SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 87
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 การเคลื่อนไหว    เป็นการเคลื่อนย้ายเพียงบางส่วน
  ของร่างกาย
 การเคลื่อนที่ เป็นการเคลื่อนย้ายจากที่หนึ่งไปยัง
  อีกที่หนึ่ง
* การเคลื่อนที่จะต้องมีการเคลื่อนไหวด้วยเสมอ แต่การ
  เคลื่อนไหวไม่จาเป็นต้องมีการเคลื่อนที่ด้วย
โครงร่างสัตว์(animal skeleton)
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. Hydroskeleton or hydrostatic skeleton
2. Hard skeleton
    2.1 Exoskeleton
    2.2 Endoskeleton
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนไหวโดยอาศัยการไหลของไซโทพลาสซึม
               อมีบา(amoeba)
การเคลื่อนไหวของอมีบา
 การเคลื่อนไหวอาศัยการไหลของไซโทพลาสซึม โดยแบ่งเป็น
2 ส่วน คือ ectoplasm(แข็ง) และ endoplasm(เหลว)
 Actin และ Miosin ประกอบกันเป็น
  microfilament(เป็นเส้นใยโปรตีนเล็กๆ) หดตัวและคลาย
  ตัวได้ ทาให้เกิดการไหลของไซโทพลาสซึม
 ทาให้เกิดเท้าเทียม(pseudopodium)
 การเคลื่อนที่แบบอะมีบา (amoebiod movement)
 ได้แก่ อมีบา เม็ดเลือดขาว ราเมือก
ในเซลล์อมีบา การยื่น pseudopodium ออกไปเกิด
จากการยืดและหดตัวของ actin filaments
การเคลื่อนไหวโดยการใช้แฟลกเจลลัม หรือซิเลีย
         แฟลกเจลลัม(flagellum)
Euglena
ซิเลีย(cilia)
A comparison of the beating of flagella and cilia
Microtubules เป็นแกนของ flagellum และ cilia
Centrosome containing a pair of centrioles
การเคลื่อนที่ของไฮดรา
(Hydra)

  ตีลังกา
  เคลือบคลานเหมือนหนอน
  ลอยไปตามน้า
planaria
การเคลื่อนทีของพลานาเรีย(planaria)
            ่
 Phylum       platyhelminthes
 มีกล้ามเนือ 3 ชนิด คือ circular muscle ,
  longitudinal muscle,oblique muscle
 เคลื่อนที่ไปโดยการลอยไปตามผิวน้าหรือคลืบคลาน
 ทางด้านล่างมีซิเลียช่วยในการโบกพัดช่วยให้เคลื่อน
  ตัวได้ดียิ่งขึน
การเคลื่อนที่ของหนอนตัวกลม(round worm)
 Phylum       nematoda ได้แก่ พยาธิไส้เดือน
  พยาธิปากขอ พยาธิเส้นด้าย หนอนน้าส้มสายชู
 มีเฉพาะกล้ามเนือตามยาวของล้าตัว
  (longitudinal muscle)
 การเคลื่อนที่ท้าให้เกิดลักษณะส่ายไปส่ายมา
การเคลื่อนที่ของไส้เดือน(earth worm)
 การเคลื่อนที่ของไส้เดือน(earth      worm)
                      Phylum annelida
                      -กล้ามเนือ 2 ชุดคือ กล้ามเนือวงกลม
                      (circular muscle) อยู่ทางด้านนอก
                      และกล้ามเนือตามยาว(longitudinal
                      muscle) ตลอดล้าตัวอยู่ทางด้านใน
                      -เดือย(setae)
                      -มีการท้างานในสภาวะตรงข้าม เรียก
                           Antagonism
การเคลื่อนที่ของแมงกะพรุน(jelly fish)
 Phylum coelenterata
 เคลื่อนที่โดยการหดตัวของ
  เนือเยื่อที่อยู่บริเวณของร่มและ
  ผนังล้าตัวท้าให้น้าพ่นออกมา
  ทางด้านล่าง
การเคลื่อนที่ของหมึก(squid)
การเคลื่อนที่ของดาวทะเล(sea star)
Exoskeleton
- พบในพวก mollusk และแมลง
- เป็นโครงร่างเปลือกแข็งหุ้มอยู่ภายนอกร่างกาย โดย
ส่วนประกอบของเปลือกเป็นพวก crystallized mineral
salt และไม่มีเซลล์ (acellular) เช่น แคลเซียมคาร์บอเนตใน
mollusk, chitin ในแมลง
- exoskeleton นอกจากจะทาหน้าที่คาจุนร่างกายแล้ว ยัง
ช่วยป้องกันการสูญเสียนา
-การเคลื่อนไหวเกิดขึนโดยการหด-คลายตัวของกล้ามเนือที่
ยึดติดกับ exoskeleton
กล้ามเนือที่ทาให้เกิดการเคลื่อนไหวมี 2 ชุด คือ
1. Flexors ทาให้เกิดการโค้งงอของข้อต่อเมื่อหดตัว
2. Extensors ทาให้เกิดการยืดตัวของข้อต่อเมื่อคลายตัว
กล้ามเนือทังสองชุดนีจะทางานตรงข้ามกัน เมื่อกล้ามเนือ
ชนิดหนึ่งหดตัว อีกชนิดหนึ่งจะคลายตัว
(antagonism)
การเคลื่อนที่ของแมลง
insect
 Exoskeleton       เป็นสารพวกไคติน
 ข้อต่อข้อแรกของขากับล้าตัว แบบ ball and
  socket ส่วนข้อต่ออื่นๆเป็นแบบบานพับ
 การเคลื่อนไหวเกิดจาการท้างานสลับกันของ
  กล้ามเนือ flexer กับ extensor เป็นแบบ
  antagonism
Moving the exoskeleton: Joints and muscle attachments
การเคลื่อนที่ของปลา
 มีรูปร่างแบนเพรียวบาง และเมือก มีเกล็ดช่วยลดแรงเสียดทาน
 เมื่อกล้ามเนือที่ยึดติดกับกระดูกสันหลังด้านใดด้านหนึ่งหดตัว
  (เริ่มจากส่วนหัวมาทางหาง)ท้าให้เกิดการโบกพัดของครีบหาง
  (cadal fin) ดันให้ตัวพุ่งไปข้างหน้าโดยมีครีบหลัง
  (drosal fin) ช่วยในการทรงตัวไม่ให้เสียทิศทาง
 ครีบอก(pectoral fin) และครีบตะโพก (pelvic fin)
  ซึ่งเทียบได้กับขาหน้าและขาหลังของสัตว์บก จะท้าหน้าที่ช่วย
  พยุงล้าตัวปลา และช่วยให้เกิดการเคลื่อนที่ในแนวดิง
                                                  ่
การเคลื่อนที่ของเต่าทะเล แมวนา และสิงโตทะเล




