับเฉพาะ (specific receptor) ที่สัมพันธกับฮอรโมนแตละชนิด หนวยรับเฉพาะ ของเซลลที่อวัยวะเปาหมายเปนสารพวกโปรตีน ถารางกายไมสรางหนวยรับเฉพาะขึ้นมาฮอรโมนก็จะไม สามารถออกฤทธิ์ที่อวัยวะเปาหมายได ฟโรโมน (pheromone) หมายถึงสารเคมีที่สัตวสรางออกมากภายนอกรางกายแลวสามารถที่จะไป มีผลตอสัตวตัวอื่นที่เปนชนิดเดียวกัน ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมและสรีระเฉพาะอยางได สัตวตัวอื่นรับ pheromone ได 3 ทาง คือ 1. กลิ่น - เพื่อลอเพศตรงขาม - บอกใหรูวาอยูท่ใด ี - เตือนอันตราย 2. กิน - ผึ้งกรรมกรกินสารที่ผึ้งนางพญาสรางขึ้นมาแลวเปนหมัน 3. ดูดซึม - ตัวเมียปลอยไว ตัวผูถูก แลวตามหาเพื่อนผสมพันธุ - หลังผสมพันธุ ตัวผูปลอยไว ตัวออนถูกแลวกระตุนใหเติบโต
  • 10. Hormone พืช 1. Auxin (Indol acetic adcid) - สรางบริเวณยอดออนรากออน 2. Gibberellin - กระตุนการเจริญของ cell ชวงระหวางขอ ทําใหตนไมสูง 3. Cytokinin - กระตุนการแบงเซลล - พบในนํ้ามะพราว, สารที่สกัดจากยีสต 4. Abscisic acid - ยับยั้งการเจริญเติบโตของพืช - ชวยในการรวงของใบและผล - ในเมล็ดพืชระยะฟกตัวมีสารนี้สูง 5. Ethylene - เกิดในกระบวนการ Metabolism - ทําใหผลไมสุก - กระตุนการออกดอกของพืชพวกสับปะรด - กระตุนการรวงของใบไมและการผลัดใบตามฤดูกาล การควบคุมกลไกตาง ๆ ของรางกาย
  • 11. ไฮโพทาลามัส ควบคุม ตอมใตสมองสวนหนา ตอมใตสมองสวนหลัง กระตุน สราง FSH LH ออกซิโทซิน กระตุน คอรปสลูเทียม เปลี่ยนแปลงจาก ฟอลลิเคิล กระตุนใหตกไข สราง อสุจิ + ไข กระตุน โพรเจสเทอโรน ไซโกต เปลี่ยนแปลง บีบตัว เจริญ 9 เดือน เกิด เปนที่ฝงตัวของ มดลูก เอ็มบริโอ การคลอด เด็กทารก hCG ติดตอถึง สรางจาก รก