SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 35
Downloaden Sie, um offline zu lesen
กระดาษกล้วย
โดย
นางสาวมุกดา เกตมณี
นางสาวเนาวรัตน์ ตรีพงษ์พันธ์
นางสาวดารณี เลียวกตติกุลิ
โรงเรียนสามพรานวิทยา จังหวัดนครปฐม
รายงานนีเป็นสวนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์้ ่
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ในการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์
จัดโดยสมาคมวิทยาศาสตร์แหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์่
ชื่อโครงงาน กระดาษกล้วย
ผู้ทําโครงงาน
นางสาวมุกดา เกตมณี
นางสาวเนาวรัตน์ ตรีพงษ์พันธ์
นางสาวดารณี เลียวกตติกุลิ
อาจารย์ที่ปรึกษา
นายสนม วันเพ็ญ
นายสงวน เส็งเจริญ
นางสาวอารีรัตน์ เจษฎาปกรณ์
โรงเรียนสามพรานวิทยา อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
บทคัดย่อ
จากการศึกษาวิธีการทํากระดาษที่ทําด้วยมือจากต้นกล้วย พบวา การต้มเยื่อเพื่อให้ได้เยื่อที่เหมาะสมที่จะ่
นําไปฟอกเยื่อ ควรใช้สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 3% โดยนําหนัก ใช้ระยะเวลาในการต้มเยื่อ้ 30 นาที การฟอกเยื่อ
ควรใช้สารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์เข้มข้น 1% โดยนําหนัก ระยะเวลาในการฟอกเยื่อ้ 10 นาที การยอยเยื่อทําได้่ 2 วิธี คือ
การทุบและการตีปันเยื่อ วิธีการทุบเยื่อจะให้เยื่อที่มีเส้นใยยาวกวาการตีปันเยื่อ เมื่อนําเยื่อที่ได้มาตักเยื่อเพื่อทําเป็นแผ่ ่่ ่นกระดาษ
ทําการปรับปรุงคุณภาพโดยการย้อมสี และผสมนําแป้ง ทดสอบคุณภาพของกระดาษที่ได้กบกระดาษสาที่ขายในท้องตลา้ ั
คุณภาพจะแตกตางกนไมมากนัก่ ั ่
สารบัญ
หน้า
บทคัดยอ่ ก
สารบัญ ข
สารบัญตาราง ข
บทที่ 1 บทนํา 1
บทที่ 2 เอกสารที่เกยวข้องี่ 4
บทที่ 3 อุปกรณ์ที่เกยวข้องี่ 13
บทที่ 4 ผลการทดลอง 17
บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง 23
ภาคผนวก 26
บรรณานุกรม 27
สารบัญตาราง
ตาราง 1 แสดงลักษณะเยื่อที่ได้จากการต้มโดยใช้สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์
เข้มข้นตางๆ กน ในระยะเวลา่ ั 40 นาที 17
ตาราง 2 แสดงลักษณะเยื่อกล้วยที่ได้จากการฟอกเยื่อโดยใช้สารละลายแคลเซียม
ไฮโปคลอไรด์เข้มข้นตางๆกน ระยะเวลาฟอกเยื่อ่ ั 20 นาที 18
ตาราง 3 แสดงลักษณะเยื่อ และกระดาษที่ได้จากการยอยเยื่อ่ 2 วิธี 19
ตาราง 4 แสดงลักษณะเยื่อกล้วยนําว้าและกล้วยหอม้ 20
ตาราง 5 แสดงร้อยละของเยื่อกล้วยที่ได้และลักษณะกระดาษที่ได้จากกล้วยนําว้าและ้
กล้วยหอม 21
ตาราง 6 เปรียบเทียบกระดาษกล้วยที่ผลิตได้กบกระดาษสาที่ขายในท้องตลาดในด้ั านตางๆ่ 22
บทที่ 1
บทนํา
ที่มาและความสําคัญของโครงงาน
กระดาษเป็นวัสดุชนิดหนึ่งที่มนุษย์รู้จักผลิตและใช้มาแล้วตังแตสมัยโบราณเมื่อกวา้ ่ ่ 5 พันปีมาแล้ว ชนชาติจีนเป็นพวก
แรกที่รู้จักวิธีทํากระดาษ โดยใช้วัสดุฟางข้าว เศษผ้าขีริว แหอวนที่ขาดๆและเปลือกไม้้ ้ บางชนิด เชน เปลือกต้นหมอน เป็น่ ่
วัตถุดิบ การทํากระดาษในยุคต้นๆ ทําด้วยมือทังสิน้ ้
การทํากระดาษในปัจจุบันมีอยู่ 2 ชนิด วิธีคือ การทําด้วยมือวิธีหนึ่งและการทําด้วยเครื่องจักรอีกวิธีหนึ่ง การทํา
กระดาษด้วยมือนันมีโอกาสที่จะนําเอาวัตถุดิบชนิดตางๆ มาทําเป็นกระดาษได้้ ่ อยางกว้างขวางกวาการทํากระดาษด้วยเครื่องจักร่ ่
เพราะการทํากระดาษด้วยเครื่องจักรต้องลงทุนมาก และเครื่องจักรที่ได้ออกแบบมาสําหรับวัตถุดิบชนิดใดแล้ว หากเปลี่ยนไปใช้
วัตถุดิบชนิดอื่น กจะต้องมีการแกไขปรับปรุงเครื่องจักรเป็นการใหญ ซึ่งเป็นการสินเปลืองมาก เพราะฉะนั็ ้ ่ ้ ้นโรงงานกระดาษ
ทัวๆไป จึงใช้วัตถุดิบชนิดใดชนิดหนึ่งไมมีการเปลี่ยนแปลงชนิดของวัตถุดิบบอยๆ แตในด้านการทํากระดาษด้วยมือนัน่ ้่ ่ ่
สามารถที่จะนําเอาวัตถุดิบชนิดตางๆ มาใช้ทํากระดาษโดยไมจํากด ขอเพียงวา วัตถุดิบนันๆ มีคุณสมบัติในการทําเป็นเยื่อ่ ่ ั ่ ้
กระดาษได้ดี และเหมาะสมกบการทําด้วยมือ สวนในด้านกรรมวิธีกอาจจะเปลี่ยนแปลงไปได้ตามชนิดของวัตถุดิบ ฉะนันจึงั ่ ็ ้
ปรากฏวาการทํากระดาษด้วยมือได้มีการศึกษาและค้นคว้าเรื่องวัตถุดิบกนอยูตลอดเวลา วัตถุดิบที่ใช้ผลิตกระดาษที่ทําด้วยมือใน่ ั ่
ปัจจุบันที่นิยมและเป็นที่ต้องการของตลาดทังในและตางป้ ่ ระเทศ คือ เปลือกของต้นสาที่ใช้ทํากระดาษสาเพราะสามารถ
นําไปใช้ประโยชน์ในด้านตางๆ ได้มากมาย เชน ทําดอกไม้ประดิษฐ์ กระดาษทํารม วาว กระดาษแบบเสือ พัด กระดาษหอ่ ่ ่ ่ ่้
ของขวัญ กระดาษลอกลายฝาผนัง นามบัตร จากสภาวะความต้องการกระดาษสาในรูปแบบตางๆ ที่มากขึน จึงทําให้วัตถุ่ ้ ดิบที่จะ
นํามาใช้ทํากระดาษสาคือเปลือกของต้นสาขาดแคลนอยางมากเพราะต้นสาในธรรมชาติมีปริมาณลดลงอยางรวดเร็ว จึงได้มี่ ่
การศึกษาและค้นคว้าเรื่องวัตถุดิบเพื่อใช้ทดแทนเปลือกของต้นสา เชน กระดาษที่ทําจากเส้นใยปอชนิดตางๆ กระดาษที่ทําจาก่ ่
เปลือกของต้นหมอน รวมทังกระดาษที่ทํา่ ้ จากเปลือกขอยด้วย ซึ่งวัตถุดิบดังกลาวเมื่อนํามาทําเป็นกระดาษที่ทําด้วยมือจะมี่ ่
ลักษณะและคุณสมบัติคล้ายกบกระดาษสา แตราคาต้นทุนในการผลิตสูงกวากระดาษสา ฉะนันในสภาพเศรษฐกจปัจจุบันนีจึงยังั ่ ่ ิ้ ้
ทําเป็นการค้าไมได้ คณะผู้ทําโครงงานนีจึงคิดวานาจะมีการศึกษาถึงพืชชนิ่ ่ ่้ ดอื่นที่สามารถจะนํามาใช้เป็นวัตถุดิบแทนเปลือกต้น
สาอีก โดยเฉพาะต้นกล้วย ซึ่งเป็นพืชที่มีการปลูกกนทัวไป หาได้งาย และใช้ประโยชน์ในด้านตางๆ มากมายอยูแล้ว เชน ผลไม้ั ่ ่ ่ ่่
เป็นอาหาร สวนต้นกล้วยที่เหลือกมีปริมาณมากพอที่จะใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตกระดาษที่ทําด้วยมือ่ ็ ได้ และถ้าสามารถศึกษา
จนนําต้นกล้วยมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตกระดาษที่ทําด้วยมือได้กจะทําให้การผลิตกระดาษที่ทําด้วยมือขยายขอบเขตการผลิต็
กว้างขวางยิงขึน รวมทังเป็นการเพิมพูนความรู้ การพัฒนาวิธีทํา การศึกษาหาความรู้ในด้านตางๆ เกยวกบการผลิตกระดาษที่ทํา่ ่้ ้ ่ ี่ ั
ด้วยมือ ซึ่งจะชวยทําให้ประเทศไทยของเรา เป็นผู้ที่ผลิตกระดาษที่ทําด้วยมือที่สามารถพึ่งตนเองได้ตอไปในอนาคต่ ่
จุดมุงหมายของการศึกษาค้นคว้า่
1. เพื่อศึกษาถึงวิธีการที่เหมาะสมในการทํากระดาษด้วยมือจากต้นกล้วย เกยวกบเรื่องดังตอไปนีี่ ั ่ ้
1.1 ความสัมพันธ์ระหวางความเข้ม่ ข้นของสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์กบระยะเวลาที่ใช้ในการต้มเยื่อั
1.2 ความสัมพันธ์ระหวางความเข้มข้นของสารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์กบระยะเวลาที่ใช้ในการฟอก่ ั
เยื่อ
1.3 วิธีการยอยเยื่อ ระหวางการทุบด้วยค้อนไม้และการตีปันเยื่อ่ ่ ่
2. เพื่อปรับปรุงวิธีการทํากระดาษด้วยมือจากต้นกล้วยให้สามารถใช้เป็นแนวทางในการทําเป็นอุตสาหกรรมใน
ครัวเรือน
3. เพื่อทดสอบคุณภาพของกระดาษที่ทําด้วยมือที่ผลิตได้ในด้านความเหนียว นําหนักของกระดาษ ความทึบแสงขอ้
กระดาษ ความสามารถในการซึมนําของกระดาษ้
สมมติฐานการศึกษาค้นคว้า
1. ถ้าความสัมพันธ์ระหวางความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์กบระยะเวลาที่ใช้ต้มเยื่อมีผลตอเยื่อที่ผลิต่ ั ่
ได้ดังนันเมื่อใช้ความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์กบระยะเวลาที่ต้มตางกน เยื่อที่ได้จะมีลักษณะตางกนด้วย้ ั ่ ั ่ ั
2. ถ้าความสัมพันธ์ระหวางความเข้มข้นของสารละลายแคลเ่ ซียมไฮโปคลอไรด์กบระยะเวลาที่ใช้ในการฟอกเยื่อมีผลั
ตอเยื่อที่ได้ ดังนันความเข้มข้นของสารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์กบระยะเวลาที่ใช้ในการฟอกเยื่อแตกตางกน เยื่อที่ฟอกได้่ ั ่ ั้
จะมีลักษณะแตกตางกนด้วย่ ั
3. ถ้าวิธีการยอยเยื่อมีผลตอกระดาษที่ทําด้วยมือ ดังนันวิธีการย่ ่ ่้ อยเยื่อโดยวิธีการตีปันจะให้กระดาษที่มีคุณภาพดีกวา่ ่
กระดาษที่ได้จากวิธีการทุบเยื่อด้วยค้อนไม้
ขอบเขตของการศึกษา
1. ต้นกล้วยที่ใช้เป็นวัตถุดิบในการทดลองครังนีใช้ต้นกล้วยนําว้า และกล้วยหอม้ ้ ้
2. การทดสอบคุณภาพของกระดาษที่ผลิตได้จะทดสอบคุณภาพดังนี้
2.1 นํ้าหนักของกระดาษ
2.2 ความเหนียวของกระดาษ
2.3 การทึบแสงของกระดาษ
2.4 ความสามารถในการซึมนําของกระดาษ้
คํานิยามเชิงปฏิบัติการ
1. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 1% โดยนําหนักหมายถึง การนําโซเดียมไฮดรอกไซด์้ 1 กรัม มาละลายนํา ทํ้
เป็นสารละลายปริมาตร 100 ลูกบาศกเซนติเมตร์
2. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 3% โดยนําหนักหมายถึง การนําโซเดียมไฮดรอกไซด์้ 3 กรัม มาละลายนํา ทํ้
เป็นสารละลายปริมาตร 100 ลูกบาศกเซนติเมตร์
3. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 5% โดยนําหนักหมายถึง การนําโซเดียมไฮดรอกไซด์้ 5 กรัม มาละลายนํา ทํ้
เป็นสารละลายปริมาตร 100 ลูกบาศกเซนติเมตร์
4. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 7% โดยนําหนักหมายถึง การนําโซเดียมไฮดรอกไซด์้ 7 กรัม มาละลายนํา ทํ้
เป็นสารละลายปริมาตร 100 ลูกบาศกเซนติเมตร์
5. สารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์เข้มข้น 1% โดยนําหนักหมายถึง การนําโซเดี้ ยมไฮดรอกไซด์ 1 กรัม มาละลายนํา้
ทําเป็นสารละลายปริมาตร 100 ลูกบาศกเซนติเมตร์
6. สารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์เข้มข้น 2% โดยนําหนักหมายถึง การนําโซเดียมไฮดรอกไซด์้ 2 กรัม มาละลายนํา้
ทําเป็นสารละลายปริมาตร 100 ลูกบาศกเซนติเมตร์
7. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 3% โดยนําหนักหมายถึง การนําโซเดียมไฮดรอกไซด์้ 3 กรัม มาละลายนํา ทํ้
เป็นสารละลายปริมาตร 100 ลูกบาศกเซนติเมตร์
8. สารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์เข้มข้น 4% โดยนําหนักหมายถึง การนําโซเดียมไฮดรอกไซด์้ 4 กรัม มาละลายนํา้
ทําเป็นสารละลายปริมาตร 100 ลูกบาศกเซนติเมตร์
บทที่ 2
เอกสารที่เกยวข้องี่
กล้วยเป็นพืชที่ให้ประโยชน์หลายประการ มีความเกยวข้องกบชีวิตและขนมธรรมเนียมประเพณีของไทยมาตังแตี่ ั ่้
โบราณ ในประเทศไทยมีกล้วยชนิดตางๆ หลายชนิดซึ่งสวนใหญจะเจริญเติบโตได้ดีในทุกภาคของประเทศ กล้วยให้่ ่ ่
คุณประโยชน์ในด้านโภชนาการและการใช้สอยตางๆ เป็นอยางมาก เป็นพืชที่ให้คุณคาทางอาหารสูง ชวยให้ระบบการยอย่ ่ ่ ่ ่
อาหารเป็นไปอยางมีประสิทธิภาพรับประทานเป็นประจําจะชวยเสริมสร้างสุขภาพพลานามัยที่ดี กล้วยเป็นพืชที่ให้ผลผลิตเพื่อ่ ่
บริโภคตลอดทังปีไมจํากดฤดูกาล และยังเป็นพืชที่ตกผลเร็วเมื่อเทียบกบ้ ่ ั ั ไม้ผลชนิดอื่นๆ การปลูกไมต้องใช้พืนที่มากนัก่ ้
สามารถปลูกกนได้แทบทุกครัวเรือน ดังนันกล้วยจึงเป็นพืชที่เหมาะสมชนิดหนึ่งที่ควรปลูกประจําบ้านหรือทําเป็นสวนเกษตรั ้
ขนาดใหญ่
กล้วยเป็นพันธุ์ไม้ล้มลุกสกุล Musa อยูในวงศ์่ Musaceae พันธุ์ไม้สกุลกล้วยนีมีอยูตามธรรมชา้ ่ ติแตเฉพาะในโลกเกา่ ่
ตอนที่อากาศอบอุนชุมชืน และมีอยูรวมกนหลายสิบชนิด่ ่ ่ ั้ (species) เฉพาะในประเทศไทยเทาที่ทราบในขณะนีมีอยูอยางน้อย่ ่ ่้ 5-
6 ชนิด
ลักษณะรูปพรรณ
ลําต้นประกอบด้วยกาบ (สวนลางของกานใบ่ ่ ้ ) รวมกนขึนเป็นลําั ้ (ลําต้นเทียม) ขนาดสูงตังแตเรี่ยดินถึง้ ่ 4-6
เมตร โตขนาดลําแขนยอมๆ ถึงขนาดเสาเรือน ใบเป็นแผนยาว่ ่ 1-1.50 เมตร ถึง 3.50-4 เมตร กว้างมักไมเกน่ ิ 50 เซนติเมตร กาน้
ใบยาวตังแต้ ่ 25-75 เซนติเมตร ตอนบนเป็นรองตามยาว กานใบนีแลนเลยเข้าไปเป็นทางหรือกระดูกกลางของใบโดยตลอด่ ้ ่้
ดอก ดอกออกที่ปลายลําต้นหรือเครือ ตั้ง หรือนอน หรือโค้งลงเป็นงวง ซึ่งตามปรกติยาวตํ่ากวา่ 1-1.50 เมตร
ดอกเป็นกระจุก แตละกระจุกมีปลีสีมวงแดง ดอกที่อยูตอนลางของเครือเป็นดอกตัวเมีย ตกผล สวนดอกที่อยูตอนบนๆ เครือเป็น่ ่ ่ ่ ่ ่
ดอกตัวผู้ไมตกผล ในระหวางที่ต้นกล้วยยังไมถึงเวลาจะออกดอก หรือที่เรียกวาตกเค่ ่ ่ ่ รือ ลําต้นที่แท้จริงซึ่งเรียกวา หยวก ยังคงไม่ ่
งอกขึนมาจากโคนต้น แตเมื่อจวนจะถึงเวลาออกดอกจึงจะงอกแทรกกลางลําต้นขึนมาและโผลออกที่ปลายลําต้นเป็นชอภายใน้ ้่ ่ ่
เวลาอันรวดเร็ว
ผลกล้วยรูปยาวๆ กลมๆ หรือบางทีกเป็นเหลี่ยมๆ อยูบ้าง ขนาดใหญบ้างเล็กบ้างแล้วแตชนิดและพั็ ่ ่ ่ นธุ์กบปัจจัยั
แวดล้อม สําหรับกล้วยที่ปลูกโดยมากผลยาวไมเกน่ ิ 17-18 เซนติเมตรและใหญไมเกน่ ่ ิ 4-5 เซนติเมตร อยูเป็นกระจุกเป็นแถว่
เดียวคล้ายแถวนิวมือหรือเป็นแถวคูเหมือนแถวนิวมือซ้อนสลับกน แตละกระจุกเรี้ ้่ ั ่ ยกวาหวี จํานวนหวีในเครือจะมากหรือน้อย่
แล้วแตชนิดและพันธุ์่ กล้วย และความอุดมสมบูรณ์ของพืนที่ ตามปรกติจะมีอยูระหวาง้ ่ ่ 6-10 หวี แตละหวีมี่ 10-20 ผล เมื่อผลยัง
ดิบอยูกมีสีเขียวๆ แตเมื่อสุกมีสีเหลือง หรือเหลืองนวลๆ หรือเขียวออนๆ หรือเขียวๆ เหลืองๆ เนือในเมื่อผลแกเต็มที่แล้วออน่ ็ ่ ่ ่้ ่
รสหวานๆ หรือคอนข้างชืดๆ บางทีกอม่ ็ เปรียว้
ต้นกล้วยเมื่ออายุได้ราว 10-15 เดือนกตกเครือ และเมื่อผลแกหรือสุกเต็มที่ ต้นกตายกล้วยบางชนิดมีหนอสําหรับ็ ็ ่่
สืบพันธุ์ หนอมักขึนติดกบลําต้นเกาเป็นกอ กอหนึ่งๆ อาจมีถึง่ ั้ ่ 30-40 หนอได้ กล้วยที่ปลูกกนทัวไปสําหรับเอาผลรับประทาน่ ั ่
นันถือกนวา เดิมมีกาเนิด้ ั ่ ํ และกลายมาจากกล้วยป่า และแบงออกได้เป็น่ 2 พวกตามลักษณะของเนือในผล พวกหนึ่งได้แกกล้วย้ ่
ธรรมดา เชน กล้วยนําว้า กล้วยไข ซึ่งเมื่อผลสุกแล้วเนือออน รสหวาน รับประทานสดได้เลย กล้วยพวกนีในทางพฤกษศาสตร์ม่ ่ ่้ ้ ้
ชื่อทางวิทยาศาสตร์วา่ Musa sapientum อีกพวกหนึ่งได้แกพัน่ ธุ์ตางๆ ของกล้วยกล้าย หรือ กล้าย ซึ่งเมื่อผลสุกเนือยังกระด้างๆ่ ้
อยู มีรสคอนข้างชืดไมใครหวาน ไมเหมาะแกการรับประทานสด ต้องเผาหรือต้มให้สุกเสียกอนจึงจะรับประทานได้ กล้าย่ ่ ่ ่ ่ ่ ่
ในทางพฤกษศาสตร์ใช้ชื่อทางวิทยาศาสตร์วา่ Musa paradisiaca
กล้วยพวก Musa sapientum มีอยูมากมายหลายพันธุ์เฉพาะในประเทศไทยกมีอยูหลายพันธุ์ด้วยกน ที่ปลูกกนมากและ่ ็ ่ ั ั
แพรหลายเป็นพันธุ์กล้วยการค้าในประเทศไทย กมี่ ็
1. กล้วยหอมทอง เป็นกล้วยที่นิยมปลูกและบริโภคกนมากในปัจจุบัน มีลักษณะลําต้นใหญ สูงประมาณั ่ 2-3
เมตร กาบใบชันในมีสีเขียว เครือได้รู้ ปทรงดี มีนําหนักมาก ผลยาวเรียว เปลือกหนา เมื่อสุกผิวจะมีสีเหลือง มีรสชาติหอมหวาน้
2 กล้วยไข เป็นกล้วยที่ปลูกเป็นการค้าของจังหวัดกาแพงเพชร ลักษณะกาบใบเป็นสีนําตาล สีใบเหลือง เครื่ ํ ้
ขนาดเล็ก ผิวเปลือกบาง ผลสุกเนือสีเหลือง รสหวาน้
3. กล้วยนําว้า เป็นกล้วยที้ ่มีการปลูกทัวไปทุกภาค ทนทานตอสภาพดินฟ้าอากาศได้ดีกวาพันธุ์อื่นๆ กล้ว่ ่ ่
นําว้ามีหลายชนิด เชน กล้วยนําว้าแดง กล้วยนําว้าขาว กล้วยนํ าว้าคอม้ ้ ้ ้่ ่
4. กล้วยเล็บมือนาง เป็นกล้วยที่มีการปลูกในภาคใต้ โดยเฉพาะจังหวัดชุมพร เพราะเป็นกล้วยที่ต้องการ
ความชุมชืนสูงจึงเ่ ้ จริญเติบโตได้ดี ลักษณะต้นไมสูงมากนัก เครือและผลเล็ก รสชาติหวานหอม่
กล้วยเป็นพืชที่ให้ประโยชน์ในทางเศรษฐกจอยางมากมาย ลําต้นใช้ต้มเป็นอาหารคนและปศุสัตว์ หรือใช้เป็นิ ่
ประโยชน์อยางอื่น เชน ทํากระดาษที่เรียกวา กระดาษมะนิลา่ ่ ่ (Manila paper) ทําจากกล้วยชนิดหนึ่งของฟิลิปปินส์ชื่อวา่ Musa