   มีขาคู่หน้าที่เปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะเป็นพาย ที่เรียกว่า ฟลิบเปอร์(flipper)
การเคลื่อนที่ของสัตว์ปีก
การเคลื่อนที่ของนก
    มีกระดูกที่กลวง ท้าให้เบา
    มีกล้ามเนือที่ใช้ในการขยับปีกที่
     แข็งแรง
     - กล้ามเนือ pectoralis major
     - กล้ามเนือ pectoralis minor
    มีถุงลม (air sac)
    มีขน (feather)
ถุงลม (air sac)
Endoskeleton
-พบในสัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิด
-เป็นโครงร่างแข็งที่แทรกตัวอยู่ในเนื้อเยื่อ (soft tissues) หรือภายในร่างกาย
-endoskeleton ประกอบด้วย living and metabolizing cells (ต่างจาก exoskeleton) แบ่งเป็น
 1. cartilage เป็นส่วนประกอบของ protein collagen และ complex polysaccharide
 2. bone ประกอบด้วย collagen ปนอยู่กับ apatite (calcium and phosphate salt)
-นักกายวิภาคศาสตร์แบ่งกระดูกออกเป็น 2 ส่วน
 1. Axial skeleton:กระดูกแกนได้แก่ กระดูกกะโหลก (skull), กระดูกสันหลัง (vertebral
column), กระดูกซี่โครง (rib)
 2. Appendicular skeleton:กระดูกรยางค์ เป็นกระดูกที่ต่อออกมาจากกระดูกแกน
แบ่งเป็น
  2.1 Fore-limb bone :กระดูกแขน
  2.2 Hind-limb bone :กระดูกขา
โครงสร้างของกระดูก
ชนิดของกระดูกแบ่งออกตามลักษณะรูปร่างของกระดูกคือ
1.   กระดูกท่อนยาว (long bone) ได้แก่ ต้นแขน ปลายแขน ต้น
     ขา หน้าแข้ง กระดูกน่อง ไหปลาร้า
2.   กระดูกท่อนสัน (short bone) ได้แก่ ข้อมือ ข้อเท้า กระดูกนิว
     มือ กระดูกนิวเท้า
3.   กระดูกแบน (flat bone) ได้แก่ กะโหลกศีรษะ เชิงกรานสะบัก
     อก ซี่โครง
4.   กระดูกรูปร่างไม่แน่นอน (irregular bone) ได้แก่ กระดูกสัน
     หลัง ขากรรไกร กระดูกคอ ก้นกบ กระดูกฝ่าเท้า
(pectoral girdle)


สีน้าเงิน คือ กระดูกแกน 80 ชิน
                                                      ilium
                                                     sacrum
สีเหลือง คือ กระดูกรยางค์ 126 ชิน                         pubis
                                                       ischium
แผนภาพแสดงกระดูกรยางค์ (ซ้าย) ส่วนหน้า (ขวา) ส่วนหลัง




                                                 50
กระดูกแกนประกอบด้วย
    1. กะโหลกศีรษะ (skull)
รวมทังกระดูกชินเล็ก ๆ อีกหลาย ๆชิน
เชื่อมติดต่อกัน ภายในลักษณะคล้าย
กล่องบรรจุเนือสมองไว้ กะโหลกศีรษะ
จึงทาหน้าที่ทังห่อหุ้มและป้องกัน
มันสมองที่อยู่ภายในนอกจากบริเวณ
กะโหลกศีรษะแล้ว ยังมีกระดูกแก้ม
กระดูกขากรรไกรซึ่งมีฟันอยู่ภายในซอก
การเคียวอาหารเกิดจากการเคลื่อนไหว
ของขากรรไกรล่าง



                                      แผนภาพแสดงกระดูกแกน (ก) กระดูกรยางค์ (ข) ซึ่งแสดงด้วยสีดา
                                                                                      51
2.กระดูกสันหลัง (vertebra)
   เป็นกระดูกชินเล็ก ๆ มีลักษณะเป็นข้อ ๆ ต่อกันยาวตลอดความยาว
    ของหลังจนจรดส่วนสะโพก กระดูกสันหลังแต่ละข้อเชื่อมติดต่อ
    กันด้วยเอ็นและกล้ามเนือ และมีหมอนรองกระดูก (intervertebral
    disc) เป็นแผ่นกระดูกอ่อนรองอยู่ระหว่างกระดูกสันหลังแต่ละข้อ
    ในขณะที่เคลื่อนไหว หากหมอนรองกระดูกเสื่อมจะท้าให้ไม่
    สามารถเอียวตัว หรือบิดตัวได้
   หมอนรองกระดูกมีประโยชน์ในการช่วยป้องกันการเสียดสีระหว่าง
    กระดูกสันหลังแต่ละข้อในขณะที่ร่างกายมีการเคลื่อนไหว ถ้า
    หมอนรองกระดูกเสื่อมอาจท้าให้ร่างกายเคลื่อนไหวไม่สะดวก
    เพราะเกิดความเจ็บปวดตรงระหว่างข้อต่อของกระดูกสันหลัง
    ในขณะเคลื่อนไหวและท้าให้กระดูกสันหลังโค้งงอผิดปกติได้
                                                          52
รูปแสดงส่วนต่าง ๆ ของกระดูกสันหลัง   53
3.กระดูกซี่โครง (Ribs)
   มีจ้านวน 12 คู่ โดย
    กระดูกซี่โครงทุกชินจะ
    เชื่อมต่อกับด้านข้างของ
    กระดูกสันหลังช่วงอก
    โดยตอนปลายของกระดูก
    ซี่โครง (sternum) ยกเว้น
    กระดูกซี่โครงคู่ที่ 11 และ
    คู่ที่ 12 เป็นกระดูกสัน
    ไม่เชื่อมติดกับกระดูกอก
                               รูปที่ ซี่โครงและกระดูกอก ก. ด้านหน้าข. ด้านหลัง
    เรียกว่า ซี่โครงลอย
    (floating ribs)                                                        54
กระดูกรยางค์ (Appendicular skeleton)
   กระดูกรยางค์ มี 126 ชิน
    ได้แก่ กระดูกแขนและกระดูก
    ขา ซึ่งต่อยื่นออกมาจากกระดูก
    แกนในลักษณะเป็นคู่ ๆ กระดูก
    สะบัก (scapula) กระดูกไห
    ปลาร้า (clavicle) รวมเป็น
    กระดูกหัวไหล่ (pectoral
    girdle) และกระดูกเชิงกราน
    (pelvic girdle )

                                   รูปแสดงแผนภาพแสดงกระดูกแขนและกระดูกขาคน
                                      ก. กระดูกแขน            ข. กระดูกขา
                                                                   55
ข้อต่อ (articulation หรือ Joint)

-ข้อต่อ: เป็นบริเวณที่กระดูกมาต่อกับ
 กระดูก มี synovial memebranes
 มาหุ้มบริเวณข้อต่อ เพื่อป้องกันการ
 เสียดสีระหว่างกระดูก จะมีกระดูก
 อ่อนมาทาหน้าที่เป็นหมอนรอง และ
 มี synovial fluid ทาหน้าที่เป็นสาร
 หล่อลื่น
-Ligament: เป็นเอ็นที่ยึดระหว่าง
 กระดูกกับกระดูก
-Tendon: เป็นเอ็นที่ยึดระหว่าง
 กล้ามเนือกับกระดูก
ชนิดข้อต่อ
1.ข้อต่อไฟบรัส (fibrous joint) เป็นข้อต่อที่เคลื่อนไหว
ไม่ได้และมีเนือเยื่อเกี่ยวพันบางๆ ยึดกระดูกสองชินไว้ หรืออาจหุ้ม
ภายนอกไว้ เช่น กระดูกกะโหลกศรีษะ
2.ข้อต่อกระดูกอ่อน (cartilagenous joint) เป็นข้อต่อที่
เคลื่อนไหวได้เล็กน้อย เช่นข้อต่อระหว่างกระดูกซี่โครงกับกระดูก
อก ข้อต่อระหว่างท่อนกระดูกสันหลัง ข้อต่อระหว่างกระดูกเชิง
กรานซีกซ้ายกับซีกขวาทางด้านหัวหน่าว
3.ข้อต่อซิลโนเวียล (sylnovial joint) เป็นข้อต่อที่
เคลื่อนไหวได้มาก ประกอบด้วยกระดูกอย่างน้อย 2 ชิน
ข้อต่อซิลโนเวียล
1           (sylnovial joint)


     แบบที่ 1 พบที่ใดของร่างกาย..........
     แบบที่ 2 พบที่ใดของร่างกาย..........
2    แบบที่ 3 พบที่ใดของร่างกาย..........




