SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 34
 
Next Previous อินเทอร์เน็ต และสังคมฐานความรู้
[object Object],Next Previous
การประยุกต์ใช้งานอินเทอร์เน็ต ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Next Previous
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Next Previous
[object Object],[object Object],Next Previous
[object Object],[object Object],Next Previous
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Next Previous
สังคมฐานความรู   (Knowledge – BasSociety) สังคมฐานความรูเปนสังคมแหงการสรางสรรคและการเรียนรูตลอดชีวิตซึ่งประกอบดวยนักวิชาการ   นักวิจัย   วิศวกร   ผูปฏิบัติกา เครือขายวิจัย   และบริษัทที่เกี่ยวของกับการวิจัยและ เปนผูผลิตสินคาเทคโนโลยีขั้นสูงและใหบริการสังคมฐานความรูกอใหเกิดระบบของการผลิตสิ่งประดิษฐใหม ๆ ของชาติซึ่งถูกรวมเขาไวเปนหนึ่งเดียวกับเครือขายของการผลิตการเผยแพร การใช และการคุมครองความรูระหวางประเทศ เครื่องมือทางเทคโนโลยีดานขอมูลและการสื่อสารของสังคมจะทําใหการเขาถึงความรูของมนุษยเปนไปอยางงายดายและเปนไปในวงกวางความรูจะถูกนํามาใชเพื่อเพิ่มอํานาจและทําใหประชาชนสุขสมบูรณทั้งทางจิตใจและรางกาย เพื่อสรางสังคมที่ยั่งยืนขึ้นมา Next Previous
สังคมฐานความรู   ( Knowledge – Based Socie  )  สังคมฐานความรู้เป็นสังคมที่ควรที่ความรู้ได้ กลายมาเป็นทรัพยากรที่มีค่ายิ่ง  การพัฒนาความรู้ใหม่ๆเพื่อการแข้งขัน  และเสริมสร้างความเข้มแข็งจึงเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งของการพัฒนาประเทศ  ซึ่งมีลักษณะสำคัญมี  3  มิติ  ดังนี้คือ Next Previous
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Next Previous
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Next Previous
                   เคยนำเสนอเนื้อหา งานวิจัยของ จุฬากรณ์ มาเสถียรวงศ์ นิสิตปริญญาเอก แห่งภาควิชาพัฒนศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ได้เผยแพร่ข้อเสนอการศึกษาเพื่อเด็กรู้ทัน  ( รังสรรค์ )  อินเตอร์เน็ตเพื่อวันหน้า                   ขึ้นปีใหม่ พ . ศ . 2548  นี้ ยังมีเรื่องราวอีกมากมายของคนใช้ และการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะอินเตอร์เน็ต ที่ฮิตฮ็อตกันเกือบทุกบ้านเรือน ให้รู้จักการใช้  " เน็ต "  อย่างมีคุณธรรม และศีลธรรม                   เปิดนักษัตรใหม่ ปีไก่ ก็ขอหยิบข้อเสนอและเรื่องราวดีๆ มาบอกเล่ากันผ่านข้อเขียนของ จุฬากรณ์ มาเสถียรวงศ์ เพื่อเหล่าอินเตอร์ชน จะได้รวมตัวทำสิ่งดีๆ กันตั้งแต่วันใหม่ๆ กับช่วงเวลาใหม่ๆ นับจากนี้ไป                   เพราะการปรากฏตัวของอินเตอร์เน็ตหรือ  " เน็ต "  ได้ก่อให้เกิดนวัตกรรมต่างๆ และวาทกรรมอีกมากมายที่ไม่เพียงแต่สะท้อนถึงอิทธิพลของอินเตอร์เน็ตที่มีต่อวัฒนธรรมการสื่อสารและการรับรู้ของคนในสังคมแล้ว อีกทั้งยังสะท้อนถึงนัยของอินเตอร์เน็ตที่มีต่อการพัฒนาประเทศไปสู่สังคมฐานความรู้   (Knowledge-based Society)  ที่มีความสามารถในการแข่งขันกับนานาประเทศ และนัยต่อ  " ปฏิรูปการศึกษา "  และการ  " ปฏิรูปการเรียนรู้ "  ของเด็กไทยด้วย   รู้ให้เท่าทัน ร่วมสร้าง  ‘ คุณธรรม ’   ในอินเตอร์เน็ต
