SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 8
หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองคือ อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการเก็บบันทึกข้อมูลและโปรแกรมต่างๆแบบถาวร ได้แก่ฮาร์ดดิสก์ ฟลอปปี้ดิสก์ แผ่นซีดีรอม ฯลฯโดยถ้าเป็นข้อมูลที่มีขนาดเล็กและต้องการเคลื่อนย้ายไฟล์ไปที่คอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ก็ใช้ฟลอปปี้ดิสก์แต่ถ้าเป็นข้อมูลที่มีขนาดใหญ่มากๆ ก็จะเก็บลงในฮาร์ดดิสก์ หรือแผ่นซีดีรอม ซึ่งข้อมูลที่เก็บในฟลอปปี้ดิสก์หรือฮาร์ดดิสก์เราสามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้และบันทึกลงไปใหม่ได้ส่วนแผ่นซีดีรอมไม่สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ หน่วยความจำสำรอง คืออะไร  ?
ฟลอปปีดิสก์   (floppy disks)  นิยมเรียกโดยทั่วไปว่า แผ่นดิสก์ หรือ ดิสก์เกตต์ เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลสำรองที่สามารถพกพาและเคลื่อนย้ายได้สะดวก แผ่นดิสก์รุ่นแรก ๆ จะมีขนาด  8  นิ้ว และ  5.25  นิ้วแต่ปัจจุบันนิยมใช้ขนาด  3.5  นิ้ว ซึ่งมีความจุ  1.44 MB แต่เดิมฟลอปปีดิสก์จะเรียกว่า ฟลอปปี  ( floppies)  เพราะดิสก์มีลักษณะที่บางและยืดหยุ่น แต่ปัจจุบันลักษณะของดิสก์ได้พัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ เป็นดิสก์ที่หุ้มด้วยแผ่นพลาสติกแข็งแต่เนื้อดิสก์ภายในยังคงอ่อนเหมือนเดิม จึงเรียกว่าฟลอปปี้ “ floppy disks”
CD  ( Compact Disk )  เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลสำรองที่ได้รับความนิยมกันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ลักษณะหนึ่งที่สำคัญของ  CD  คือจะถูกอ่านด้วยเครื่องอ่าน  CD (CD - Rom Drive)  ที่มีความเร็วที่แตกต่างกันออกไป ความเร็วในการอ่านซีดี จะเขียนอยู่ในรูปของตัวคูณ  ( x)  เช่น เครื่องอ่านซีดี ขนาด  24 x , 32 x,  52 x  เป็นต้น ปัจจุบันซีดีแต่ละแผ่น สามารถจุข้อมูลได้ประมาณ  700  MB  ซีดี สามารถแบ่งออกเป็น  3  ชนิด คือ -  CD - Rom (Compact Disk Read - Only Memory)  มีลักษณะคล้ายกับซีดีเพลง หรือ ซีดีที่ขายกันอยู่ทั่วไป คำว่า  read - only หมายถึง อ่านได้เพียงอย่างเดียว ผู้ใช้ไม่สามารถแก้ไขหรือลบข้อมูลในแผ่นซีดีได้ -  CD - R (Compact Disk Recordable )  เป็น ซีดีที่สามารถเขียน บันทึก หรือ  write  ข้อมูลได้ครั้งเดียว และสามารถอ่านข้อมูลได้หลายครั้งแต่ไม่สามารถลบข้อมูลที่อยู่ใน  CD - R  ได้ -  CD - RW (Compact Disk Rewriteable  หรือ  Erasable Optical Disk)  ซีดีประเภทนี้คล้ายกับ  CD – R   ต่างกันที่สามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลได้ คือ สามารถอ่านและเขียนข้อมูลได้หลายครั้ง “ Compact Disk” <- CD-Rom Drive CD-Rom ->
DVD  ( Digital Versatile Disk )  เป็นแผ่นข้อมูลแบบบันทึกด้วยแสง  ( Optical DisK)  ที่ใช้บันทึกข้อมูลต่างๆ เช่น ภาพยนตร์ โดยให้คุณภาพของภาพและเสียงที่ดี ดีวีดีถูกพัฒนามาใช้แทนซีดีรอม โดยใช้แผ่นที่มีขนาดเดียวกัน  ( เส้นผ่าศูนย์กลาง  12  เซนติเมตร )  แต่ว่าใช้การบันทึกข้อมูลที่แตกต่างกัน และความละเอียดในการบันทึกที่หนาแน่นกว่า   เดิมทีดีวีดีมาจากชื่อย่อว่า  digital video disc  แต่ในภายหลังผู้ผลิตบางรายเห็นว่าควรเปลี่ยนชื่อเป็น  Digital