3
The skeleton-muscle connection
-การเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของ
 ร่างกายเกิดจากการทางานร่วมกัน
 ของ nerves, bones, muscles
-การหด-คลายตัวของกล้ามเนื้อ
 เป็นการทางานร่วมกันของ
 กล้ามเนื้อ 2 ชุด ที่ทางานตรงข้าม
 กัน เช่น การงอแขน
 :กล้ามเนื้อ biceps (flexor) หดตัว
 (เป็น agonist)
 :กล้ามเนื้อ triceps(extensor) คลาย
  ตัว (เป็น antagonist)
Origin and insertion
-ที่ปลายทั้งสองข้างของกล้ามเนื้อ
 แต่ละมัดจะยึดติดกับกระดูก โดย
 ด้านที่ยึดติดกับกระดูกเฉย ๆ
 (ติดกับกระดูกที่ไม่เคลื่อนที่)
 เรียก origin ส่วนปลายที่ยึดกับ
 กระดูกที่มีการเคลื่อนไหว เรียก insertion
-Tendon ที่ origin มักจะกว้าง ที่
 insertion มักจะแคบ เพื่อจากัด
 ความแรงในการหดตัวของ
 กล้ามเนื้อเกิดขึ้นเฉพาะจุด
กล้ามเนือ (Muscular tissue
      กล้ามเนือทาหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของ
ร่างกาย ประกอบด้วยเซลล์ที่มีลักษณะยาว อาจเรียก
เซลล์กล้ามเนือได้ว่าเส้นใยกล้ามเนือ (muscle fiber)
ในไซโตพลาสซึมของเส้นใยกล้ามเนือมีโปรตีนที่เป็น
องค์ประกอบที่สาคัญ 2 ชนิด คือ actin และ myosin
กล้ามเนือแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด
กล้ามเนือแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด ขึนอยู่กับตาแหน่ง
ทีพบโครงสร้าง และหน้าที่ ได้แก่
    1. กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle)
     2. กล้ามเนื้อสเกเลทัล (skeletal muscle)
     3. กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle)
ส่วนประกอบของเซลล์กล้ามเนื้อจะมีชอเฉพาะแตกต่างไป
                                 ื่
จากเซลล์ชนิดอื่นๆ ได้แก่
Cell membrane ของเซลล์กล้ามเนื้อ
                   = Sarcolemma
Cytoplasm         = Sarcoplasm
Endoplasmic reticulum = Sarcoplasmic
                                reticulum
กล้ามเนือลายหรือกล้ามเนือสเกเลทัล (Skeletal muscle)
         กล้ามเนือในร่างกายส่วนใหญ่เป็นกล้ามเนือสเกเลทัล
กล้ามเนือนีเกาะยึดติดกับกระดูก สามารถหดตัวได้เมื่อถูกกระตุ้น
และอยู่ภายใต้การควบคุมของระบบประสาทส่วนกลาง
( voluntory muscle ) หรือระบบประสาทโซมาติก ( somatic
nervous system) จึงสามารถควบคุมการทางานของกล้ามเนือได้
Skeletal muscle

                                             Nucleus ของ
                                             muscle fiber

                                            Muscle fiber


ลักษณะของเซลล์กล้ามเนื้อเป็นรูปทรงกระบอก ซึ่งมีความ
ยาวมาก เซลล์มีขนาดใหญ่มีหลายนิวเคลียสเรียงชิดอยู่กับ
เยื่อหุ้มเซลล์ มีลายตามขวางคือ มีแถบสีจางสลับกับแถบสี
เข้ม ดังนั้นอาจเรียกกล้ามเนื้อชนิดนี้ได้ว่า กล้ามเนื้อลาย
(striated muscle)
ภาพตัดตามขวางของ skeletal muscle




                       Sarcolemma
                         (เยื่อหุ้มเซลล์)




     Nucleus เรียงชิดอยู่กับ sarcolemma
การเรียงตัว
ประกอบกันเป็น
มัดกล้ามเนื้อ
skeleton มีเยื่อ
เกี่ยวพันหุ้มเป็น
ขั้นตอน และทั้งมัด
กล้ามเนื้อจะติดต่อ
กับเอ็นซึ่งไปยึดติด
กับกระดูก
การที่มองเห็นเซลล์กล้ามเนื้อมีลายตามขวาง
เนื่องจาก ภายใน sarcoplasm มีเส้นใยฝอย
ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่สาคัญทาให้กล้ามเนื้อหด
ตัวได้เรียกว่า myofibril เป็นจานวนมาก ใน
myofibril มีโปรตีน actin และ myosin
เรียงอย่างเป็นระเบียบ มองเห็นมีแถบ (band)
หรือเส้น (line) ที่ชัดและทึบสลับกันไปตลอด
 Sarcoplasm นอกจากมีโปรตีนสาคัญที่เกี่ยวข้องกับกลไกการ
  ใน
หดตัวของกล้ามเนื้อแล้ว ยังมี Organelles ที่สาคัญได้แก่
Sarcoplamic reticulum ซึ่งคือ SER ที่เปลี่ยนไปเป็นท่อที่
ต่อเนื่องกัน ล้อมรอบกลุ่มเส้นใยของกล้ามเนื้อ ทาหน้าที่เป็นแหล่งเก็บ
สะสม Ca2+
Sarcolemma มีโครงสร้างที่พับซ้อนกันเป็นหลอดบางและยาวตาม
แนวขวาง เรียกว่า Transverse tubule เป็นทางติดต่อจากผิว
ภายนอกของเซลล์เข้าไปติดต่อกับ Sarcoplamic reticulum
 านประกอบอื่นๆภายใน Sarcoplasm ได้แก่ RER ,
  ส่
ribosome และ Golgi complex มีอยู่เป็นจานวนน้อย เพราะ
เซลล์กล้ามเนื้อไม่มีหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างโปรตีน
กล้ามเนื้อหัวใจ
          (Cardiac muscle)
กล้ามเนือหัวใจพบแห่งเดียวคือกล้ามเนือที่หัวใจ และ
ผนังของเส้นเลือดใหญ่ที่ต่อกับหัวใจ เป็นกล้ามเนือที่มี
ลายเช่นเดียวกับ skeletal muscle ต่างกันที่
กล้ามเนือหัวใจอยู่นอกการควบคุมของระบบประสาท
ส่วนกลาง (Involuntory muscle) และการ
ทางานเกิดขึนติดต่อกันตลอดเวลา
เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจประกอบด้วย หนึ่งหรือ
สองนิวเคลียสอยู่ตรงกลางเซลล์ เซลล์มีขนาด
สั้นกว่าเซลล์กล้ามเนื้อ skeleton และปลาย
แยกเป็นสองแฉก (bifurcate) ซึ่งจะไปต่อ
กับเซลล์อื่นๆในลักษณะเป็นร่างแห ที่รอยต่อ
ของเซลล์ด้านขวางจะยึดติดกันแน่น มีลักษณะ
การเชื่อมโยงอย่างซับซ้อน เรียกว่า
intercalated disc มองเห็นได้ชัดเจนด้วย
กล้องจุลทรรศน์ธรรมดา
Cardiac muscle