textiles ยางกล้วยใช้เป็นหมึกเขียนเครื่องหมายที่เสือผ้าเพราะซักนําไมตก และใช้ทําลวดลายบางอยาง กาบกล้วยใช้สําหรับแท้ ้ ่ ่
เป็นลวดลายใช้ในการประดับชัวคราว และที่สําคัญมากกคือ ใช้ทําเชือกผูกมัดและฟันเป็นเชือกเกลียว หยวกกล้วยและหัวปลีดิบ่ ่็
ใช้เป็นผักสด หรือต้มแกงรับประทาน ใบตองกล้วยทังสดและแห้งใช้หออาหารและของกล้วยอื่นๆ กบทังใช้มวนบุหรี่ด้วย สวน้ ้่ ั ่
ที่สําคัญมากที่สุดที่ได้จากกล้วยคือผล ผลกล้วยใช้รับประทานสดเป็นอาหารทําให้แห้งเป็นกล้วยตาก ทําให้สุกเป็นกล้วยเผา
กล้วยปิง กล้วยแขก กล้วยเชื่อม กล้วย้ ฉาบ ผลหามๆ ใช้บดทําแป้ งอาหาร ซึ่งเหมาะสําหรับคนไข้มาก เพราะยอยได้งายกวาแป้ งที่่ ่ ่ ่
ทําจากเมล็ดพืชพวกข้าว
การผลิตกระดาษ
การผลิตกระดาษในปัจจุบันเป็นอุตสาหกรรมที่สําคัญชนิดหนึ่ง ในกระบวนการผลิตได้ใช้ความรู้ทางด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเกอบทุกสาขา เชน เคมี ฟิื ่ สิกส์ ชีววิทยา พฤกษศาสตร์ และวนศาสตร์ โดยอาศัยสาขา
วิศวกรรมศาสตร์เป็นสวนสนับสนุนที่สําคัญ่
การผลิตกระดาษของไทยเราซึ่งมีมาตังแตอดีตแล้วนัน ขาดการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีจึงทําให้้ ้่
กระบวนการผลิตมีประสิทธิภาพตํ่าและให้ผลตอบแทนไมคุ้มคา ในปัจจุบันนีจึงได้มีการนํ่ ่ ้ าเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามาใช้ใ
กระบวนการผลิตบ้างแล้ว แตกยังให้ผลผลิตไมเพียงพอตอการใช้ในประเทศ ยังคงต้องสังทังเยื่อและกระดาษจากตางประเทศเข้า่ ็ ่ ่ ่่ ้
มาใช้อยูอีกเป็นจํานวนมาก โดยเฉพาะในกจการพิมพ์และการเขียน่ ิ
ในกระบวนการผลิตกระดาษจะแบงออกได้เป็น่ 3 ขันตอนคือ้ การเตรียมหรือเลือกวัตถุดิบ การผลิตเยื่อ
กระดาษ และการผลิตแผนกระดาษ ซึ่งแตละขันตอนมีรายละเอียดดังนี่ ่ ้ ้
1. วัตถุดิบ วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตกระดาษได้มาจากสวนตางๆ ของพืชที่ให้เส้นใย ซึ่งสวนตางๆ ของพืช่ ่ ่ ่
เหลานีจะประกอบด้วยสวนสําคัญ่ ่้ 4 สวน คือ่
1.1 เซลลูโลส (Cellulose) เป็นพอลิเมอร์ของนําตาลประกอบด้วยกลูโคสเพียงชนิดเดียว เซลลูโลสจะพบได้
เฉพาะในพืชเทานัน และจัดเป็นองค์ประกอบสําคัญของโครงสร้างของผนังเซลล์พืช่ ้
1.2 เฮมิเซลลูโลส (Hemicellulose) เป็นพอลิเมอร์ของนําตาลหลายชนิดผสมกน เชน กลูโคส แมนโนส ไซโลส้ ั ่
อะราบิโนส เฮมิเซลลูโลสมีสมบัติพิเศษที่สามารถถนอมนําและพองตัวได้ ซึ่งเป็นสมบัติที่สําคัญและมีความจําเป็นตอการทํ้ ่
กระดาษ
1.3 ลิกนิน (Lignin) เป็นพอลิเมอร์ของสารฟีนิลโพรเพนที่จับตัวกนเป็นโครงรางตาขายสามมิติ มีสีนําตาลเข้ั ่ ่ ้
จนถึงสีดํา ลิกนินจะชวยให้เส้นใยมีความแข็่ งและทําให้ออนตัวได้ยาก นอกจากนีลิกนินที่เกาะอยูกบเส้นใยถ้ามีปริมาณมาก่ ่ ั้
เกนไปจะทําให้เส้นใยมีคุณภาพไมดีิ ่
1.4 สารที่สกดได้ั (Extractive substance) เป็นสารชนิดตางๆ ที่มีอยูในพืชซึ่งจะถูกสกดออกได้ด้วยตัวทํา่ ่ ั
ละลายอินทรีย์สารเหลานีได้แก สารสี่ ้ ่ (Pigment) ไขมัน โปรตีน
พืชแตละชนิดจะมีสวนประกอบเหลานีในปริมาณและลักษณะที่แตกตางกน ทังนีขึนอยูกบสายพันธุ์ อายุ่ ่ ่ ่ ั ่ ั้ ้้ ้
และการเกบรักษากอนนํามาใช้งาน็ ่
สําหรับเส้นใยที่ใช้ในการทํากระดาษจะได้มาจากสวนตางๆ ของพืช ซึ่งอาจจําแนกออกได้เป็น่ ่ 2 พวก คือ
1.1 พวกที่เป็นเนื้อไม้ (Wood) เป็นสวนที่ได้จากสวนเนือของลําต้นพืชยืนต้นซึ่งให้เส้นใยขนาด่ ่ ้
ตางๆ กน อาจแบงออกได้เป็น่ ั ่ 2 กลุม ตามสมบัติของเนือไม้คือ่ ้
ก. ไม้เนือแข็ง้ (Hard wood) เป็นเนือไม้จากพืชยืนต้นพวกแองจิโอสเปอร์ม ไม้พวกนีมี้ ้
การผลัดใบ เชน ไม้สัก ไม้ยาง ไม้เนือแ่ ้ ข็งมีเส้นใยคอนข้างสัน แข็งและมีสีเข้ม เส้นใยที่ได้จากไม้พวกนีจะมีคุณภาพคอนข้างตํ่า่ ่้ ้
ไมนิยมใช้เป็นวัตถุดิบในการทํากระดาษ่
ข. ไม้เนือออน้ ่ (Soft wood) เป็นเนือไม้จากพืชยืนต้นพวกจิมโนสเปอร์มไม้พวกนีไมมี้ ้ ่
การผลัดใบ เชน ไม้สนสองใบ สนสามใบ ไม้เนือออนมีเ่ ่้ ส้นใยขนาดยาวเนือไม้ชนิดนีจะมีความออนตัวสูงกวาไม้เนือแข็ง และ้ ้ ้่ ่
ให้เส้นใยที่มีคุณภาพดีเหมาะสมตอการทําเป็นกระดาษ่
1.2 พวกที่ไมใชเนือไม้่ ่ ้ (Non-wood) เป็นสวนที่ได้จากพืชล้มลุกและเปลือกไม้ของพืชบางชนิด่
เส้นใยพวกนีมีขนาดแตกตางกนขึนกบชนิดของพืชเหลานั้ ่ ั ั ่้ ้น อาจแบงได้เป็น่ 4 กลุม คือ่
ก. หญ้า (Grass) เป็นสวนที่ได้จากพืชตระกูลหญ้าและไม้ไผ่ ่
ข. เปลือกไม้(Bast) เป็นสวนที่ให้เส้นใยจา่ กเปลือกของลําต้นของพืชยืนต้น เส้นใยจาก
เปลือกไม้เป็นที่นิยมใช้ทํากระดาษมาตังแตสมัยโบราณแล้ว เชน การทํากระดาษสาจากเปลือกของต้้ ่ ่ นสา กระดาษขอยจากเปลือก่
ของต้นขอย่
ค. ผล (Fruit) เป็นสวนของผลที่มีเส้นใย เชน มะพร้าว ปาล์ม ใยจากผลไม้ไมนิยมใช้ทํา่ ่ ่
กระดาษ เนื่องจากเป็นเส้นใยที่มีความแข็ง
ง. ใบ (Leaf) เป็นสวนจากใบของพืชที่ให้เส้นใย เชน ใบอ้อย ใบปาล์ม่ ่
สวนตางๆ ของพืชเหลานีจะให้่ ่ ่ ้ เส้นใยที่มีลักษณะแตกตางกน การนําเส้นใยไปใช้ทํากระดาษจึงขึนอยูกบชนิดของ่ ั ่ ั้
กระดาษที่ต้องการและกระบวนการผลิตเป็นสําคัญ
2. การผลิตเยื่อกระดาษ เป็นขันตอนที่นําวัตถุดิบจากสวนตางๆ ของพืชมายอยด้วยกระบวนการที่เหมาะสม เพื่อทําให้้ ่ ่ ่
วัตถุดิบมีความออนและแยกออกจากกนเ่ ั ป็นเส้นใย วัตถุดิบที่ใช้อาจมีขนาดและลักษณะแตกตางกน ดังนันกอนนําวัตถุดิบไป่ ั ้ ่
ยอยจึงต้องทําให้วัตถุดิบมีขนาดเล็กๆ ด้วยวิธีการตางๆ เชน ตัด บด เพื่อทําให้สะดวกตอการนําเข้าไปในเครื่องยอย การผลิตเยื่อ่ ่ ่ ่ ่
กระดาษจะมีขันตอนในการผลิตดังตอไปนี้ ่ ้
2.1 การยอยเยื่อ เมื่่ อทําชินวัตถุดิบให้มีขนาดตามที่ต้องการแล้วจึงนําวัตถุดิบเหลานีไปยอยให้เป็นเส้นใย ซึ่ง้ ่ ่้
ในระบบอุตสาหกรรมมีวิธีทําได้หลายวิธีดังนี้
ก. Mechanical process เป็นการยอยวัตถุดิบด้วยวิธีกล โดยการบดให้วัตถุดิบแตกออกจากกนจน่ ั
เป็นเยื่อกระดาษหรือเส้นใย วิธีนีนิยมใ้ ช้ผลิตเยื่อกระดาษเพื่อทํากระดาษหนังสือพิมพ์รายวัน ซึ่งเป็นกระดาษที่ไมต้องการความ่
คงทนถาวรสูงมากนัก
ข. Thermommechanical process เป็นวิธีการยอยที่มีการอบวัตถุดิบด้วยไอนําที่มีอุณหภูมิประมา่ ้
120 -140 c ในเวลาที่เหมาะสม แล้วจึงนําไปบดตอจนได้เยื่อกระดาษตามต้องการ วิธีนีนิยมใช้ทําเยื่อไม้เพื่อทํากระดาษ่ ้
หนังสือพิมพ์และกระดาษพิมพ์เขียวบางชนิด
ค. Chemimechanical process เป็นวิธีการยอยเยื่อที่มีการต้มวัตถุดิบด้วยสารเคมีจนออนนุนแล้วจึง่ ่ ่
บดให้เป็นเยื่อกระดาษ
ง. Chemithermomechanical process วิธีนีเมื่อต้มวัตถุดิบด้วยสารเคมีจนออนนุมแล้วจึงบดเยื่อไม้ที่้ ่ ่
อุณหภูมิประมาณ 120-140 c จนเป็นเยื่อกระดาษ
จ. Semichemical process เป็นวิธีการยอยเยื่อไม้โดยการต้มด้วยสารเคมีแล้วบดให้เส้นใยแยกออก่
จากกน เป็นวิธีที่งายที่สุั ่ ดในกระบวนการยอยเยื่อ และให้เยื่อที่มีคุณภาพดี ซึ่งสามารถนําไปใช้ทํากระดาษชนิดตางๆ ได้่ ่
ฉ. Chemical process เป็นวิธีการยอยเนือไม้ที่ใช้ปฏิกริยาจากสารเคมีและความร้อนเพื่อชวยยอยให้่ ิ ่ ่้
เยื่อกระดาษแยกตัวออกมาจากลิกนินและสารที่ไมต้องการ วิธีการนีนิยมใช้กนอ่ ั้ ยางแพรหลายอยูในปัจจุบัน่ ่ ่
2.2 การล้างรอนเยื่อ เยื่อกระดาษที่ผานการยอยมาแล้ว อาจมีสิงตางๆ ตกค้างอยูบนเส้นใย และเส้นใยที่ได้ยัง่ ่ ่ ่ ่่
มีขนาดแตกตางกนจึงจําเป็นต้องล้างเส้นใยเพื่อทําให้เส้นใยมีความสะอาดเพิมขึนพร้อมกบแยกเส้นใยที่ยังถูกยอยได้ไมสมบูรณ์่ ั ั ่ ่่ ้
ออกจากกนด้วยตะแกรงรอน เยื่อที่ได้หลังจากล้างและแยกเพื่อคัดขนาดแล้วจะมีสีนําตาลหรือสีเหลือง ซึ่งสามารถนําไปใช้ทํั ่ ้
กระดาษที่ไมต้องการความขาวมากนัก แตกระดาษที่ได้จะมีคุณภาพเหมาะสมกบงานบางชนิดเทานัน่ ่ ั ่ ้
2.3 การฟอกเยื่อ เส้นใยของเยื่อกระดาษที่ผานการล้างรอนเยื่่ ่ อมาแล้วจะมีสีนําตาลหรือสีเหลือง เนื่องจา้
บางสวนของเส้นใยยังคงมีลิกนินติดอยู จึงต้องฟอกเยื่อเหลานีเพื่อกาจัดลิกนินและทําให้เยื่อมีสีขาวเพิมขึนด้วย กระบวนการซึ่ง่ ่ ่ ํ้ ่ ้
เป็นที่นิยมอยูในปัจจุบันประกอบด้วย่
ก. ฟอกด้วยคลอรีน เป็นการฟอกเยื่อด้วยกาซคลอรีนโดยผาน๊ ่ กาซคลอรีนลงไปในนําเยื่อ๊ ้
ข. ล้างด้วยโซดาไฟ เยื่อที่ฟอกด้วยคลอรีนแล้วจะต้องล้างด้วยโซเดียมไฮดรอกไซด์เพื่อกาจัดํ
คลอรีนสวนที่ตกค้างอยูและในขณะเดียวกนเป็นการกาจัดลิกนินที่ตกค้างอยูออกจากเส้นใยด้วย่ ่ ั ํ ่
ค. การฟอกด้วยไฮโป เส้นใยที่ผานการฟอก่ 2 ขันตอนแรกมาแ้ ล้วจะมีสีนําตาลออน จึงอาจต้องฟอ้ ่
ขาวตอไปอีกด้วยสารละลายไฮโป การฟอกด้วยสารละลายไฮโปจะต้องทําในชวงระยะเวลาสันๆ เนื่องจากถ้าฟอกนานเกนไปจะ่ ่ ิ้
ทําให้เส้นใยถูกทําลายจนเปื่อยยุย และมีสมบัติเลวลงได้่
ง. ฟอกด้วยคลอรีนไดออกไซด์ เยื่อที่ผานการฟอกไฮโปอาจมีความขาวยังไ่ มเพียงพอ จึงต้องฟอก่
ตอไปอีกด้วยคลอรีนไดออกไซด์ การฟอกขันนีเป็นการฟอกขันสุดท้าย เยื่อที่ได้จะมีความขาวตามต้องการ และการฟอกด้วย่ ้ ้้
คลอรีนไดออกไซด์จะไมทําให้เยื่อมีคุณภาพเลวลง่
3. การผลิตแผนกระดาษ การผลิตแผนกระดาษเป็นการนําเยื่อกระดาษที่ยอยจนเป็นเส้นใยเรียบ่ ่ ่ ร้อยแล้วมาทําให้เป็น
แผนกระดาษโดยกระบวนการตางๆ ดังนี่ ่ ้
1. การเตรียมเยื่อ เยื่อที่ผานการฟอกแล้วจะถูกนํามาผสมกบนําแล้วสงเข้าเครื่องบดเยื่อ่ ั ่้ (Refiner) เพื่อทําให้
เส้นใยมีความออนตัวเพิมขึน และแยกเป็นเส้นใยเดี่ยวซึ่งมีขนาดและความยาวตามที่ต้องการ เพื่อให้เหม่ ่ ้ าะสมกบการทํากระดาษั
แตละชนิด นอกจากนีการบดเยื่อยังทําให้เส้นใยบางสวนแตกออกเป็นริว ซึ่งสวนที่แตกออกเป็นริวของเส้นใยจะชวยเพิมพืนที่ใน่ ่ ่ ่้ ้้ ้ ่
การยึดเหนี่ยว ทําให้กระดาษมีความเหนียวและมีความหนาแนนสมํ่าเสมอ ในระหวางนีจะมีการเติมสารบางชนิดลงไปด้วยเพื่่ ่ ้
ชวยปรับปรุ่ งคุณภาพของกระดาษ เชน สารกนซึม สารทึบแสง่ ั
2. การผลิตแผนกระดาษ่ เยื่อที่ผสมสวนประกอบตางๆ จนมีสมบัติตามที่ต้องการแล้วจะถูกนําไปทําเป็น่ ่
กระดาษด้วยขันตอนตางๆ ดังนี้ ่ ้
2.1 การทําแผนกระดาษ่ (Sheet formation) เป็นการทําให้เยื่อกระดาษเรียงตัวกนเป็นแผน โดยการั ่
ผานนํ่ ้าเยื่อกระดาษลงบนตะแกรง นําจะไหลผานตะแกรงและเหลือแผนกระดาษตกค้างอยูบนตะแกรง้ ่ ่ ่
2.2 การอัดรีดกระดาษ (Pressing) กระดาษที่เป็นแผนแล้วจะยังคงมีนําตกค้างอยูจึงต้องอัดรีด่ ่้
กระดาษเพื่อไลนําออก นอกจากนีการอัดรีดกระดาษยังทําให้กระดาษมีความหนาแนนเพิมขึนและเป็่ ่้ ้ ่ ้ นแผนเรียบ่
2.3 การอบกระดาษ (Drying) กระดาษที่อัดรีดเพื่อไลนํายังคงมีนําตกค้างอยูสูงกวาความต้องการ จ่ ่ ่้ ้
ต้องอบกระดาษเหลานีตอไปอีกเพื่อให้มีปริมาณของนําในกระดาษตามต้องการ โดยปกติกระดาษจะมีนําอยูประมาณร้อยละ่ ่ ่้ ้ ้ 8
2.4 การเข้าม้วน (Reeling) กระดาษที่อบแห้งแล้วจะนําไปเข้าม้วนเพื่อนําไปใช้งานตอไป่
กระดาษที่ผลิตได้ตามที่กลาวมาแล้วจะมีสวนประกอบที่สําคัญ่ ่ 2 สวนคือ่
1. เยื่อกระดาษ (pulp) เป็นสวนสําคัญของแผนกระดาษที่ได้มากจากเส้นใยของพืช เยื่อกระดาษที่่ ่
ใช้ทํากระดาษจะมีสมบัติแตกตางกนตามชนิดของกระดาษที่ผลิต เพื่อให้เหมาะสมกบความต้องการในการใช้งาน เชน กระดาษ่ ั ั ่
ทํากลองจะใช้เยื่อสีนําตาลที่ยังไมได้ฟอกสี่ ่้
2. สารปรุงแตง่ (additive, filler) เป็นสวนที่เติมลงไปในกระดาษในขณะทําการผลิต เพื่อชวย่ ่
ปรับปรุงแผนกระดาษให้มีสมบัติตามต้องการ อาจแบงชนิดของสารพวกนีได้ดังนี่ ่ ้ ้
2.1 สารป้องกนการดูดซึมั (Sizing) เป็นสารที่ใสลงในกระดาษหรือเคลือบบนผิวกระดาษ่
เพื่อทําให้กระดาษมีการดูดซึมของเหลวได้พอเหมาะกบการใช้ั งาน สารที่นิยมใช้สวนใหญเป็นพวก ชันสน สารส้ม แป้งบางชนิด่ ่
gum Arabic
2.2 สารเพิมความเหนียว เป็นสารที่เติมลงในกระดาษเพื่อเพิมความเหนียวของกระดาษ่ ่
สารที่ใช้พวกนี เชน แป้ ง้ ่
2.3 สารเพิมความทึบแสง เป็นสารที่ผสมลงในกระดาษเพื่อให้กระดาษมีความทึบแสง่
เพิ่มขึน นอกจากนียังชวยให้แผนกระดาษมีความเรียบและดูดซึมหมึกพิมพ์ได้ดี สารพวกนี ได้แก ดินขาว หินปูน ไทเทเนียมได้ ้ ้่ ่ ่
ออกไซด์
2.4 สารสี (Pigment) การผสมสีลงในกระดาษเพื่อทําให้กระดาษมีสีตามต้องการ
นอกจากนีในการทํากระดาษสีขาวจะมีการผสมสีนําเงินหรือสีมวงลงไปเพื้ ้ ่ ่อทําให้กระดาษมีสีเทาออนซึ่งจะชวยให้ดูขาวสวา่ ่ ่
ขึน้
บทความและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1. สมบัติ ได้ศึกษาเกยวกบการปรับปรุงวิธีการผลิตกระดาษสา โดยมีการปรับปรุงตังแตการคัดเลือกวัตถุดิบี่ ั ่้
วิธีการต้มเยื่อ การฟอกเยื่อ การตีเยื่อ การตัดแผนกระดาษ การลอกแผนกระ่ ่ ดาษออกจากตะแกรงขณะเปียก การรีดนําออกจา้
แผนกระดาษ การอบแห้ง รวมทังได้ผลิตอุปกรณ์เครื่องตีเยื่อ เครื่องมือตักและลอกแผนกระดาษ เครื่องไฮโดรลิกเพรส เครื่อง่ ่้
อบแห้งด้วยไอนําซึ่งการปรับปรุงกรรมวิธีการผลิตกระดาษเหลานี ทําให้ได้กระดาษที่มีคุณภาพดีขึนและใช้เทคโน้ ่ ้ ้ โลยีงายๆ่
สามารถถายทอดเทคโนโลยีสูผู้ที่ผลิตได้อยางเหมาะสม่ ่ ่ (สมบัติ อัศวปิยานนท์ 2526 : 1-9)
2. สุพจน์ ได้ศึกษาเกยวกบผลิตกระดาษด้วยวิธีการหมักจะได้กาซชีวิภาพซึ่งใช้เป็นเชือเพลิงในกระบวนการี่ ั ๊ ้
ผลิตด้วย นอกจากนีเส้นใยเซลลูโลสที่ได้มีความออนตัวมากทําใ้ ่ ห้ประหยัดพลังงานในการยอย และการหมักยังชวยลดมลพิษ่ ่
จากนําเสียด้วย จากฟางข้าวหนัก้ 1 กโลกรัม เมื่อหมักเป็นเวลาิ 20 วัน จะได้กาซชีวภาพปริมาตร๊ 480-500 ลิตร และเยื่อกระดาษที่
ฟอกขาวแล้วเป็นปริมาณร้อยละ 24.7 เส้นใยที่ฟอกสีแล้วมีความยาว 0.54-0.92 มิลลิเมตร (สุพจน์ ใช้เทียมวงศ์ 2528 : 195-
200)
3. ฉลอง ได้ศึกษาการทํากระดาษจากผักตบชวา พบวากระดาษที่ทําจากผักตบชวาที่ผานกรรมวิธี การเตรียม่ ่
วัตถุดิบ การเตรียมเยื่อ การทําแผนกระดาษ การลอกแผนกระดาษ ลักษณะของกระดาษที่ได้เป็นสีขาวบาง เนือกระดาษแนนกวา่ ่ ่ ่้
กระดาษสาเล็กน้อย มีความเหนียวพอกบกระดาษสา เยื่อกระดาษที่ได้เป็นปริมาณร้อยละั 10-20 ต้นทุนการผลิตสูงกวาการผลิต่
กระดาษสาประมาณเทาตัว จึงทําเป็นการค้าได้ยาก ถ้าจะทําเป็นกระดาษที่ทําด้วยมือควรนําเยื่อจากผักตบชวาร้อยละ่ 20 ผสมกบั
เยื่อปอสาร้อยละ 80 จะทําเป็นกระดาษบางชนิดพิเศษที่ทําด้วยมือได้ (ฉลอง เอี่ยมอาทร 2529 : 41-44)
4. ศิริอร และคณะ ได้ทําโครงงานเกยวกบการทํากระดาษที่ผลิตด้วยมือจากเปลือกของพืชชนิดตางๆี่ ั ่ 6
ชนิด คือ ขอย ชบา นุน ตะขบ สะเดา และครอบจักรวาล พบวาเปลือกของพืชทัง่ ่ ่ ้ 6 ชนิดสามารถใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิต
กระดาษที่ทําด้วยมือได้ แตเปลือกของพืชแตละชนิดจะให้คุณภาพของกระดาษที่ผลิตแตกตางกน โดยเปลือกขอยและเปลือก่ ่ ่ ั ่
ตะขบเป็นวัตถุดิบที่ใช้ผลิตกระดาษที่ทําด้วยมือที่มีคุณภาพดี จึงนํากระดาษที่ผลิตได้จากเปลือกขอยและเปลือกตะขบไป่
ปรับปรุงคุณภาพโดยการย้อมสีและเติมนําแป้ ง ปรากฏวากระ้ ่ ดาษที่ทําขึนติดสีดีและให้สีสวย การผสมนําแป้งลงไปทาให้กระด้ ้ ํ
แข็งและมีความเหนียวเพิมขึน่ ้ (ศิริอร และคณะ 2533 : 1-19)
บทที่ 3
อุปกรณ์และวิธีทําการทดลอง
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง
