SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 19
223




   ภาคผนวก ก
ข้อ สอบปลายภาคเรีย น




 ข้อ สอบปลายภาคเรีย น
224



คำา สั่ง ให้เ ลือ กตอบข้อ ที่ถ ูก ที่ส ุด เพีย งข้อ เดีย ว
1. นิวเคลียสประกอบด้วยอะไร
    ก. อิเล็กตรอนกับโปรตรอน                         ข. โปรตรอนกับนิวตรอน
    ค. อิเล็กตรอนกับนิวตรอน                         ค. อิเล็กตรอน โปรตรอนและ
    นิวตรอน

2.    ความต่างศักย์ของไฟฟ้าคืออะไร
     ก. การที่โลหะ 2 ชนิดอยู่ในตำาแหน่งที่ต่างกัน
     ข. การที่โปรตรอนไหลจากตำาแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำาแหน่งหนึ่ง
     ค. การที่อิเล็กตรอนไหลจากตำาแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำาแหน่งหนึ่ง
     ง. การที่นิวตรอนไหลจากตำาแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำาแหน่งหนึ่ง

3. ประจุไฟฟ้าขนาด 50 คูลอมบ์ เคลื่อนตัวผ่านประจุไฟฟ้าเป็นเวลา 50
วินาที จงหาค่ากระแสไฟฟ้า
   ก. 1 A          ข. 10 V          ค. 100 A         ง. 50 V

4. ข้อใดคือตัวนำาไฟฟ้า
   ก. วัตถุที่ไม่ยอมให้แรงดันไฟฟ้าไหลผ่านตัวมัน
   ข. วัตถุที่ยอมให้แรงดันไฟฟ้าไหลผ่านตัวมันได้
   ค. ส่วนประกอบในวงจรไฟฟ้าเรียกอีกอย่างว่าภาระไฟฟ้า
   ง. วัตถุที่ทำาให้เกิดการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน

5.    ข้อใดหมายถึงฉนวนไฟฟ้า
     ก. วัตถุที่ไม่ยอมให้แรงดันไฟฟ้าไหลผ่านตัวมัน
     ข. วัตถุที่ยอมให้แรงดันไฟฟ้าไหลผ่านตัวมันได้
     ค. ส่วนประกอบในวงจรไฟฟ้าเรียกอีกอย่างว่าภาระไฟฟ้า
     ง. วัตถุที่ทำาให้เกิดการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน

6. ข้อใดหมายถึงความต้านทานไฟฟ้า
   ก. การต้านการไหลของแรงดันไฟฟ้า             ข. การต้านการไหลของ
กระแสไฟฟ้า
   ค. การต้านการไหลของความนำาไฟฟ้า            ง. ถูกทุกข้อ




7. ความนำาไฟฟ้าคือ
   1. ตัวบอกให้ทราบว่าตัวนำาไฟฟ้ายอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้มาก
      หรือน้อย
225

     2. ตัวบอกให้ทราบว่าตัวนำาไฟฟ้ายอมให้แรงดันไฟฟ้าไหลผ่านได้มาก
        หรือน้อย
     3. ตัวบอกให้ทราบว่าตัวนำาไฟฟ้ายอมให้มีความต้านทานมากหรือน้อย
     4. ไม่มีข้อถูก

8.  อะไรที่ไม่มีผลต่อความต้านทานไฟฟ้าของตัวนำาไฟฟ้า
   ก. ขนาดของหน้าตัดของตัวนำา     ข. อุณหภูมิ
   ค. ความยาวของตัวนำา            ง. ชนิดของภาระไฟฟ้าที่ต่อกับ
ตัวนำา

9. อุณหภูมิของตัวนำาสูงขึ้นจะมีผลทำาให้ความต้านทานเป็นอย่างไร
    ก. ตำ่าลง     ข. สูงขึ้น          ค. เท่าเดิม ง. ไม่แน่นอน

10. วงจรไฟฟ้าประกอบด้วยส่วนประกอบย่างน้อยอะไรบ้าง
      ก. อิเล็กตรอน โปรตรอนและนิวตรอน ข. ความต่างศักดิ์ ความนำา
และความต้านทาน
      ค. แหล่งจ่าย ตัวนำาและภาระไฟฟ้า ง. ไม่มีข้อถูก

11.ข้อใดคือคำากล่าวในเรื่องกฎของโอห์ม
    1. กระแสไฟฟ้ า แปรผั น ตรงกั บ แรงดั น ไฟฟ้ า และแปรผกผั น กั บ ความ
       ต้านทานไฟฟ้า
    2. กระแสไฟฟ้าแปรผันตรงกับแรงดันไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า
4 ค. กระแสไฟฟ้าแปรผันตรงกับความต้านทานไฟฟ้าและแปรผกผันกับ
   แรงดันไฟฟ้า
5 ง. กระแสไฟฟ้าแปรผกผันกับแรงดันไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า

12. วงจรไฟฟ้าวงจรหนึ่งมีความต้านทานไฟฟ้าต่ออยู่ในวงจร มีค่าความ
  ต้านทาน 12kΩ มีกระแสไหลในวงจรวัดได้ 30mA จงคำานวณหาค่าแรง
  ดันไฟฟ้า
     ก. 36mV                    ข. 36kV
     ค. 0.36mV                  ง. 36V

13. แหล่ ง จ่ า ยไฟฟ้ า กระแสตรง 24 V ต่ อ อยู่ กั บ ความต้ า นทานไฟฟ้ า
  ขนาด 50Ω กับแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง 12V ต่ออยู่กับความต้านทาน
  ไฟฟ้าขนาด 100Ω อยากทราบว่าค่ากระแสไฟฟ้า ของ 2 วงจรจะตางกัน
  กี่แอมแปร์
      ก. 0.12 A                    ข. 0.48 A
      ค. 0.36 A                    ง. เท่ากันทั้ง 2 วงจร

14. วงจรไฟฟ้าวงจรหนึ่งมีแรงดันไฟฟ้าเท่ากับ 50V นำาความต้านทน
  ไฟฟ้า 3 ตัว มาต่อกับแหล่งจ่ายและทำาการวัดค่ากระแส อ่านค่าได้ดังนี้
226

   0.2A, 10mA และ 50mA ตามลำาดับ จากคำาตอบข้อใดไม่ใช่ค่าของความ
   ต้านทานที่นำามาต่อในวงจร
      ก. 5kΩ                           ข. 0.25kΩ
      ค. 1kΩ                           ง. 3kΩ


15. ข้อใดคือความหมายของกำาลังไฟฟ้า
      ก. พลังงานไฟฟ้าต่อเวลา
      ข. เวลาต่อพลังงานไฟฟ้า
      ค. กำาลังไฟฟ้าต่อเวลา
      ง. เวลาต่อกำาลังไฟฟ้า

16. พัดลมไฟฟ้า 12 V มีความต้านทานไฟฟ้า 6 Ω จะมีกำาลังไฟฟ้าเท่าไหร่
    ก. 2. W          ข. 6 W         ค. 18 W            ง. 24 W

17. ข้อใดคือความหมายของ พลังงานไฟฟ้า
    ก. พลังไฟฟ้าคูณเวลา
    ข. พลังงานไฟฟ้าต่อเวลา
    ค. กำาลังไฟฟ้าคูณเวลา
    ง. กำาลังไฟฟ้าต่อเวลา

18. หลอดไฟฟ้า 220 V 100 W ถ้าใช้เป็นเวลานาน 20 ชัวโมง จะสิ้นเปลือง
                                                 ่
  พลังงานไฟฟ้าไปกี่ยูนิต
     ก. 2      ข. 2.2          ค. 11       ง. 2000

19.ข้อใดเป็นความหมายของเซลล์ไฟฟ้า
      ก. เป็นอุปกรณ์ที่ทำาหน้าที่จ่ายกระแสไฟฟ้าให้แก่วงจร
      ข. เป็นอุปกรณ์ที่ทำาหน้าที่เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นแรงดันไฟฟ้า
      ค. เป็นอุปกรณ์ที่ทำาหน้าที่เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นกระแสไฟฟ้า
      ง. เป็นอุปกรณ์ที่ทำาหน้าที่เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า




20.ข้อใดถูกต้อง
      ก. โครงสร้างของเซลล์ไฟฟ้าแบบปฐมภูมิ ประกอบด้วยอิเล็กโทรด
         สังกะสี คาร์บอน และ นำ้ายาอิเล็กโทรไลท์
      ข. โครงสร้างของเซลล์ไฟฟ้าแบบทุติยภูมิ ประกอบด้วยอิเล็กโทรด
         สังกะสีคาร์บอน และนำ้ายาอิเล็กโทรไลท์
      ค. โครงสร้างของเซลล์ไฟฟ้าแบบปฐมภูมิ ประกอบด้วยอิเล็กโทรด
สังกะสีคาร์บอน และนำ้ากรด
227

      ง. โครงสร้างของเซลล์ไฟฟ้าแบบทุติยภูมิ ประกอบด้วยอิเล็กโทรด
สังกะสีคาร์บอน และนำ้ากรด

21. เมื่อเกิดปฏิกริยาทางเคมี ในเซลล์ไฟฟ้าชนิดตะกั่วกรด จะทำาให้
    ก. แท่งอิเล็กโทรดคาร์บอนจะสึกกร่อน
    ข. แท่งอิเล็กโทรดสังกะสีจะสึกกร่อน
    ค. แท่งอิเล็กโทรดตะกั่วจะสึกกร่อน
    ง. ไม่มีข้อถูก

22. เซลล์ไฟฟ้าขนาด 3 V จำานวน 4 ตัว นำามาต่อกันแบบไหนจะให้แรง
  ดันไฟฟ้ารวมมีมีค่าตำ่าที่สุด และจะมีค่าแรงดันไฟฟ้ารวมเท่าไหร่
     ก. แบบอนุกรมชนิดทิศทางแรงดันไฟฟ้าเสริมกัน และจะมีค่า 12 V
     ข. แบบอนุกรมชนิดทิศทางแรงดันไฟฟ้าหักล้างกัน และจะมีค่า 12 V
     ค. แบบขนานกัน และจะมีค่า 6 V
     ง. แบบผสม และจะมีค่า 6 V