Nucleus
อยู่กลางเซลล์




                Intercalated disc
กล้ามเนื้อเรียบ (Smooth muscle)
     ในเซลล์กล้ามเนื้อเรียบไม่เห็นลาย ถึงแม้ว่าภายในเซลล์จะมีแอก
     ทิน และ ไมโอซิน แต่การเรียงตัวไม่เป็นระเบียบเหมือนอย่างใน
     skeletal muscle และ Cardiac muscle ลักษณะเซลล์
     ของกล้ามเนื้อเรียบเป็นรูปกระสวย หัวท้ายแหลม และมีหนึ่ง
     นิวเคลียสอยู่กลางเซลล์       กล้ามเนื้อเรียบอยู่นอกการ
                                  ควบคุมของระบบประสาท
                                  ส่วนกลาง(involuntory
                                  muscle) พบได้ที่ผนังของ
                                  อวัยวะภายในระบบต่างๆของ
                                  ร่างกาย และเส้นเลือด

nucleus
Smooth muscle
       กล้ามเนือเรียบอยู่นอกการ
       ควบคุมของระบบประสาท
       ส่วนกล(involuntory
       muscle) พบได้ที่ผนัง
       ของอวัยวะภายในระบบ
       ต่างๆของร่างกาย และเส้น
       เลือด
Smooth muscle ที่ผนังเส้นเลือดแดง
The structure of skeleton muscle
                         -skeleton muscle เกิดจากมัดของ muscle fiber
                          (cell) มารวมกัน
                         -muscle fiberแต่ละอันคือ 1 เซลล์ที่มีหลาย
                         นิวเคลียส ที่เกิดจากหลาย ๆ เซลล์ในระยะ
                         แรกมารวมกัน
                         -แต่ละ muscle fiber เกิดจากมัดของ myofibrils
                          มารวมกัน
                         -myofibrilsประกอบด้วย myofilaments 2 ชนิด คือ
                         1.Thin filamentเกิดจากactin 2 สายและ regulatory
                          protein (tropomyosin) 1 สาย มาพันกัน
                         2.Thick filament เกิดจากmyosin มารวมกันเป็นมัด
                          -การจัดเรียงตัวของ myofilaments ทาให้เกิด
                           light-dark band ซ้าๆ กัน เรียกแต่ละหน่วยที่ซ้า
                           กันนี้ว่า sarcomere (ดังรูป)
การหดตัวของกล้ามเนื้อ skeleton
       -การหดตัวของกล้ามเนื้อ skeleton
        เกิดจากการเลื่อนเข้ามาซ้อนกันของ
        thin filament เรียก sliding-filament
        model
       -การหดตัวของกล้ามเนื้อเกิดโดยความ
        กว้างของ sarcomere ลดลง, ระยะทาง
        ระหว่าง Z line สั้นลง, A band คงที,่
        I band แคบเข้า, H zone หายไป
       -พลังงานที่ใช้ในการหดตัวของ
        กล้ามเนื้อหลัก ๆ อยู่ในรูปของ
        creatine phosphate
1.ส่วนหัวของ myosin จับกับ ATP,
                             อยู่ในรูป low-energy configuration
                                               2.myosin head(ATPase) สลาย
5.ATPโมเลกุลใหม่เข้ามา                         ATP ได้ ADP+Pi, อยู่ในรูป
จับกับ myosin head ทา                          high-energy configuration
ให้ myosinหลุดจาก actin,
เริ่มวงจรใหม่




                                                      3.myosin head เกิด
4.ปล่อย ADP+Pi, myosin                                cross-bridge กับสาย
กลับสู่ low-energy                                    actin
configuration ทาให้เกิดแรง
ดึง thin filament เข้ามา
1.Ach หลั่งจาก neuron จับ receptor



                                 2.Action potential เคลื่อนไป T tubule
    สรุปการหดตัวของกล้ามเนื้อ                                                3.SR หลั่ง Ca2+




7.tropomyosinปิด binding                                                 4.Ca2+จับtroponin,
site, หยุดการหดตัวของ                                                    binding silt เปิด
กล้ามเนื้อ
                                         6.ปั๊มCa2+ กลับสู่ SR




                                                                         5.กล้ามเนื้อหดตัว
Motor unit
        -ในสัตว์มีกระดูกสันหลัง muscle
        cell 1 เซลล์จะถูกควบคุมโดย motor
        neuron 1 เซลล์เท่านั้น
        -แต่ 1 motor neuron อาจควบคุม
        การทางาน >1 muscle cell
        -Motor unit ประกอบด้วย 1 motor
        neuron และmuscle fiber ทั้งหมดที่
        neuron ควบคุม
        -กล้ามเนื้อที่ต้องการการเคลื่อนไหว
        ที่ละเอียดอ่อน จะมีอัตราส่วน
        ระหว่าง motor neuron/muscle cell
        ต่า เช่นกล้ามเนื้อลูกตา (1/3-4)
การหดตัวของ smooth muscle
                             -smooth muscle cell พบที่
                             อวัยวะที่มีลักษณะเป็นท่อกลวง
                             เช่น ทางเดินอาหาร, หลอด
                             เลือด, อวัยวะสืบพันธุ,์ iris ของ
                             ลูกตา และท่อของต่อม
                             -มีรูปร่างคล้ายกระสวย มี 1
                              nucleus/1 cell การหดตัวเป็น
                              involuntary
-ไม่มีการจัดเรียงตัวของactin-myosin ทาให้ไม่เห็นเป็นลาย,
ปลาย actin มักยึดติดกับเยื่อเซลล์, ไม่มี SR ดังนั้น Ca2+ แพร่
ผ่านเข้ามาทางเยื่อเซลล์
-การหดตัวจะช้ากว่า striated muscle แต่การหดตัวนั้นจะอยู่
ได้นานกว่า
การหดตัวของ cardiac muscle

-มี 1 nucleus/1 cell เซลล์มีการแตก
แขนง(bifurcate)และเชื่อมกับเซลล์ข้าง
เคียงด้วย gap junction เรียก intercalated
 disk
-มีการจัดเรียงตัวของ actin-myosin ทา
ให้เห็นเป็นลาย, มี SR



-cardiac muscle สามารถหดตัวได้เองอย่างเป็นจังหวะ
-หัวใจสัตว์มีกระดูกสันหลังหดตัวได้เองเรียก myogenic heart (muscle-generated)
-หัวใจของกุ้ง, ปู, แมงมุม ต้องได้รับการกระตุ้นจาก nerve เรียก neurogenic heart
 (nerve-driven)
จบ
เนือหา

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)Natthaya Khaothong
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท Thitaree Samphao
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)Thitaree Samphao
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทThitaree Samphao
 
บท3การเคลื่อนที่สมช
บท3การเคลื่อนที่สมชบท3การเคลื่อนที่สมช
บท3การเคลื่อนที่สมชWichai Likitponrak
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์bio2014-5
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 

Was ist angesagt? (20)

ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ระบบกระดูก
ระบบกระดูกระบบกระดูก
ระบบกระดูก
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
บท3การเคลื่อนที่สมช
บท3การเคลื่อนที่สมชบท3การเคลื่อนที่สมช
บท3การเคลื่อนที่สมช
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 

Andere mochten auch

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemsupreechafkk
 
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์Kankamol Kunrat
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกไผ่ไผ่ อยากเด่น
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต Thitaree Samphao
 
