SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 34
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนComputer-Assisted Instruction HemmaratThanapat 0866414318 Phd. Candidate in Educational Technology and Communications http://www.hemmarat.com Facebook : hemmarat http://thana33.hi5.com http://hemmarat.multiply.com http://thana8325.blogspot.com hem_thana@hotmail.com hemmarat@gmail.com Hemmarat  Thanapat
นิสิตรู้จักคำเหล่านี้หรือไม่? CAI ? CBI ? CAL ? CAL ?
นิสิตรู้จักคำเหล่านี้หรือไม่? CAI = Computer Assisted Instruction  CBI = Computer Based Instruction CAL = Computer Aided Learning  CAL = Computer Assisted Learning
นิสิตรู้จักคำนี้หรือไม่? Courseware ??
ราชบัณฑิตยสถาน บัญญัติ โปรแกรมบทเรียน ระบบการเรียนการสอน  ที่มีการนำเนื้อหาวิชา  และวิธีสอนมาบันทึกเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์  สำหรับให้ผู้เรียนใช้เพื่อการเรียนรู้  โดยให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์หรือโต้ตอบกับบทเรียนในเครื่องคอมพิวเตอร์  ไม่ต้องอาศัยครูหรือผู้สอนเข้าร่วมกิจกรรมโดยตรง
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) เป็นกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ในการนำเสนอเนื้อหาเรื่องราวต่างๆมีลักษณะเป็นการเรียนโดยตรงและเป็นการเรียนแบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive) คือสามารถโต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ได้
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนคืออะไร รศ.ยืนภู่วรวรรณ: โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ได้นำเนื้อหาวิชาและลำดับวิธีการสอนมาบันทึกเก็บไว้คอมพิวเตอร์จะช่วยนำบทเรียนที่เตรียมไว้อย่างเป็นระบบมาเสนอในรูปแบบที่เหมาะสมสำหรับนักเรียนแต่ละคน ดร.สุกรีรอดโพธิ์ทอง: โปรแกรมคอมพิวเตอร์หลายๆรูปแบบที่พัฒนาขึ้นเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการสอนและการรับรู้ของผู้เรียน สารานุกรมศัพท์การศึกษาและจิตวิทยาสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาม.สุโขทัยธรรมาธิราช: การนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในระบบการเรียนการสอนวิชาต่างๆเช่นวิชาสังคมศิลปวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ภาษาไทยภาษาต่างประเทศรวมทั้งวิชาคอมพิวเตอร์โดยถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นสื่อในระบบการเรียนการสอนที่สามารถให้ผู้เรียนรู้ผลการตอบสนองได้รวดเร็วกว่าสื่อประเภทอื่นยกเว้นสื่อบุคคล
อะไรคือคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นบทเรียนคอมพิวเตอร์สำหรับใช้ในการเรียนการสอน เป็นโปรแกรมสำหรับให้เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง เป็นบทเรียนที่มีการออกแบบอย่างเป็นระบบ เป็นโปรแกรมที่มีกระบวนการเรียนการสอนครบถ้วน เป็นบทเรียนที่ใช้สอนแทนครูได้/หรือใช้สอนเสริม เป็นโปรแกรมที่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับโปรแกรม
แนวคิดการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน บทเรียนโปรแกรม (Programmed Instruction) พฤติกรรมนิยม   (Behaviorism) เสนอสิ่งเร้าให้กับผู้เรียนได้แก่เนื้อหาภาพนิ่งคำถามภาพเคลื่อนไหว ประเมินการตอบสนองของผู้เรียนได้แก่การตัดสินคำตอบ ให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อการเสริมแรงได้แก่การให้รางวัลหรือคะแนน ให้ผู้เรียนเลือกสิ่งเร้าในลำดับต่อไปและเลือกเนื้อหาที่เรียนได้
CAI/CBI/CBT CAI  : Computer-Assisted Instruction CBI  : Computer-Based Instruction CBL : Computer-Based Learning CBT : Computer-Based Training CMI : Computer Management Instruction CBE : Computer-Based Education IMCAI : Interactive Multimedia CAI
ประเภทของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน Tutorial Drill and Practice Simulation Instructional Game Problem-Solving  ,[object Object]
Test
Discovery ,[object Object]
ประเภทการฝึกหัด(Drill and Practice)    ประเภทนี้วัตถุประสงค์คือ ฝึกความแม่นยำ หลังจากที่เรียนเนื้อหาจาก ในห้องเรียนมาแล้ว    โปรแกรมจะไม่เสนอเนื้อหาแต่ใช้วิธีสุ่มคำถามที่นำมาจากคลังข้อสอบ มีการเสนอคำถามซ้ำแล้วซ้ำอีกเพื่อวัดความ รู้จริง มิใช่การเดา จากนั้นก็จะประเมินผล
รูปแบบโปรแกรมบทเรียนแบบ Drill and Practice บทนำโปรแกรม เสนอปัญหา คำถาม คำถามและคำตอบ จบบทเรียน ให้ข้อมูลย้อนกลับ ตรวจคำตอบ
ประเภทสถานการณ์จำลอง(Simulation) วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติกับสถานการณ์จำลองที่มีความใกล้เคียงกับเหตุการณ์จริง เพื่อฝึกทักษะและเรียนรู้โดยไม่ต้องเสี่ยงหรือเสียค่าใช้จ่ายมาก โปรแกรมประเภทนี้มักเป็นโปรแกรมสาธิต(Demostration) เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงทักษะที่จำเป็น
ประเภทเกมการสอน (Instruction Games) กระตุ้นความสนใจของผู้เรียน มีการแข่งขัน เราสามารถใช้เกมในการสอนและเป็นสื่อที่ให้ความรู้แก่ผู้เรียนได้ในแง่ของกระบวนการ ทัศนคติ ตลอดจนทักษะต่างๆ ทั้งยังช่วยเพิ่มบรรยากาศในการเรียนรู้ให้มากขึ้นด้วย