                แม้ว่าเรื่องไอซีที อินเตอร์เน็ตจะกลายเป็นวาระแห่งชาติที่รัฐบาลให้ความสำคัญ มีการประกาศนโยบายและยุทธศาสตร์การลงทุนและพัฒนาไอซีที การขยายโครงสร้างพื้นฐาน การปฏิรูปการเรียนรู้ การพัฒนาเครือข่ายอินเตอร์เน็ตไปสู่ภูมิภาคต่างๆ ในประเทศอย่างชัดเจน แต่กระนั้น ช่องว่างระหว่างเด็กไทยผู้ใช้อินเตอร์เน็ตก็ดูยังมีความเหลื่อมล้ำอยู่มาก                   ปัจจุบันเด็กไทยจำนวนมากที่มีโอกาสเติบโตโดยมีอินเตอร์เน็ตเป็นเพื่อน ขณะเดียวกัน เด็กไทยอีกจำนวนไม่น้อยที่ด้อยโอกาสที่จะเข้าถึงการเรียนรู้ดีๆ หรือเข้าไปไม่ถึงองค์ความรู้ที่มีคุณค่าในอินเตอร์เน็ต ซึ่งโอกาสและความเท่าเทียมในการเข้าถึงเทคโนโลยีดังกล่าวดูยังเป็นภารกิจสำคัญที่รัฐบาลไม่อาจปฏิเสธได้                
  อย่างไรก็ตาม จากการลงทุนจากรัฐแล้ว ในส่วนภาคปฏิบัติการของผู้ใช้อินเตอร์เน็ตก็ดูเหมือนมีสิ่งที่ต้องรับผิดชอบร่วมกันทั้งสังคม โดยเฉพาะยิ่งความรับผิดชอบต่อ  " เด็กวัยเน็ต "  ( เด็กวัยเรียนรู้จักมักใช้อินเตอร์เน็ต )  เนื่องจากอินเตอร์เน็ตมิใช่เพียงระบบปฏิบัติการที่เชื่อมโยงความรู้ผู้คนและโลกเท่านั้น แต่มันเต็มไปด้วยสารัตถมากมายและเต็มไปด้วยพหุมิติที่เหนือจริงด้วย อานุภาพของเทคโนโลยีชนิดนี้อาจจะมิใช่แค่เป็นตัวเร่ง / ตัวนำโลกาภิวัตน์ มาสู่ท้องถิ่นต่างๆ ได้ตามความต้องการเท่านั้น                   แต่ยังอาจชักจูงให้เด็กจำนวนมากหลงใหลอินเตอร์เน็ต จนหลงลืมความจริงบางประการของการอยู่ร่วมกันระหว่างมนุษย์กับวัตถุ และที่สุดชีวิตก็อาจตกเป็นทาสของเทคโนโลยีชนิดนี้โดยไม่รู้ตัว ดังที่บทความชิ้นนี้ได้กล่าวมาแต่ต้น
                สำหรับยุทธศาสตร์ในการจัดการนั้นดูจะมีทางเลือกหลากหลาย ตั้งแต่ระดับนโยบายถึงระดับปฏิบัติการดังที่กล่าว แต่แน่นอนว่า ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ที่จะเท่าทันสื่อดังกล่าวถือว่าจำเป็นอย่างยิ่งในยุคนี้ ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือของผู้มีส่วนใกล้ชิดกับเด็ก ไม่ว่าจะเป็นครู พ่อแม่ผู้ปกครอง และเด็กๆ ด้วย รวมถึงสื่อและชุมชนที่ถือเป็นสถาบันที่มีอิทธิพลต่อการอบรมบ่มเพาะเด็ก และอยู่ใกล้ตัวเด็ก                   ด้วยเหตุนี้จึงได้มีข้อเสนอบางประการ ที่แม้อาจจะไม่ใช่คำตอบทั้งหมดของการจัดการในเรื่องนี้ แต่น่าจะเป็นทางเลือกที่น่าจะช่วยกันสร้างสรรค์ให้อินเตอร์เน็ตเป็นสื่อการเรียนรู้ที่สร้างสรรค์สังคมได้ไม่มากก็น้อย ดังนี้                   การส่งเสริมให้ครูในฐานะผู้สอน / ผู้ชี้นำมีความสามารถ   " ทันโลก ทันเน็ต ทันเด็ก "  ทั้งในแง่ทักษะในการใช้อินเตอร์เน็ตเข้าถึงความรู้ใหม่ๆ เพื่อประโยชน์การเรียนการสอน ความสามารถในการจัดการเน็ตและส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อการค้นคว้าอย่างเหมาะสม บทบาทการสร้างความรู้ความเข้าใจแก่เด็กให้เห็นความจริงของเทคโนโลยีชนิดนี้ที่เป็น   " ดาบสองคม "  การพัฒนาให้เกิดสำนึกในการใช้ไอทีเพื่อสังคม กล่าวอีกนัยก็คือการพัฒนาครูให้มีความรู้เป็น  " ครูไอเทค " ( I-tech teacher)  ที่ใช้ไอทีเพื่อการเรียนรู้ก็เป็นสิ่งสำคัญยิ่งที่จะสร้างเด็กไอสไตล์  ( I-Style)  หรือเด็กที่ฉลาดในการใช้ไอที