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกายการรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกายNan Nam
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกbosston Duangtip
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 

Andere mochten auch (11)

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
 
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกายการรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 

Ähnlich wie การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตComputer ITSWKJ
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนWan Ngamwongwan
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตพัน พัน
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนnokbiology
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อUtai Sukviwatsirikul
 
ระบบกระดูก.pptx
ระบบกระดูก.pptxระบบกระดูก.pptx
ระบบกระดูก.pptxKanokvanKS
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชWichai Likitponrak
 
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdf
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdfบทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdf
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdfRatarporn Ritmaha
 
skeletal system
skeletal systemskeletal system
skeletal systemRungsaritS
 
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1ประกายทิพย์ แซ่กี่
 
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์.pptx
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์.pptxบทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์.pptx
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์.pptxRatarporn Ritmaha
 
สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตtarcharee1980
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังnokbiology
 
Hr1 Type And Physical Prop Fth 467
Hr1 Type And Physical Prop Fth 467Hr1 Type And Physical Prop Fth 467
Hr1 Type And Physical Prop Fth 467off5230
 

Ähnlich wie การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (20)

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
Movement
MovementMovement
Movement
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
 
ระบบกระดูก.pptx
ระบบกระดูก.pptxระบบกระดูก.pptx
ระบบกระดูก.pptx
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมช
 
vbvb
vbvbvbvb
vbvb
 
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdf
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdfบทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdf
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdf
 
skeletal system
skeletal systemskeletal system
skeletal system
 
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
 
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์.pptx
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์.pptxบทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์.pptx
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์.pptx
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
Spinal Injury (Thai)
Spinal Injury (Thai)Spinal Injury (Thai)
Spinal Injury (Thai)
 
Spinal Injury (Thai)
Spinal Injury (Thai)Spinal Injury (Thai)
Spinal Injury (Thai)
 
สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต
 
Skeleton
SkeletonSkeleton
Skeleton
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
Hr1 Type And Physical Prop Fth 467
Hr1 Type And Physical Prop Fth 467Hr1 Type And Physical Prop Fth 467
Hr1 Type And Physical Prop Fth 467
 

Mehr von โรงเรียนบ่อไร่วิทยาคม

ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์โรงเรียนบ่อไร่วิทยาคม
 

Mehr von โรงเรียนบ่อไร่วิทยาคม (20)

พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
พันธูกรรม1
พันธูกรรม1พันธูกรรม1
พันธูกรรม1
 
ฮอร์โมน
ฮอร์โมนฮอร์โมน
ฮอร์โมน
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
Knowledge
KnowledgeKnowledge
Knowledge
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
Reproduction
ReproductionReproduction
Reproduction
 
Reproduction
ReproductionReproduction
Reproduction
 
เกรด.5ปี53.
เกรด.5ปี53.เกรด.5ปี53.
เกรด.5ปี53.
 
เกรด.5ปี53
เกรด.5ปี53เกรด.5ปี53
เกรด.5ปี53
 
เกรดม.4ปี53
เกรดม.4ปี53เกรดม.4ปี53
เกรดม.4ปี53
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
1 repro
1 repro1 repro
1 repro
 