รูปแบบโปรแกรมแบบ Instruction Games บทนำโปรแกรม เสนอสถานการณ์ การกระทำที่ต้องการ การกระทำของผู้เรียน จบบทเรียน การปรับระบบ การกระทำของคู่แข่งขัน
ประเภทการค้นพบ (Discovery  ประเภทนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียน ได้มีโอกาสทดลองกระทำสิ่งต่างๆ ก่อน จนกระทั่งสามารถหาข้อสรุปได้ด้วยตนเอง  โปรแกรมจะเสนอปัญหาให้  ผู้เรียนได้ลองผิดลองถูกและให้ข้อมูลแก่ผู้เรียนเพื่อช่วยผู้เรียนในการค้น พบนั้น จนกว่าจะได้ข้อสรุปที่ดีที่สุด
ประเภทการแก้ปัญหา (Problem-Solving) 	เพื่อฝึกให้นักเรียนรู้จักการคิด การตัดสินใจ โดยจะมีเกณฑ์ ที่กำหนดให้แล้วผู้เรียนพิจารณาตามเกณฑ์นั้นๆ -  ผู้เรียนกำหนดปัญหาเอง - ผู้เขียนกำหนดปัญหาให้
ประเภทเพื่อการทดสอบ (Test) ประเภทนี้ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อการสอน แต่เพื่อใช้ประเมินการสอนแต่เพื่อใช้ประเมินการสอนของครูหรือการเรียนของนักเรียน  คอมพิวเตอร์จะประเมินผลในทันทีว่านักเรียนสอบได้หรือสอบตก และจะอยู่ในลำดับที่เท่าไรได้ผลการสอบกี่เปอร์เซ็นต์
ลักษณะบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน แบบเชิงเส้น  (CAI  Linear Programming)  ,[object Object],บทนำ บทนำ บทที่ 1 บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 2 บทที่ 3
คุณลักษณะความเป็น CAI Information : ข้อมูลเนื้อหามีสาระสำคัญ Individual : สนองความแตกต่างระหว่างบุคคล Interactive: การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ Immediate : ตอบสนองและป้อนกลับได้ทันที
ความเป็นสื่อการสอนของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สื่อหลัก CAI สร้างขึ้นมาสอนแทนอาจารย์ได้อย่างสมบูรณ์ทั้งระบบมีขั้นตอนและกระบวนการที่ครอบคลุมทั้งหลักสูตร สื่อเสริม CAI ประกอบการสอนของอาจารย์  สร้างขึ้นเพื่อช่วยในการสอน เช่น การนำเสนอ การทบทวน การสอนเสริม
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ดึงดูดความสนใจในการเรียน/เร้าความสนใจในการสอน ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว ผู้เรียนมีโอกาสโต้ตอบกับบทเรียน กำหนดระยะเวลาและความเร็วในการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความสะดวกทุกเวลาและเรียนซ้ำได้ ประหยัดเวลา งบประมาณ นักเรียนทุกคนได้เรียนในเนื้อหาเดียวกัน ผู้เรียนจำเนื้อหาได้ง่าย จำได้นาน ผู้สอนมีเวลามากขึ้นในการพัฒนาการสอน    ฯลฯ
ปัญหาของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ค่าใช้จ่ายในการผลิตสูงและต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบในการเรียน การผลิตใช้เวลานานและมีขั้นตอนที่ยุ่งยาก ต้องมีบุคคลหลายฝ่ายช่วยในการผลิต การขาดประสิทธิภาพในการเรียนรู้ การละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา ผู้ผลิตถูกคัดลอกผลงานทำให้ไม่มีแรงจูงใจในการผลิต เนื้อหาคัดลอกจากตำราโดยไม่ได้รับอนุญาต
ผู้เกี่ยวข้องในการสร้าง CAI ผู้เชี่ยวชาญ ผู้เชี่ยวชาญเนื้อหา   >>   ครูผู้สอน  นักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญการสอน  >>  ครูผู้สอน ผู้เชี่ยวชาญสื่อ    >>    นักเทคโนโลยีการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญโปรแกรม >>   โปรแกรมเมอร์ ผู้ออกแบบและพัฒนา ผู้วิเคราะห์และออกแบบระบบ  วัดผลประเมินผล ทดสอบการทำงาน ผู้บริหารโครงการ ผู้บริหารจัดการด้านการเงิน การจัดหาอุปกรณ์ การประสานงานผลิต
เครื่องมือในการสร้าง CAI ภาษาโปรแกรมระดับสูง (high-level languages) เช่น BASIC, Pascal, Logo และ C  ภาษานิพนธ์บทเรียน (authoring languages) เช่น Coursewriter, Pilot และ Tutor  ระบบนิพนธ์บทเรียน (authoring systems) เช่น PHOENIX, DECAL, Icon-Author, InfoWindow, LS1, SOCRATIC และAuthorware เครื่องช่วยนิพนธ์บทเรียน (authoring utilities) ซึ่งแบ่งออกได้อีกหลายชนิดเช่น lesson shell (ตัวอย่างโปรแกรม: Apple Shell Games), code generator (ตัวอย่างโปรแกรม: Screen Sculptor) และ library routines  5.เครื่องมือการสร้าง (authoring tools) เช่น Authorware, ToolBook,EZ tools Chula CAI ฯลฯ
การสอนด้วยคอมพิวเตอร์ช่วยสอนของกาเย่ การเร้าความสนใจ การบอกวัตถุประสงค์ การทบทวนความรู้เดิม การนำเสนอเนื้อหาใหม่ การชี้แนวทางการเรียนรู้ ,[object Object]
การให้ข้อมูลป้อนกลับ
การทดสอบความรู้
การจำและการถ่ายโยงความรู้,[object Object]
การออกแบบหน้าจอภาพ การกำหนดขนาดจอภาพ  640*480 / 800*600 / 1024*728 การใช้สีตัวอักษร/สีพื้น/รูปภาพ/ภาพเคลื่อนไหว/กราฟิกส์ การจัดรูปแบบจอภาพ   การวางภาพ/เนื้อหา/ปุ่มควบคุม การนำเสนอเนื้อหา การใช้เทคนิคประกอบ การควบคุมการเรียน/การป้อนกลับ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนกับงานเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เพื่อการฝึกอบรมผู้บริหาร เพื่อการฝึกอบรมพนักงาน/ลดต้นทุนการฝึกอบรม เพื่อนำเสนอรูปแบบการบริหารจัดการโรงงาน เพื่อจำลองสถานการณ์การทำงานเครื่องจักรกล เพื่อลดการใช้วัสดุของจริงในการฝึกหัดอุตสาหกรรม