                  การมียุทธศาสตร์ปฏิรูปการเรียนรู้ เรื่อง  " อินเตอร์เน็ตศึกษา / สื่อศึกษา " ( Internet education / media education)  ในทุกระดับการศึกษา เพื่อให้เด็กในแต่ละวัยที่มีโอกาสเข้าถึงอินเตอร์เน็ตได้เรียนรู้เรื่องอินเตอร์เน็ตในมิติต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นความรู้ ความจริง จริยธรรม คุณโทษและและพลานุภาพของอินเตอร์เน็ต รวมไปถึงสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวพันกับอินเตอร์เน็ต ตัวอย่างแนวคิดและสาระสำคัญของ   " อินเตอร์เน็ตศึกษา " ( Internet education / media education)                  ความรู้เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตรวมถึงสิ่งอื่นที่เกี่ยวพันกับอินเตอร์เน็ต เช่น คอมพิวเตอร์ สื่อแบบต่างๆ ทั้งโทรทัศน์ วิทยุ และสื่ออื่น กับผลกระทบในแง่มุมต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับตนเอง ความรู้เกี่ยวกับข้อมูลที่มากับอินเตอร์เน็ตและเทคโนโลยีสื่อสารแบบต่างๆ ที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กับอินเตอร์เน็ต มีความรู้ความเข้าใจในจริยธรรม มีจรรยาบรรณของการใช้อินเตอร์เน็ตอย่างเหมาะสม                   ทักษะการเลือกสรรและคัดกรองข้อมูลที่มากับเว็บ / สื่อต่างๆ ทักษะการเลือกสรร การสืบค้นการเข้าถึงหรือลิงค์ไปยังเว็บไซต์ต่างๆ ที่มีคุณภาพ ทักษะการจัดการความรู้ที่มากับอินเตอร์เน็ต ทักษะการบริหารเวลาและการใช้เน็ตในชีวิตประจำวันอย่างถูกต้องเหมาะสม
อินเตอร์เน็ตเพื่อการศึกษา การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษายุคแห่งสังคมความรู้เป็นยุคที่นักการศึกษามีบทบาทต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างยิ่ง อินเทอร์เน็ตเป็นช่องทางของการส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วทั้งโลก เราต่างก้าวหน้าผ่านยุคแห่งสังคมข่าวสารมาแล้วซึ่งทำให้ประจักษ์ได้ว่าข่าวสารต่าง ๆ นั้นจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา และอื่น ๆ ได้นั้น ต้องอาศัยความรู้ในการจัดการการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษามีความหมายครอบคลุม
กิจกรรมด้านการศึกษาที่ถูกวางรูปแบบโดยครูผู้ทำหน้าที่ถ่ายทอดความรู้ผ่านทางอินเทอร์เน็ต เนื่องจากรูปแบบการสื่อสารและการควบคุมนักเรียนทางไกลแบบ  Online   มีลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากการเรียนการสอนในห้องเรียนซึ่งทำกันเป็นปกติ ดังนั้นเป้าหมายของการศึกษาผ่านอินเทอร์เน็ตจึงประกอบด้วยวัตถุประสงค์หลัก  3  ประการ ได้แก่ .....1.  การสร้างกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตให้เหมาะสมกับระดับผู้เรียน .....2.  การเสริมทักษะและความรู้เพื่อให้ครูสามารถดำเนินการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