23.แบตเตอรี่หมายถึง
     ก. การนำาเซลล์ไฟฟ้าหลาย ๆ เซลล์ มาต่อผสมกัน
     ข. การนำาเซลล์ไฟฟ้าหลาย ๆ เซลล์ มาต่อขนานกัน
     ค. การนำาเซลล์ไฟฟ้าหลาย ๆ เซลล์ มาต่ออนุกรมกัน
     ง. ก. ข. และ ค. ถูกต้อง

24. ข้อใดคือความความหมายของการต่อตัวต้านทาน
    1. การนำาตัวต้านทานไฟฟ้าตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป มาต่อเข้าด้วยกัน
       ระหว่างจุดสองจุด
    2. การนำาตัวต้านทานไฟฟ้าตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป มาต่อเข้าด้วยกัน
       ระหว่างจุดสองจุด
    3. การนำาตัวต้านทานไฟฟ้าตั้งแต่ 3 ตัวขึ้นไป มาต่อเข้าด้วยกัน
       ระหว่างจุดสองจุด
    4. การนำาตัวต้านทานไฟฟ้ากี่ตัวก็ได้มาต่อเข้าด้วยกันระหว่างจุดสอง
       จุด



25.โดยทั่วไปการต่อตัวต้านทานไฟฟ้ามีกี่ชนิด
     1. 2 ชนิด อนุกรม ขนาน
     2. 3 ชนิด อนุกรม ขนาน ผสม
     3. 4 ชนิด อนุกรม ขนาน ผสม ผสาน
     4. ไม่มีข้อถูก

26. ข้อใดเป็นการต่อแบบตัวต้านทานไฟฟ้าแบบอนุกรม
    ก.
228



     ข.




     ค.



     ง. ไม่มีข้อถูก

27. ข้อใดเป็นการต่อแบบตัวต้านทานไฟฟ้าแบบขนาน
    ก.


     ข.



     ค.



     ง. ไม่มีข้อถูก

28. ข้อใดเป็นการต่อแบบตัวต้านทานไฟฟ้าแบบผสม
    ก.


     ข.



     ค.



     ง. ถูกทุกข้อ
229

29. จงคำานวณหาค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมของตัวต้านทานไฟฟ้า 4 ตัว
  แต่ละตัวมีค่า 20 Ω 2 W ต่อแบบอนุกรม
     ก. 5 Ω            ข. 10 Ω        ค. 80 Ω     ง. 160
Ω

30. จงคำานวณหาค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมของตัวต้านทานไฟฟ้า 4 ตัว
  แต่ละตัวมีค่า 20 Ω 2 W ต่อแบบขนาน
     ก. 5 Ω            ข. 10 Ω      ค. 80 Ω       ง. 160
Ω

31. จงคำานวณหาค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมที่จุด A-B โดยตัวต้านทาน
  ทุกตัวมีค่า 10 Ω
           A


                                       B

ก. 5 Ω            ข. 10 Ω           ค. 15 Ω            ง. 20Ω

32. วงจรตัวต้านทานไฟฟ้าแบบอนุกรมหมายถึงวงจรไฟฟ้าที่...
      ก. มีตวต้านทานไฟฟ้า 2 ต่อ อนุกรมกัน
             ั
      ข. มีตัวต้านทานไฟฟ้าตั้งแต่ 2 ตัว ต่ออนุกรมกันและต่อเข้ากับแหล่ง
จ่ายไฟฟ้า
      ค. มีตัวต้านทานไฟฟ้าต่ออนุกรมกับแหล่งจ่ายไฟฟ้า
      ง. มีตัวต้านทานไฟฟ้าตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปต่ออนุกรมกัน

33. วงจรตัวต้านทานไฟฟ้าแบบอนุกรมมีค่าความต้านทานไฟฟ้ารวม
  เท่ากับ 5 KΩ จะมีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจรเท่าไหร่ ถ้าแรงเคลื่อนไฟฟ้าที่
  แหล่งจ่าย เท่ากับ 10 V
      ก. 0.5 mA         ข. 0.5 A           ค. 2 mA
      ง. 2 A

34. วงจรตัวต้านทานไฟฟ้าแบบอนุกรมวงจรหนึ่งประกอบด้วยตัว
  ต้านทานไฟฟ้าขนาด 5 Ω จำานวน 4 ตัว ต่ออนุกรมกัน มีกระแสไฟฟ้า
  ไหลในวงจรเท่ากับ 0.5A จงหาค่าแรงดันไฟฟ้าตกคร่อมที่ตัวต้านทาน
  ไฟฟ้าตัวที่ 1
     ก. 0.1 V             ข. 2.5 V                 ค. 10 V
           ง. 20 V

35. จากโจทย์ข้อ 34 จงหาค่าแรงดันไฟฟ้ารวมของวงจร
230

      ก. 0.625 V              ข. 10 V                 ค. 40 V
      ง. 100 V

36. วงจรตัวต้านทานไฟฟ้าแบบขนานหมายถึงวงจาไฟฟ้าที่ .....
    ก. มีตวต้านทานไฟฟ้า 2 ตัว ต่อขนานกัน
           ั
    ข. มีตัวต้านทานไฟฟ้าน้อยกว่า 2 ตัวต่อขนานกัน
    ค. มีตัวต้านทานไฟฟ้าต่อขนานกับแหล่งจ่ายไฟฟ้า
    ง. มีตัวต้านทานไฟฟ้าตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปต่อขนานกัน

37. วงจรตัวต้านทานไฟฟ้าแบบขนาน มีตัวต้านทานไฟฟ้าค่า 10 Ω 2 ตัว
  ขนานกัน จะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวต้านทานไฟฟ้าตัวที่ 1 เท่าไหร่
  ถ้าแรงเคลื่อนไฟฟ้าที่จ่ายให้แก่วงจรมีค่า 5 V
     ก. 0.5 mA
     ข. 0.5 A
     ค. 1 mA
     ง. 1 A

38. วงจรตัวต้านทานไฟฟ้าแบบขนานวงจรหนึ่งประกอบด้วยตัวต้านทาน
  ไฟฟ้าขนาด 6 Ω จำานวน 3 ตัว ต่อขนานกัน ตัวต้านทานไฟฟ้าแต่ละตัวมี
  กระแสไหล 1 A จงหาค่ากระแสไฟฟ้าทั้งหมดของวงจร
    ก. 0.5 A
    ข. 1 A
    ค. 1.5 A
    ง. 3 A




39. จากโจทย์ข้อ 38 จงหาค่าแรงดันไฟฟ้ารวมของวงจร
    ก. 1 V
    ข. 1.5 V
    ค. 3 V
    ง. ไม่มีข้อใดถูก

40.วงจรตัวต้านทานไฟฟ้าแบบผสมหมายถึงวงจรไฟฟ้า
   1. ตัวต้านทานไฟฟ้าต่อผสมกับแหล่งจ่ายไฟฟ้า
   2. ตัวต้านทานไฟฟ้าอย่างน้อยกว่า 3 ตัวผสมกัน
   3. ตัวต้านทานไฟฟ้าตั้งแต่ 2 ตัว ต่อขนานกันและต่อเข้ากับแหล่งจ่าย
      ไฟฟ้า
231

  4. ตัวต้านทานไฟฟ้าตั้งแต่ 3 ตัวขึ้นไปต่อผสมกันและต่อเข้ากับแหล่ง
     จ่ายไฟฟ้า

41.    จากวงจรคำานวณหาค่า IX
                        IT              R2 = 3 Ω
  1.   1.5 A
  2.   1.0 A
  3.   0.75 A                 IX
  4.   0.5 A E               R1                R
                      =2                                R2= 1Ω
              T      v       4Ω                2

42.    จากวงจรข้อ 41 จงคำานวณหาค่า IT
  1.   1.5 A
  2.   1.0 A
  3.   0.75 A
  4.   0.5 A

43. จากวงจรข้อ 41 จงคำานวณหาค่าแรงดันไฟฟ้าตกคร่อมที่ตัวต้านทาน
  ขนาด 10 Ω
  1. 5 V
  2. 10 V
  3. 15 V
  4. 20 V




44. จากโจทย์ข้อ 41 ถ้ามีกระแสไฟฟ้าขนาด 1 A ไหลผ่านตัวต้านทาน
  ไฟฟ้า 30 Ω แรงดันไฟฟ้ารวมที่แหล่งจ่ายไฟฟ้าจะมีค่ากี่โวลต์
  1. 10 V
  2. 20 V
  3. 40 V
  4. 60 V
45. วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าชนิดไม่มีภาะหมายถึงวงจรไฟฟ้าที่ตัว
  ต้านทานไฟฟ้าทำาหน้าที่
  1. แบ่งแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่ายไฟฟ้า
  2. แบ่งแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่ายไฟฟ้าให้กับภาระ
  3. แบ่งแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่ายไฟฟ้าให้กับตัวมันเอง
  4. แบ่งแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่ายไฟฟ้าออกเป็นส่วน ๆ

46. วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าชนิดใดที่แบ่งแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่ายไฟฟ้า
  ออกเป็นส่วนๆ แล้วจ่ายแรงดันไฟฟ้าที่แบ่งนั้นให้กับภาระไฟฟ้า
232

  1.   วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าชนิดไม่มีภาระ
  2.   วงจรแบ่งแรงไฟฟ้าดันชนิดมีภาระ
  3.   ถูกทั้งข้อ ก และ ข
  4.   ไม่มีข้อถูก

47. ตัวต้านทานไฟฟ้าที่มีขนาดความต้านทานไฟฟ้าเท่ากัน จำานวน 3 ตัว
  ต่อเข้ากับแหล่งจ่ายไฟฟ้าขนาดแรงดันไฟฟ้าเท่ากับ 24 V ตัวต้านไฟฟ้า
  ตัวที่ 1 จะแบ่งแรงดันไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าไปเท่าใด
  ก. 24 V          ข. 12 V         ค. 8 V           ง. 3 V

48. วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าชนิดไม่มีภาระวงจรหนึ่ง แบ่งแรงดันไฟฟ้าที่
  แหล่งจ่ายไฟฟ้าออกเป็น 2 ส่วนมีขนาดแรงดันไฟฟ้าเป็น 10 และ 20 V
  ตามลำาดับ ถ้ากระแสไฟฟ้าไหลในวงจรมีค่าเท่ากับ 0.5 A จงหาค่าความ
  ต้านทานไฟฟ้าของตัวต้านทานไฟฟ้าที่แบ่งแรงดันไฟฟ้าขนาด 20 V
  ก. 40 Ω             ข. 20 Ω          ค. 10 Ω           ง. 5Ω

49.วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าชนิดมีภาะหมายถึงวงจรไฟฟ้าที่ตัวต้านทาน
   ไฟฟ้าทำาหน้าที่
   1. แบ่งแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่ายไฟฟ้า
   2. แบ่งแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่ายไฟฟ้าให้กับภาระ
   3. แบ่งแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่ายไฟฟ้าให้กับตัวมันเอง
   4. แบ่งแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่ายไฟฟ้าออกเป็นส่วน ๆ


50. จากวงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าชนิดมีภาระข้างล่างนี้ จงคำานวณหาค่า V1
กำาหนดให้ R1   =    5 Ω     R2 = 10 Ω RL =              10 Ω
                                 IT




       ก. 5 V             ข. 10 V         ค. 15 V        ง. 20 V
                  R2 =


                          R1 =




51. จากวงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าต่อไปนี้ ถ้ากระแสบลีดเดอร์มีค่าเท่ากับ 1
  A และแรงดันไฟฟ้าที่ภาระมีค่าเท่ากับ 5 V จงหาค่าความต้านทานไฟฟ้า
                          ITV




  ของ R2
           R2 =


                  R =

                          1
                     1
                   RL =
                     IL
                  V1
                  VL
           RL =
                IL
           VL
233


        ก. 0.25     Ω                ข. 5 Ω                    ค. 0.25 KΩ           ง.
5       KΩ

52.     วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้า หมายถึงวงจรไฟฟ้าที่ทำาหน้าที่
  1.    แบ่งกระแสของแหล่งจ่ายไฟฟ้าออกเป็น 2 ส่วน
  2.    แบ่งกระแสของแหล่งจ่ายไฟฟ้าออกเป็น 3 ส่วน
  3.    แบ่งกระแสของแหล่งจ่ายไฟฟ้าออกเป็น ส่วน ๆ ตามจำานวนกระแส
        ไฟฟ้า
     4. แบ่งกระแสของแหล่งจ่ายไฟฟ้าออกเป็นส่วน ๆ ตามจำานวนตัว
        ต้านทานไฟฟ้าที่ต่อขนานกัน

53. จงหาค่ากระแสไฟฟ้า II
                  IT = 10A           I1                       I2
                              R1 = 4Ω              R = 6Ω

                  IT = 10A
     ก. 4 A         ข. 5 A                  ค. 6 A                       ง. 10 A


54. จงหาค่ากระแสไฟฟ้า IB
                  IX =                                                   IY =
                                IA                       IB
                  6A                                                     4A
                     R1 =                        R2 =
                     5Ω                          5Ω
     ก. 4 A       IY ข. 5 A
                     =                      ค. 6 A                       Iง.=10 A
                                                                          Y
                6A                                4Ω
55.จากรูปวงจรที่กำาหนดให้เมื่อแปลงค่าความต้านทานไฟฟ้าให้เป็นแบบส
   ตาร์ข้อไหนคือข้อที่ถูก      RX

                                     RY     RZ

             RA
ก.           RB                             ข.RA         RB        RC
             RC
ค.                                          ง.          RA              RB
             RC




                                                                   RC
     RA RB
234



56. กำาหนดให้ค่าความต้านทานไฟฟ้าแบบเดลต้ามีค่าเท่ากับ 6 โอห์มทุก
  ตัว เมื่อแปลงเป็นแบบสตาร์ตัวต้าทาานไฟฟ้าทั้ง 3 ตัว จะมีค่าเท่าไหร่
      ก. 36 Ω          ข. 18 Ω     ค. 6 Ω              ง. 2 Ω

57.จากรูปวงจรที่กำาหนดให้เมื่อแปลงค่าความต้านทานไฟฟ้าเป็นแบบ
   เดลต้าข้อไหนคือข้อที่ถูก
                         RA         RB
                               RC
            RZ
ก.                                   ข.
            RY                            RX   RY   RZ
            RX

ค.               RY                  ง.
       RX
                                        RX           R
58. กำาหนดให้ค่าความต้านทานไฟฟ้าแบบสตาร์มYีค่าเท่าZ บ 6 โอห์มทุก
            RZ                              R          กั
  ตัว เมื่อแปลงเป็นแบบเดลต้า ตัวต้านทานไฟฟ้าทั้ง 3 ตัวจะมีค่าความ
  ต้านทานเท่าไหร่
      ก. 36 Ω           ข. 18 Ω     ค. 6 Ω             ง. 2 Ω

59.ข้อใดไม่ใช้วงจรบริดจ์
       ก. วงจรไฟฟ้าที่ประกอบด้วยตัวต้านทานไฟฟ้าอย่างน้อย 4 ตัว ต่อ
เข้าด้วยกัน โดยมีกัลวานอมิเตอร์หรือเครื่องมือวัดไฟฟ้าและแหล่งจ่าย
พลังงานไฟฟ้าต่อไขว้กัน
       ข. วงจรไฟฟ้าที่ประกอบด้วยตัวต้านทานไฟฟ้าอย่างน้อย 4 ตัว ต่อ
เข้าด้วยกัน โดยมีโวลต์มิเตอร์และแหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าต่อไขว้กัน
       ค. วงจรไฟฟ้าที่ประกอบด้วยตัวต้านทานไฟฟ้าอย่างน้อย 3 ตัว ต่อ
เข้าด้วยกัน โดยมีกัลวานอมิเตอร์หรือเครื่องมือวัดไฟฟ้าและแหล่งจ่าย
พลังงานไฟฟ้าต่อไขว้กัน
       ง. ถูกทั้ง ก และ ข

60.วงจรบริดจ์มีกี่ชนิด
      1. 2 ชนิด
      2. 3 ชนิด
      3. 4 ชนิด
      4. 5 ชนิด

61.ข้อใดคือวงจรบริดจ์สมดุลย์
      1. แรงดันไฟฟ้าของวงจรไฟฟ้ามีค่าเท่ากับศูนย์
      2. กระแสไฟฟ้าของวงจรไฟฟ้ามีค่าเท่ากับศูนย์
235

      3. ความต้านทานไฟฟ้าของกัลวานอมิเตอร์มีค่าเท่ากับศูนย์
      4. กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านกัลวานอมิเตอร์มีค่าเท่ากับศูนย์

62. กำาหนดให้ R1 , R2 , และ RG มีค่าเท่ากับ 2, 4 , 4 และ 2 โอห์มตาม
  ลำาดับจงหาค่า R4 เมื่อวงจรบริดจ์อยู่ในสภาวะสมดุลย์
     ก. 2 Ω              ข. 4 Ω            ค. 6 Ω             ง. 8 Ω

63. จากข้อ 62 เมื่อจ่ายแรงดันไฟฟ้าขนาด 13 V กระแสไฟฟ้าทั้งหมด
  ของวงจรจะมีค่ากี่แอมแปร์
    ก. 3        ข. 2.5       ค. 2      ง. 1


64. จากข้อ 61 และข้อ 62 จะมีแรงดันไฟฟ้าตกคร่อม R2 กี่โวลต์
      ก. 8       ข. 6        ค. 4      ง. 2.
65.ข้อใดคือวงจรบริดจ์แบบไม่สมดุลย์
      1. แรงดันไฟฟ้าของวงจรไฟฟ้ามีค่ามากกว่าศูนย์
      2. กระแสไฟฟ้าของวงจรไฟฟ้ามีค่ามากกว่าศูนย์
      3. ความต้านทานไฟฟ้าของกัลวานอมิเตอร์มีค่ามากกว่าศูนย์
      ง. กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านกัลวานอมิเตอร์มีค่ามากกว่าศูนย์

66. จงหาค่ากระแสไฟฟ้า IG จากวงจรบริดจ์ต่อไนี้
    1. 6 A
    2. 4 A
    3. 3 A
    4. 1 A

67. จงหาค่าแรงดันไฟฟ้า VG จากวงจรบริดจ์ต่อไปนี้
                        I1            I3
                          R1 =   A         R3 =
                              R = G
                        I27Ω G   IG I4     3Ω
                   IT         1Ω
                            R2 =           R4 =
                                 BT =
                                 E
                           2Ω    25V       5Ω
      1.   0.1 A
      2.   0.3 A
      3.   0.6 A
      4.   0.9 A

68.ข้อใดเป็นนิยามกฎของเคอร์ชอฟฟ์ที่ถูกต้อง
236

      1. ณ จุดใด ๆ ผลรวมทางเลขคณิตของแรงดันไฟฟ้าไหลเข้าจะมีค่า
         เท่ากับแรงดันไฟฟ้าที่ไหลออก
      2. ณ จุดใด ๆ ผลรวมทางพีชคณิตของกระแสไฟฟ้าไหลเข้าจะมีค่า
         เท่ากับกระแสไฟฟ้าที่ไหลออก
      3. ณ วงจรปิดใด ๆ ผลรวมทางพีชคณิตของแรงดันไฟฟ้าตกคร่อมจะ
         มีค่าเท่ากับแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่ายไฟฟ้า
      4. ณ วงจรปิดใด ๆ ผลรวมทางพีชคณิตของแรงดันไฟฟ้าไหลเข้าจะ
         มีค่าเท่ากับแรงดันไฟฟ้าไหล