1. ตาชัง่
2. เครื่องดีปันผลไม้่
3. เตาแกสปิกนิก๊
4. เทอร์มอมิเตอร์
5. กะละมังอลูมิเนียม
6. หม้อเคลือบ
7. บีกเกอร์
8. กระชอนตาถี่ขนาดกลาง
9. แผนมุ้งลวดที่ทําขอบเรียบร้อยแล้ว่
10. มีดโต้และมีดบาง
11. ไม้ลูกกลิงและแผนไม้้ ่
สารเคมีที่ใช้
1. โซเดียมไฮดรอกไซด์
2. แคลเซียมไฮโปคลอไรด์
3. สีย้อมผ้า
4. แป้งมัน
วัตถุดิบที่ใช้
ต้นกล้วยนําว้าและต้นกล้วยหอม้
วิธีทําการทดลอง
ตอนที่ 1 การศึกษาวิธีการที่เหมาะสมในการผลิตกระดาษที่ทําด้วยมือจากต้นกล้วย
1. การคัดเลือกวัตถุดิบ นําต้นกล้วยนําว้าที่ตัดเอาผลไปแล้ว ลอกออกเป็นกาบ ตัดกาบกล้วยเป็นชินเล็กๆ ใช้ ้
เป็นวัตถุดิบในการทดลองตอไป่
2. ทําการต้มเยื่อโดยชังกาบกล้วย หนัก่ 1,000 กรัม ใสลงในหม้อเคลือบใบใหญ ทํา่ ่ 4 ชุดการทดลอง แตละ่
ชุดเติมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 1%, 3%, 5% และ 7% โดยนําหนักตามลําดับ โดยสารละลายแตละความเข้มข้นใช้ ่
จํานวน 3,000 ลูกบาศกเซนติเมตร นําไปต้มโดยใช้เตาแกสปิก์ ๊ นิก อุณหภูมิ 102 องศาเซลเซียส บันทึกผลลักษณะเยื่อที่ได้ทุกๆ
10 นาที รวม 40 นาที นับตังแตต้มเยื่อแล้วนําเริมเดือด เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหวางความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไฮด้ ่ ่้ ่
อกไซด์ที่ใช้กบระยะเวลาที่ต้มเยื่อั
3. นําเยื่อกาบกล้วยที่ผานการต้มเยื่อแล้ว่ โดยเลือกใช้เยื่อที่ใช้ความเข้มข้นสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์
และระยะเวลาต้มเยื่อแล้วทําให้เยื่อออนนุมดี เหมาะสมที่สุดมาทําการฟอกเยื่อตอไป นําเยื่อ หนัก่ ่ ่ 400 กรัม แบงออกเป็น่ 4 สวน่
เทาๆ กน ใสในบีกเกอร์ขนาด่ ั ่ 500 ลูกบาศกเซนติเมตร ทําเป็น์ 4 ชุดการทดลอง แตละชุดใ่ สสารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์่
เข้มข้น 1%, 2%, 3% และ 4% โดยนําหนักตามลําดับ ใช้สารละลาย้ 400 ลูกบาศกเซนติเมตร นําตังไฟ ทุกชุดควบคุมอุณหภูมิ์ ้
ประมาณ 40 องศาเซลเซียส นําเยื่อที่ผานการฟอกแล้วขึนมาศึกษาลักษณะเยื่อทุกๆ่ ้ 5 นาที เป็นเวลา 20 นาที บันทึกผลเพื่อหา
ความเข้มข้นของสารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์และระยะเวลาที่ใช้ฟอกเยื่อที่เหมาะสม
4. ศึกษาการยอยเยื่อ เลือกเยื่อ่ ที่ทําการทดลองผานข้อ่ 2 และ 3 มาแล้ว และเลือกเยื่อที่เหมาะสม 1 ชุด มาทํา
การทดลองยอยเยื่อ นําเยื่อหนัก่ 100 กรัม แบงออกเป็น่ 2 สวน สวนที่่ ่ 1 นําไปทุบด้วยค้อนไมให้เยื่อแตก สวนที่่ ่ 2 นําไปตีปัน่
ด้วยเครื่องตีปันผลไม้ นําเยื่อที่ได้ทัง่ ้ 2 สวนมาทําการตักเยื่อในกะละมังอลูมิเนียม โดยนําเยื่อที่ได้มาตีให้แผกระจายตัวในนํา ต่ ่้ ้
ด้วยตะแกรงมุ้งลวด ยกตะแกรงขึนจนสะเด็ดนํา นําไปผึ่งให้แห้ง เมื่อแห้งแล้วแกะแผนกระดาษออกจะได้้ ้ ่ กระดาษที่ผลิตได้
เปรียบเทียบกระดาษกล้วยที่ได้ระหวางการทุบเยื่อด้วยค้อนไม้กบเยื่อที่ได้จากการตีปันด้วยเครื่องตีปันผลไม้่ ั ่ ่
ตอนที่ 2 การศึกษาเปรียบเทียบเยื่อที่ได้ระหวางกล้วยนําว้าและกล้วยหอมทังสดและแห้ง่ ้ ้
1. นําต้นกล้วยนําว้าและกล้วยหอมมาลอกกาบออก นํากาบ้ กล้วยมาหันเป็นชินเล็กๆ แบงเป็น่ ้ ่ 2 สวน สวนที่่ ่
หนึ่งนําไปใช้ทดลองได้เลย สวนที่สอง นําไปผึ่งแดดให้แห้งเพื่อใช้ทดลองตอไป่ ่
2. นําสวนที่หนึ่งที่เป็นกาบกล้วยสด หนัก่ 1,000 กรัม ต้มโดยใช้สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 3%
โดยนําหนัก จํานวน้ 3,000 ลูกบาศกเซนติเมต์ ร เป็นเวลา 30 นาที นําเยื่อที่ได้ไปฟอกเยื่อด้วยสารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์
เข้มข้น 1% เป็นเวลา 10 นาที นําเยื่อที่ได้มาทุบด้วยค้อนไม้แล้วนํามาตักเยื่อเป็นแผนกระดาษ่
3. ทําเหมือนข้อ 2 แตเปลี่ยนวัตถุดิบเป็นกาบกล้วยแห้ง่
4. ศึกษาเปรียบเทียบกระดาษที่ได้จากกล้วยนําว้าและกล้วยหอม ระหวางกาบกล้วยสดและกาบกล้วยแห้ง้ ่
ตอนที่ 3 การปรับปรุงกระดาษกล้วยที่ได้
1. ทําการต้มกาบกล้วย หนัก 1,000 กรัม โดยใช้สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 3% โดยนําหนัก้
จํานวน 3,000 ลูกบาศกเซนติเมตร ระยะเวลาต้ม์ 30 นาที
2. ทําการฟอกเยื่อโดยใช้สารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์ 1% โดยนําหนักระยะเวลาฟอกเยื่อ้ 10 นาที
3. ทําการยอยเยื่อให้เยื่อแตกตัวได้ดีโดยใช้การตีปันเยื่อด้วยเครื่องตีปันผลไม้่ ่ ่
4. นําเยื่อที่ได้แบงออกเป็น่ 2 สวนเทาๆ กน เพื่อทําการทดลองตอไปนี่ ่ ั ่ ้
4.1 สวนที่่ 1 นําไปย้อมสีด้วยสีย้อมฟ้าสีตางๆ โดยนําสีย้อมผ้ามาละลายนําให้ได้สีตามต้องการ แช่ ้
เยื่อในนําสีเป็นเวลา้ 1 คืน ตักเยื่อด้วยแผนตะแกรงมุ้งลวดเพื่อทําเป็นแผนกระดาษ่ ่
4.2 สวนที่่ 2 ย้อมสีเยื่อกล้วยที่ได้ด้วยสีย้อมผ้าเป็นเวลา 1 คืน กอนนําไปตักเยื่อจะผสมด้วยนําแป้่ ้
เข้มข้น 1% ที่เตรียมจากแป้งมันละลายนําตังไฟเคี่ยวจนใส เติมนําแห้งลงไปในเนือที่ย้อมสี จ ํานวน้ ้้ ้ 200 ลูกบาศกเซนติเมตร์
5. นําเยื่อทุกสวนที่ผสมสี นําแป้ง มาตักเยื่อในกะละมังอลูมิเนียม ยกเยื่อขึนมาสะเด็ดนํา นาไปผึ่งจนแห้งก่ ็้ ้้ ํ
ได้กระดาษที่ปรับปรุงคุณภาพ
6. บันทึกผลเปรียบเทียบกระดาษที่ได้จากที่ไมปรับปรุงคุณภาพกบกระดาษที่ปรับปรุงคุณภาพแล้ว ในด้าน่ ั
นําหนักของกระดาษ ความเหนียวของกระดาษ การทึบแสง และความสามารถในการซึมนําของกระดาษ้ ้
7. วิธีทดสอบคุณภาพของกระดาษที่ทําด้วยมือที่ผลิตได้ในด้านตางๆ ทําดังนี่ ้
7.1 นําหนักของกระดาษ ทําโดยการตัด้ กระดาษ ขนาด 10 x 10 เซนติเมตร จํานวน 3 แผน ชังหา่ ่
มวลของกระดาษที่ตัดทัง้ 3 แผน แล้วคํานวณนําหนักกระดาษที่ชังได้ นําหนักของกระดาษมีคาเทากบมวลของกระดาษเป็นกร่ ่ ่ ั้ ้่
ตอพืนที่่ ้ 1 ตารางเมตร
7.2 ความเหนียวของกระดาษ หาได้จากตัดกระดาษที่จะทดสอบขนาดกว้าง 2 เซนติเมตร ยาว 10
เซนติเมตร จํานวน 3 แผน นํากระดาษแตละแผนมาใสชุดทดสอบดังรูป่ ่ ่ ่
เติมทรายลงในที่ใสนําหนักจนกระดาษขาด ชังนําหนักทรายที่ได้หาคาเฉลี่ย่ ่้ ้่ 3 ครัง้
ความเหนียวของกระดาษ จะเทากบนําหนักของกระดาษที่รับได้่ ั ้
7.3 การทึบแสงของกระดาษ ทําโดยติดตังกลองแสงให้้ ่ มีชองขนาด่ 1 x 1 เซนติเมตร นํากระดาษที่
ต้องการหาความทึบแสงวางทับบนชองแสงทีละแผนจนกระทังมองไมเห็นแสงสวางจากแหลงกาเนิด่ ่ ่ ่ ่ ํ่ แสง นับจํานวนของ
แผนกระดาษที่ใช้่
7.4 การหาความสามารถในการซึมนําของกระดาษ ทําได้โดยตัดกระดาษขนาด้ 1 x 1 เซนติเมตร
วางบนพืนเรียบ หยดนํ้ ้าลงบนกระดาษพร้อมบันทึกเวลาจนกระทังนําซึมลงไปในแผนกระดาษหมด ทําซํ า่ ้ ้่ 3 ครัง หาคาเฉลี่ย้ ่
บทที่ 4
ผลการทดลอง
ตาราง 1 แสดงลักษณะเยื่อกล้วยที่ได้จากการต้มโดยใช้สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้นตางๆ กน ในระยะเวลาที่ใช้ในการ่ ั
ต้มเยื่อ 40 นาที
ลักษณะเยื่อกล้วยที่ได้จากความเข้มข้นของ NaOHระยะเวลา
(นาที) 1% 3% 5% 7 %
10
20
30
40
มีสีนําตาลออน เยื่้ ่
สวนมาก่
ยังแข็ง บางสวนนิม่ ่
เหนียวมาก
มีสีนําตาลแดง เยื่้
สวนมากยังแข็ง เส้นใยติด่
เป็นแผน เหนียวมาก่
มีสีนําตาลแดง เยื่้
สวนมากนุม เส้นใยเหนียว่ ่
สีนําตา้ ลแดงเข้ม เส้นใ
เหนียวนุมทังหมดใช้แรง่ ้
ดึง 4.6 นิวตัน
มีสีนําตาลแดง บางสว้ ่
แข็ง บางสวนนิม เส้นใย่ ่
เหนียวมาก
มีสีนําตาลแดง เยื่้
สวนมากเริมนุม เส้นใย่ ่่
เหนียวนุม่
มีสีนําตาลแดง เส้นใ้
เหนียวนุมทังหมด ใช้แรง่ ้
ดึง 1.5 นิวตัน
มีสีนําตาลแดงเข้ม เส้นใ้
ออนนุมมา่ ่ ก ความเหนียว
ลดลง
มีสีนําตาลแดงเส้นใ้
บางสวนแข็ง บางสวนนิม่ ่ ่
เส้นใยเหนียว
มีสีนําตาลแดง เส้นใ้
เหนียวนุมทังหมด ใช้แรง่ ้
ดึง 1 นิวตัน
มีสีนําตาลแดง เส้นใยนุ้ ่
มาก ความเหนียวลดลง
สีนําตาลแดงปนดํา เส้นใ้
เริมยุย ความเหนียวลดลง่ ่
มีสีนําตาลเหลือง เส้นใ้
สวนมากนิ่ ่ม เส้นใย
เหนียวนุม ใช้แรงดึง่ 0.8
นิวตัน
มีสีนําตาลออนเส้นใ้ ่
นุมมาก ความเหนียว่
ลดลง
สีนําตาลปนดํา เส้นใ้
เริมยุย นิมมาก ไมคอย่ ่่ ่ ่
เหนียว
สีนําตาลปนดํา เยื่อสว้ ่
ใหญจะยุยมาก เส้นใยมี่ ่
ความเหนียวเล็กน้อย
จากตาราง 1 จะเห็นวาเส้นใยกล้วยที่ผานการต้มด้วยสารล่ ่ ะลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่เหมาะสมในการนําไปฟอกเยื่อ คือที่ ความ
เข้มข้น 3% เวลา 30 นาที, ความเข้มข้น 5% เวลา 20 นาที และที่ความเข้มข้น 7% เวลา 10 นาที
ตาราง 2 แสดงลักษณะเยื่อกล้วยที่ได้จากการต้มโดยใช้สารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์เข้มข้นตางๆ กน ในระยะเวลาฟอกเยื่่ ั อ
20 นาที
ลักษณะเยื่อที่ความเข้มข้นของสารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์ระยะเวลา
(นาที) 1% 2% 3% 4 %
5
10
15
20
เยื่อสีขาว นุม มีความ่
เหนียว 0.3 นิวตัน
เยื่อสีขาวเพิมขึนนุม มี่ ้ ่
ความเหนียว 0.1 นิวตัน
เยื่อสีขาวมากนุมมือ่
สวนมากเริมยุย่ ่่
เยื่อสีขาว นิม สวนมากยุย่ ่ ่
เยื่อสีขาว นุม มีความ่
เหนียวเล็กน้อย 0.1 นิวตัน
เยื่อมีสีขาวเพิมขึน นิม เยื่อ่ ่้
เริมยุย่ ่
เยื่อมีสีขาวมาก นิม เยื่อ่
สวนมากยุย่ ่
เยื่อขาวมากจนเป็นสีขาว
ขุน ไมเป็นเส้น่ ่
เยื่อมีสีขาวมาก สวนมาก่
เริมยุยนิม่ ่่
เยื่อมีสีขาวมาก จนเป็นสี
ขาวขุน เละ่
เส้นใยเละมากไมเป็นเส้น่
เละมากจนไมมีเส้นใย่
เหลืออยูเลย่
เยื่อมีสีขาวมากสวน่
ใหญจะยุย่ ่
เส้นใยเละมาก ไมเป็น่
เส้น
เละมากจนไมมีเส้นใย่
เหลืออยูเลย่
เละมากจนไมมีเส้นใย่
เหลืออยูเลย กลายเป็น่
ผงละเอียดสีขาว
จากตาราง 2 เยื่อกล้วยเมื่อฟอกสีแล้วที่เหมาะสมจะนําไปยอยเยื่อตอคือ ที่ใช้สารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์เข้มข้น่ ่ 1%
ระยะเวลา 10 นาที
ตาราง 3 แสดงลักษณะเยื่อ และกระดาษที่ได้จากการยอยเยื่อแบบทุบเยื่อและตีปันเยื่อ่ ่
วิธีการยอยเยื่อ่ ลักษณะเยื่อที่ได้ ลักษณะกระดาษที่ได้
การทุบเยื่อ มีสีขาว เส้นใยยาว เหนียวนิม เส้น่
ใยยังไมแยกออกจากกน่ ั
มีสีขาวนวล มีเยื่อยาวผสมอยูด้วยทําให้เกด่ ิ
ลวดลายบนแผนกระดาษ กระดาษมีความหนา่
บางไมเทากนตลอดทังแผน ความเหนียวของ่ ่ ั ่้
กระดาษรับนําหนักได้้ 552 กรัม
การตีปันเยื่อ่ เส้นใยมีสีขาว เส้นใยสัน นิมแ้ ่ ละ
ฟูขึน เยื่อกระดาษกระจายตัวกนดี้ ั
มีสีขาวนวล มีเยื่อยาวผสมอยูบ้างแตน้อย่ ่
กระดาษมีความหนาบางเกอบเทากนทังแผนื ่ ั ่้
ความเหนียวของกระดาษรับนําหนักได้้ 790 กรัม
จากตาราง 3 พบวาวิธีการยอยเยื่อทัง่ ่ ้ 2 วิธี สามารถผลิตกระดาษที่ทําด้วยมือได้ทัง้ 2 วิธี ซึ่งทัง้ 2 วิธีนันมีข้อดีและข้อเสียแตกตาง้ ่
กนคือ วิธีทุบเยื่อจะทําให้มีเยื่อยาวทําให้เกดลวดลายบนแผนกระดาษได้ ข้อเสียคือเยื่อไมคอยกระจายตัวตักทําเป็นแผนกระดาษั ิ ่ ่ ่ ่
ยาก สวนการตีปันเยื่อเยื่อกระดาษกระจายตัวกนดี ฟู ตัดเป็นแผนกระดาษได้งาย กระดาษมีความสมํ่าเสมอ แตเส้นใย่ ั ่ ่ ่่ บนกระดา
จะสัน้
ตอนที่ 2 การศึกษาเปรียบเทียบเยื่อที่ได้ระหวางกล้วยนําว้าและกล้วยหอมทังสดและแห้ง่ ้ ้
ตาราง 4 แสดงลักษณะเยื่อของกล้วยนําว้าและกล้วยหอม้
ลักษณะเยื่อที่ได้วัตถุดิบ ลักษณะ
กอนทําการต้ม่ เมื่อต้มด้วย เมื่อฟอกเยื่อแล้ว
สด สีนําตาลออน เส้นใย้ ่
แข็งกระด้าง ไมกระจายตัว่
รวมเป็นกลุม ทนแรงดึงได้่
1.5 นิวตัน
สีนําตาลแดง เส้นใยนิม เส้นใ้ ่ ยดึ
แยกจากกนได้เหนียวมากทนั
แรงดึงได้1.5 นิวตัน
สีขาว นิม เหนียว ทนแรงดึง่
ได้0.5 นิวตัน
กล้วย
นําว้า้
ลักษณะ
เยื่อจาก
กล้อง
จุลทรรศน์
แห้ง สีนําตาลออน้ ่ เส้นใยแข็ง
เหนียว ไมกระจายตัว รวม่
เป็นกลุม ทนแรงดึง่ 2 นิวตัน
สีนําตาลแดง เส้นใยนิม เส้นใยดึ้ ่
แยกออกจากกนได้ทนแรงดึงั
1.0 นิวตัน
สีขาวออกเหลือง ฟอกให้เยื่อ
ขาวได้ยาก เส้นใยนิม แยก่
ออกจากกนได้งาย ทนตอั ่ ่
แรงดึง 0.5 นิวตัน
กล้วย
หอม
สด สีขาว เส้นใยแข็ง ไมกระจาย่
ตัว รวมกนเป็นกลุม ทนแรงั ่
ดึง 0.5 นิวตัน
สีนําตาล เส้นใยนิม เหนียว เยื่้ ่
ได้มากกวากล้วยนําว้า ทนแรงดึ่ ้
0.5 นิวตัน
สีขาว นิม เหนียวเล็กน้อยดึง่
แยกออกจากกนได้งาย ทนั ่
ตอแรงดึง่ 0.3 นิวตัน
ลักษณะ
เยื่อจาก
กล้อง
จุลทรรศน์
แห้ง สีนําตาลออน เส้น้ ่ ใยแข็ง ไม
กระจายตัวรวมกนเป็นกลุมั ่
ทนตอแรงถึง่ 1 นิวตัน
สีนําตาล เส้นใยนิม เหนียวดึงแย้ ่
ออกจากกนได้งาย ทนตอแรงดึงั ่ ่
1.0 นิวตัน
สีขาวออกเหลือง ฟอกได้
ยาก เส้นใยเหนียว นุม ดึง่
ขาดจากกนได้งาย ทนตอแรงั ่ ่
ดึง 0.3 นิวตัน
ตาราง 5 แสดงร้อยละของเยื่อกล้วยที่ได้และลักษณะกระดาษที่ได้จากกล้วยนําว้าและกล้วยหอม้
พันธุ์กล้วย ลักษณะ
วัตถุดิบ
ร้อยละของ
เยื่อที่ได้
ลักษณะของกระดาษที่ได้
กล้วยนําว้า้
สด
แห้ง
2.8
12.5
กระดาษมีสีขาวนวล การกระจายของเยื่อสมํ่าเสมอดี มีเส้
ใยยาวปนอยูด้วย กระดาษรับนํ่ ้าหนักได้552 กรัม เนือ้
กระดาษไมคอยนิม่ ่ ่
กระดาษมีสีขาวออกนําตาล มีเยื่อยาวปนอยู เยื่อกระจายตั้ ่
ไมคอยดีนัก กระดาษรับนําหนักได้่ ่ ้ 500 กรัม เนือกระดาษ้
ไมคอยนิม่ ่ ่
กล้วยหอม
สด
แห้ง
4.5
17.0
กระดาษมีสีขาวนวล มีเยื่อยาวปนอยูด้วย เนือกระดาษ เยื่อ่ ้
กระดาษกระจายสมํ่าเสมอ เนือกระดาษหยาบไมนิม้ ่ ่
กระดาษรับนําหนักได้้ 790 กรัม
กระดาษมีสีขาวนวล มีเยื่อยาวปนอยูด้วย เยื่อกระดาษ่
กระจายตัวดี เนือกระดาษไมคอยนิม กระดาษรับนําหนั้ ่ ่ ่ ้
ได้800 กรัม
จากตาราง 4 และ 5 เกยวกบเยื่อกระดาษที่ได้จากกล้วยนําว้าและกล้วยหอม ทัี่ ั ้ งสดและแห้ง พบวาลักษณะเยื่อที่ได้ไมแตกตางก้ ่ ่ ่ ั
มากนัก แตเยื่อที่ได้จากกล้วยนําว้าแห้งและกล้วยหอมแห้ง เวลาฟอกเยื่อจะฟอกได้ขาวน้อยกวาเยื่อสด และนําหนักของเยื่อที่ได้ค่ ่้ ้
เป็นร้อยละวัตถุดิบแห้งจะให้ปริมาณเยื่อมากกวากล้วยหอมให้นําหนัก คิดเป็นร้อยละของเยื่อสู่ ้ งกวากล้วยนําว้ า แตเมื่อท ําเป่ ่้
แผนกระดาษจะได้กระดาษที่มีลักษณะไมแตกตางกนมากนัก่ ่ ่ ั
ตอนที่ 3 การปรับปรุงกระดาษกล้วยที่ได้
ตาราง 6 เปรียบเทียบกระดาษกล้วยที่ผลิตได้กบกระดาษสาที่ขายในท้องตลาดในด้านตางๆั ่
ตัวอยางที่ศึกษา่ ลักษณะทัวไป่ นําหนั้
กระดาษ
(กรัม)
ความ
เหนียว
(กรัม)
ความทึบ
แสง
(กรัม)
การซึมนําขอ้
กระดาษ
(วินาที)
กระดาษสา ผิวกระดาษเรียบ เหนียวนิม โปรง่ ่
แสง มีเส้นใยยาวและสันปนกน้ ั
ติดสีดี สีสวยงาม
200 333 5 9
กระดาษกล้วย
นําว้า้
ผิวกระดาษไมคอยเรียบ บางที่่ ่
บาง บางที่หนา ไมคอยนิม เหนียว่ ่ ่
มีเยื่อสั้นรวมเป็นกลุมๆ แทรก่
ด้วยใยยาวแตไมมาก่ ่
175 552 10 5
กระดาษกล้วย
หอม
ผิวกระดาษไมคอยเรียบ บางที่่ ่
บาง บางที่หนา เหนียว ไมคอยนิม่ ่ ่
มีเส้นใยสันรวมกนเป็นกลุมๆ้ ั ่
แทรกด้วยเส้นใยยาว
150 790 10 5
กระดาษกล้วย
ย้อมสี
เยื่อกระดาษติดสีดี ทึบแสง
เหนียว ผิวไมเรียบ มี่ เยื่อเส้นใย
สันมากกวายาว้ ่
150 780 3 5
กระดาษกล้วย
ย้อมสี นําแป้ง้
ผิวกระดาษไมคอยเรียบ กระดาษ่ ่
แข็ง มีเส้นใยสันทับกนเป็นกลุมๆ้ ั ่
เส้นใยยาวแทรกอยูเล็กน้อย บางที่่
บางบางที่หนา
150 1,167 7 7
จากตาราง 6 จะเห็นวากระดาษกล้วยที่ได้และเมื่อนํามาปรับปรุงจะมีคุณภาพต่ ่างๆ แตกตางไมมากนัก จากกระดาษสาที่มีขายใน่ ่
ท้องตลาด สามารถใช้ต้นกล้วยมาทํากระดาษที่ทําด้วยมือได้
กระดาษกล้วย
กระดาษกล้วย
กระดาษกล้วย
กระดาษกล้วย
กระดาษกล้วย