Hemo
HemoHemo
Hemo
 
Hemo
HemoHemo
Hemo
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์
 
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

  • 2. การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต  การเคลื่อนไหว เป็นการเคลื่อนย้ายเพียงบางส่วน ของร่างกาย  การเคลื่อนที่ เป็นการเคลื่อนย้ายจากที่หนึ่งไปยัง อีกที่หนึ่ง * การเคลื่อนที่จะต้องมีการเคลื่อนไหวด้วยเสมอ แต่การ เคลื่อนไหวไม่จาเป็นต้องมีการเคลื่อนที่ด้วย
  • 3. โครงร่างสัตว์(animal skeleton) แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. Hydroskeleton or hydrostatic skeleton 2. Hard skeleton  2.1 Exoskeleton  2.2 Endoskeleton
  • 5. การเคลื่อนไหวของอมีบา  การเคลื่อนไหวอาศัยการไหลของไซโทพลาสซึม โดยแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ectoplasm(แข็ง) และ endoplasm(เหลว)  Actin และ Miosin ประกอบกันเป็น microfilament(เป็นเส้นใยโปรตีนเล็กๆ) หดตัวและคลาย ตัวได้ ทาให้เกิดการไหลของไซโทพลาสซึม  ทาให้เกิดเท้าเทียม(pseudopodium)  การเคลื่อนที่แบบอะมีบา (amoebiod movement)  ได้แก่ อมีบา เม็ดเลือดขาว ราเมือก
  • 6. ในเซลล์อมีบา การยื่น pseudopodium ออกไปเกิด จากการยืดและหดตัวของ actin filaments
  • 10. A comparison of the beating of flagella and cilia
  • 12.
  • 13. Centrosome containing a pair of centrioles
  • 14.
  • 15. การเคลื่อนที่ของไฮดรา (Hydra)  ตีลังกา  เคลือบคลานเหมือนหนอน  ลอยไปตามน้า
  • 16.
  • 18. การเคลื่อนทีของพลานาเรีย(planaria) ่  Phylum platyhelminthes  มีกล้ามเนือ 3 ชนิด คือ circular muscle , longitudinal muscle,oblique muscle  เคลื่อนที่ไปโดยการลอยไปตามผิวน้าหรือคลืบคลาน  ทางด้านล่างมีซิเลียช่วยในการโบกพัดช่วยให้เคลื่อน ตัวได้ดียิ่งขึน
  • 19. การเคลื่อนที่ของหนอนตัวกลม(round worm)  Phylum nematoda ได้แก่ พยาธิไส้เดือน พยาธิปากขอ พยาธิเส้นด้าย หนอนน้าส้มสายชู  มีเฉพาะกล้ามเนือตามยาวของล้าตัว (longitudinal muscle)  การเคลื่อนที่ท้าให้เกิดลักษณะส่ายไปส่ายมา
  • 21.  การเคลื่อนที่ของไส้เดือน(earth worm) Phylum annelida -กล้ามเนือ 2 ชุดคือ กล้ามเนือวงกลม (circular muscle) อยู่ทางด้านนอก และกล้ามเนือตามยาว(longitudinal muscle) ตลอดล้าตัวอยู่ทางด้านใน -เดือย(setae) -มีการท้างานในสภาวะตรงข้าม เรียก Antagonism
  • 22.
  • 24.  Phylum coelenterata  เคลื่อนที่โดยการหดตัวของ เนือเยื่อที่อยู่บริเวณของร่มและ ผนังล้าตัวท้าให้น้าพ่นออกมา ทางด้านล่าง
  • 26.
  • 28.
  • 29.
  • 30. Exoskeleton - พบในพวก mollusk และแมลง - เป็นโครงร่างเปลือกแข็งหุ้มอยู่ภายนอกร่างกาย โดย ส่วนประกอบของเปลือกเป็นพวก crystallized mineral salt และไม่มีเซลล์ (acellular) เช่น แคลเซียมคาร์บอเนตใน mollusk, chitin ในแมลง - exoskeleton นอกจากจะทาหน้าที่คาจุนร่างกายแล้ว ยัง ช่วยป้องกันการสูญเสียนา -การเคลื่อนไหวเกิดขึนโดยการหด-คลายตัวของกล้ามเนือที่ ยึดติดกับ exoskeleton
  • 31. กล้ามเนือที่ทาให้เกิดการเคลื่อนไหวมี 2 ชุด คือ 1. Flexors ทาให้เกิดการโค้งงอของข้อต่อเมื่อหดตัว 2. Extensors ทาให้เกิดการยืดตัวของข้อต่อเมื่อคลายตัว กล้ามเนือทังสองชุดนีจะทางานตรงข้ามกัน เมื่อกล้ามเนือ ชนิดหนึ่งหดตัว อีกชนิดหนึ่งจะคลายตัว (antagonism)
  • 33. insect  Exoskeleton เป็นสารพวกไคติน  ข้อต่อข้อแรกของขากับล้าตัว แบบ ball and socket ส่วนข้อต่ออื่นๆเป็นแบบบานพับ  การเคลื่อนไหวเกิดจาการท้างานสลับกันของ กล้ามเนือ flexer กับ extensor เป็นแบบ antagonism
  • 34. Moving the exoskeleton: Joints and muscle attachments
  • 35.
  • 36.
  • 38.  มีรูปร่างแบนเพรียวบาง และเมือก มีเกล็ดช่วยลดแรงเสียดทาน  เมื่อกล้ามเนือที่ยึดติดกับกระดูกสันหลังด้านใดด้านหนึ่งหดตัว (เริ่มจากส่วนหัวมาทางหาง)ท้าให้เกิดการโบกพัดของครีบหาง (cadal fin) ดันให้ตัวพุ่งไปข้างหน้าโดยมีครีบหลัง (drosal fin) ช่วยในการทรงตัวไม่ให้เสียทิศทาง  ครีบอก(pectoral fin) และครีบตะโพก (pelvic fin) ซึ่งเทียบได้กับขาหน้าและขาหลังของสัตว์บก จะท้าหน้าที่ช่วย พยุงล้าตัวปลา และช่วยให้เกิดการเคลื่อนที่ในแนวดิง ่
  • 39.
  • 40.
  • 41.
  • 42. การเคลื่อนที่ของเต่าทะเล แมวนา และสิงโตทะเล  มีขาคู่หน้าที่เปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะเป็นพาย ที่เรียกว่า ฟลิบเปอร์(flipper)
  • 44. การเคลื่อนที่ของนก  มีกระดูกที่กลวง ท้าให้เบา  มีกล้ามเนือที่ใช้ในการขยับปีกที่ แข็งแรง - กล้ามเนือ pectoralis major - กล้ามเนือ pectoralis minor  มีถุงลม (air sac)  มีขน (feather)
  • 46. Endoskeleton -พบในสัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิด -เป็นโครงร่างแข็งที่แทรกตัวอยู่ในเนื้อเยื่อ (soft tissues) หรือภายในร่างกาย -endoskeleton ประกอบด้วย living and metabolizing cells (ต่างจาก exoskeleton) แบ่งเป็น 1. cartilage เป็นส่วนประกอบของ protein collagen และ complex polysaccharide 2. bone ประกอบด้วย collagen ปนอยู่กับ apatite (calcium and phosphate salt) -นักกายวิภาคศาสตร์แบ่งกระดูกออกเป็น 2 ส่วน 1. Axial skeleton:กระดูกแกนได้แก่ กระดูกกะโหลก (skull), กระดูกสันหลัง (vertebral column), กระดูกซี่โครง (rib) 2. Appendicular skeleton:กระดูกรยางค์ เป็นกระดูกที่ต่อออกมาจากกระดูกแกน แบ่งเป็น 2.1 Fore-limb bone :กระดูกแขน 2.2 Hind-limb bone :กระดูกขา
  • 47. โครงสร้างของกระดูก ชนิดของกระดูกแบ่งออกตามลักษณะรูปร่างของกระดูกคือ 1. กระดูกท่อนยาว (long bone) ได้แก่ ต้นแขน ปลายแขน ต้น ขา หน้าแข้ง กระดูกน่อง ไหปลาร้า 2. กระดูกท่อนสัน (short bone) ได้แก่ ข้อมือ ข้อเท้า กระดูกนิว มือ กระดูกนิวเท้า 3. กระดูกแบน (flat bone) ได้แก่ กะโหลกศีรษะ เชิงกรานสะบัก อก ซี่โครง 4. กระดูกรูปร่างไม่แน่นอน (irregular bone) ได้แก่ กระดูกสัน หลัง ขากรรไกร กระดูกคอ ก้นกบ กระดูกฝ่าเท้า