69.ดีเทอร์มิแนนท์หมายถึงอะไร
       1. กลุ่มของตัวแปรที่จำานวนตัวแปรเท่ากับจำานวนค่าคงที่
       2. กลุ่มของค่าสัมประสิทธ์ที่มีจำานวนเท่ากับจำานวนตัวแปร
       3. กลุ่มของตัวเลขที่จำานวนแถวเท่ากับจำานวนหลัก
       4. กลุ่มของตัวเลขที่มีจำานวนตัวแปรเท่ากับจำานวนสมการ

70. จากสมการที่กำาหนดให้ จงหาค่า I1
         2      6    I1             3
           4        8    =I2                    5
    ก.   2      6               ข.          2         3
           4        8                                4             5
            3       2                       3         6
                5       4                            5             8
      ค.    3       6                 ง.    2         6
                5       8                            4             8
            2       6                       3         6
                4       8                            5             8

71. ข้อไหนเป็นค่าของ V2
         1      2    3         V1               10
           4        5          6      V
                                      =2                  20
         7     8     9         V3           30

      ก.    1       2    3            ข.    1         2        3
                4       5      6                     4             5 6
            7    8       9                  7        8         9
            10    2      3                  1        10        3
              20        5      6                     4             20 6
            30   8       9                  7        30        9
237

     ค.    10        2      3                    ง.    1             10      3
             20            5       6                                4            20 6
           30        8      9                          7            30       9
           1         2      3                          1            2        3
             4             56                          4               5     6
           7         8      9                          7            8        9

72. จากรูป ถ้า E1 = E2 = 3 V และตัวต้านทานไฟฟ้าทุกตัวมีค่าเท่ากับ 1
  Ω จงหาค่ากระแสไฟฟ้า I1

                  A         R1       I1B I2           R2            C
                                     I3
                E1                                             E2
                            R3

                  F                      E                          D
     ก. 0.5 A     ข. 1 A                         ค. 1.5             A        ง. 2 A

73. จงหาค่าของ I2

                            2 -1     0       I1            4
                                                =
                           -1 3      1       I2            0
                            0 1      2       I3            4

     ก. 0 A                 ข. 1 A                     ค. 1.5 A              ง. 2 A

74. จากรูปข้อใดเป็นสมการของเมชเคอร์เร้นท์ I1 ที่ถูกต้อง
                      3V                     1V                         2V
                   E3
                  4Ω =                    E =3
                                                                     E
                                                                    2Ω =
                                                                        1



                     R2 =          R3 = 5Ω                          R1 =


           ก. (7) I1 - (5) I2      =             1
           ข. (7) I1 + (5) I2      =             1
           ค. (7) I1 - (5) I2      =             3
           ง. (7) I1 + (5) I2      =             3
238

75. จากวงจรในข้อที่ 1 จงหาค่า I1

     ก. 1             5            ข.        -1        5
                  2                           9       -2 9
            7         5                       7        5
            5         9                       5        9

    ค.      -3        5            ง.        3        5
            -4        9                      4        9
             9        5                      9        5
             5        7                      5        7


76. จงหาค่า IC
          2               -1        0        IA           1
             -1            2            -1   IB           0
                            1                     =

             ก. 1 A                               ข. –1 A
             ค. 2 A                               ง. –2 A

77.ข้อใดกล่าวทฤษฎีของเธวินินได้ถูกต้อง
      1 ก. เราสามารถยุบวงจรให้อยู่ในรูปของแหล่งกำาเนิดกระแส
        ไฟฟ้า
      2 ข. เราสามารถยุบวงจรให้อยู่ในรูปของแหล่งกำาเนิดแรงดัน
        ไฟฟ้า
      ค. เราสามารถยุบวงจรให้อยู่ในรูปของความต้านทานไฟฟ้า
      ง. ไม่มีข้อถูก
78.ข้อใดคือความหมายของแรงดันไฟฟ้าเทียบเท่าเธวินินที่ถูกต้อง
      1. แรงดันไฟฟ้าที่ไหลผ่านขั้ว AB ในขณะเปิดวงจร
      2. แรงดันไฟฟ้าที่วัดได้ระหว่างขั้ว AB ในขณะเปิดวงจร
      3. แรงดันไฟฟ้าที่ไหลผ่านขั้ว AB ในขณะลัดวงจร
      ง. แรงดันไฟฟ้าที่วัดได้ระหว่างขั้ว AB ในขณะลัดวงจร




79. ข้อใดคือความหมายของความต้านทานไฟฟ้าเทียบเท่าเธวินินที่ถูกต้อง
     1. ความต้านทานไฟฟ้ารวมตัวที่1 มองจากขั้ว AB
     2. ความต้านทานไฟฟ้ารวม 2 ตัวแรกที่มองจากขั้ว AB
     3. ความต้านทานไฟฟ้ารวมทั้งหมดของวงจร มองจากขั้ว AB
     ง. ถูกทุกข้อ
239



80. จากรูปวงจรไฟฟ้า จงหาค่าของกระแสที่ไหลผ่านความต้านทานไฟฟ้า                  A
2Ω                                            I3
                          1Ω              4Ω            2Ω

                          1V              4V

                             รูป วงจรไฟฟ้า                                     B
     ก. 0.37 A            ข. 0.47 A        ค. 0.57 A               ง. 0.67 A

81. จากรูปวงจรไฟฟ้า จงหาค่าของ VAB
                4Ω          5Ω                     2Ω

                                               A
                 50V           2Ω                                20V
                                               B
                             รูป วงจรไฟฟ้า
     ก. 4 V               ข. 4.5 V         ค. 5 V                  ง. 5.5 V

82. จากรูปวงจรไฟฟ้า จงหาค่าต้านทานไฟฟ้าไฟฟ้าเทียบเท่าเธวินิน R’
เมื่อมองจากด้านขั้ว AB
                       7.5Ω          15Ω                A


                                6Ω                 3Ω       R’


                             รูป วงจรไฟฟ้า              B
     ก. 2 Ω               ข. 2.5 Ω         ค. 3 Ω                  ง. 3.5 Ω

83. ข้อใดกล่าวทฤษฎีนอร์ตันได้ถูกต้อง
      1. เราสามารถยุบวงจรให้อยู่ในรูปของแหล่งกำาเนิดกระแสไฟฟ้า
      2. เราสามารถยุบวงจรให้อยู่ในรูปของแหล่งกำาเนิดแรงดันไฟฟ้า
      3. เราสามารถยุบวงจรให้อยู่ในรูปของความต้านทานไฟฟ้า
      4. ไม่มีข้อถูก
84. ข้อใดคือความหมายของกระแสไฟฟ้าเทียบเท่านอร์ตัน
      1. แรงดันที่ไหลผ่านขั้ว AB ในขณะปกติ
      2. กระแสที่ไหลผ่านขั้ว AB ในขณะปกติ
240

      3. แรงดันที่ไหลผ่านขั้ว AB ในขณะลัดวงจร
      4. กระแสที่ไหลผ่านขั้ว AB ในขณะลัดวงจร
85. ข้อใดคือหมายที่ถูกต้องที่สุดของความต้านทานไฟฟ้าเทียบเท่านอร์ตัน
      1. ความต้านทานไฟฟ้ารวมตัวที่1 มองจากขั้ว AB
      2. ความต้านทานไฟฟ้ารวม 2 ตัวแรกที่มองจากขั้ว AB
      3. ความต้านทานไฟฟ้ารวมทั้งหมด มองจากขั้ว AB
      4. ถูกทุกข้อ

86. วงจรดังรูปจงหาค่าของกระแสไฟฟ้าเทียบเท่านอร์ตันระหว่างจุด AB


                         A                          10Ω           1A
                                        7.5Ω
20V                      B                          5Ω

                             รูป วงจรไฟฟ้า
      ก. 2 A        ข. 3 A           ค. 4 A           ง. 5 A

87. จากรูปวงจรไฟฟ้าข้อที่ 86 จงหาค่าความต้านทานไฟฟ้าเทียบเท่านอร์
ตันได้
       ก. 1 Ω         ข. 1.5 Ω          ค. 2 Ω           ง. 2.5 Ω




88. จากรูปวงจรไฟฟ้าจงหาค่าของกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน RL
                                          A

                                 7.5Ω
               4A                              4Ω
                                                         RL =
                                10Ω                    5Ω
                                  7V
                                                B
                             รูป วงจรไฟฟ้า
      ก. 1 A        ข. 1.5 A         ค. 2 A           ง. 2.5 A

89. จำานวนจุดสาขาตั้งแต่ 3 สาขาขึ้นไปมาต่อรวมกันเรียกว่า
       1. โนด             ข. ซุปเปอร์โนด        ค. ปรินท์ซิเปิ้ลโนด
            ง. ไม่มีข้อถูก
241



90. จากรูปวงจรไฟฟ้า จงเขียนสมการของโนดโวลท์เตจที่โนด A
                                       I1       I3
                                 4Ω         A        2Ω   B
                                       I2
                      8V
                                                5Ω




                              รูป วงจรไฟฟ้า
     ก. I1 = I2 + I3             ข. I1 - I2 - I3              ค. I2 + I3 -I1
            ง. ถูกข้อ ก,ข




91. จากรูปวงจรไฟฟ้า จงหาค่า I1




                               รูป วงจรไฟฟ้า
     ก. 0.37 A              ข. 0.47 A        ค. 0.57 A              ง. 0.67
A

92. จากรูปวงจรไฟฟ้าในข้อ 91 จงหาค่าของ V1
      ก. 1.25 V           1Ω
                     ข. –1.25 V        ค.1Ω
                                          0.125 V                   4Ω
                                                                    ง. –
0.125 V
                10                                20                            6Ω
                V         3Ω             5Ω       Ω                 10
                                                                    Ω
                                                                           I1
                 10
                 V              5Ω                   3Ω

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
Mew Meww
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
weerawato
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
Khwankamon Changwiriya
 
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
Janejira Meezong
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
Wichai Likitponrak
 

Was ist angesagt? (20)

ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docxใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)
Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)
Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
8ติวข้อสอบสสวทสารและแยกสาร
8ติวข้อสอบสสวทสารและแยกสาร8ติวข้อสอบสสวทสารและแยกสาร
8ติวข้อสอบสสวทสารและแยกสาร
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลาย
 