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Computer project no3
Computer project no3Computer project no3
Computer project no3TongrakRuento
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5Zhao Er
 
06550134 ปนัสยา เมฆพักตร์
06550134 ปนัสยา  เมฆพักตร์06550134 ปนัสยา  เมฆพักตร์
06550134 ปนัสยา เมฆพักตร์Chontida Nornoi
 
Project 3 type of computer
Project 3 type of computerProject 3 type of computer
Project 3 type of computerssuserb6b789
 
Mooc infographics-gamification-infographics
Mooc infographics-gamification-infographicsMooc infographics-gamification-infographics
Mooc infographics-gamification-infographicsiyabest
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionboomakung
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionboomakung
 
Computer project 3
Computer project 3 Computer project 3
Computer project 3 ibukionigami
 
บทที่ 5 sec 1
บทที่ 5 sec 1บทที่ 5 sec 1
บทที่ 5 sec 1yaowalakMathEd
 
งานนำเสนอ 5
งานนำเสนอ 5งานนำเสนอ 5
งานนำเสนอ 5Tiger Saraprung
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
ตัวอย่างประเภทบทเรียน Cai
ตัวอย่างประเภทบทเรียน Caiตัวอย่างประเภทบทเรียน Cai
ตัวอย่างประเภทบทเรียน CaiDZNiiY MyLoVE
 

Was ist angesagt? (20)

Computer project no3
Computer project no3Computer project no3
Computer project no3
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
06550134 ปนัสยา เมฆพักตร์
06550134 ปนัสยา  เมฆพักตร์06550134 ปนัสยา  เมฆพักตร์
06550134 ปนัสยา เมฆพักตร์
 