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นโครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นlek5899
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กPloy Siriwanna
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFWichitchai Buathong
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 1
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 1เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 1
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 1Enormity_tung
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 

Was ist angesagt? (20)

ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นโครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตรชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 1
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 1เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 1
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 1
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 

Andere mochten auch

เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้องเอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้องRujira Phokaew
 
กระเป๋าถักเชือกร่ม
กระเป๋าถักเชือกร่มกระเป๋าถักเชือกร่ม
กระเป๋าถักเชือกร่มMnt 'pm
 
โครงงานเครื่องกำจัดหยากไย่
โครงงานเครื่องกำจัดหยากไย่โครงงานเครื่องกำจัดหยากไย่
โครงงานเครื่องกำจัดหยากไย่Kritat Kantiya
 
โครงงาน เคสโทรศัพท์จากใยกล้วย
โครงงาน เคสโทรศัพท์จากใยกล้วยโครงงาน เคสโทรศัพท์จากใยกล้วย
โครงงาน เคสโทรศัพท์จากใยกล้วยWaii Monkeynuaghty
 
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาโครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาSornram Wicheislang
 
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006Thidarat Termphon
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 

Andere mochten auch (8)

เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้องเอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
กระเป๋าถักเชือกร่ม
กระเป๋าถักเชือกร่มกระเป๋าถักเชือกร่ม
กระเป๋าถักเชือกร่ม
 
โครงงานเครื่องกำจัดหยากไย่
โครงงานเครื่องกำจัดหยากไย่โครงงานเครื่องกำจัดหยากไย่
โครงงานเครื่องกำจัดหยากไย่
 
โครงงาน เคสโทรศัพท์จากใยกล้วย
โครงงาน เคสโทรศัพท์จากใยกล้วยโครงงาน เคสโทรศัพท์จากใยกล้วย
โครงงาน เคสโทรศัพท์จากใยกล้วย
 
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาโครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
 
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 

Ähnlich wie กระดาษกล้วย

รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
Random 130819040345-phpapp01 (2)(1)
Random 130819040345-phpapp01 (2)(1)Random 130819040345-phpapp01 (2)(1)
Random 130819040345-phpapp01 (2)(1)Adison Malasri
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
โครงงานคุณธรรม
โครงงานคุณธรรมโครงงานคุณธรรม
โครงงานคุณธรรมteerasak ch.
 
khuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomkhuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomwimon1960
 
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)Tanutcha Pintong
 
ดอกมะลิ
ดอกมะลิดอกมะลิ
ดอกมะลิpaunphet
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงsavokclash
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
โครงงานวิทย์ Fastastic มหัศจรรย์กระดาษจากใบเตย
โครงงานวิทย์ Fastastic มหัศจรรย์กระดาษจากใบเตยโครงงานวิทย์ Fastastic มหัศจรรย์กระดาษจากใบเตย
โครงงานวิทย์ Fastastic มหัศจรรย์กระดาษจากใบเตยKazuma Fujiwara
 
Poopoopaper 111
Poopoopaper 111Poopoopaper 111
Poopoopaper 111okokmax234
 
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกพัน พัน
 
E bookวัสดุธรรมชาติ
E bookวัสดุธรรมชาติE bookวัสดุธรรมชาติ
E bookวัสดุธรรมชาติkhuwawa
 