ประชากร1
ประชากร1ประชากร1
ประชากร1
 
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 

Andere mochten auch

หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทานหน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
Pornsak Tongma
 
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแสหน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
Pornsak Tongma
 
หน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์มหน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์ม
Pornsak Tongma
 
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2
krupornpana55
 
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่ายทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
krupornpana55
 
วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ทดสอบ
วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ทดสอบวงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ทดสอบ
วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ทดสอบ
sayan11082534
 
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
njoyok
 

Andere mochten auch (20)

หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทานหน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
 
เทวินิน
เทวินินเทวินิน
เทวินิน
 
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแสหน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
 
หน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์มหน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์ม
 
เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)
 
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2
 
ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่ายทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
การซ่อมเตารีดด้วยโอห์มมิเตอร์
การซ่อมเตารีดด้วยโอห์มมิเตอร์ การซ่อมเตารีดด้วยโอห์มมิเตอร์
การซ่อมเตารีดด้วยโอห์มมิเตอร์
 
Ohm law
Ohm lawOhm law
Ohm law
 
การใช้งานโอห์มมิเตอร์ซ่อมเตารีด
การใช้งานโอห์มมิเตอร์ซ่อมเตารีดการใช้งานโอห์มมิเตอร์ซ่อมเตารีด
การใช้งานโอห์มมิเตอร์ซ่อมเตารีด
 
ไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรงไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรง
 
แบบทดสอบก่อน – หลัง เรียน
แบบทดสอบก่อน – หลัง  เรียนแบบทดสอบก่อน – หลัง  เรียน
แบบทดสอบก่อน – หลัง เรียน
 
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-1page
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-1pageใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-1page
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-1page
 
IC
ICIC
IC
 
วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ทดสอบ
วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ทดสอบวงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ทดสอบ
วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ทดสอบ
 
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
 
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pageใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
 
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1pageใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
 

Ähnlich wie ข้อสอบปลายภาค

สื่อหน่วยที่2
สื่อหน่วยที่2สื่อหน่วยที่2
สื่อหน่วยที่2
Teerapong Iemyong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
Pongsakorn Poosankam
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
pipopsin163
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
panupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
panupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
panupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
panupong
 

Ähnlich wie ข้อสอบปลายภาค (20)

ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
สื่อหน่วยที่2
สื่อหน่วยที่2สื่อหน่วยที่2
สื่อหน่วยที่2
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
172 130909011745-
172 130909011745-172 130909011745-
172 130909011745-
 
ใบความรู้.05
ใบความรู้.05ใบความรู้.05
ใบความรู้.05
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
Electricity acessories
Electricity acessoriesElectricity acessories
Electricity acessories
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
 
งานนำเสนอคอม2.1
งานนำเสนอคอม2.1งานนำเสนอคอม2.1
งานนำเสนอคอม2.1
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 