  • 48.
  • 49. (pectoral girdle) สีน้าเงิน คือ กระดูกแกน 80 ชิน ilium sacrum สีเหลือง คือ กระดูกรยางค์ 126 ชิน pubis ischium
  • 51. กระดูกแกนประกอบด้วย 1. กะโหลกศีรษะ (skull) รวมทังกระดูกชินเล็ก ๆ อีกหลาย ๆชิน เชื่อมติดต่อกัน ภายในลักษณะคล้าย กล่องบรรจุเนือสมองไว้ กะโหลกศีรษะ จึงทาหน้าที่ทังห่อหุ้มและป้องกัน มันสมองที่อยู่ภายในนอกจากบริเวณ กะโหลกศีรษะแล้ว ยังมีกระดูกแก้ม กระดูกขากรรไกรซึ่งมีฟันอยู่ภายในซอก การเคียวอาหารเกิดจากการเคลื่อนไหว ของขากรรไกรล่าง แผนภาพแสดงกระดูกแกน (ก) กระดูกรยางค์ (ข) ซึ่งแสดงด้วยสีดา 51
  • 52. 2.กระดูกสันหลัง (vertebra)  เป็นกระดูกชินเล็ก ๆ มีลักษณะเป็นข้อ ๆ ต่อกันยาวตลอดความยาว ของหลังจนจรดส่วนสะโพก กระดูกสันหลังแต่ละข้อเชื่อมติดต่อ กันด้วยเอ็นและกล้ามเนือ และมีหมอนรองกระดูก (intervertebral disc) เป็นแผ่นกระดูกอ่อนรองอยู่ระหว่างกระดูกสันหลังแต่ละข้อ ในขณะที่เคลื่อนไหว หากหมอนรองกระดูกเสื่อมจะท้าให้ไม่ สามารถเอียวตัว หรือบิดตัวได้  หมอนรองกระดูกมีประโยชน์ในการช่วยป้องกันการเสียดสีระหว่าง กระดูกสันหลังแต่ละข้อในขณะที่ร่างกายมีการเคลื่อนไหว ถ้า หมอนรองกระดูกเสื่อมอาจท้าให้ร่างกายเคลื่อนไหวไม่สะดวก เพราะเกิดความเจ็บปวดตรงระหว่างข้อต่อของกระดูกสันหลัง ในขณะเคลื่อนไหวและท้าให้กระดูกสันหลังโค้งงอผิดปกติได้ 52
  • 54. 3.กระดูกซี่โครง (Ribs)  มีจ้านวน 12 คู่ โดย กระดูกซี่โครงทุกชินจะ เชื่อมต่อกับด้านข้างของ กระดูกสันหลังช่วงอก โดยตอนปลายของกระดูก ซี่โครง (sternum) ยกเว้น กระดูกซี่โครงคู่ที่ 11 และ คู่ที่ 12 เป็นกระดูกสัน ไม่เชื่อมติดกับกระดูกอก รูปที่ ซี่โครงและกระดูกอก ก. ด้านหน้าข. ด้านหลัง เรียกว่า ซี่โครงลอย (floating ribs) 54
  • 55. กระดูกรยางค์ (Appendicular skeleton)  กระดูกรยางค์ มี 126 ชิน ได้แก่ กระดูกแขนและกระดูก ขา ซึ่งต่อยื่นออกมาจากกระดูก แกนในลักษณะเป็นคู่ ๆ กระดูก สะบัก (scapula) กระดูกไห ปลาร้า (clavicle) รวมเป็น กระดูกหัวไหล่ (pectoral girdle) และกระดูกเชิงกราน (pelvic girdle ) รูปแสดงแผนภาพแสดงกระดูกแขนและกระดูกขาคน ก. กระดูกแขน ข. กระดูกขา 55
  • 56.
  • 57. ข้อต่อ (articulation หรือ Joint) -ข้อต่อ: เป็นบริเวณที่กระดูกมาต่อกับ กระดูก มี synovial memebranes มาหุ้มบริเวณข้อต่อ เพื่อป้องกันการ เสียดสีระหว่างกระดูก จะมีกระดูก อ่อนมาทาหน้าที่เป็นหมอนรอง และ มี synovial fluid ทาหน้าที่เป็นสาร หล่อลื่น -Ligament: เป็นเอ็นที่ยึดระหว่าง กระดูกกับกระดูก -Tendon: เป็นเอ็นที่ยึดระหว่าง กล้ามเนือกับกระดูก
  • 58. ชนิดข้อต่อ 1.ข้อต่อไฟบรัส (fibrous joint) เป็นข้อต่อที่เคลื่อนไหว ไม่ได้และมีเนือเยื่อเกี่ยวพันบางๆ ยึดกระดูกสองชินไว้ หรืออาจหุ้ม ภายนอกไว้ เช่น กระดูกกะโหลกศรีษะ 2.ข้อต่อกระดูกอ่อน (cartilagenous joint) เป็นข้อต่อที่ เคลื่อนไหวได้เล็กน้อย เช่นข้อต่อระหว่างกระดูกซี่โครงกับกระดูก อก ข้อต่อระหว่างท่อนกระดูกสันหลัง ข้อต่อระหว่างกระดูกเชิง กรานซีกซ้ายกับซีกขวาทางด้านหัวหน่าว 3.ข้อต่อซิลโนเวียล (sylnovial joint) เป็นข้อต่อที่ เคลื่อนไหวได้มาก ประกอบด้วยกระดูกอย่างน้อย 2 ชิน
  • 59. ข้อต่อซิลโนเวียล 1 (sylnovial joint)  แบบที่ 1 พบที่ใดของร่างกาย..........  แบบที่ 2 พบที่ใดของร่างกาย.......... 2  แบบที่ 3 พบที่ใดของร่างกาย.......... 3
  • 60. The skeleton-muscle connection -การเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของ ร่างกายเกิดจากการทางานร่วมกัน ของ nerves, bones, muscles -การหด-คลายตัวของกล้ามเนื้อ เป็นการทางานร่วมกันของ กล้ามเนื้อ 2 ชุด ที่ทางานตรงข้าม กัน เช่น การงอแขน :กล้ามเนื้อ biceps (flexor) หดตัว (เป็น agonist) :กล้ามเนื้อ triceps(extensor) คลาย ตัว (เป็น antagonist)
  • 61. Origin and insertion -ที่ปลายทั้งสองข้างของกล้ามเนื้อ แต่ละมัดจะยึดติดกับกระดูก โดย ด้านที่ยึดติดกับกระดูกเฉย ๆ (ติดกับกระดูกที่ไม่เคลื่อนที่) เรียก origin ส่วนปลายที่ยึดกับ กระดูกที่มีการเคลื่อนไหว เรียก insertion -Tendon ที่ origin มักจะกว้าง ที่ insertion มักจะแคบ เพื่อจากัด ความแรงในการหดตัวของ กล้ามเนื้อเกิดขึ้นเฉพาะจุด
  • 62. กล้ามเนือ (Muscular tissue กล้ามเนือทาหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของ ร่างกาย ประกอบด้วยเซลล์ที่มีลักษณะยาว อาจเรียก เซลล์กล้ามเนือได้ว่าเส้นใยกล้ามเนือ (muscle fiber) ในไซโตพลาสซึมของเส้นใยกล้ามเนือมีโปรตีนที่เป็น องค์ประกอบที่สาคัญ 2 ชนิด คือ actin และ myosin
  • 64. กล้ามเนือแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด ขึนอยู่กับตาแหน่ง ทีพบโครงสร้าง และหน้าที่ ได้แก่ 1. กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle) 2. กล้ามเนื้อสเกเลทัล (skeletal muscle) 3. กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle)
  • 65. ส่วนประกอบของเซลล์กล้ามเนื้อจะมีชอเฉพาะแตกต่างไป ื่ จากเซลล์ชนิดอื่นๆ ได้แก่ Cell membrane ของเซลล์กล้ามเนื้อ = Sarcolemma Cytoplasm = Sarcoplasm Endoplasmic reticulum = Sarcoplasmic reticulum
  • 66. กล้ามเนือลายหรือกล้ามเนือสเกเลทัล (Skeletal muscle) กล้ามเนือในร่างกายส่วนใหญ่เป็นกล้ามเนือสเกเลทัล กล้ามเนือนีเกาะยึดติดกับกระดูก สามารถหดตัวได้เมื่อถูกกระตุ้น และอยู่ภายใต้การควบคุมของระบบประสาทส่วนกลาง ( voluntory muscle ) หรือระบบประสาทโซมาติก ( somatic nervous system) จึงสามารถควบคุมการทางานของกล้ามเนือได้
  • 67. Skeletal muscle Nucleus ของ muscle fiber Muscle fiber ลักษณะของเซลล์กล้ามเนื้อเป็นรูปทรงกระบอก ซึ่งมีความ ยาวมาก เซลล์มีขนาดใหญ่มีหลายนิวเคลียสเรียงชิดอยู่กับ เยื่อหุ้มเซลล์ มีลายตามขวางคือ มีแถบสีจางสลับกับแถบสี เข้ม ดังนั้นอาจเรียกกล้ามเนื้อชนิดนี้ได้ว่า กล้ามเนื้อลาย (striated muscle)
  • 68. ภาพตัดตามขวางของ skeletal muscle Sarcolemma (เยื่อหุ้มเซลล์) Nucleus เรียงชิดอยู่กับ sarcolemma