สวนสวยหวาน
สวนสวยหวานสวนสวยหวาน
สวนสวยหวานBenjawan Punkum
 

Ähnlich wie กระดาษกล้วย (20)

รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
Random 130819040345-phpapp01 (2)(1)
Random 130819040345-phpapp01 (2)(1)Random 130819040345-phpapp01 (2)(1)
Random 130819040345-phpapp01 (2)(1)
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
โครงงานคุณธรรม
โครงงานคุณธรรมโครงงานคุณธรรม
โครงงานคุณธรรม
 
khuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomkhuankalong wittayakom
khuankalong wittayakom
 
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
 
ดอกมะลิ
ดอกมะลิดอกมะลิ
ดอกมะลิ
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
โครงงานวิทย์ Fastastic มหัศจรรย์กระดาษจากใบเตย
โครงงานวิทย์ Fastastic มหัศจรรย์กระดาษจากใบเตยโครงงานวิทย์ Fastastic มหัศจรรย์กระดาษจากใบเตย
โครงงานวิทย์ Fastastic มหัศจรรย์กระดาษจากใบเตย
 
Poopoopaper 111
Poopoopaper 111Poopoopaper 111
Poopoopaper 111
 
BDC412 Poopoopaper
BDC412 PoopoopaperBDC412 Poopoopaper
BDC412 Poopoopaper
 
Thailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_tsThailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_ts
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Bastard teak (Herbarium)
Bastard teak (Herbarium)Bastard teak (Herbarium)
Bastard teak (Herbarium)
 
File
FileFile
File
 
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
 
E bookวัสดุธรรมชาติ
E bookวัสดุธรรมชาติE bookวัสดุธรรมชาติ
E bookวัสดุธรรมชาติ
 
สวนสวยหวาน
สวนสวยหวานสวนสวยหวาน
สวนสวยหวาน
 

Mehr von นัทนวีน ศิริทัพ

Mehr von นัทนวีน ศิริทัพ (20)

ONET 50
ONET 50ONET 50
ONET 50
 
ONET 52
ONET 52ONET 52
ONET 52
 
ONET 51
ONET 51ONET 51
ONET 51
 
ONET 50
ONET 50ONET 50
ONET 50
 
ONET 49
ONET 49ONET 49
ONET 49
 
เฉลยปี53
เฉลยปี53เฉลยปี53
เฉลยปี53
 
เฉลยปี52
เฉลยปี52เฉลยปี52
เฉลยปี52
 
เฉลยปี51
เฉลยปี51เฉลยปี51
เฉลยปี51
 
เฉลยปี50
เฉลยปี50เฉลยปี50
เฉลยปี50
 
เฉลยปี49
เฉลยปี49เฉลยปี49
เฉลยปี49
 
ONET 53
ONET 53ONET 53
ONET 53
 
ใบงานที่ 9-15
ใบงานที่ 9-15ใบงานที่ 9-15
ใบงานที่ 9-15
 
รูปแบบ O net ม.6
รูปแบบ O net ม.6รูปแบบ O net ม.6
รูปแบบ O net ม.6
 
สุขะ
สุขะสุขะ
สุขะ
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
คณิต
คณิตคณิต
คณิต
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
อังกฤษ
อังกฤษอังกฤษ
อังกฤษ
 