ข้อสอบปลายภาค

  • 1. 223 ภาคผนวก ก ข้อ สอบปลายภาคเรีย น ข้อ สอบปลายภาคเรีย น
  • 2. 224 คำา สั่ง ให้เ ลือ กตอบข้อ ที่ถ ูก ที่ส ุด เพีย งข้อ เดีย ว 1. นิวเคลียสประกอบด้วยอะไร ก. อิเล็กตรอนกับโปรตรอน ข. โปรตรอนกับนิวตรอน ค. อิเล็กตรอนกับนิวตรอน ค. อิเล็กตรอน โปรตรอนและ นิวตรอน 2. ความต่างศักย์ของไฟฟ้าคืออะไร ก. การที่โลหะ 2 ชนิดอยู่ในตำาแหน่งที่ต่างกัน ข. การที่โปรตรอนไหลจากตำาแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำาแหน่งหนึ่ง ค. การที่อิเล็กตรอนไหลจากตำาแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำาแหน่งหนึ่ง ง. การที่นิวตรอนไหลจากตำาแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำาแหน่งหนึ่ง 3. ประจุไฟฟ้าขนาด 50 คูลอมบ์ เคลื่อนตัวผ่านประจุไฟฟ้าเป็นเวลา 50 วินาที จงหาค่ากระแสไฟฟ้า ก. 1 A ข. 10 V ค. 100 A ง. 50 V 4. ข้อใดคือตัวนำาไฟฟ้า ก. วัตถุที่ไม่ยอมให้แรงดันไฟฟ้าไหลผ่านตัวมัน ข. วัตถุที่ยอมให้แรงดันไฟฟ้าไหลผ่านตัวมันได้ ค. ส่วนประกอบในวงจรไฟฟ้าเรียกอีกอย่างว่าภาระไฟฟ้า ง. วัตถุที่ทำาให้เกิดการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน 5. ข้อใดหมายถึงฉนวนไฟฟ้า ก. วัตถุที่ไม่ยอมให้แรงดันไฟฟ้าไหลผ่านตัวมัน ข. วัตถุที่ยอมให้แรงดันไฟฟ้าไหลผ่านตัวมันได้ ค. ส่วนประกอบในวงจรไฟฟ้าเรียกอีกอย่างว่าภาระไฟฟ้า ง. วัตถุที่ทำาให้เกิดการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน 6. ข้อใดหมายถึงความต้านทานไฟฟ้า ก. การต้านการไหลของแรงดันไฟฟ้า ข. การต้านการไหลของ กระแสไฟฟ้า ค. การต้านการไหลของความนำาไฟฟ้า ง. ถูกทุกข้อ 7. ความนำาไฟฟ้าคือ 1. ตัวบอกให้ทราบว่าตัวนำาไฟฟ้ายอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้มาก หรือน้อย
  • 3. 225 2. ตัวบอกให้ทราบว่าตัวนำาไฟฟ้ายอมให้แรงดันไฟฟ้าไหลผ่านได้มาก หรือน้อย 3. ตัวบอกให้ทราบว่าตัวนำาไฟฟ้ายอมให้มีความต้านทานมากหรือน้อย 4. ไม่มีข้อถูก 8. อะไรที่ไม่มีผลต่อความต้านทานไฟฟ้าของตัวนำาไฟฟ้า ก. ขนาดของหน้าตัดของตัวนำา ข. อุณหภูมิ ค. ความยาวของตัวนำา ง. ชนิดของภาระไฟฟ้าที่ต่อกับ ตัวนำา 9. อุณหภูมิของตัวนำาสูงขึ้นจะมีผลทำาให้ความต้านทานเป็นอย่างไร ก. ตำ่าลง ข. สูงขึ้น ค. เท่าเดิม ง. ไม่แน่นอน 10. วงจรไฟฟ้าประกอบด้วยส่วนประกอบย่างน้อยอะไรบ้าง ก. อิเล็กตรอน โปรตรอนและนิวตรอน ข. ความต่างศักดิ์ ความนำา และความต้านทาน ค. แหล่งจ่าย ตัวนำาและภาระไฟฟ้า ง. ไม่มีข้อถูก 11.ข้อใดคือคำากล่าวในเรื่องกฎของโอห์ม 1. กระแสไฟฟ้ า แปรผั น ตรงกั บ แรงดั น ไฟฟ้ า และแปรผกผั น กั บ ความ ต้านทานไฟฟ้า 2. กระแสไฟฟ้าแปรผันตรงกับแรงดันไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า 4 ค. กระแสไฟฟ้าแปรผันตรงกับความต้านทานไฟฟ้าและแปรผกผันกับ แรงดันไฟฟ้า 5 ง. กระแสไฟฟ้าแปรผกผันกับแรงดันไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า 12. วงจรไฟฟ้าวงจรหนึ่งมีความต้านทานไฟฟ้าต่ออยู่ในวงจร มีค่าความ ต้านทาน 12kΩ มีกระแสไหลในวงจรวัดได้ 30mA จงคำานวณหาค่าแรง ดันไฟฟ้า ก. 36mV ข. 36kV ค. 0.36mV ง. 36V 13. แหล่ ง จ่ า ยไฟฟ้ า กระแสตรง 24 V ต่ อ อยู่ กั บ ความต้ า นทานไฟฟ้ า ขนาด 50Ω กับแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง 12V ต่ออยู่กับความต้านทาน ไฟฟ้าขนาด 100Ω อยากทราบว่าค่ากระแสไฟฟ้า ของ 2 วงจรจะตางกัน กี่แอมแปร์ ก. 0.12 A ข. 0.48 A ค. 0.36 A ง. เท่ากันทั้ง 2 วงจร 14. วงจรไฟฟ้าวงจรหนึ่งมีแรงดันไฟฟ้าเท่ากับ 50V นำาความต้านทน ไฟฟ้า 3 ตัว มาต่อกับแหล่งจ่ายและทำาการวัดค่ากระแส อ่านค่าได้ดังนี้
  • 4. 226 0.2A, 10mA และ 50mA ตามลำาดับ จากคำาตอบข้อใดไม่ใช่ค่าของความ ต้านทานที่นำามาต่อในวงจร ก. 5kΩ ข. 0.25kΩ ค. 1kΩ ง. 3kΩ 15. ข้อใดคือความหมายของกำาลังไฟฟ้า ก. พลังงานไฟฟ้าต่อเวลา ข. เวลาต่อพลังงานไฟฟ้า ค. กำาลังไฟฟ้าต่อเวลา ง. เวลาต่อกำาลังไฟฟ้า 16. พัดลมไฟฟ้า 12 V มีความต้านทานไฟฟ้า 6 Ω จะมีกำาลังไฟฟ้าเท่าไหร่ ก. 2. W ข. 6 W ค. 18 W ง. 24 W 17. ข้อใดคือความหมายของ พลังงานไฟฟ้า ก. พลังไฟฟ้าคูณเวลา ข. พลังงานไฟฟ้าต่อเวลา ค. กำาลังไฟฟ้าคูณเวลา ง. กำาลังไฟฟ้าต่อเวลา 18. หลอดไฟฟ้า 220 V 100 W ถ้าใช้เป็นเวลานาน 20 ชัวโมง จะสิ้นเปลือง ่ พลังงานไฟฟ้าไปกี่ยูนิต ก. 2 ข. 2.2 ค. 11 ง. 2000 19.ข้อใดเป็นความหมายของเซลล์ไฟฟ้า ก. เป็นอุปกรณ์ที่ทำาหน้าที่จ่ายกระแสไฟฟ้าให้แก่วงจร ข. เป็นอุปกรณ์ที่ทำาหน้าที่เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นแรงดันไฟฟ้า ค. เป็นอุปกรณ์ที่ทำาหน้าที่เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นกระแสไฟฟ้า ง. เป็นอุปกรณ์ที่ทำาหน้าที่เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า 20.ข้อใดถูกต้อง ก. โครงสร้างของเซลล์ไฟฟ้าแบบปฐมภูมิ ประกอบด้วยอิเล็กโทรด สังกะสี คาร์บอน และ นำ้ายาอิเล็กโทรไลท์ ข. โครงสร้างของเซลล์ไฟฟ้าแบบทุติยภูมิ ประกอบด้วยอิเล็กโทรด สังกะสีคาร์บอน และนำ้ายาอิเล็กโทรไลท์ ค. โครงสร้างของเซลล์ไฟฟ้าแบบปฐมภูมิ ประกอบด้วยอิเล็กโทรด สังกะสีคาร์บอน และนำ้ากรด
  • 5. 227 ง. โครงสร้างของเซลล์ไฟฟ้าแบบทุติยภูมิ ประกอบด้วยอิเล็กโทรด สังกะสีคาร์บอน และนำ้ากรด 21. เมื่อเกิดปฏิกริยาทางเคมี ในเซลล์ไฟฟ้าชนิดตะกั่วกรด จะทำาให้ ก. แท่งอิเล็กโทรดคาร์บอนจะสึกกร่อน ข. แท่งอิเล็กโทรดสังกะสีจะสึกกร่อน ค. แท่งอิเล็กโทรดตะกั่วจะสึกกร่อน ง. ไม่มีข้อถูก 22. เซลล์ไฟฟ้าขนาด 3 V จำานวน 4 ตัว นำามาต่อกันแบบไหนจะให้แรง ดันไฟฟ้ารวมมีมีค่าตำ่าที่สุด และจะมีค่าแรงดันไฟฟ้ารวมเท่าไหร่ ก. แบบอนุกรมชนิดทิศทางแรงดันไฟฟ้าเสริมกัน และจะมีค่า 12 V ข. แบบอนุกรมชนิดทิศทางแรงดันไฟฟ้าหักล้างกัน และจะมีค่า 12 V ค. แบบขนานกัน และจะมีค่า 6 V ง. แบบผสม และจะมีค่า 6 V 23.แบตเตอรี่หมายถึง ก. การนำาเซลล์ไฟฟ้าหลาย ๆ เซลล์ มาต่อผสมกัน ข. การนำาเซลล์ไฟฟ้าหลาย ๆ เซลล์ มาต่อขนานกัน ค. การนำาเซลล์ไฟฟ้าหลาย ๆ เซลล์ มาต่ออนุกรมกัน ง. ก. ข. และ ค. ถูกต้อง 24. ข้อใดคือความความหมายของการต่อตัวต้านทาน 1. การนำาตัวต้านทานไฟฟ้าตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป มาต่อเข้าด้วยกัน ระหว่างจุดสองจุด 2. การนำาตัวต้านทานไฟฟ้าตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป มาต่อเข้าด้วยกัน ระหว่างจุดสองจุด 3. การนำาตัวต้านทานไฟฟ้าตั้งแต่ 3 ตัวขึ้นไป มาต่อเข้าด้วยกัน ระหว่างจุดสองจุด 4. การนำาตัวต้านทานไฟฟ้ากี่ตัวก็ได้มาต่อเข้าด้วยกันระหว่างจุดสอง จุด 25.โดยทั่วไปการต่อตัวต้านทานไฟฟ้ามีกี่ชนิด 1. 2 ชนิด อนุกรม ขนาน 2. 3 ชนิด อนุกรม ขนาน ผสม 3. 4 ชนิด อนุกรม ขนาน ผสม ผสาน 4. ไม่มีข้อถูก 26. ข้อใดเป็นการต่อแบบตัวต้านทานไฟฟ้าแบบอนุกรม ก.
  • 6. 228 ข. ค. ง. ไม่มีข้อถูก 27. ข้อใดเป็นการต่อแบบตัวต้านทานไฟฟ้าแบบขนาน ก. ข. ค. ง. ไม่มีข้อถูก 28. ข้อใดเป็นการต่อแบบตัวต้านทานไฟฟ้าแบบผสม ก. ข. ค. ง. ถูกทุกข้อ