  • 70. การที่มองเห็นเซลล์กล้ามเนื้อมีลายตามขวาง เนื่องจาก ภายใน sarcoplasm มีเส้นใยฝอย ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่สาคัญทาให้กล้ามเนื้อหด ตัวได้เรียกว่า myofibril เป็นจานวนมาก ใน myofibril มีโปรตีน actin และ myosin เรียงอย่างเป็นระเบียบ มองเห็นมีแถบ (band) หรือเส้น (line) ที่ชัดและทึบสลับกันไปตลอด
  • 71.
  • 72.  Sarcoplasm นอกจากมีโปรตีนสาคัญที่เกี่ยวข้องกับกลไกการ ใน หดตัวของกล้ามเนื้อแล้ว ยังมี Organelles ที่สาคัญได้แก่ Sarcoplamic reticulum ซึ่งคือ SER ที่เปลี่ยนไปเป็นท่อที่ ต่อเนื่องกัน ล้อมรอบกลุ่มเส้นใยของกล้ามเนื้อ ทาหน้าที่เป็นแหล่งเก็บ สะสม Ca2+ Sarcolemma มีโครงสร้างที่พับซ้อนกันเป็นหลอดบางและยาวตาม แนวขวาง เรียกว่า Transverse tubule เป็นทางติดต่อจากผิว ภายนอกของเซลล์เข้าไปติดต่อกับ Sarcoplamic reticulum  านประกอบอื่นๆภายใน Sarcoplasm ได้แก่ RER , ส่ ribosome และ Golgi complex มีอยู่เป็นจานวนน้อย เพราะ เซลล์กล้ามเนื้อไม่มีหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างโปรตีน
  • 73.
  • 74. กล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac muscle) กล้ามเนือหัวใจพบแห่งเดียวคือกล้ามเนือที่หัวใจ และ ผนังของเส้นเลือดใหญ่ที่ต่อกับหัวใจ เป็นกล้ามเนือที่มี ลายเช่นเดียวกับ skeletal muscle ต่างกันที่ กล้ามเนือหัวใจอยู่นอกการควบคุมของระบบประสาท ส่วนกลาง (Involuntory muscle) และการ ทางานเกิดขึนติดต่อกันตลอดเวลา
  • 75. เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจประกอบด้วย หนึ่งหรือ สองนิวเคลียสอยู่ตรงกลางเซลล์ เซลล์มีขนาด สั้นกว่าเซลล์กล้ามเนื้อ skeleton และปลาย แยกเป็นสองแฉก (bifurcate) ซึ่งจะไปต่อ กับเซลล์อื่นๆในลักษณะเป็นร่างแห ที่รอยต่อ ของเซลล์ด้านขวางจะยึดติดกันแน่น มีลักษณะ การเชื่อมโยงอย่างซับซ้อน เรียกว่า intercalated disc มองเห็นได้ชัดเจนด้วย กล้องจุลทรรศน์ธรรมดา
  • 77. กล้ามเนื้อเรียบ (Smooth muscle) ในเซลล์กล้ามเนื้อเรียบไม่เห็นลาย ถึงแม้ว่าภายในเซลล์จะมีแอก ทิน และ ไมโอซิน แต่การเรียงตัวไม่เป็นระเบียบเหมือนอย่างใน skeletal muscle และ Cardiac muscle ลักษณะเซลล์ ของกล้ามเนื้อเรียบเป็นรูปกระสวย หัวท้ายแหลม และมีหนึ่ง นิวเคลียสอยู่กลางเซลล์ กล้ามเนื้อเรียบอยู่นอกการ ควบคุมของระบบประสาท ส่วนกลาง(involuntory muscle) พบได้ที่ผนังของ อวัยวะภายในระบบต่างๆของ ร่างกาย และเส้นเลือด nucleus
  • 78. Smooth muscle กล้ามเนือเรียบอยู่นอกการ ควบคุมของระบบประสาท ส่วนกล(involuntory muscle) พบได้ที่ผนัง ของอวัยวะภายในระบบ ต่างๆของร่างกาย และเส้น เลือด
  • 80. The structure of skeleton muscle -skeleton muscle เกิดจากมัดของ muscle fiber (cell) มารวมกัน -muscle fiberแต่ละอันคือ 1 เซลล์ที่มีหลาย นิวเคลียส ที่เกิดจากหลาย ๆ เซลล์ในระยะ แรกมารวมกัน -แต่ละ muscle fiber เกิดจากมัดของ myofibrils มารวมกัน -myofibrilsประกอบด้วย myofilaments 2 ชนิด คือ 1.Thin filamentเกิดจากactin 2 สายและ regulatory protein (tropomyosin) 1 สาย มาพันกัน 2.Thick filament เกิดจากmyosin มารวมกันเป็นมัด -การจัดเรียงตัวของ myofilaments ทาให้เกิด light-dark band ซ้าๆ กัน เรียกแต่ละหน่วยที่ซ้า กันนี้ว่า sarcomere (ดังรูป)
  • 81. การหดตัวของกล้ามเนื้อ skeleton -การหดตัวของกล้ามเนื้อ skeleton เกิดจากการเลื่อนเข้ามาซ้อนกันของ thin filament เรียก sliding-filament model -การหดตัวของกล้ามเนื้อเกิดโดยความ กว้างของ sarcomere ลดลง, ระยะทาง ระหว่าง Z line สั้นลง, A band คงที,่ I band แคบเข้า, H zone หายไป -พลังงานที่ใช้ในการหดตัวของ กล้ามเนื้อหลัก ๆ อยู่ในรูปของ creatine phosphate
  • 82. 1.ส่วนหัวของ myosin จับกับ ATP, อยู่ในรูป low-energy configuration 2.myosin head(ATPase) สลาย 5.ATPโมเลกุลใหม่เข้ามา ATP ได้ ADP+Pi, อยู่ในรูป จับกับ myosin head ทา high-energy configuration ให้ myosinหลุดจาก actin, เริ่มวงจรใหม่ 3.myosin head เกิด 4.ปล่อย ADP+Pi, myosin cross-bridge กับสาย กลับสู่ low-energy actin configuration ทาให้เกิดแรง ดึง thin filament เข้ามา
  • 83. 1.Ach หลั่งจาก neuron จับ receptor 2.Action potential เคลื่อนไป T tubule สรุปการหดตัวของกล้ามเนื้อ 3.SR หลั่ง Ca2+ 7.tropomyosinปิด binding 4.Ca2+จับtroponin, site, หยุดการหดตัวของ binding silt เปิด กล้ามเนื้อ 6.ปั๊มCa2+ กลับสู่ SR 5.กล้ามเนื้อหดตัว
  • 84. Motor unit -ในสัตว์มีกระดูกสันหลัง muscle cell 1 เซลล์จะถูกควบคุมโดย motor neuron 1 เซลล์เท่านั้น -แต่ 1 motor neuron อาจควบคุม การทางาน >1 muscle cell -Motor unit ประกอบด้วย 1 motor neuron และmuscle fiber ทั้งหมดที่ neuron ควบคุม -กล้ามเนื้อที่ต้องการการเคลื่อนไหว ที่ละเอียดอ่อน จะมีอัตราส่วน ระหว่าง motor neuron/muscle cell ต่า เช่นกล้ามเนื้อลูกตา (1/3-4)
  • 85. การหดตัวของ smooth muscle -smooth muscle cell พบที่ อวัยวะที่มีลักษณะเป็นท่อกลวง เช่น ทางเดินอาหาร, หลอด เลือด, อวัยวะสืบพันธุ,์ iris ของ ลูกตา และท่อของต่อม -มีรูปร่างคล้ายกระสวย มี 1 nucleus/1 cell การหดตัวเป็น involuntary -ไม่มีการจัดเรียงตัวของactin-myosin ทาให้ไม่เห็นเป็นลาย, ปลาย actin มักยึดติดกับเยื่อเซลล์, ไม่มี SR ดังนั้น Ca2+ แพร่ ผ่านเข้ามาทางเยื่อเซลล์ -การหดตัวจะช้ากว่า striated muscle แต่การหดตัวนั้นจะอยู่ ได้นานกว่า
  • 86. การหดตัวของ cardiac muscle -มี 1 nucleus/1 cell เซลล์มีการแตก แขนง(bifurcate)และเชื่อมกับเซลล์ข้าง เคียงด้วย gap junction เรียก intercalated disk -มีการจัดเรียงตัวของ actin-myosin ทา ให้เห็นเป็นลาย, มี SR -cardiac muscle สามารถหดตัวได้เองอย่างเป็นจังหวะ -หัวใจสัตว์มีกระดูกสันหลังหดตัวได้เองเรียก myogenic heart (muscle-generated) -หัวใจของกุ้ง, ปู, แมงมุม ต้องได้รับการกระตุ้นจาก nerve เรียก neurogenic heart (nerve-driven)