Versatile Disk ปัจจุบันตามคำนิยามอย่างเป็นทางการแล้ว  DVD  ไม่ได้ย่อมาจากชื่อเต็มแต่อย่างใด   เครื่องเขียนแผ่นดีวีดี  ( DVD Writer)  คือ เครื่องสำหรับการบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นดีวีดี ชนิดของแผ่นดีวีดีที่ใช้บันทึกนั้นมีอยู่  6  ชนิด คือ 1.DVD-R  2. DVD+R   3.DVD-RW   4.DVD+RW   5.DVD-R DL   6.DVD+R DL  7.DVD-RAM ข้อดีของ  DVD-RW  และ  DVD+RW  คือ สามารถนำกลับมาบันทึกใหม่ ได้กว่า   100,000  ครั้ง แต่ดีวีดีที่ได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบันนี้คือ  DVD-R ในการบันทึก  DVD  แต่ละชนิดนั้นไม่สามารถใช้งานข้ามชนิดได้ คือไม่สามารถใช้งานข้ามไดร์ฟได้ เช่น  DVD-RW  ไม่สามารถใช้งานในเครื่องบันทึก   DVD+RW  ได้ ต้องเขียนกับเครื่องบันทึก  DVD-RW  เท่านั้นส่วนการอ่านข้อมูลใน  DVD  นั้น สามารถอ่านกับเครื่องไหนก็ได้ เช่น  DVD+RW  สามารถอ่านกับเครื่องเล่น  DVD-RW  ได้ ส่วน  DVD-RAM  เดี๋ยวนี้ไม่นิยมใช้แล้ว “ D igital  V ersatile  D isk”
หน่วยความจำแบบแฟลช   (flash memory)  เป็นหน่วยความจำประเภทรอมที่เรียกว่า อีอีพร็อม  ( Electrically Erasable Programmable Read Only Memory : EEPROM)  ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่นำข้อดีของรอมและแรม มารวมกัน ทำให้หน่วยความจำชนิดนี้สามารถเก็บข้อมูล ในเหมือนฮาร์ดดิสก์คือ สามารถเขียนและลบข้อมูลได้ตาม ต้องการ และเก็บข้อมูลได้ แม้ไม่ได้ต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ หน่วยความจำชนิดนี้มีขนาดเล็ก น้ำหนักเบา พกพาได้สะดวกมักใช้เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูล ในอุปกรณ์นำเข้าข้อมูล เช่น แฟลชไดร์ฟ  MP3  กล้องดิจิทัล กล้องวีดิทัศน์ที่เก็บข้อมูลแบบดิจิทัล มือถือ “ flash memory”
ฮาร์ดดิสก์  ( Harddisk)  มีลักษณะเป็นจานแม่เหล็กหลายแผ่นวางซ้อนกัน โดยอาจมีจำนวนแผ่น  3-11  แผ่น ซึ่งจะไม่เรียกว่าดิสก์ แต่จะเรียกว่าแพลตเตอร์  ( Platter)  แทน ซึ่งแต่ละแพลตเตอร์จะสามารถเก็บข้อมูลได้ทั้งสองด้าน เนื่องจากแพลตเตอร์ผลิตจากสารจำพวกโลหะหรือแก้วบางชนิด จึงไม่สามารถงอไปงอมาได้   เหมือนกับฟลอปปี้ดิสก์ ทำให้ต้องมีโลหะปิดไว้ทุกด้านเพื่อป้องกันการกระทบกระเทือน   ฮาร์ดดิสก์จึงสามารถเก็บข้อมูลได้เป็นจำนวนมาก แล้วแต่ความจุของแต่ละรุ่น เช่น ฮาร์ดดิสก์  ความจุ  120  GB,  320  GB, 500 GB  เป็นต้น แต่ปัจจุบัน ฮาร์ดดิสก์ มีความจุถึง  2  TB   นอกจากนี้ยังมีความรวดเร็วต่อการเรียกใช้งานสูง โดยปกติจะกำหนดให้ฮาร์ดดิสก์เป็นไดร์ฟ  C:  และ  D:   ข้อจำกัดของฮาร์ดดิสก์ คือ เคลื่อนย้ายไปเครื่องอื่นลำบาก ชำรุดง่ายหากโดนกระทบกระเทือน   และมีราคาแพง “ Harddisk”
นายทัตพงศ์ แสนรัตนภัทร์ ม .5/9  เลขที่  1  นายพศวัต มั่นนิธวรกุล ม .5/9  เลขที่  2 นายมานะ พูนขยัน ม .5/9  เลขที่  5 นายทินรัตน์ วังซ้าย ม .5/9  เลขที่  11 นายพชรพล ทิพย์พิลา ม .5/9  เลขที่  22 นายภัทรพล วงศ์เลิศวิทย์ ม .5/9  เลขที่  23 นายศุภณัฐ สัตยารัฐ ม .5/9  เลขที่  24 นายสิรภพ อโนมกิติ  ม .5/9  เลขที่  25 นายกฤษฎี จันทร์นิยม ม .5/9  เลขที่  26 นายชัฏชยุตม์ สุรพิทยานนท์ ม .5/9  เลขที่  30 นายวีรพัศ ภคกษมา ม .5/9  เลขที่  32 นายศิวกร มาาศิลป์ ม .5/9  เลขที่  35 รายชื่อสมาชิกกลุ่ม