  • 7. 229 29. จงคำานวณหาค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมของตัวต้านทานไฟฟ้า 4 ตัว แต่ละตัวมีค่า 20 Ω 2 W ต่อแบบอนุกรม ก. 5 Ω ข. 10 Ω ค. 80 Ω ง. 160 Ω 30. จงคำานวณหาค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมของตัวต้านทานไฟฟ้า 4 ตัว แต่ละตัวมีค่า 20 Ω 2 W ต่อแบบขนาน ก. 5 Ω ข. 10 Ω ค. 80 Ω ง. 160 Ω 31. จงคำานวณหาค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมที่จุด A-B โดยตัวต้านทาน ทุกตัวมีค่า 10 Ω A B ก. 5 Ω ข. 10 Ω ค. 15 Ω ง. 20Ω 32. วงจรตัวต้านทานไฟฟ้าแบบอนุกรมหมายถึงวงจรไฟฟ้าที่... ก. มีตวต้านทานไฟฟ้า 2 ต่อ อนุกรมกัน ั ข. มีตัวต้านทานไฟฟ้าตั้งแต่ 2 ตัว ต่ออนุกรมกันและต่อเข้ากับแหล่ง จ่ายไฟฟ้า ค. มีตัวต้านทานไฟฟ้าต่ออนุกรมกับแหล่งจ่ายไฟฟ้า ง. มีตัวต้านทานไฟฟ้าตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปต่ออนุกรมกัน 33. วงจรตัวต้านทานไฟฟ้าแบบอนุกรมมีค่าความต้านทานไฟฟ้ารวม เท่ากับ 5 KΩ จะมีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจรเท่าไหร่ ถ้าแรงเคลื่อนไฟฟ้าที่ แหล่งจ่าย เท่ากับ 10 V ก. 0.5 mA ข. 0.5 A ค. 2 mA ง. 2 A 34. วงจรตัวต้านทานไฟฟ้าแบบอนุกรมวงจรหนึ่งประกอบด้วยตัว ต้านทานไฟฟ้าขนาด 5 Ω จำานวน 4 ตัว ต่ออนุกรมกัน มีกระแสไฟฟ้า ไหลในวงจรเท่ากับ 0.5A จงหาค่าแรงดันไฟฟ้าตกคร่อมที่ตัวต้านทาน ไฟฟ้าตัวที่ 1 ก. 0.1 V ข. 2.5 V ค. 10 V ง. 20 V 35. จากโจทย์ข้อ 34 จงหาค่าแรงดันไฟฟ้ารวมของวงจร
  • 8. 230 ก. 0.625 V ข. 10 V ค. 40 V ง. 100 V 36. วงจรตัวต้านทานไฟฟ้าแบบขนานหมายถึงวงจาไฟฟ้าที่ ..... ก. มีตวต้านทานไฟฟ้า 2 ตัว ต่อขนานกัน ั ข. มีตัวต้านทานไฟฟ้าน้อยกว่า 2 ตัวต่อขนานกัน ค. มีตัวต้านทานไฟฟ้าต่อขนานกับแหล่งจ่ายไฟฟ้า ง. มีตัวต้านทานไฟฟ้าตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปต่อขนานกัน 37. วงจรตัวต้านทานไฟฟ้าแบบขนาน มีตัวต้านทานไฟฟ้าค่า 10 Ω 2 ตัว ขนานกัน จะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวต้านทานไฟฟ้าตัวที่ 1 เท่าไหร่ ถ้าแรงเคลื่อนไฟฟ้าที่จ่ายให้แก่วงจรมีค่า 5 V ก. 0.5 mA ข. 0.5 A ค. 1 mA ง. 1 A 38. วงจรตัวต้านทานไฟฟ้าแบบขนานวงจรหนึ่งประกอบด้วยตัวต้านทาน ไฟฟ้าขนาด 6 Ω จำานวน 3 ตัว ต่อขนานกัน ตัวต้านทานไฟฟ้าแต่ละตัวมี กระแสไหล 1 A จงหาค่ากระแสไฟฟ้าทั้งหมดของวงจร ก. 0.5 A ข. 1 A ค. 1.5 A ง. 3 A 39. จากโจทย์ข้อ 38 จงหาค่าแรงดันไฟฟ้ารวมของวงจร ก. 1 V ข. 1.5 V ค. 3 V ง. ไม่มีข้อใดถูก 40.วงจรตัวต้านทานไฟฟ้าแบบผสมหมายถึงวงจรไฟฟ้า 1. ตัวต้านทานไฟฟ้าต่อผสมกับแหล่งจ่ายไฟฟ้า 2. ตัวต้านทานไฟฟ้าอย่างน้อยกว่า 3 ตัวผสมกัน 3. ตัวต้านทานไฟฟ้าตั้งแต่ 2 ตัว ต่อขนานกันและต่อเข้ากับแหล่งจ่าย ไฟฟ้า
  • 9. 231 4. ตัวต้านทานไฟฟ้าตั้งแต่ 3 ตัวขึ้นไปต่อผสมกันและต่อเข้ากับแหล่ง จ่ายไฟฟ้า 41. จากวงจรคำานวณหาค่า IX IT R2 = 3 Ω 1. 1.5 A 2. 1.0 A 3. 0.75 A IX 4. 0.5 A E R1 R =2 R2= 1Ω T v 4Ω 2 42. จากวงจรข้อ 41 จงคำานวณหาค่า IT 1. 1.5 A 2. 1.0 A 3. 0.75 A 4. 0.5 A 43. จากวงจรข้อ 41 จงคำานวณหาค่าแรงดันไฟฟ้าตกคร่อมที่ตัวต้านทาน ขนาด 10 Ω 1. 5 V 2. 10 V 3. 15 V 4. 20 V 44. จากโจทย์ข้อ 41 ถ้ามีกระแสไฟฟ้าขนาด 1 A ไหลผ่านตัวต้านทาน ไฟฟ้า 30 Ω แรงดันไฟฟ้ารวมที่แหล่งจ่ายไฟฟ้าจะมีค่ากี่โวลต์ 1. 10 V 2. 20 V 3. 40 V 4. 60 V 45. วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าชนิดไม่มีภาะหมายถึงวงจรไฟฟ้าที่ตัว ต้านทานไฟฟ้าทำาหน้าที่ 1. แบ่งแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่ายไฟฟ้า 2. แบ่งแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่ายไฟฟ้าให้กับภาระ 3. แบ่งแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่ายไฟฟ้าให้กับตัวมันเอง 4. แบ่งแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่ายไฟฟ้าออกเป็นส่วน ๆ 46. วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าชนิดใดที่แบ่งแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่ายไฟฟ้า ออกเป็นส่วนๆ แล้วจ่ายแรงดันไฟฟ้าที่แบ่งนั้นให้กับภาระไฟฟ้า
  • 10. 232 1. วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าชนิดไม่มีภาระ 2. วงจรแบ่งแรงไฟฟ้าดันชนิดมีภาระ 3. ถูกทั้งข้อ ก และ ข 4. ไม่มีข้อถูก 47. ตัวต้านทานไฟฟ้าที่มีขนาดความต้านทานไฟฟ้าเท่ากัน จำานวน 3 ตัว ต่อเข้ากับแหล่งจ่ายไฟฟ้าขนาดแรงดันไฟฟ้าเท่ากับ 24 V ตัวต้านไฟฟ้า ตัวที่ 1 จะแบ่งแรงดันไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าไปเท่าใด ก. 24 V ข. 12 V ค. 8 V ง. 3 V 48. วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าชนิดไม่มีภาระวงจรหนึ่ง แบ่งแรงดันไฟฟ้าที่ แหล่งจ่ายไฟฟ้าออกเป็น 2 ส่วนมีขนาดแรงดันไฟฟ้าเป็น 10 และ 20 V ตามลำาดับ ถ้ากระแสไฟฟ้าไหลในวงจรมีค่าเท่ากับ 0.5 A จงหาค่าความ ต้านทานไฟฟ้าของตัวต้านทานไฟฟ้าที่แบ่งแรงดันไฟฟ้าขนาด 20 V ก. 40 Ω ข. 20 Ω ค. 10 Ω ง. 5Ω 49.วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าชนิดมีภาะหมายถึงวงจรไฟฟ้าที่ตัวต้านทาน ไฟฟ้าทำาหน้าที่ 1. แบ่งแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่ายไฟฟ้า 2. แบ่งแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่ายไฟฟ้าให้กับภาระ 3. แบ่งแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่ายไฟฟ้าให้กับตัวมันเอง 4. แบ่งแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่ายไฟฟ้าออกเป็นส่วน ๆ 50. จากวงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าชนิดมีภาระข้างล่างนี้ จงคำานวณหาค่า V1 กำาหนดให้ R1 = 5 Ω R2 = 10 Ω RL = 10 Ω IT ก. 5 V ข. 10 V ค. 15 V ง. 20 V R2 = R1 = 51. จากวงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าต่อไปนี้ ถ้ากระแสบลีดเดอร์มีค่าเท่ากับ 1 A และแรงดันไฟฟ้าที่ภาระมีค่าเท่ากับ 5 V จงหาค่าความต้านทานไฟฟ้า ITV ของ R2 R2 = R = 1 1 RL = IL V1 VL RL = IL VL
  • 11. 233 ก. 0.25 Ω ข. 5 Ω ค. 0.25 KΩ ง. 5 KΩ 52. วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้า หมายถึงวงจรไฟฟ้าที่ทำาหน้าที่ 1. แบ่งกระแสของแหล่งจ่ายไฟฟ้าออกเป็น 2 ส่วน 2. แบ่งกระแสของแหล่งจ่ายไฟฟ้าออกเป็น 3 ส่วน 3. แบ่งกระแสของแหล่งจ่ายไฟฟ้าออกเป็น ส่วน ๆ ตามจำานวนกระแส ไฟฟ้า 4. แบ่งกระแสของแหล่งจ่ายไฟฟ้าออกเป็นส่วน ๆ ตามจำานวนตัว ต้านทานไฟฟ้าที่ต่อขนานกัน 53. จงหาค่ากระแสไฟฟ้า II IT = 10A I1 I2 R1 = 4Ω R = 6Ω IT = 10A ก. 4 A ข. 5 A ค. 6 A ง. 10 A 54. จงหาค่ากระแสไฟฟ้า IB IX = IY = IA IB 6A 4A R1 = R2 = 5Ω 5Ω ก. 4 A IY ข. 5 A = ค. 6 A Iง.=10 A Y 6A 4Ω 55.จากรูปวงจรที่กำาหนดให้เมื่อแปลงค่าความต้านทานไฟฟ้าให้เป็นแบบส ตาร์ข้อไหนคือข้อที่ถูก RX RY RZ RA ก. RB ข.RA RB RC RC ค. ง. RA RB RC RC RA RB