Project 3 type of computer
Project 3 type of computerProject 3 type of computer
Project 3 type of computer
 
Mooc infographics-gamification-infographics
Mooc infographics-gamification-infographicsMooc infographics-gamification-infographics
Mooc infographics-gamification-infographics
 
Learnsquare manual
Learnsquare manualLearnsquare manual
Learnsquare manual
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
 
Computer project 3
Computer project 3 Computer project 3
Computer project 3
 
Com303
Com303Com303
Com303
 
บทที่ 5 sec 1
บทที่ 5 sec 1บทที่ 5 sec 1
บทที่ 5 sec 1
 
งานนำเสนอ 5
งานนำเสนอ 5งานนำเสนอ 5
งานนำเสนอ 5
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ตัวอย่างประเภทบทเรียน Cai
ตัวอย่างประเภทบทเรียน Caiตัวอย่างประเภทบทเรียน Cai
ตัวอย่างประเภทบทเรียน Cai
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
241203 chapter05
241203 chapter05241203 chapter05
241203 chapter05
 
Evaluation media
Evaluation mediaEvaluation media
Evaluation media
 
Project 3 presentation
Project 3 presentationProject 3 presentation
Project 3 presentation
 
Chapter5้้
Chapter5้้Chapter5้้
Chapter5้้
 

Ähnlich wie Original cai

งานบทที่5
งานบทที่5งานบทที่5
งานบทที่5Vi Mengdie
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการphonon701
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์bscreech
 
ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4Kubgife Yrc
 
ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4Kubgife Yrc
 
9789740329176
97897403291769789740329176
9789740329176CUPress
 
77การเรียนการสอนบนเว็บ
77การเรียนการสอนบนเว็บ77การเรียนการสอนบนเว็บ
77การเรียนการสอนบนเว็บLUKNONGLUK
 
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
เทคโนโลยีใน 21
เทคโนโลยีใน 21เทคโนโลยีใน 21
เทคโนโลยีใน 21labschoolburiram
 

Ähnlich wie Original cai (20)

Week5
Week5Week5
Week5
 
งานบทที่5
งานบทที่5งานบทที่5
งานบทที่5
 
2
22
2
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
Synchronous and asynchronous (1)
Synchronous and asynchronous (1)Synchronous and asynchronous (1)
Synchronous and asynchronous (1)
 
Elearning2.0
Elearning2.0Elearning2.0
Elearning2.0
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Socialmedia(group4)
Socialmedia(group4)Socialmedia(group4)
Socialmedia(group4)
 
ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4
 
ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4
 
9789740329176
97897403291769789740329176
9789740329176
 
77การเรียนการสอนบนเว็บ
77การเรียนการสอนบนเว็บ77การเรียนการสอนบนเว็บ
77การเรียนการสอนบนเว็บ
 
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Cai
CaiCai
Cai
 
Cai
CaiCai
Cai
 
Cai
CaiCai
Cai
 
Cai
CaiCai
Cai
 
Cai
CaiCai
Cai
 
เทคโนโลยีใน 21
เทคโนโลยีใน 21เทคโนโลยีใน 21
เทคโนโลยีใน 21
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearning
 

Mehr von mahasarakham university (20)

ความหมายขอบเขต
ความหมายขอบเขตความหมายขอบเขต
ความหมายขอบเขต
 
Flip album
Flip albumFlip album
Flip album
 
Corel video studio pro
Corel video studio proCorel video studio pro
Corel video studio pro
 
Mooc
MoocMooc
Mooc
 
สอนเลขฐาน
สอนเลขฐานสอนเลขฐาน
สอนเลขฐาน
 
Corel video studio pro
Corel video studio proCorel video studio pro
Corel video studio pro
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Regis hemmarat
Regis hemmaratRegis hemmarat
Regis hemmarat
 
Final
FinalFinal
Final
 
Final
FinalFinal
Final
 
Thana pbl
Thana pblThana pbl
Thana pbl
 
การพัฒนามอดูลแบบฐานสมรรถนะ
การพัฒนามอดูลแบบฐานสมรรถนะการพัฒนามอดูลแบบฐานสมรรถนะ
การพัฒนามอดูลแบบฐานสมรรถนะ
 
Thana pbl
Thana pblThana pbl
Thana pbl
 
Picasa tahoma
Picasa tahomaPicasa tahoma
Picasa tahoma
 
Picasa tahoma
Picasa tahomaPicasa tahoma
Picasa tahoma
 
Google calendar
Google calendarGoogle calendar
Google calendar
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search engine
 
Internet search engine
Internet search engineInternet search engine
Internet search engine
 
Internet search engine
Internet search engineInternet search engine
Internet search engine
 

Original cai