อังกฤษ 52
อังกฤษ 52อังกฤษ 52
อังกฤษ 52
 

กระดาษกล้วย

  • 1. กระดาษกล้วย โดย นางสาวมุกดา เกตมณี นางสาวเนาวรัตน์ ตรีพงษ์พันธ์ นางสาวดารณี เลียวกตติกุลิ โรงเรียนสามพรานวิทยา จังหวัดนครปฐม รายงานนีเป็นสวนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์้ ่ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ จัดโดยสมาคมวิทยาศาสตร์แหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์่
  • 2. ชื่อโครงงาน กระดาษกล้วย ผู้ทําโครงงาน นางสาวมุกดา เกตมณี นางสาวเนาวรัตน์ ตรีพงษ์พันธ์ นางสาวดารณี เลียวกตติกุลิ อาจารย์ที่ปรึกษา นายสนม วันเพ็ญ นายสงวน เส็งเจริญ นางสาวอารีรัตน์ เจษฎาปกรณ์ โรงเรียนสามพรานวิทยา อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
  • 3. บทคัดย่อ จากการศึกษาวิธีการทํากระดาษที่ทําด้วยมือจากต้นกล้วย พบวา การต้มเยื่อเพื่อให้ได้เยื่อที่เหมาะสมที่จะ่ นําไปฟอกเยื่อ ควรใช้สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 3% โดยนําหนัก ใช้ระยะเวลาในการต้มเยื่อ้ 30 นาที การฟอกเยื่อ ควรใช้สารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์เข้มข้น 1% โดยนําหนัก ระยะเวลาในการฟอกเยื่อ้ 10 นาที การยอยเยื่อทําได้่ 2 วิธี คือ การทุบและการตีปันเยื่อ วิธีการทุบเยื่อจะให้เยื่อที่มีเส้นใยยาวกวาการตีปันเยื่อ เมื่อนําเยื่อที่ได้มาตักเยื่อเพื่อทําเป็นแผ่ ่่ ่นกระดาษ ทําการปรับปรุงคุณภาพโดยการย้อมสี และผสมนําแป้ง ทดสอบคุณภาพของกระดาษที่ได้กบกระดาษสาที่ขายในท้องตลา้ ั คุณภาพจะแตกตางกนไมมากนัก่ ั ่
  • 4. สารบัญ หน้า บทคัดยอ่ ก สารบัญ ข สารบัญตาราง ข บทที่ 1 บทนํา 1 บทที่ 2 เอกสารที่เกยวข้องี่ 4 บทที่ 3 อุปกรณ์ที่เกยวข้องี่ 13 บทที่ 4 ผลการทดลอง 17 บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง 23 ภาคผนวก 26 บรรณานุกรม 27
  • 5. สารบัญตาราง ตาราง 1 แสดงลักษณะเยื่อที่ได้จากการต้มโดยใช้สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ เข้มข้นตางๆ กน ในระยะเวลา่ ั 40 นาที 17 ตาราง 2 แสดงลักษณะเยื่อกล้วยที่ได้จากการฟอกเยื่อโดยใช้สารละลายแคลเซียม ไฮโปคลอไรด์เข้มข้นตางๆกน ระยะเวลาฟอกเยื่อ่ ั 20 นาที 18 ตาราง 3 แสดงลักษณะเยื่อ และกระดาษที่ได้จากการยอยเยื่อ่ 2 วิธี 19 ตาราง 4 แสดงลักษณะเยื่อกล้วยนําว้าและกล้วยหอม้ 20 ตาราง 5 แสดงร้อยละของเยื่อกล้วยที่ได้และลักษณะกระดาษที่ได้จากกล้วยนําว้าและ้ กล้วยหอม 21 ตาราง 6 เปรียบเทียบกระดาษกล้วยที่ผลิตได้กบกระดาษสาที่ขายในท้องตลาดในด้ั านตางๆ่ 22
  • 6. บทที่ 1 บทนํา ที่มาและความสําคัญของโครงงาน กระดาษเป็นวัสดุชนิดหนึ่งที่มนุษย์รู้จักผลิตและใช้มาแล้วตังแตสมัยโบราณเมื่อกวา้ ่ ่ 5 พันปีมาแล้ว ชนชาติจีนเป็นพวก แรกที่รู้จักวิธีทํากระดาษ โดยใช้วัสดุฟางข้าว เศษผ้าขีริว แหอวนที่ขาดๆและเปลือกไม้้ ้ บางชนิด เชน เปลือกต้นหมอน เป็น่ ่ วัตถุดิบ การทํากระดาษในยุคต้นๆ ทําด้วยมือทังสิน้ ้ การทํากระดาษในปัจจุบันมีอยู่ 2 ชนิด วิธีคือ การทําด้วยมือวิธีหนึ่งและการทําด้วยเครื่องจักรอีกวิธีหนึ่ง การทํา กระดาษด้วยมือนันมีโอกาสที่จะนําเอาวัตถุดิบชนิดตางๆ มาทําเป็นกระดาษได้้ ่ อยางกว้างขวางกวาการทํากระดาษด้วยเครื่องจักร่ ่ เพราะการทํากระดาษด้วยเครื่องจักรต้องลงทุนมาก และเครื่องจักรที่ได้ออกแบบมาสําหรับวัตถุดิบชนิดใดแล้ว หากเปลี่ยนไปใช้ วัตถุดิบชนิดอื่น กจะต้องมีการแกไขปรับปรุงเครื่องจักรเป็นการใหญ ซึ่งเป็นการสินเปลืองมาก เพราะฉะนั็ ้ ่ ้ ้นโรงงานกระดาษ ทัวๆไป จึงใช้วัตถุดิบชนิดใดชนิดหนึ่งไมมีการเปลี่ยนแปลงชนิดของวัตถุดิบบอยๆ แตในด้านการทํากระดาษด้วยมือนัน่ ้่ ่ ่ สามารถที่จะนําเอาวัตถุดิบชนิดตางๆ มาใช้ทํากระดาษโดยไมจํากด ขอเพียงวา วัตถุดิบนันๆ มีคุณสมบัติในการทําเป็นเยื่อ่ ่ ั ่ ้ กระดาษได้ดี และเหมาะสมกบการทําด้วยมือ สวนในด้านกรรมวิธีกอาจจะเปลี่ยนแปลงไปได้ตามชนิดของวัตถุดิบ ฉะนันจึงั ่ ็ ้ ปรากฏวาการทํากระดาษด้วยมือได้มีการศึกษาและค้นคว้าเรื่องวัตถุดิบกนอยูตลอดเวลา วัตถุดิบที่ใช้ผลิตกระดาษที่ทําด้วยมือใน่ ั ่ ปัจจุบันที่นิยมและเป็นที่ต้องการของตลาดทังในและตางป้ ่ ระเทศ คือ เปลือกของต้นสาที่ใช้ทํากระดาษสาเพราะสามารถ นําไปใช้ประโยชน์ในด้านตางๆ ได้มากมาย เชน ทําดอกไม้ประดิษฐ์ กระดาษทํารม วาว กระดาษแบบเสือ พัด กระดาษหอ่ ่ ่ ่ ่้ ของขวัญ กระดาษลอกลายฝาผนัง นามบัตร จากสภาวะความต้องการกระดาษสาในรูปแบบตางๆ ที่มากขึน จึงทําให้วัตถุ่ ้ ดิบที่จะ นํามาใช้ทํากระดาษสาคือเปลือกของต้นสาขาดแคลนอยางมากเพราะต้นสาในธรรมชาติมีปริมาณลดลงอยางรวดเร็ว จึงได้มี่ ่ การศึกษาและค้นคว้าเรื่องวัตถุดิบเพื่อใช้ทดแทนเปลือกของต้นสา เชน กระดาษที่ทําจากเส้นใยปอชนิดตางๆ กระดาษที่ทําจาก่ ่ เปลือกของต้นหมอน รวมทังกระดาษที่ทํา่ ้ จากเปลือกขอยด้วย ซึ่งวัตถุดิบดังกลาวเมื่อนํามาทําเป็นกระดาษที่ทําด้วยมือจะมี่ ่ ลักษณะและคุณสมบัติคล้ายกบกระดาษสา แตราคาต้นทุนในการผลิตสูงกวากระดาษสา ฉะนันในสภาพเศรษฐกจปัจจุบันนีจึงยังั ่ ่ ิ้ ้ ทําเป็นการค้าไมได้ คณะผู้ทําโครงงานนีจึงคิดวานาจะมีการศึกษาถึงพืชชนิ่ ่ ่้ ดอื่นที่สามารถจะนํามาใช้เป็นวัตถุดิบแทนเปลือกต้น สาอีก โดยเฉพาะต้นกล้วย ซึ่งเป็นพืชที่มีการปลูกกนทัวไป หาได้งาย และใช้ประโยชน์ในด้านตางๆ มากมายอยูแล้ว เชน ผลไม้ั ่ ่ ่ ่่ เป็นอาหาร สวนต้นกล้วยที่เหลือกมีปริมาณมากพอที่จะใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตกระดาษที่ทําด้วยมือ่ ็ ได้ และถ้าสามารถศึกษา
  • 7. จนนําต้นกล้วยมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตกระดาษที่ทําด้วยมือได้กจะทําให้การผลิตกระดาษที่ทําด้วยมือขยายขอบเขตการผลิต็ กว้างขวางยิงขึน รวมทังเป็นการเพิมพูนความรู้ การพัฒนาวิธีทํา การศึกษาหาความรู้ในด้านตางๆ เกยวกบการผลิตกระดาษที่ทํา่ ่้ ้ ่ ี่ ั ด้วยมือ ซึ่งจะชวยทําให้ประเทศไทยของเรา เป็นผู้ที่ผลิตกระดาษที่ทําด้วยมือที่สามารถพึ่งตนเองได้ตอไปในอนาคต่ ่ จุดมุงหมายของการศึกษาค้นคว้า่ 1. เพื่อศึกษาถึงวิธีการที่เหมาะสมในการทํากระดาษด้วยมือจากต้นกล้วย เกยวกบเรื่องดังตอไปนีี่ ั ่ ้ 1.1 ความสัมพันธ์ระหวางความเข้ม่ ข้นของสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์กบระยะเวลาที่ใช้ในการต้มเยื่อั 1.2 ความสัมพันธ์ระหวางความเข้มข้นของสารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์กบระยะเวลาที่ใช้ในการฟอก่ ั เยื่อ 1.3 วิธีการยอยเยื่อ ระหวางการทุบด้วยค้อนไม้และการตีปันเยื่อ่ ่ ่ 2. เพื่อปรับปรุงวิธีการทํากระดาษด้วยมือจากต้นกล้วยให้สามารถใช้เป็นแนวทางในการทําเป็นอุตสาหกรรมใน ครัวเรือน 3. เพื่อทดสอบคุณภาพของกระดาษที่ทําด้วยมือที่ผลิตได้ในด้านความเหนียว นําหนักของกระดาษ ความทึบแสงขอ้ กระดาษ ความสามารถในการซึมนําของกระดาษ้ สมมติฐานการศึกษาค้นคว้า 1. ถ้าความสัมพันธ์ระหวางความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์กบระยะเวลาที่ใช้ต้มเยื่อมีผลตอเยื่อที่ผลิต่ ั ่ ได้ดังนันเมื่อใช้ความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์กบระยะเวลาที่ต้มตางกน เยื่อที่ได้จะมีลักษณะตางกนด้วย้ ั ่ ั ่ ั 2. ถ้าความสัมพันธ์ระหวางความเข้มข้นของสารละลายแคลเ่ ซียมไฮโปคลอไรด์กบระยะเวลาที่ใช้ในการฟอกเยื่อมีผลั ตอเยื่อที่ได้ ดังนันความเข้มข้นของสารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์กบระยะเวลาที่ใช้ในการฟอกเยื่อแตกตางกน เยื่อที่ฟอกได้่ ั ่ ั้ จะมีลักษณะแตกตางกนด้วย่ ั 3. ถ้าวิธีการยอยเยื่อมีผลตอกระดาษที่ทําด้วยมือ ดังนันวิธีการย่ ่ ่้ อยเยื่อโดยวิธีการตีปันจะให้กระดาษที่มีคุณภาพดีกวา่ ่ กระดาษที่ได้จากวิธีการทุบเยื่อด้วยค้อนไม้
  • 8. ขอบเขตของการศึกษา 1. ต้นกล้วยที่ใช้เป็นวัตถุดิบในการทดลองครังนีใช้ต้นกล้วยนําว้า และกล้วยหอม้ ้ ้ 2. การทดสอบคุณภาพของกระดาษที่ผลิตได้จะทดสอบคุณภาพดังนี้ 2.1 นํ้าหนักของกระดาษ 2.2 ความเหนียวของกระดาษ 2.3 การทึบแสงของกระดาษ 2.4 ความสามารถในการซึมนําของกระดาษ้ คํานิยามเชิงปฏิบัติการ 1. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 1% โดยนําหนักหมายถึง การนําโซเดียมไฮดรอกไซด์้ 1 กรัม มาละลายนํา ทํ้ เป็นสารละลายปริมาตร 100 ลูกบาศกเซนติเมตร์ 2. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 3% โดยนําหนักหมายถึง การนําโซเดียมไฮดรอกไซด์้ 3 กรัม มาละลายนํา ทํ้ เป็นสารละลายปริมาตร 100 ลูกบาศกเซนติเมตร์ 3. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 5% โดยนําหนักหมายถึง การนําโซเดียมไฮดรอกไซด์้ 5 กรัม มาละลายนํา ทํ้ เป็นสารละลายปริมาตร 100 ลูกบาศกเซนติเมตร์ 4. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 7% โดยนําหนักหมายถึง การนําโซเดียมไฮดรอกไซด์้ 7 กรัม มาละลายนํา ทํ้ เป็นสารละลายปริมาตร 100 ลูกบาศกเซนติเมตร์ 5. สารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์เข้มข้น 1% โดยนําหนักหมายถึง การนําโซเดี้ ยมไฮดรอกไซด์ 1 กรัม มาละลายนํา้ ทําเป็นสารละลายปริมาตร 100 ลูกบาศกเซนติเมตร์ 6. สารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์เข้มข้น 2% โดยนําหนักหมายถึง การนําโซเดียมไฮดรอกไซด์้ 2 กรัม มาละลายนํา้ ทําเป็นสารละลายปริมาตร 100 ลูกบาศกเซนติเมตร์ 7. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 3% โดยนําหนักหมายถึง การนําโซเดียมไฮดรอกไซด์้ 3 กรัม มาละลายนํา ทํ้ เป็นสารละลายปริมาตร 100 ลูกบาศกเซนติเมตร์
  • 9. 8. สารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์เข้มข้น 4% โดยนําหนักหมายถึง การนําโซเดียมไฮดรอกไซด์้ 4 กรัม มาละลายนํา้ ทําเป็นสารละลายปริมาตร 100 ลูกบาศกเซนติเมตร์
  • 10. บทที่ 2 เอกสารที่เกยวข้องี่ กล้วยเป็นพืชที่ให้ประโยชน์หลายประการ มีความเกยวข้องกบชีวิตและขนมธรรมเนียมประเพณีของไทยมาตังแตี่ ั ่้ โบราณ ในประเทศไทยมีกล้วยชนิดตางๆ หลายชนิดซึ่งสวนใหญจะเจริญเติบโตได้ดีในทุกภาคของประเทศ กล้วยให้่ ่ ่ คุณประโยชน์ในด้านโภชนาการและการใช้สอยตางๆ เป็นอยางมาก เป็นพืชที่ให้คุณคาทางอาหารสูง ชวยให้ระบบการยอย่ ่ ่ ่ ่ อาหารเป็นไปอยางมีประสิทธิภาพรับประทานเป็นประจําจะชวยเสริมสร้างสุขภาพพลานามัยที่ดี กล้วยเป็นพืชที่ให้ผลผลิตเพื่อ่ ่ บริโภคตลอดทังปีไมจํากดฤดูกาล และยังเป็นพืชที่ตกผลเร็วเมื่อเทียบกบ้ ่ ั ั ไม้ผลชนิดอื่นๆ การปลูกไมต้องใช้พืนที่มากนัก่ ้ สามารถปลูกกนได้แทบทุกครัวเรือน ดังนันกล้วยจึงเป็นพืชที่เหมาะสมชนิดหนึ่งที่ควรปลูกประจําบ้านหรือทําเป็นสวนเกษตรั ้ ขนาดใหญ่ กล้วยเป็นพันธุ์ไม้ล้มลุกสกุล Musa อยูในวงศ์่ Musaceae พันธุ์ไม้สกุลกล้วยนีมีอยูตามธรรมชา้ ่ ติแตเฉพาะในโลกเกา่ ่ ตอนที่อากาศอบอุนชุมชืน และมีอยูรวมกนหลายสิบชนิด่ ่ ่ ั้ (species) เฉพาะในประเทศไทยเทาที่ทราบในขณะนีมีอยูอยางน้อย่ ่ ่้ 5- 6 ชนิด ลักษณะรูปพรรณ ลําต้นประกอบด้วยกาบ (สวนลางของกานใบ่ ่ ้ ) รวมกนขึนเป็นลําั ้ (ลําต้นเทียม) ขนาดสูงตังแตเรี่ยดินถึง้ ่ 4-6 เมตร โตขนาดลําแขนยอมๆ ถึงขนาดเสาเรือน ใบเป็นแผนยาว่ ่ 1-1.50 เมตร ถึง 3.50-4 เมตร กว้างมักไมเกน่ ิ 50 เซนติเมตร กาน้ ใบยาวตังแต้ ่ 25-75 เซนติเมตร ตอนบนเป็นรองตามยาว กานใบนีแลนเลยเข้าไปเป็นทางหรือกระดูกกลางของใบโดยตลอด่ ้ ่้ ดอก ดอกออกที่ปลายลําต้นหรือเครือ ตั้ง หรือนอน หรือโค้งลงเป็นงวง ซึ่งตามปรกติยาวตํ่ากวา่ 1-1.50 เมตร ดอกเป็นกระจุก แตละกระจุกมีปลีสีมวงแดง ดอกที่อยูตอนลางของเครือเป็นดอกตัวเมีย ตกผล สวนดอกที่อยูตอนบนๆ เครือเป็น่ ่ ่ ่ ่ ่ ดอกตัวผู้ไมตกผล ในระหวางที่ต้นกล้วยยังไมถึงเวลาจะออกดอก หรือที่เรียกวาตกเค่ ่ ่ ่ รือ ลําต้นที่แท้จริงซึ่งเรียกวา หยวก ยังคงไม่ ่ งอกขึนมาจากโคนต้น แตเมื่อจวนจะถึงเวลาออกดอกจึงจะงอกแทรกกลางลําต้นขึนมาและโผลออกที่ปลายลําต้นเป็นชอภายใน้ ้่ ่ ่ เวลาอันรวดเร็ว ผลกล้วยรูปยาวๆ กลมๆ หรือบางทีกเป็นเหลี่ยมๆ อยูบ้าง ขนาดใหญบ้างเล็กบ้างแล้วแตชนิดและพั็ ่ ่ ่ นธุ์กบปัจจัยั แวดล้อม สําหรับกล้วยที่ปลูกโดยมากผลยาวไมเกน่ ิ 17-18 เซนติเมตรและใหญไมเกน่ ่ ิ 4-5 เซนติเมตร อยูเป็นกระจุกเป็นแถว่ เดียวคล้ายแถวนิวมือหรือเป็นแถวคูเหมือนแถวนิวมือซ้อนสลับกน แตละกระจุกเรี้ ้่ ั ่ ยกวาหวี จํานวนหวีในเครือจะมากหรือน้อย่
  • 11. แล้วแตชนิดและพันธุ์่ กล้วย และความอุดมสมบูรณ์ของพืนที่ ตามปรกติจะมีอยูระหวาง้ ่ ่ 6-10 หวี แตละหวีมี่ 10-20 ผล เมื่อผลยัง ดิบอยูกมีสีเขียวๆ แตเมื่อสุกมีสีเหลือง หรือเหลืองนวลๆ หรือเขียวออนๆ หรือเขียวๆ เหลืองๆ เนือในเมื่อผลแกเต็มที่แล้วออน่ ็ ่ ่ ่้ ่ รสหวานๆ หรือคอนข้างชืดๆ บางทีกอม่ ็ เปรียว้ ต้นกล้วยเมื่ออายุได้ราว 10-15 เดือนกตกเครือ และเมื่อผลแกหรือสุกเต็มที่ ต้นกตายกล้วยบางชนิดมีหนอสําหรับ็ ็ ่่ สืบพันธุ์ หนอมักขึนติดกบลําต้นเกาเป็นกอ กอหนึ่งๆ อาจมีถึง่ ั้ ่ 30-40 หนอได้ กล้วยที่ปลูกกนทัวไปสําหรับเอาผลรับประทาน่ ั ่ นันถือกนวา เดิมมีกาเนิด้ ั ่ ํ และกลายมาจากกล้วยป่า และแบงออกได้เป็น่ 2 พวกตามลักษณะของเนือในผล พวกหนึ่งได้แกกล้วย้ ่ ธรรมดา เชน กล้วยนําว้า กล้วยไข ซึ่งเมื่อผลสุกแล้วเนือออน รสหวาน รับประทานสดได้เลย กล้วยพวกนีในทางพฤกษศาสตร์ม่ ่ ่้ ้ ้ ชื่อทางวิทยาศาสตร์วา่ Musa sapientum อีกพวกหนึ่งได้แกพัน่ ธุ์ตางๆ ของกล้วยกล้าย หรือ กล้าย ซึ่งเมื่อผลสุกเนือยังกระด้างๆ่ ้ อยู มีรสคอนข้างชืดไมใครหวาน ไมเหมาะแกการรับประทานสด ต้องเผาหรือต้มให้สุกเสียกอนจึงจะรับประทานได้ กล้าย่ ่ ่ ่ ่ ่ ่ ในทางพฤกษศาสตร์ใช้ชื่อทางวิทยาศาสตร์วา่ Musa paradisiaca กล้วยพวก Musa sapientum มีอยูมากมายหลายพันธุ์เฉพาะในประเทศไทยกมีอยูหลายพันธุ์ด้วยกน ที่ปลูกกนมากและ่ ็ ่ ั ั แพรหลายเป็นพันธุ์กล้วยการค้าในประเทศไทย กมี่ ็ 1. กล้วยหอมทอง เป็นกล้วยที่นิยมปลูกและบริโภคกนมากในปัจจุบัน มีลักษณะลําต้นใหญ สูงประมาณั ่ 2-3 เมตร กาบใบชันในมีสีเขียว เครือได้รู้ ปทรงดี มีนําหนักมาก ผลยาวเรียว เปลือกหนา เมื่อสุกผิวจะมีสีเหลือง มีรสชาติหอมหวาน้ 2 กล้วยไข เป็นกล้วยที่ปลูกเป็นการค้าของจังหวัดกาแพงเพชร ลักษณะกาบใบเป็นสีนําตาล สีใบเหลือง เครื่ ํ ้ ขนาดเล็ก ผิวเปลือกบาง ผลสุกเนือสีเหลือง รสหวาน้ 3. กล้วยนําว้า เป็นกล้วยที้ ่มีการปลูกทัวไปทุกภาค ทนทานตอสภาพดินฟ้าอากาศได้ดีกวาพันธุ์อื่นๆ กล้ว่ ่ ่ นําว้ามีหลายชนิด เชน กล้วยนําว้าแดง กล้วยนําว้าขาว กล้วยนํ าว้าคอม้ ้ ้ ้่ ่ 4. กล้วยเล็บมือนาง เป็นกล้วยที่มีการปลูกในภาคใต้ โดยเฉพาะจังหวัดชุมพร เพราะเป็นกล้วยที่ต้องการ ความชุมชืนสูงจึงเ่ ้ จริญเติบโตได้ดี ลักษณะต้นไมสูงมากนัก เครือและผลเล็ก รสชาติหวานหอม่ กล้วยเป็นพืชที่ให้ประโยชน์ในทางเศรษฐกจอยางมากมาย ลําต้นใช้ต้มเป็นอาหารคนและปศุสัตว์ หรือใช้เป็นิ ่ ประโยชน์อยางอื่น เชน ทํากระดาษที่เรียกวา กระดาษมะนิลา่ ่ ่ (Manila paper) ทําจากกล้วยชนิดหนึ่งของฟิลิปปินส์ชื่อวา่ Musa textiles ยางกล้วยใช้เป็นหมึกเขียนเครื่องหมายที่เสือผ้าเพราะซักนําไมตก และใช้ทําลวดลายบางอยาง กาบกล้วยใช้สําหรับแท้ ้ ่ ่