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Papawin Tunyasitikun
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลGuide Krittika
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลGuide Krittika
 
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองchayatorn sarathana
 
ใบงาน เรื่อง อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ใบงาน เรื่อง อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ใบงาน เรื่อง อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ใบงาน เรื่อง อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์KomSri
 
ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูล
ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูลใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูล
ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูลAngkan Mahawan
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลYoshikuni Yuusuke
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2
อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2
อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2Pongsakorn Chawrad
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลKarn Ung-Anothai
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลvipharat
 

Was ist angesagt? (17)

งานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไข
งานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไขงานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไข
งานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไข
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
 
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
 
Magnetic disks
Magnetic disksMagnetic disks
Magnetic disks
 
Optical Drive
Optical DriveOptical Drive
Optical Drive
 
CD-ROM
CD-ROMCD-ROM
CD-ROM
 
ใบงาน เรื่อง อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ใบงาน เรื่อง อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ใบงาน เรื่อง อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ใบงาน เรื่อง อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูล
ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูลใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูล
ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูล
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2
อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2
อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
 
Multimedia7
Multimedia7Multimedia7
Multimedia7
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
 
Flash Drive
Flash DriveFlash Drive
Flash Drive
 
ฮาร์ดดิสก์
ฮาร์ดดิสก์ฮาร์ดดิสก์
ฮาร์ดดิสก์
 

Ähnlich wie หน่วยความจำสำรอง

หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองSupaksorn Tatongjai
 
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองChinaphop Viriyakit
 
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)Supaksorn Tatongjai
 
งานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
งานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์งานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
งานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์Fong Chanida
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์พ่อ อาชีวะ
 
บทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญ
บทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญบทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญ
บทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญArrat Krupeach
 
ตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูล
ตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูลตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูล
ตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูลKriangx Ch
 
สำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอมสำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอมYanin Raksasap
 
สำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอมสำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอมPeerada Chuesook
 
สำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอมสำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอมYanin Raksasap
 
สำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอมสำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอมPeerada Chuesook
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์Mark'k Stk
 
Chapter 4 Storage Devices
Chapter 4 Storage DevicesChapter 4 Storage Devices
Chapter 4 Storage DevicesAdul Yimngam
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Jit Khasana
 

Ähnlich wie หน่วยความจำสำรอง (20)

หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรอง
 
CD-ROM
CD-ROMCD-ROM
CD-ROM
 
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
 
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)
 
งานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
งานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์งานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
งานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไข
งานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไขงานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไข
งานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไข
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
 
บทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญ
บทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญบทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญ
บทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญ
 
ตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูล
ตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูลตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูล
ตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูล
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
สำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอมสำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอม
 
สำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอมสำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอม
 
สำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอมสำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอม
 
สำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอมสำรองข้อมูลคอม
สำรองข้อมูลคอม
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์
 
Chapter 4 Storage Devices
Chapter 4 Storage DevicesChapter 4 Storage Devices
Chapter 4 Storage Devices
 
computer
computercomputer
computer
 
computer
computercomputer
computer
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
Learnning03
Learnning03Learnning03
Learnning03
 