  • 12. 234 56. กำาหนดให้ค่าความต้านทานไฟฟ้าแบบเดลต้ามีค่าเท่ากับ 6 โอห์มทุก ตัว เมื่อแปลงเป็นแบบสตาร์ตัวต้าทาานไฟฟ้าทั้ง 3 ตัว จะมีค่าเท่าไหร่ ก. 36 Ω ข. 18 Ω ค. 6 Ω ง. 2 Ω 57.จากรูปวงจรที่กำาหนดให้เมื่อแปลงค่าความต้านทานไฟฟ้าเป็นแบบ เดลต้าข้อไหนคือข้อที่ถูก RA RB RC RZ ก. ข. RY RX RY RZ RX ค. RY ง. RX RX R 58. กำาหนดให้ค่าความต้านทานไฟฟ้าแบบสตาร์มYีค่าเท่าZ บ 6 โอห์มทุก RZ R กั ตัว เมื่อแปลงเป็นแบบเดลต้า ตัวต้านทานไฟฟ้าทั้ง 3 ตัวจะมีค่าความ ต้านทานเท่าไหร่ ก. 36 Ω ข. 18 Ω ค. 6 Ω ง. 2 Ω 59.ข้อใดไม่ใช้วงจรบริดจ์ ก. วงจรไฟฟ้าที่ประกอบด้วยตัวต้านทานไฟฟ้าอย่างน้อย 4 ตัว ต่อ เข้าด้วยกัน โดยมีกัลวานอมิเตอร์หรือเครื่องมือวัดไฟฟ้าและแหล่งจ่าย พลังงานไฟฟ้าต่อไขว้กัน ข. วงจรไฟฟ้าที่ประกอบด้วยตัวต้านทานไฟฟ้าอย่างน้อย 4 ตัว ต่อ เข้าด้วยกัน โดยมีโวลต์มิเตอร์และแหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าต่อไขว้กัน ค. วงจรไฟฟ้าที่ประกอบด้วยตัวต้านทานไฟฟ้าอย่างน้อย 3 ตัว ต่อ เข้าด้วยกัน โดยมีกัลวานอมิเตอร์หรือเครื่องมือวัดไฟฟ้าและแหล่งจ่าย พลังงานไฟฟ้าต่อไขว้กัน ง. ถูกทั้ง ก และ ข 60.วงจรบริดจ์มีกี่ชนิด 1. 2 ชนิด 2. 3 ชนิด 3. 4 ชนิด 4. 5 ชนิด 61.ข้อใดคือวงจรบริดจ์สมดุลย์ 1. แรงดันไฟฟ้าของวงจรไฟฟ้ามีค่าเท่ากับศูนย์ 2. กระแสไฟฟ้าของวงจรไฟฟ้ามีค่าเท่ากับศูนย์
  • 13. 235 3. ความต้านทานไฟฟ้าของกัลวานอมิเตอร์มีค่าเท่ากับศูนย์ 4. กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านกัลวานอมิเตอร์มีค่าเท่ากับศูนย์ 62. กำาหนดให้ R1 , R2 , และ RG มีค่าเท่ากับ 2, 4 , 4 และ 2 โอห์มตาม ลำาดับจงหาค่า R4 เมื่อวงจรบริดจ์อยู่ในสภาวะสมดุลย์ ก. 2 Ω ข. 4 Ω ค. 6 Ω ง. 8 Ω 63. จากข้อ 62 เมื่อจ่ายแรงดันไฟฟ้าขนาด 13 V กระแสไฟฟ้าทั้งหมด ของวงจรจะมีค่ากี่แอมแปร์ ก. 3 ข. 2.5 ค. 2 ง. 1 64. จากข้อ 61 และข้อ 62 จะมีแรงดันไฟฟ้าตกคร่อม R2 กี่โวลต์ ก. 8 ข. 6 ค. 4 ง. 2. 65.ข้อใดคือวงจรบริดจ์แบบไม่สมดุลย์ 1. แรงดันไฟฟ้าของวงจรไฟฟ้ามีค่ามากกว่าศูนย์ 2. กระแสไฟฟ้าของวงจรไฟฟ้ามีค่ามากกว่าศูนย์ 3. ความต้านทานไฟฟ้าของกัลวานอมิเตอร์มีค่ามากกว่าศูนย์ ง. กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านกัลวานอมิเตอร์มีค่ามากกว่าศูนย์ 66. จงหาค่ากระแสไฟฟ้า IG จากวงจรบริดจ์ต่อไนี้ 1. 6 A 2. 4 A 3. 3 A 4. 1 A 67. จงหาค่าแรงดันไฟฟ้า VG จากวงจรบริดจ์ต่อไปนี้ I1 I3 R1 = A R3 = R = G I27Ω G IG I4 3Ω IT 1Ω R2 = R4 = BT = E 2Ω 25V 5Ω 1. 0.1 A 2. 0.3 A 3. 0.6 A 4. 0.9 A 68.ข้อใดเป็นนิยามกฎของเคอร์ชอฟฟ์ที่ถูกต้อง
  • 14. 236 1. ณ จุดใด ๆ ผลรวมทางเลขคณิตของแรงดันไฟฟ้าไหลเข้าจะมีค่า เท่ากับแรงดันไฟฟ้าที่ไหลออก 2. ณ จุดใด ๆ ผลรวมทางพีชคณิตของกระแสไฟฟ้าไหลเข้าจะมีค่า เท่ากับกระแสไฟฟ้าที่ไหลออก 3. ณ วงจรปิดใด ๆ ผลรวมทางพีชคณิตของแรงดันไฟฟ้าตกคร่อมจะ มีค่าเท่ากับแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่ายไฟฟ้า 4. ณ วงจรปิดใด ๆ ผลรวมทางพีชคณิตของแรงดันไฟฟ้าไหลเข้าจะ มีค่าเท่ากับแรงดันไฟฟ้าไหล 69.ดีเทอร์มิแนนท์หมายถึงอะไร 1. กลุ่มของตัวแปรที่จำานวนตัวแปรเท่ากับจำานวนค่าคงที่ 2. กลุ่มของค่าสัมประสิทธ์ที่มีจำานวนเท่ากับจำานวนตัวแปร 3. กลุ่มของตัวเลขที่จำานวนแถวเท่ากับจำานวนหลัก 4. กลุ่มของตัวเลขที่มีจำานวนตัวแปรเท่ากับจำานวนสมการ 70. จากสมการที่กำาหนดให้ จงหาค่า I1 2 6 I1 3 4 8 =I2 5 ก. 2 6 ข. 2 3 4 8 4 5 3 2 3 6 5 4 5 8 ค. 3 6 ง. 2 6 5 8 4 8 2 6 3 6 4 8 5 8 71. ข้อไหนเป็นค่าของ V2 1 2 3 V1 10 4 5 6 V =2 20 7 8 9 V3 30 ก. 1 2 3 ข. 1 2 3 4 5 6 4 5 6 7 8 9 7 8 9 10 2 3 1 10 3 20 5 6 4 20 6 30 8 9 7 30 9
  • 15. 237 ค. 10 2 3 ง. 1 10 3 20 5 6 4 20 6 30 8 9 7 30 9 1 2 3 1 2 3 4 56 4 5 6 7 8 9 7 8 9 72. จากรูป ถ้า E1 = E2 = 3 V และตัวต้านทานไฟฟ้าทุกตัวมีค่าเท่ากับ 1 Ω จงหาค่ากระแสไฟฟ้า I1 A R1 I1B I2 R2 C I3 E1 E2 R3 F E D ก. 0.5 A ข. 1 A ค. 1.5 A ง. 2 A 73. จงหาค่าของ I2 2 -1 0 I1 4 = -1 3 1 I2 0 0 1 2 I3 4 ก. 0 A ข. 1 A ค. 1.5 A ง. 2 A 74. จากรูปข้อใดเป็นสมการของเมชเคอร์เร้นท์ I1 ที่ถูกต้อง 3V 1V 2V E3 4Ω = E =3 E 2Ω = 1 R2 = R3 = 5Ω R1 = ก. (7) I1 - (5) I2 = 1 ข. (7) I1 + (5) I2 = 1 ค. (7) I1 - (5) I2 = 3 ง. (7) I1 + (5) I2 = 3
  • 16. 238 75. จากวงจรในข้อที่ 1 จงหาค่า I1 ก. 1 5 ข. -1 5 2 9 -2 9 7 5 7 5 5 9 5 9 ค. -3 5 ง. 3 5 -4 9 4 9 9 5 9 5 5 7 5 7 76. จงหาค่า IC 2 -1 0 IA 1 -1 2 -1 IB 0 1 = ก. 1 A ข. –1 A ค. 2 A ง. –2 A 77.ข้อใดกล่าวทฤษฎีของเธวินินได้ถูกต้อง 1 ก. เราสามารถยุบวงจรให้อยู่ในรูปของแหล่งกำาเนิดกระแส ไฟฟ้า 2 ข. เราสามารถยุบวงจรให้อยู่ในรูปของแหล่งกำาเนิดแรงดัน ไฟฟ้า ค. เราสามารถยุบวงจรให้อยู่ในรูปของความต้านทานไฟฟ้า ง. ไม่มีข้อถูก 78.ข้อใดคือความหมายของแรงดันไฟฟ้าเทียบเท่าเธวินินที่ถูกต้อง 1. แรงดันไฟฟ้าที่ไหลผ่านขั้ว AB ในขณะเปิดวงจร 2. แรงดันไฟฟ้าที่วัดได้ระหว่างขั้ว AB ในขณะเปิดวงจร 3. แรงดันไฟฟ้าที่ไหลผ่านขั้ว AB ในขณะลัดวงจร ง. แรงดันไฟฟ้าที่วัดได้ระหว่างขั้ว AB ในขณะลัดวงจร 79. ข้อใดคือความหมายของความต้านทานไฟฟ้าเทียบเท่าเธวินินที่ถูกต้อง 1. ความต้านทานไฟฟ้ารวมตัวที่1 มองจากขั้ว AB 2. ความต้านทานไฟฟ้ารวม 2 ตัวแรกที่มองจากขั้ว AB 3. ความต้านทานไฟฟ้ารวมทั้งหมดของวงจร มองจากขั้ว AB ง. ถูกทุกข้อ
  • 17. 239 80. จากรูปวงจรไฟฟ้า จงหาค่าของกระแสที่ไหลผ่านความต้านทานไฟฟ้า A 2Ω I3 1Ω 4Ω 2Ω 1V 4V รูป วงจรไฟฟ้า B ก. 0.37 A ข. 0.47 A ค. 0.57 A ง. 0.67 A 81. จากรูปวงจรไฟฟ้า จงหาค่าของ VAB 4Ω 5Ω 2Ω A 50V 2Ω 20V B รูป วงจรไฟฟ้า ก. 4 V ข. 4.5 V ค. 5 V ง. 5.5 V 82. จากรูปวงจรไฟฟ้า จงหาค่าต้านทานไฟฟ้าไฟฟ้าเทียบเท่าเธวินิน R’ เมื่อมองจากด้านขั้ว AB 7.5Ω 15Ω A 6Ω 3Ω R’ รูป วงจรไฟฟ้า B ก. 2 Ω ข. 2.5 Ω ค. 3 Ω ง. 3.5 Ω 83. ข้อใดกล่าวทฤษฎีนอร์ตันได้ถูกต้อง 1. เราสามารถยุบวงจรให้อยู่ในรูปของแหล่งกำาเนิดกระแสไฟฟ้า 2. เราสามารถยุบวงจรให้อยู่ในรูปของแหล่งกำาเนิดแรงดันไฟฟ้า 3. เราสามารถยุบวงจรให้อยู่ในรูปของความต้านทานไฟฟ้า 4. ไม่มีข้อถูก 84. ข้อใดคือความหมายของกระแสไฟฟ้าเทียบเท่านอร์ตัน 1. แรงดันที่ไหลผ่านขั้ว AB ในขณะปกติ 2. กระแสที่ไหลผ่านขั้ว AB ในขณะปกติ
  • 18. 240 3. แรงดันที่ไหลผ่านขั้ว AB ในขณะลัดวงจร 4. กระแสที่ไหลผ่านขั้ว AB ในขณะลัดวงจร 85. ข้อใดคือหมายที่ถูกต้องที่สุดของความต้านทานไฟฟ้าเทียบเท่านอร์ตัน 1. ความต้านทานไฟฟ้ารวมตัวที่1 มองจากขั้ว AB 2. ความต้านทานไฟฟ้ารวม 2 ตัวแรกที่มองจากขั้ว AB 3. ความต้านทานไฟฟ้ารวมทั้งหมด มองจากขั้ว AB 4. ถูกทุกข้อ 86. วงจรดังรูปจงหาค่าของกระแสไฟฟ้าเทียบเท่านอร์ตันระหว่างจุด AB A 10Ω 1A 7.5Ω 20V B 5Ω รูป วงจรไฟฟ้า ก. 2 A ข. 3 A ค. 4 A ง. 5 A 87. จากรูปวงจรไฟฟ้าข้อที่ 86 จงหาค่าความต้านทานไฟฟ้าเทียบเท่านอร์ ตันได้ ก. 1 Ω ข. 1.5 Ω ค. 2 Ω ง. 2.5 Ω 88. จากรูปวงจรไฟฟ้าจงหาค่าของกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน RL A 7.5Ω 4A 4Ω RL = 10Ω 5Ω 7V B รูป วงจรไฟฟ้า ก. 1 A ข. 1.5 A ค. 2 A ง. 2.5 A 89. จำานวนจุดสาขาตั้งแต่ 3 สาขาขึ้นไปมาต่อรวมกันเรียกว่า 1. โนด ข. ซุปเปอร์โนด ค. ปรินท์ซิเปิ้ลโนด ง. ไม่มีข้อถูก
  • 19. 241 90. จากรูปวงจรไฟฟ้า จงเขียนสมการของโนดโวลท์เตจที่โนด A I1 I3 4Ω A 2Ω B I2 8V 5Ω รูป วงจรไฟฟ้า ก. I1 = I2 + I3 ข. I1 - I2 - I3 ค. I2 + I3 -I1 ง. ถูกข้อ ก,ข 91. จากรูปวงจรไฟฟ้า จงหาค่า I1 รูป วงจรไฟฟ้า ก. 0.37 A ข. 0.47 A ค. 0.57 A ง. 0.67 A 92. จากรูปวงจรไฟฟ้าในข้อ 91 จงหาค่าของ V1 ก. 1.25 V 1Ω ข. –1.25 V ค.1Ω 0.125 V 4Ω ง. – 0.125 V 10 20 6Ω V 3Ω 5Ω Ω 10 Ω I1 10 V 5Ω 3Ω