  • 12. เป็นลวดลายใช้ในการประดับชัวคราว และที่สําคัญมากกคือ ใช้ทําเชือกผูกมัดและฟันเป็นเชือกเกลียว หยวกกล้วยและหัวปลีดิบ่ ่็ ใช้เป็นผักสด หรือต้มแกงรับประทาน ใบตองกล้วยทังสดและแห้งใช้หออาหารและของกล้วยอื่นๆ กบทังใช้มวนบุหรี่ด้วย สวน้ ้่ ั ่ ที่สําคัญมากที่สุดที่ได้จากกล้วยคือผล ผลกล้วยใช้รับประทานสดเป็นอาหารทําให้แห้งเป็นกล้วยตาก ทําให้สุกเป็นกล้วยเผา กล้วยปิง กล้วยแขก กล้วยเชื่อม กล้วย้ ฉาบ ผลหามๆ ใช้บดทําแป้ งอาหาร ซึ่งเหมาะสําหรับคนไข้มาก เพราะยอยได้งายกวาแป้ งที่่ ่ ่ ่ ทําจากเมล็ดพืชพวกข้าว การผลิตกระดาษ การผลิตกระดาษในปัจจุบันเป็นอุตสาหกรรมที่สําคัญชนิดหนึ่ง ในกระบวนการผลิตได้ใช้ความรู้ทางด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเกอบทุกสาขา เชน เคมี ฟิื ่ สิกส์ ชีววิทยา พฤกษศาสตร์ และวนศาสตร์ โดยอาศัยสาขา วิศวกรรมศาสตร์เป็นสวนสนับสนุนที่สําคัญ่ การผลิตกระดาษของไทยเราซึ่งมีมาตังแตอดีตแล้วนัน ขาดการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีจึงทําให้้ ้่ กระบวนการผลิตมีประสิทธิภาพตํ่าและให้ผลตอบแทนไมคุ้มคา ในปัจจุบันนีจึงได้มีการนํ่ ่ ้ าเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามาใช้ใ กระบวนการผลิตบ้างแล้ว แตกยังให้ผลผลิตไมเพียงพอตอการใช้ในประเทศ ยังคงต้องสังทังเยื่อและกระดาษจากตางประเทศเข้า่ ็ ่ ่ ่่ ้ มาใช้อยูอีกเป็นจํานวนมาก โดยเฉพาะในกจการพิมพ์และการเขียน่ ิ ในกระบวนการผลิตกระดาษจะแบงออกได้เป็น่ 3 ขันตอนคือ้ การเตรียมหรือเลือกวัตถุดิบ การผลิตเยื่อ กระดาษ และการผลิตแผนกระดาษ ซึ่งแตละขันตอนมีรายละเอียดดังนี่ ่ ้ ้ 1. วัตถุดิบ วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตกระดาษได้มาจากสวนตางๆ ของพืชที่ให้เส้นใย ซึ่งสวนตางๆ ของพืช่ ่ ่ ่ เหลานีจะประกอบด้วยสวนสําคัญ่ ่้ 4 สวน คือ่ 1.1 เซลลูโลส (Cellulose) เป็นพอลิเมอร์ของนําตาลประกอบด้วยกลูโคสเพียงชนิดเดียว เซลลูโลสจะพบได้ เฉพาะในพืชเทานัน และจัดเป็นองค์ประกอบสําคัญของโครงสร้างของผนังเซลล์พืช่ ้ 1.2 เฮมิเซลลูโลส (Hemicellulose) เป็นพอลิเมอร์ของนําตาลหลายชนิดผสมกน เชน กลูโคส แมนโนส ไซโลส้ ั ่ อะราบิโนส เฮมิเซลลูโลสมีสมบัติพิเศษที่สามารถถนอมนําและพองตัวได้ ซึ่งเป็นสมบัติที่สําคัญและมีความจําเป็นตอการทํ้ ่ กระดาษ
  • 13. 1.3 ลิกนิน (Lignin) เป็นพอลิเมอร์ของสารฟีนิลโพรเพนที่จับตัวกนเป็นโครงรางตาขายสามมิติ มีสีนําตาลเข้ั ่ ่ ้ จนถึงสีดํา ลิกนินจะชวยให้เส้นใยมีความแข็่ งและทําให้ออนตัวได้ยาก นอกจากนีลิกนินที่เกาะอยูกบเส้นใยถ้ามีปริมาณมาก่ ่ ั้ เกนไปจะทําให้เส้นใยมีคุณภาพไมดีิ ่ 1.4 สารที่สกดได้ั (Extractive substance) เป็นสารชนิดตางๆ ที่มีอยูในพืชซึ่งจะถูกสกดออกได้ด้วยตัวทํา่ ่ ั ละลายอินทรีย์สารเหลานีได้แก สารสี่ ้ ่ (Pigment) ไขมัน โปรตีน พืชแตละชนิดจะมีสวนประกอบเหลานีในปริมาณและลักษณะที่แตกตางกน ทังนีขึนอยูกบสายพันธุ์ อายุ่ ่ ่ ่ ั ่ ั้ ้้ ้ และการเกบรักษากอนนํามาใช้งาน็ ่ สําหรับเส้นใยที่ใช้ในการทํากระดาษจะได้มาจากสวนตางๆ ของพืช ซึ่งอาจจําแนกออกได้เป็น่ ่ 2 พวก คือ 1.1 พวกที่เป็นเนื้อไม้ (Wood) เป็นสวนที่ได้จากสวนเนือของลําต้นพืชยืนต้นซึ่งให้เส้นใยขนาด่ ่ ้ ตางๆ กน อาจแบงออกได้เป็น่ ั ่ 2 กลุม ตามสมบัติของเนือไม้คือ่ ้ ก. ไม้เนือแข็ง้ (Hard wood) เป็นเนือไม้จากพืชยืนต้นพวกแองจิโอสเปอร์ม ไม้พวกนีมี้ ้ การผลัดใบ เชน ไม้สัก ไม้ยาง ไม้เนือแ่ ้ ข็งมีเส้นใยคอนข้างสัน แข็งและมีสีเข้ม เส้นใยที่ได้จากไม้พวกนีจะมีคุณภาพคอนข้างตํ่า่ ่้ ้ ไมนิยมใช้เป็นวัตถุดิบในการทํากระดาษ่ ข. ไม้เนือออน้ ่ (Soft wood) เป็นเนือไม้จากพืชยืนต้นพวกจิมโนสเปอร์มไม้พวกนีไมมี้ ้ ่ การผลัดใบ เชน ไม้สนสองใบ สนสามใบ ไม้เนือออนมีเ่ ่้ ส้นใยขนาดยาวเนือไม้ชนิดนีจะมีความออนตัวสูงกวาไม้เนือแข็ง และ้ ้ ้่ ่ ให้เส้นใยที่มีคุณภาพดีเหมาะสมตอการทําเป็นกระดาษ่ 1.2 พวกที่ไมใชเนือไม้่ ่ ้ (Non-wood) เป็นสวนที่ได้จากพืชล้มลุกและเปลือกไม้ของพืชบางชนิด่ เส้นใยพวกนีมีขนาดแตกตางกนขึนกบชนิดของพืชเหลานั้ ่ ั ั ่้ ้น อาจแบงได้เป็น่ 4 กลุม คือ่ ก. หญ้า (Grass) เป็นสวนที่ได้จากพืชตระกูลหญ้าและไม้ไผ่ ่ ข. เปลือกไม้(Bast) เป็นสวนที่ให้เส้นใยจา่ กเปลือกของลําต้นของพืชยืนต้น เส้นใยจาก เปลือกไม้เป็นที่นิยมใช้ทํากระดาษมาตังแตสมัยโบราณแล้ว เชน การทํากระดาษสาจากเปลือกของต้้ ่ ่ นสา กระดาษขอยจากเปลือก่ ของต้นขอย่ ค. ผล (Fruit) เป็นสวนของผลที่มีเส้นใย เชน มะพร้าว ปาล์ม ใยจากผลไม้ไมนิยมใช้ทํา่ ่ ่ กระดาษ เนื่องจากเป็นเส้นใยที่มีความแข็ง
  • 14. ง. ใบ (Leaf) เป็นสวนจากใบของพืชที่ให้เส้นใย เชน ใบอ้อย ใบปาล์ม่ ่ สวนตางๆ ของพืชเหลานีจะให้่ ่ ่ ้ เส้นใยที่มีลักษณะแตกตางกน การนําเส้นใยไปใช้ทํากระดาษจึงขึนอยูกบชนิดของ่ ั ่ ั้ กระดาษที่ต้องการและกระบวนการผลิตเป็นสําคัญ 2. การผลิตเยื่อกระดาษ เป็นขันตอนที่นําวัตถุดิบจากสวนตางๆ ของพืชมายอยด้วยกระบวนการที่เหมาะสม เพื่อทําให้้ ่ ่ ่ วัตถุดิบมีความออนและแยกออกจากกนเ่ ั ป็นเส้นใย วัตถุดิบที่ใช้อาจมีขนาดและลักษณะแตกตางกน ดังนันกอนนําวัตถุดิบไป่ ั ้ ่ ยอยจึงต้องทําให้วัตถุดิบมีขนาดเล็กๆ ด้วยวิธีการตางๆ เชน ตัด บด เพื่อทําให้สะดวกตอการนําเข้าไปในเครื่องยอย การผลิตเยื่อ่ ่ ่ ่ ่ กระดาษจะมีขันตอนในการผลิตดังตอไปนี้ ่ ้ 2.1 การยอยเยื่อ เมื่่ อทําชินวัตถุดิบให้มีขนาดตามที่ต้องการแล้วจึงนําวัตถุดิบเหลานีไปยอยให้เป็นเส้นใย ซึ่ง้ ่ ่้ ในระบบอุตสาหกรรมมีวิธีทําได้หลายวิธีดังนี้ ก. Mechanical process เป็นการยอยวัตถุดิบด้วยวิธีกล โดยการบดให้วัตถุดิบแตกออกจากกนจน่ ั เป็นเยื่อกระดาษหรือเส้นใย วิธีนีนิยมใ้ ช้ผลิตเยื่อกระดาษเพื่อทํากระดาษหนังสือพิมพ์รายวัน ซึ่งเป็นกระดาษที่ไมต้องการความ่ คงทนถาวรสูงมากนัก ข. Thermommechanical process เป็นวิธีการยอยที่มีการอบวัตถุดิบด้วยไอนําที่มีอุณหภูมิประมา่ ้ 120 -140 c ในเวลาที่เหมาะสม แล้วจึงนําไปบดตอจนได้เยื่อกระดาษตามต้องการ วิธีนีนิยมใช้ทําเยื่อไม้เพื่อทํากระดาษ่ ้ หนังสือพิมพ์และกระดาษพิมพ์เขียวบางชนิด ค. Chemimechanical process เป็นวิธีการยอยเยื่อที่มีการต้มวัตถุดิบด้วยสารเคมีจนออนนุนแล้วจึง่ ่ ่ บดให้เป็นเยื่อกระดาษ ง. Chemithermomechanical process วิธีนีเมื่อต้มวัตถุดิบด้วยสารเคมีจนออนนุมแล้วจึงบดเยื่อไม้ที่้ ่ ่ อุณหภูมิประมาณ 120-140 c จนเป็นเยื่อกระดาษ จ. Semichemical process เป็นวิธีการยอยเยื่อไม้โดยการต้มด้วยสารเคมีแล้วบดให้เส้นใยแยกออก่ จากกน เป็นวิธีที่งายที่สุั ่ ดในกระบวนการยอยเยื่อ และให้เยื่อที่มีคุณภาพดี ซึ่งสามารถนําไปใช้ทํากระดาษชนิดตางๆ ได้่ ่ ฉ. Chemical process เป็นวิธีการยอยเนือไม้ที่ใช้ปฏิกริยาจากสารเคมีและความร้อนเพื่อชวยยอยให้่ ิ ่ ่้ เยื่อกระดาษแยกตัวออกมาจากลิกนินและสารที่ไมต้องการ วิธีการนีนิยมใช้กนอ่ ั้ ยางแพรหลายอยูในปัจจุบัน่ ่ ่
  • 15. 2.2 การล้างรอนเยื่อ เยื่อกระดาษที่ผานการยอยมาแล้ว อาจมีสิงตางๆ ตกค้างอยูบนเส้นใย และเส้นใยที่ได้ยัง่ ่ ่ ่ ่่ มีขนาดแตกตางกนจึงจําเป็นต้องล้างเส้นใยเพื่อทําให้เส้นใยมีความสะอาดเพิมขึนพร้อมกบแยกเส้นใยที่ยังถูกยอยได้ไมสมบูรณ์่ ั ั ่ ่่ ้ ออกจากกนด้วยตะแกรงรอน เยื่อที่ได้หลังจากล้างและแยกเพื่อคัดขนาดแล้วจะมีสีนําตาลหรือสีเหลือง ซึ่งสามารถนําไปใช้ทํั ่ ้ กระดาษที่ไมต้องการความขาวมากนัก แตกระดาษที่ได้จะมีคุณภาพเหมาะสมกบงานบางชนิดเทานัน่ ่ ั ่ ้ 2.3 การฟอกเยื่อ เส้นใยของเยื่อกระดาษที่ผานการล้างรอนเยื่่ ่ อมาแล้วจะมีสีนําตาลหรือสีเหลือง เนื่องจา้ บางสวนของเส้นใยยังคงมีลิกนินติดอยู จึงต้องฟอกเยื่อเหลานีเพื่อกาจัดลิกนินและทําให้เยื่อมีสีขาวเพิมขึนด้วย กระบวนการซึ่ง่ ่ ่ ํ้ ่ ้ เป็นที่นิยมอยูในปัจจุบันประกอบด้วย่ ก. ฟอกด้วยคลอรีน เป็นการฟอกเยื่อด้วยกาซคลอรีนโดยผาน๊ ่ กาซคลอรีนลงไปในนําเยื่อ๊ ้ ข. ล้างด้วยโซดาไฟ เยื่อที่ฟอกด้วยคลอรีนแล้วจะต้องล้างด้วยโซเดียมไฮดรอกไซด์เพื่อกาจัดํ คลอรีนสวนที่ตกค้างอยูและในขณะเดียวกนเป็นการกาจัดลิกนินที่ตกค้างอยูออกจากเส้นใยด้วย่ ่ ั ํ ่ ค. การฟอกด้วยไฮโป เส้นใยที่ผานการฟอก่ 2 ขันตอนแรกมาแ้ ล้วจะมีสีนําตาลออน จึงอาจต้องฟอ้ ่ ขาวตอไปอีกด้วยสารละลายไฮโป การฟอกด้วยสารละลายไฮโปจะต้องทําในชวงระยะเวลาสันๆ เนื่องจากถ้าฟอกนานเกนไปจะ่ ่ ิ้ ทําให้เส้นใยถูกทําลายจนเปื่อยยุย และมีสมบัติเลวลงได้่ ง. ฟอกด้วยคลอรีนไดออกไซด์ เยื่อที่ผานการฟอกไฮโปอาจมีความขาวยังไ่ มเพียงพอ จึงต้องฟอก่ ตอไปอีกด้วยคลอรีนไดออกไซด์ การฟอกขันนีเป็นการฟอกขันสุดท้าย เยื่อที่ได้จะมีความขาวตามต้องการ และการฟอกด้วย่ ้ ้้ คลอรีนไดออกไซด์จะไมทําให้เยื่อมีคุณภาพเลวลง่ 3. การผลิตแผนกระดาษ การผลิตแผนกระดาษเป็นการนําเยื่อกระดาษที่ยอยจนเป็นเส้นใยเรียบ่ ่ ่ ร้อยแล้วมาทําให้เป็น แผนกระดาษโดยกระบวนการตางๆ ดังนี่ ่ ้ 1. การเตรียมเยื่อ เยื่อที่ผานการฟอกแล้วจะถูกนํามาผสมกบนําแล้วสงเข้าเครื่องบดเยื่อ่ ั ่้ (Refiner) เพื่อทําให้ เส้นใยมีความออนตัวเพิมขึน และแยกเป็นเส้นใยเดี่ยวซึ่งมีขนาดและความยาวตามที่ต้องการ เพื่อให้เหม่ ่ ้ าะสมกบการทํากระดาษั แตละชนิด นอกจากนีการบดเยื่อยังทําให้เส้นใยบางสวนแตกออกเป็นริว ซึ่งสวนที่แตกออกเป็นริวของเส้นใยจะชวยเพิมพืนที่ใน่ ่ ่ ่้ ้้ ้ ่ การยึดเหนี่ยว ทําให้กระดาษมีความเหนียวและมีความหนาแนนสมํ่าเสมอ ในระหวางนีจะมีการเติมสารบางชนิดลงไปด้วยเพื่่ ่ ้ ชวยปรับปรุ่ งคุณภาพของกระดาษ เชน สารกนซึม สารทึบแสง่ ั 2. การผลิตแผนกระดาษ่ เยื่อที่ผสมสวนประกอบตางๆ จนมีสมบัติตามที่ต้องการแล้วจะถูกนําไปทําเป็น่ ่
  • 16. กระดาษด้วยขันตอนตางๆ ดังนี้ ่ ้ 2.1 การทําแผนกระดาษ่ (Sheet formation) เป็นการทําให้เยื่อกระดาษเรียงตัวกนเป็นแผน โดยการั ่ ผานนํ่ ้าเยื่อกระดาษลงบนตะแกรง นําจะไหลผานตะแกรงและเหลือแผนกระดาษตกค้างอยูบนตะแกรง้ ่ ่ ่ 2.2 การอัดรีดกระดาษ (Pressing) กระดาษที่เป็นแผนแล้วจะยังคงมีนําตกค้างอยูจึงต้องอัดรีด่ ่้ กระดาษเพื่อไลนําออก นอกจากนีการอัดรีดกระดาษยังทําให้กระดาษมีความหนาแนนเพิมขึนและเป็่ ่้ ้ ่ ้ นแผนเรียบ่ 2.3 การอบกระดาษ (Drying) กระดาษที่อัดรีดเพื่อไลนํายังคงมีนําตกค้างอยูสูงกวาความต้องการ จ่ ่ ่้ ้ ต้องอบกระดาษเหลานีตอไปอีกเพื่อให้มีปริมาณของนําในกระดาษตามต้องการ โดยปกติกระดาษจะมีนําอยูประมาณร้อยละ่ ่ ่้ ้ ้ 8 2.4 การเข้าม้วน (Reeling) กระดาษที่อบแห้งแล้วจะนําไปเข้าม้วนเพื่อนําไปใช้งานตอไป่ กระดาษที่ผลิตได้ตามที่กลาวมาแล้วจะมีสวนประกอบที่สําคัญ่ ่ 2 สวนคือ่ 1. เยื่อกระดาษ (pulp) เป็นสวนสําคัญของแผนกระดาษที่ได้มากจากเส้นใยของพืช เยื่อกระดาษที่่ ่ ใช้ทํากระดาษจะมีสมบัติแตกตางกนตามชนิดของกระดาษที่ผลิต เพื่อให้เหมาะสมกบความต้องการในการใช้งาน เชน กระดาษ่ ั ั ่ ทํากลองจะใช้เยื่อสีนําตาลที่ยังไมได้ฟอกสี่ ่้ 2. สารปรุงแตง่ (additive, filler) เป็นสวนที่เติมลงไปในกระดาษในขณะทําการผลิต เพื่อชวย่ ่ ปรับปรุงแผนกระดาษให้มีสมบัติตามต้องการ อาจแบงชนิดของสารพวกนีได้ดังนี่ ่ ้ ้ 2.1 สารป้องกนการดูดซึมั (Sizing) เป็นสารที่ใสลงในกระดาษหรือเคลือบบนผิวกระดาษ่ เพื่อทําให้กระดาษมีการดูดซึมของเหลวได้พอเหมาะกบการใช้ั งาน สารที่นิยมใช้สวนใหญเป็นพวก ชันสน สารส้ม แป้งบางชนิด่ ่ gum Arabic 2.2 สารเพิมความเหนียว เป็นสารที่เติมลงในกระดาษเพื่อเพิมความเหนียวของกระดาษ่ ่ สารที่ใช้พวกนี เชน แป้ ง้ ่ 2.3 สารเพิมความทึบแสง เป็นสารที่ผสมลงในกระดาษเพื่อให้กระดาษมีความทึบแสง่ เพิ่มขึน นอกจากนียังชวยให้แผนกระดาษมีความเรียบและดูดซึมหมึกพิมพ์ได้ดี สารพวกนี ได้แก ดินขาว หินปูน ไทเทเนียมได้ ้ ้่ ่ ่ ออกไซด์
  • 17. 2.4 สารสี (Pigment) การผสมสีลงในกระดาษเพื่อทําให้กระดาษมีสีตามต้องการ นอกจากนีในการทํากระดาษสีขาวจะมีการผสมสีนําเงินหรือสีมวงลงไปเพื้ ้ ่ ่อทําให้กระดาษมีสีเทาออนซึ่งจะชวยให้ดูขาวสวา่ ่ ่ ขึน้ บทความและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. สมบัติ ได้ศึกษาเกยวกบการปรับปรุงวิธีการผลิตกระดาษสา โดยมีการปรับปรุงตังแตการคัดเลือกวัตถุดิบี่ ั ่้ วิธีการต้มเยื่อ การฟอกเยื่อ การตีเยื่อ การตัดแผนกระดาษ การลอกแผนกระ่ ่ ดาษออกจากตะแกรงขณะเปียก การรีดนําออกจา้ แผนกระดาษ การอบแห้ง รวมทังได้ผลิตอุปกรณ์เครื่องตีเยื่อ เครื่องมือตักและลอกแผนกระดาษ เครื่องไฮโดรลิกเพรส เครื่อง่ ่้ อบแห้งด้วยไอนําซึ่งการปรับปรุงกรรมวิธีการผลิตกระดาษเหลานี ทําให้ได้กระดาษที่มีคุณภาพดีขึนและใช้เทคโน้ ่ ้ ้ โลยีงายๆ่ สามารถถายทอดเทคโนโลยีสูผู้ที่ผลิตได้อยางเหมาะสม่ ่ ่ (สมบัติ อัศวปิยานนท์ 2526 : 1-9) 2. สุพจน์ ได้ศึกษาเกยวกบผลิตกระดาษด้วยวิธีการหมักจะได้กาซชีวิภาพซึ่งใช้เป็นเชือเพลิงในกระบวนการี่ ั ๊ ้ ผลิตด้วย นอกจากนีเส้นใยเซลลูโลสที่ได้มีความออนตัวมากทําใ้ ่ ห้ประหยัดพลังงานในการยอย และการหมักยังชวยลดมลพิษ่ ่ จากนําเสียด้วย จากฟางข้าวหนัก้ 1 กโลกรัม เมื่อหมักเป็นเวลาิ 20 วัน จะได้กาซชีวภาพปริมาตร๊ 480-500 ลิตร และเยื่อกระดาษที่ ฟอกขาวแล้วเป็นปริมาณร้อยละ 24.7 เส้นใยที่ฟอกสีแล้วมีความยาว 0.54-0.92 มิลลิเมตร (สุพจน์ ใช้เทียมวงศ์ 2528 : 195- 200) 3. ฉลอง ได้ศึกษาการทํากระดาษจากผักตบชวา พบวากระดาษที่ทําจากผักตบชวาที่ผานกรรมวิธี การเตรียม่ ่ วัตถุดิบ การเตรียมเยื่อ การทําแผนกระดาษ การลอกแผนกระดาษ ลักษณะของกระดาษที่ได้เป็นสีขาวบาง เนือกระดาษแนนกวา่ ่ ่ ่้ กระดาษสาเล็กน้อย มีความเหนียวพอกบกระดาษสา เยื่อกระดาษที่ได้เป็นปริมาณร้อยละั 10-20 ต้นทุนการผลิตสูงกวาการผลิต่ กระดาษสาประมาณเทาตัว จึงทําเป็นการค้าได้ยาก ถ้าจะทําเป็นกระดาษที่ทําด้วยมือควรนําเยื่อจากผักตบชวาร้อยละ่ 20 ผสมกบั เยื่อปอสาร้อยละ 80 จะทําเป็นกระดาษบางชนิดพิเศษที่ทําด้วยมือได้ (ฉลอง เอี่ยมอาทร 2529 : 41-44) 4. ศิริอร และคณะ ได้ทําโครงงานเกยวกบการทํากระดาษที่ผลิตด้วยมือจากเปลือกของพืชชนิดตางๆี่ ั ่ 6 ชนิด คือ ขอย ชบา นุน ตะขบ สะเดา และครอบจักรวาล พบวาเปลือกของพืชทัง่ ่ ่ ้ 6 ชนิดสามารถใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิต กระดาษที่ทําด้วยมือได้ แตเปลือกของพืชแตละชนิดจะให้คุณภาพของกระดาษที่ผลิตแตกตางกน โดยเปลือกขอยและเปลือก่ ่ ่ ั ่ ตะขบเป็นวัตถุดิบที่ใช้ผลิตกระดาษที่ทําด้วยมือที่มีคุณภาพดี จึงนํากระดาษที่ผลิตได้จากเปลือกขอยและเปลือกตะขบไป่
  • 18. ปรับปรุงคุณภาพโดยการย้อมสีและเติมนําแป้ ง ปรากฏวากระ้ ่ ดาษที่ทําขึนติดสีดีและให้สีสวย การผสมนําแป้งลงไปทาให้กระด้ ้ ํ แข็งและมีความเหนียวเพิมขึน่ ้ (ศิริอร และคณะ 2533 : 1-19)