หน่วยความจำสำรอง

  • 2. หน่วยความจำสำรองคือ อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการเก็บบันทึกข้อมูลและโปรแกรมต่างๆแบบถาวร ได้แก่ฮาร์ดดิสก์ ฟลอปปี้ดิสก์ แผ่นซีดีรอม ฯลฯโดยถ้าเป็นข้อมูลที่มีขนาดเล็กและต้องการเคลื่อนย้ายไฟล์ไปที่คอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ก็ใช้ฟลอปปี้ดิสก์แต่ถ้าเป็นข้อมูลที่มีขนาดใหญ่มากๆ ก็จะเก็บลงในฮาร์ดดิสก์ หรือแผ่นซีดีรอม ซึ่งข้อมูลที่เก็บในฟลอปปี้ดิสก์หรือฮาร์ดดิสก์เราสามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้และบันทึกลงไปใหม่ได้ส่วนแผ่นซีดีรอมไม่สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ หน่วยความจำสำรอง คืออะไร ?
  • 3. ฟลอปปีดิสก์ (floppy disks) นิยมเรียกโดยทั่วไปว่า แผ่นดิสก์ หรือ ดิสก์เกตต์ เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลสำรองที่สามารถพกพาและเคลื่อนย้ายได้สะดวก แผ่นดิสก์รุ่นแรก ๆ จะมีขนาด 8 นิ้ว และ 5.25 นิ้วแต่ปัจจุบันนิยมใช้ขนาด 3.5 นิ้ว ซึ่งมีความจุ 1.44 MB แต่เดิมฟลอปปีดิสก์จะเรียกว่า ฟลอปปี ( floppies) เพราะดิสก์มีลักษณะที่บางและยืดหยุ่น แต่ปัจจุบันลักษณะของดิสก์ได้พัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ เป็นดิสก์ที่หุ้มด้วยแผ่นพลาสติกแข็งแต่เนื้อดิสก์ภายในยังคงอ่อนเหมือนเดิม จึงเรียกว่าฟลอปปี้ “ floppy disks”
  • 4. CD ( Compact Disk ) เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลสำรองที่ได้รับความนิยมกันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ลักษณะหนึ่งที่สำคัญของ CD คือจะถูกอ่านด้วยเครื่องอ่าน CD (CD - Rom Drive) ที่มีความเร็วที่แตกต่างกันออกไป ความเร็วในการอ่านซีดี จะเขียนอยู่ในรูปของตัวคูณ ( x) เช่น เครื่องอ่านซีดี ขนาด 24 x , 32 x, 52 x เป็นต้น ปัจจุบันซีดีแต่ละแผ่น สามารถจุข้อมูลได้ประมาณ 700 MB ซีดี สามารถแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ - CD - Rom (Compact Disk Read - Only Memory) มีลักษณะคล้ายกับซีดีเพลง หรือ ซีดีที่ขายกันอยู่ทั่วไป คำว่า read - only หมายถึง อ่านได้เพียงอย่างเดียว ผู้ใช้ไม่สามารถแก้ไขหรือลบข้อมูลในแผ่นซีดีได้ - CD - R (Compact Disk Recordable ) เป็น ซีดีที่สามารถเขียน บันทึก หรือ write ข้อมูลได้ครั้งเดียว และสามารถอ่านข้อมูลได้หลายครั้งแต่ไม่สามารถลบข้อมูลที่อยู่ใน CD - R ได้ - CD - RW (Compact Disk Rewriteable หรือ Erasable Optical Disk) ซีดีประเภทนี้คล้ายกับ CD – R ต่างกันที่สามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลได้ คือ สามารถอ่านและเขียนข้อมูลได้หลายครั้ง “ Compact Disk” <- CD-Rom Drive CD-Rom ->
  • 5. DVD ( Digital Versatile Disk ) เป็นแผ่นข้อมูลแบบบันทึกด้วยแสง ( Optical DisK) ที่ใช้บันทึกข้อมูลต่างๆ เช่น ภาพยนตร์ โดยให้คุณภาพของภาพและเสียงที่ดี ดีวีดีถูกพัฒนามาใช้แทนซีดีรอม โดยใช้แผ่นที่มีขนาดเดียวกัน ( เส้นผ่าศูนย์กลาง 12 เซนติเมตร ) แต่ว่าใช้การบันทึกข้อมูลที่แตกต่างกัน และความละเอียดในการบันทึกที่หนาแน่นกว่า เดิมทีดีวีดีมาจากชื่อย่อว่า digital video disc แต่ในภายหลังผู้ผลิตบางรายเห็นว่าควรเปลี่ยนชื่อเป็น