  • 19. บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีทําการทดลอง อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง 1. ตาชัง่ 2. เครื่องดีปันผลไม้่ 3. เตาแกสปิกนิก๊ 4. เทอร์มอมิเตอร์ 5. กะละมังอลูมิเนียม 6. หม้อเคลือบ 7. บีกเกอร์ 8. กระชอนตาถี่ขนาดกลาง 9. แผนมุ้งลวดที่ทําขอบเรียบร้อยแล้ว่ 10. มีดโต้และมีดบาง 11. ไม้ลูกกลิงและแผนไม้้ ่ สารเคมีที่ใช้ 1. โซเดียมไฮดรอกไซด์ 2. แคลเซียมไฮโปคลอไรด์ 3. สีย้อมผ้า 4. แป้งมัน วัตถุดิบที่ใช้ ต้นกล้วยนําว้าและต้นกล้วยหอม้
  • 20. วิธีทําการทดลอง ตอนที่ 1 การศึกษาวิธีการที่เหมาะสมในการผลิตกระดาษที่ทําด้วยมือจากต้นกล้วย 1. การคัดเลือกวัตถุดิบ นําต้นกล้วยนําว้าที่ตัดเอาผลไปแล้ว ลอกออกเป็นกาบ ตัดกาบกล้วยเป็นชินเล็กๆ ใช้ ้ เป็นวัตถุดิบในการทดลองตอไป่ 2. ทําการต้มเยื่อโดยชังกาบกล้วย หนัก่ 1,000 กรัม ใสลงในหม้อเคลือบใบใหญ ทํา่ ่ 4 ชุดการทดลอง แตละ่ ชุดเติมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 1%, 3%, 5% และ 7% โดยนําหนักตามลําดับ โดยสารละลายแตละความเข้มข้นใช้ ่ จํานวน 3,000 ลูกบาศกเซนติเมตร นําไปต้มโดยใช้เตาแกสปิก์ ๊ นิก อุณหภูมิ 102 องศาเซลเซียส บันทึกผลลักษณะเยื่อที่ได้ทุกๆ 10 นาที รวม 40 นาที นับตังแตต้มเยื่อแล้วนําเริมเดือด เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหวางความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไฮด้ ่ ่้ ่ อกไซด์ที่ใช้กบระยะเวลาที่ต้มเยื่อั 3. นําเยื่อกาบกล้วยที่ผานการต้มเยื่อแล้ว่ โดยเลือกใช้เยื่อที่ใช้ความเข้มข้นสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ และระยะเวลาต้มเยื่อแล้วทําให้เยื่อออนนุมดี เหมาะสมที่สุดมาทําการฟอกเยื่อตอไป นําเยื่อ หนัก่ ่ ่ 400 กรัม แบงออกเป็น่ 4 สวน่ เทาๆ กน ใสในบีกเกอร์ขนาด่ ั ่ 500 ลูกบาศกเซนติเมตร ทําเป็น์ 4 ชุดการทดลอง แตละชุดใ่ สสารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์่ เข้มข้น 1%, 2%, 3% และ 4% โดยนําหนักตามลําดับ ใช้สารละลาย้ 400 ลูกบาศกเซนติเมตร นําตังไฟ ทุกชุดควบคุมอุณหภูมิ์ ้ ประมาณ 40 องศาเซลเซียส นําเยื่อที่ผานการฟอกแล้วขึนมาศึกษาลักษณะเยื่อทุกๆ่ ้ 5 นาที เป็นเวลา 20 นาที บันทึกผลเพื่อหา ความเข้มข้นของสารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์และระยะเวลาที่ใช้ฟอกเยื่อที่เหมาะสม 4. ศึกษาการยอยเยื่อ เลือกเยื่อ่ ที่ทําการทดลองผานข้อ่ 2 และ 3 มาแล้ว และเลือกเยื่อที่เหมาะสม 1 ชุด มาทํา การทดลองยอยเยื่อ นําเยื่อหนัก่ 100 กรัม แบงออกเป็น่ 2 สวน สวนที่่ ่ 1 นําไปทุบด้วยค้อนไมให้เยื่อแตก สวนที่่ ่ 2 นําไปตีปัน่ ด้วยเครื่องตีปันผลไม้ นําเยื่อที่ได้ทัง่ ้ 2 สวนมาทําการตักเยื่อในกะละมังอลูมิเนียม โดยนําเยื่อที่ได้มาตีให้แผกระจายตัวในนํา ต่ ่้ ้ ด้วยตะแกรงมุ้งลวด ยกตะแกรงขึนจนสะเด็ดนํา นําไปผึ่งให้แห้ง เมื่อแห้งแล้วแกะแผนกระดาษออกจะได้้ ้ ่ กระดาษที่ผลิตได้ เปรียบเทียบกระดาษกล้วยที่ได้ระหวางการทุบเยื่อด้วยค้อนไม้กบเยื่อที่ได้จากการตีปันด้วยเครื่องตีปันผลไม้่ ั ่ ่ ตอนที่ 2 การศึกษาเปรียบเทียบเยื่อที่ได้ระหวางกล้วยนําว้าและกล้วยหอมทังสดและแห้ง่ ้ ้ 1. นําต้นกล้วยนําว้าและกล้วยหอมมาลอกกาบออก นํากาบ้ กล้วยมาหันเป็นชินเล็กๆ แบงเป็น่ ้ ่ 2 สวน สวนที่่ ่ หนึ่งนําไปใช้ทดลองได้เลย สวนที่สอง นําไปผึ่งแดดให้แห้งเพื่อใช้ทดลองตอไป่ ่
  • 21. 2. นําสวนที่หนึ่งที่เป็นกาบกล้วยสด หนัก่ 1,000 กรัม ต้มโดยใช้สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 3% โดยนําหนัก จํานวน้ 3,000 ลูกบาศกเซนติเมต์ ร เป็นเวลา 30 นาที นําเยื่อที่ได้ไปฟอกเยื่อด้วยสารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์ เข้มข้น 1% เป็นเวลา 10 นาที นําเยื่อที่ได้มาทุบด้วยค้อนไม้แล้วนํามาตักเยื่อเป็นแผนกระดาษ่ 3. ทําเหมือนข้อ 2 แตเปลี่ยนวัตถุดิบเป็นกาบกล้วยแห้ง่ 4. ศึกษาเปรียบเทียบกระดาษที่ได้จากกล้วยนําว้าและกล้วยหอม ระหวางกาบกล้วยสดและกาบกล้วยแห้ง้ ่ ตอนที่ 3 การปรับปรุงกระดาษกล้วยที่ได้ 1. ทําการต้มกาบกล้วย หนัก 1,000 กรัม โดยใช้สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 3% โดยนําหนัก้ จํานวน 3,000 ลูกบาศกเซนติเมตร ระยะเวลาต้ม์ 30 นาที 2. ทําการฟอกเยื่อโดยใช้สารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์ 1% โดยนําหนักระยะเวลาฟอกเยื่อ้ 10 นาที 3. ทําการยอยเยื่อให้เยื่อแตกตัวได้ดีโดยใช้การตีปันเยื่อด้วยเครื่องตีปันผลไม้่ ่ ่ 4. นําเยื่อที่ได้แบงออกเป็น่ 2 สวนเทาๆ กน เพื่อทําการทดลองตอไปนี่ ่ ั ่ ้ 4.1 สวนที่่ 1 นําไปย้อมสีด้วยสีย้อมฟ้าสีตางๆ โดยนําสีย้อมผ้ามาละลายนําให้ได้สีตามต้องการ แช่ ้ เยื่อในนําสีเป็นเวลา้ 1 คืน ตักเยื่อด้วยแผนตะแกรงมุ้งลวดเพื่อทําเป็นแผนกระดาษ่ ่ 4.2 สวนที่่ 2 ย้อมสีเยื่อกล้วยที่ได้ด้วยสีย้อมผ้าเป็นเวลา 1 คืน กอนนําไปตักเยื่อจะผสมด้วยนําแป้่ ้ เข้มข้น 1% ที่เตรียมจากแป้งมันละลายนําตังไฟเคี่ยวจนใส เติมนําแห้งลงไปในเนือที่ย้อมสี จ ํานวน้ ้้ ้ 200 ลูกบาศกเซนติเมตร์ 5. นําเยื่อทุกสวนที่ผสมสี นําแป้ง มาตักเยื่อในกะละมังอลูมิเนียม ยกเยื่อขึนมาสะเด็ดนํา นาไปผึ่งจนแห้งก่ ็้ ้้ ํ ได้กระดาษที่ปรับปรุงคุณภาพ 6. บันทึกผลเปรียบเทียบกระดาษที่ได้จากที่ไมปรับปรุงคุณภาพกบกระดาษที่ปรับปรุงคุณภาพแล้ว ในด้าน่ ั นําหนักของกระดาษ ความเหนียวของกระดาษ การทึบแสง และความสามารถในการซึมนําของกระดาษ้ ้ 7. วิธีทดสอบคุณภาพของกระดาษที่ทําด้วยมือที่ผลิตได้ในด้านตางๆ ทําดังนี่ ้ 7.1 นําหนักของกระดาษ ทําโดยการตัด้ กระดาษ ขนาด 10 x 10 เซนติเมตร จํานวน 3 แผน ชังหา่ ่ มวลของกระดาษที่ตัดทัง้ 3 แผน แล้วคํานวณนําหนักกระดาษที่ชังได้ นําหนักของกระดาษมีคาเทากบมวลของกระดาษเป็นกร่ ่ ่ ั้ ้่ ตอพืนที่่ ้ 1 ตารางเมตร
  • 22. 7.2 ความเหนียวของกระดาษ หาได้จากตัดกระดาษที่จะทดสอบขนาดกว้าง 2 เซนติเมตร ยาว 10 เซนติเมตร จํานวน 3 แผน นํากระดาษแตละแผนมาใสชุดทดสอบดังรูป่ ่ ่ ่ เติมทรายลงในที่ใสนําหนักจนกระดาษขาด ชังนําหนักทรายที่ได้หาคาเฉลี่ย่ ่้ ้่ 3 ครัง้ ความเหนียวของกระดาษ จะเทากบนําหนักของกระดาษที่รับได้่ ั ้ 7.3 การทึบแสงของกระดาษ ทําโดยติดตังกลองแสงให้้ ่ มีชองขนาด่ 1 x 1 เซนติเมตร นํากระดาษที่ ต้องการหาความทึบแสงวางทับบนชองแสงทีละแผนจนกระทังมองไมเห็นแสงสวางจากแหลงกาเนิด่ ่ ่ ่ ่ ํ่ แสง นับจํานวนของ แผนกระดาษที่ใช้่ 7.4 การหาความสามารถในการซึมนําของกระดาษ ทําได้โดยตัดกระดาษขนาด้ 1 x 1 เซนติเมตร วางบนพืนเรียบ หยดนํ้ ้าลงบนกระดาษพร้อมบันทึกเวลาจนกระทังนําซึมลงไปในแผนกระดาษหมด ทําซํ า่ ้ ้่ 3 ครัง หาคาเฉลี่ย้ ่
  • 23. บทที่ 4 ผลการทดลอง ตาราง 1 แสดงลักษณะเยื่อกล้วยที่ได้จากการต้มโดยใช้สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้นตางๆ กน ในระยะเวลาที่ใช้ในการ่ ั ต้มเยื่อ 40 นาที ลักษณะเยื่อกล้วยที่ได้จากความเข้มข้นของ NaOHระยะเวลา (นาที) 1% 3% 5% 7 % 10 20 30 40 มีสีนําตาลออน เยื่้ ่ สวนมาก่ ยังแข็ง บางสวนนิม่ ่ เหนียวมาก มีสีนําตาลแดง เยื่้ สวนมากยังแข็ง เส้นใยติด่ เป็นแผน เหนียวมาก่ มีสีนําตาลแดง เยื่้ สวนมากนุม เส้นใยเหนียว่ ่ สีนําตา้ ลแดงเข้ม เส้นใ เหนียวนุมทังหมดใช้แรง่ ้ ดึง 4.6 นิวตัน มีสีนําตาลแดง บางสว้ ่ แข็ง บางสวนนิม เส้นใย่ ่ เหนียวมาก มีสีนําตาลแดง เยื่้ สวนมากเริมนุม เส้นใย่ ่่ เหนียวนุม่ มีสีนําตาลแดง เส้นใ้ เหนียวนุมทังหมด ใช้แรง่ ้ ดึง 1.5 นิวตัน มีสีนําตาลแดงเข้ม เส้นใ้ ออนนุมมา่ ่ ก ความเหนียว ลดลง มีสีนําตาลแดงเส้นใ้ บางสวนแข็ง บางสวนนิม่ ่ ่ เส้นใยเหนียว มีสีนําตาลแดง เส้นใ้ เหนียวนุมทังหมด ใช้แรง่ ้ ดึง 1 นิวตัน มีสีนําตาลแดง เส้นใยนุ้ ่ มาก ความเหนียวลดลง สีนําตาลแดงปนดํา เส้นใ้ เริมยุย ความเหนียวลดลง่ ่ มีสีนําตาลเหลือง เส้นใ้ สวนมากนิ่ ่ม เส้นใย เหนียวนุม ใช้แรงดึง่ 0.8 นิวตัน มีสีนําตาลออนเส้นใ้ ่ นุมมาก ความเหนียว่ ลดลง สีนําตาลปนดํา เส้นใ้ เริมยุย นิมมาก ไมคอย่ ่่ ่ ่ เหนียว สีนําตาลปนดํา เยื่อสว้ ่ ใหญจะยุยมาก เส้นใยมี่ ่ ความเหนียวเล็กน้อย
  • 24. จากตาราง 1 จะเห็นวาเส้นใยกล้วยที่ผานการต้มด้วยสารล่ ่ ะลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่เหมาะสมในการนําไปฟอกเยื่อ คือที่ ความ เข้มข้น 3% เวลา 30 นาที, ความเข้มข้น 5% เวลา 20 นาที และที่ความเข้มข้น 7% เวลา 10 นาที ตาราง 2 แสดงลักษณะเยื่อกล้วยที่ได้จากการต้มโดยใช้สารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์เข้มข้นตางๆ กน ในระยะเวลาฟอกเยื่่ ั อ 20 นาที ลักษณะเยื่อที่ความเข้มข้นของสารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์ระยะเวลา (นาที) 1% 2% 3% 4 % 5 10 15 20 เยื่อสีขาว นุม มีความ่ เหนียว 0.3 นิวตัน เยื่อสีขาวเพิมขึนนุม มี่ ้ ่ ความเหนียว 0.1 นิวตัน เยื่อสีขาวมากนุมมือ่ สวนมากเริมยุย่ ่่ เยื่อสีขาว นิม สวนมากยุย่ ่ ่ เยื่อสีขาว นุม มีความ่ เหนียวเล็กน้อย 0.1 นิวตัน เยื่อมีสีขาวเพิมขึน นิม เยื่อ่ ่้ เริมยุย่ ่ เยื่อมีสีขาวมาก นิม เยื่อ่ สวนมากยุย่ ่ เยื่อขาวมากจนเป็นสีขาว ขุน ไมเป็นเส้น่ ่ เยื่อมีสีขาวมาก สวนมาก่ เริมยุยนิม่ ่่ เยื่อมีสีขาวมาก จนเป็นสี ขาวขุน เละ่ เส้นใยเละมากไมเป็นเส้น่ เละมากจนไมมีเส้นใย่ เหลืออยูเลย่ เยื่อมีสีขาวมากสวน่ ใหญจะยุย่ ่ เส้นใยเละมาก ไมเป็น่ เส้น เละมากจนไมมีเส้นใย่ เหลืออยูเลย่ เละมากจนไมมีเส้นใย่ เหลืออยูเลย กลายเป็น่ ผงละเอียดสีขาว จากตาราง 2 เยื่อกล้วยเมื่อฟอกสีแล้วที่เหมาะสมจะนําไปยอยเยื่อตอคือ ที่ใช้สารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์เข้มข้น่ ่ 1% ระยะเวลา 10 นาที
  • 25. ตาราง 3 แสดงลักษณะเยื่อ และกระดาษที่ได้จากการยอยเยื่อแบบทุบเยื่อและตีปันเยื่อ่ ่ วิธีการยอยเยื่อ่ ลักษณะเยื่อที่ได้ ลักษณะกระดาษที่ได้ การทุบเยื่อ มีสีขาว เส้นใยยาว เหนียวนิม เส้น่ ใยยังไมแยกออกจากกน่ ั มีสีขาวนวล มีเยื่อยาวผสมอยูด้วยทําให้เกด่ ิ ลวดลายบนแผนกระดาษ กระดาษมีความหนา่ บางไมเทากนตลอดทังแผน ความเหนียวของ่ ่ ั ่้ กระดาษรับนําหนักได้้ 552 กรัม การตีปันเยื่อ่ เส้นใยมีสีขาว เส้นใยสัน นิมแ้ ่ ละ ฟูขึน เยื่อกระดาษกระจายตัวกนดี้ ั มีสีขาวนวล มีเยื่อยาวผสมอยูบ้างแตน้อย่ ่ กระดาษมีความหนาบางเกอบเทากนทังแผนื ่ ั ่้ ความเหนียวของกระดาษรับนําหนักได้้ 790 กรัม จากตาราง 3 พบวาวิธีการยอยเยื่อทัง่ ่ ้ 2 วิธี สามารถผลิตกระดาษที่ทําด้วยมือได้ทัง้ 2 วิธี ซึ่งทัง้ 2 วิธีนันมีข้อดีและข้อเสียแตกตาง้ ่ กนคือ วิธีทุบเยื่อจะทําให้มีเยื่อยาวทําให้เกดลวดลายบนแผนกระดาษได้ ข้อเสียคือเยื่อไมคอยกระจายตัวตักทําเป็นแผนกระดาษั ิ ่ ่ ่ ่ ยาก สวนการตีปันเยื่อเยื่อกระดาษกระจายตัวกนดี ฟู ตัดเป็นแผนกระดาษได้งาย กระดาษมีความสมํ่าเสมอ แตเส้นใย่ ั ่ ่ ่่ บนกระดา จะสัน้
  • 26. ตอนที่ 2 การศึกษาเปรียบเทียบเยื่อที่ได้ระหวางกล้วยนําว้าและกล้วยหอมทังสดและแห้ง่ ้ ้ ตาราง 4 แสดงลักษณะเยื่อของกล้วยนําว้าและกล้วยหอม้ ลักษณะเยื่อที่ได้วัตถุดิบ ลักษณะ กอนทําการต้ม่ เมื่อต้มด้วย เมื่อฟอกเยื่อแล้ว สด สีนําตาลออน เส้นใย้ ่ แข็งกระด้าง ไมกระจายตัว่ รวมเป็นกลุม ทนแรงดึงได้่ 1.5 นิวตัน สีนําตาลแดง เส้นใยนิม เส้นใ้ ่ ยดึ แยกจากกนได้เหนียวมากทนั แรงดึงได้1.5 นิวตัน สีขาว นิม เหนียว ทนแรงดึง่ ได้0.5 นิวตัน กล้วย นําว้า้ ลักษณะ เยื่อจาก กล้อง จุลทรรศน์ แห้ง สีนําตาลออน้ ่ เส้นใยแข็ง เหนียว ไมกระจายตัว รวม่ เป็นกลุม ทนแรงดึง่ 2 นิวตัน สีนําตาลแดง เส้นใยนิม เส้นใยดึ้ ่ แยกออกจากกนได้ทนแรงดึงั 1.0 นิวตัน สีขาวออกเหลือง ฟอกให้เยื่อ ขาวได้ยาก เส้นใยนิม แยก่ ออกจากกนได้งาย ทนตอั ่ ่ แรงดึง 0.5 นิวตัน กล้วย หอม สด สีขาว เส้นใยแข็ง ไมกระจาย่ ตัว รวมกนเป็นกลุม ทนแรงั ่ ดึง 0.5 นิวตัน สีนําตาล เส้นใยนิม เหนียว เยื่้ ่ ได้มากกวากล้วยนําว้า ทนแรงดึ่ ้ 0.5 นิวตัน สีขาว นิม เหนียวเล็กน้อยดึง่ แยกออกจากกนได้งาย ทนั ่ ตอแรงดึง่ 0.3 นิวตัน
  • 27. ลักษณะ เยื่อจาก กล้อง จุลทรรศน์ แห้ง สีนําตาลออน เส้น้ ่ ใยแข็ง ไม กระจายตัวรวมกนเป็นกลุมั ่ ทนตอแรงถึง่ 1 นิวตัน สีนําตาล เส้นใยนิม เหนียวดึงแย้ ่ ออกจากกนได้งาย ทนตอแรงดึงั ่ ่ 1.0 นิวตัน สีขาวออกเหลือง ฟอกได้ ยาก เส้นใยเหนียว นุม ดึง่ ขาดจากกนได้งาย ทนตอแรงั ่ ่ ดึง 0.3 นิวตัน
  • 28. ตาราง 5 แสดงร้อยละของเยื่อกล้วยที่ได้และลักษณะกระดาษที่ได้จากกล้วยนําว้าและกล้วยหอม้ พันธุ์กล้วย ลักษณะ วัตถุดิบ ร้อยละของ เยื่อที่ได้ ลักษณะของกระดาษที่ได้ กล้วยนําว้า้ สด แห้ง 2.8 12.5 กระดาษมีสีขาวนวล การกระจายของเยื่อสมํ่าเสมอดี มีเส้ ใยยาวปนอยูด้วย กระดาษรับนํ่ ้าหนักได้552 กรัม เนือ้ กระดาษไมคอยนิม่ ่ ่ กระดาษมีสีขาวออกนําตาล มีเยื่อยาวปนอยู เยื่อกระจายตั้ ่ ไมคอยดีนัก กระดาษรับนําหนักได้่ ่ ้ 500 กรัม เนือกระดาษ้ ไมคอยนิม่ ่ ่ กล้วยหอม สด แห้ง 4.5 17.0 กระดาษมีสีขาวนวล มีเยื่อยาวปนอยูด้วย เนือกระดาษ เยื่อ่ ้ กระดาษกระจายสมํ่าเสมอ เนือกระดาษหยาบไมนิม้ ่ ่ กระดาษรับนําหนักได้้ 790 กรัม กระดาษมีสีขาวนวล มีเยื่อยาวปนอยูด้วย เยื่อกระดาษ่ กระจายตัวดี เนือกระดาษไมคอยนิม กระดาษรับนําหนั้ ่ ่ ่ ้ ได้800 กรัม จากตาราง 4 และ 5 เกยวกบเยื่อกระดาษที่ได้จากกล้วยนําว้าและกล้วยหอม ทัี่ ั ้ งสดและแห้ง พบวาลักษณะเยื่อที่ได้ไมแตกตางก้ ่ ่ ่ ั มากนัก แตเยื่อที่ได้จากกล้วยนําว้าแห้งและกล้วยหอมแห้ง เวลาฟอกเยื่อจะฟอกได้ขาวน้อยกวาเยื่อสด และนําหนักของเยื่อที่ได้ค่ ่้ ้ เป็นร้อยละวัตถุดิบแห้งจะให้ปริมาณเยื่อมากกวากล้วยหอมให้นําหนัก คิดเป็นร้อยละของเยื่อสู่ ้ งกวากล้วยนําว้ า แตเมื่อท ําเป่ ่้ แผนกระดาษจะได้กระดาษที่มีลักษณะไมแตกตางกนมากนัก่ ่ ่ ั
  • 29. ตอนที่ 3 การปรับปรุงกระดาษกล้วยที่ได้ ตาราง 6 เปรียบเทียบกระดาษกล้วยที่ผลิตได้กบกระดาษสาที่ขายในท้องตลาดในด้านตางๆั ่ ตัวอยางที่ศึกษา่ ลักษณะทัวไป่ นําหนั้ กระดาษ (กรัม) ความ เหนียว (กรัม) ความทึบ แสง (กรัม) การซึมนําขอ้ กระดาษ (วินาที) กระดาษสา ผิวกระดาษเรียบ เหนียวนิม โปรง่ ่ แสง มีเส้นใยยาวและสันปนกน้ ั ติดสีดี สีสวยงาม 200 333 5 9 กระดาษกล้วย นําว้า้ ผิวกระดาษไมคอยเรียบ บางที่่ ่ บาง บางที่หนา ไมคอยนิม เหนียว่ ่ ่ มีเยื่อสั้นรวมเป็นกลุมๆ แทรก่ ด้วยใยยาวแตไมมาก่ ่ 175 552 10 5 กระดาษกล้วย หอม ผิวกระดาษไมคอยเรียบ บางที่่ ่ บาง บางที่หนา เหนียว ไมคอยนิม่ ่ ่ มีเส้นใยสันรวมกนเป็นกลุมๆ้ ั ่ แทรกด้วยเส้นใยยาว 150 790 10 5 กระดาษกล้วย ย้อมสี เยื่อกระดาษติดสีดี ทึบแสง เหนียว ผิวไมเรียบ มี่ เยื่อเส้นใย สันมากกวายาว้ ่ 150 780 3 5 กระดาษกล้วย ย้อมสี นําแป้ง้ ผิวกระดาษไมคอยเรียบ กระดาษ่ ่ แข็ง มีเส้นใยสันทับกนเป็นกลุมๆ้ ั ่ เส้นใยยาวแทรกอยูเล็กน้อย บางที่่ บางบางที่หนา 150 1,167 7 7
  • 30. จากตาราง 6 จะเห็นวากระดาษกล้วยที่ได้และเมื่อนํามาปรับปรุงจะมีคุณภาพต่ ่างๆ แตกตางไมมากนัก จากกระดาษสาที่มีขายใน่ ่ ท้องตลาด สามารถใช้ต้นกล้วยมาทํากระดาษที่ทําด้วยมือได้