Digital Versatile Disk ปัจจุบันตามคำนิยามอย่างเป็นทางการแล้ว DVD ไม่ได้ย่อมาจากชื่อเต็มแต่อย่างใด เครื่องเขียนแผ่นดีวีดี ( DVD Writer) คือ เครื่องสำหรับการบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นดีวีดี ชนิดของแผ่นดีวีดีที่ใช้บันทึกนั้นมีอยู่ 6 ชนิด คือ 1.DVD-R 2. DVD+R 3.DVD-RW 4.DVD+RW 5.DVD-R DL 6.DVD+R DL 7.DVD-RAM ข้อดีของ DVD-RW และ DVD+RW คือ สามารถนำกลับมาบันทึกใหม่ ได้กว่า 100,000 ครั้ง แต่ดีวีดีที่ได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบันนี้คือ DVD-R ในการบันทึก DVD แต่ละชนิดนั้นไม่สามารถใช้งานข้ามชนิดได้ คือไม่สามารถใช้งานข้ามไดร์ฟได้ เช่น DVD-RW ไม่สามารถใช้งานในเครื่องบันทึก DVD+RW ได้ ต้องเขียนกับเครื่องบันทึก DVD-RW เท่านั้นส่วนการอ่านข้อมูลใน DVD นั้น สามารถอ่านกับเครื่องไหนก็ได้ เช่น DVD+RW สามารถอ่านกับเครื่องเล่น DVD-RW ได้ ส่วน DVD-RAM เดี๋ยวนี้ไม่นิยมใช้แล้ว “ D igital V ersatile D isk”
  • 6. หน่วยความจำแบบแฟลช (flash memory) เป็นหน่วยความจำประเภทรอมที่เรียกว่า อีอีพร็อม ( Electrically Erasable Programmable Read Only Memory : EEPROM) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่นำข้อดีของรอมและแรม มารวมกัน ทำให้หน่วยความจำชนิดนี้สามารถเก็บข้อมูล ในเหมือนฮาร์ดดิสก์คือ สามารถเขียนและลบข้อมูลได้ตาม ต้องการ และเก็บข้อมูลได้ แม้ไม่ได้ต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ หน่วยความจำชนิดนี้มีขนาดเล็ก น้ำหนักเบา พกพาได้สะดวกมักใช้เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูล ในอุปกรณ์นำเข้าข้อมูล เช่น แฟลชไดร์ฟ MP3 กล้องดิจิทัล กล้องวีดิทัศน์ที่เก็บข้อมูลแบบดิจิทัล มือถือ “ flash memory”
  • 7. ฮาร์ดดิสก์ ( Harddisk) มีลักษณะเป็นจานแม่เหล็กหลายแผ่นวางซ้อนกัน โดยอาจมีจำนวนแผ่น 3-11 แผ่น ซึ่งจะไม่เรียกว่าดิสก์ แต่จะเรียกว่าแพลตเตอร์ ( Platter) แทน ซึ่งแต่ละแพลตเตอร์จะสามารถเก็บข้อมูลได้ทั้งสองด้าน เนื่องจากแพลตเตอร์ผลิตจากสารจำพวกโลหะหรือแก้วบางชนิด จึงไม่สามารถงอไปงอมาได้ เหมือนกับฟลอปปี้ดิสก์ ทำให้ต้องมีโลหะปิดไว้ทุกด้านเพื่อป้องกันการกระทบกระเทือน ฮาร์ดดิสก์จึงสามารถเก็บข้อมูลได้เป็นจำนวนมาก แล้วแต่ความจุของแต่ละรุ่น เช่น ฮาร์ดดิสก์ ความจุ 120 GB, 320 GB, 500 GB เป็นต้น แต่ปัจจุบัน ฮาร์ดดิสก์ มีความจุถึง 2 TB นอกจากนี้ยังมีความรวดเร็วต่อการเรียกใช้งานสูง โดยปกติจะกำหนดให้ฮาร์ดดิสก์เป็นไดร์ฟ C: และ D: ข้อจำกัดของฮาร์ดดิสก์ คือ เคลื่อนย้ายไปเครื่องอื่นลำบาก ชำรุดง่ายหากโดนกระทบกระเทือน และมีราคาแพง “ Harddisk”
  • 8. นายทัตพงศ์ แสนรัตนภัทร์ ม .5/9 เลขที่ 1 นายพศวัต มั่นนิธวรกุล ม .5/9 เลขที่ 2 นายมานะ พูนขยัน ม .5/9 เลขที่ 5 นายทินรัตน์ วังซ้าย ม .5/9 เลขที่ 11 นายพชรพล ทิพย์พิลา ม .5/9 เลขที่ 22 นายภัทรพล วงศ์เลิศวิทย์ ม .5/9 เลขที่ 23 นายศุภณัฐ สัตยารัฐ ม .5/9 เลขที่ 24 นายสิรภพ อโนมกิติ ม .5/9 เลขที่ 25 นายกฤษฎี จันทร์นิยม ม .5/9 เลขที่ 26 นายชัฏชยุตม์ สุรพิทยานนท์ ม .5/9 เลขที่ 30 นายวีรพัศ ภคกษมา ม .5/9 เลขที่ 32 นายศิวกร มาาศิลป์ ม .5/9 เลขที่ 35 รายชื่อสมาชิกกลุ่ม