.....3.  การกำหนดเป้าหมายการศึกษาเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนการสร้างกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตกิจกรรมการศึกษาในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสามารถแสดงความสัมพันธ์ของกิจกรรมต่าง ๆ เพราะจำนวนของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตต่อการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษามีความสัมพันธ์กันในอัตราส่วนที่ลดลงโดยพบว่าขั้นพื้นฐานจะมีจำนวนประชากรที่ใช้อินเทอร์เน็ตมาก จำนวนของผู้ใช้ที่มีทักษะ หรือความสามารถในการใช้ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตกลับมีจำนวนที่ลดลงจากข้อเท็จจริงดังกล่าวทำให้วิธีการที่จะสร้างให้มีกิจกรรมเพื่อการศึกษาผ่านอินเทอร์เน็ตอย่างได้ผล จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการวางแผนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ให้เป็นบริการสาธารณูปโภคของประเทศที่มีประสิทธิภาพให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ในเวลาอันรวดเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ซึ่งปัจจุบันมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ได้รับการสนับสนุนจากทบวงมหาวิทยาลัย  ( Uninet)   ส่วนโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาก็ได้รับการสนับสนุนจาก  Schoolnet Thailand   เช่นกัน
การบริการอินเทอร์เน็ตระดับพื้นฐาน แต่ละขั้นจะมีรูปแบบของกิจกรรมการศึกษาที่แตกต่างกัน การใช้ระบบเครือข่ายระดับพื้นฐานคือการใช้อินเทอร์เน็ตตามโครงสร้างของสาธารณูปโภคที่มีใช้กันอยู่ในทุกแห่ง สาเหตุที่จะทำให้ กลุ่มผู้ใช้ที่ยังไม่รู้จักเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเปลี่ยนเจตคติมายอมรับเพื่อเข้าร่วมในการใช้ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตน่าจะเป็นเพราะความสามารถในการสื่อสารระหว่างบุคคล และความสามารถของอินเทอร์เน็ตในการเข้าถึงข้อมูลที่มีอยู่ในคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ทั่วโลกด้วยเวลาอันรวดเร็วด้วยเหตุนี้จึงสามารถแบ่งบริการที่มีอยู่ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ว่า เป็นบริการด้านการสื่อสารระหว่างบุคคลต่อบุคคล และบุคคลต่อกลุ่มบุคคล เป็นบริการเพื่อการเข้าถึงแหล่งข้อมูลการใช้อินเทอร์เน็ตในปัจจุบันที่สามารถนำมาเป็นตัวอย่างได้แก่ การใช้  e-mail  ในการสื่อสารระหว่างบุคคล การใช้  WWW   เพื่อสืบหาและเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่าง ๆการเข้าถึงแหล่งข้อมูลและความรู้ ในปัจจุบันอินเทอร์เน็ตถูกนำมาใช้เพื่อการสืบค้น ข้อมูลมากที่สุด ซึ่งผู้ใช้ที่มีอาชีพแตกต่างกันย่อมใช้บริการที่มีอยู่ในปริมาณต่างกัน บ้างเป็นการสืบค้นข้อมูลที่เป็นตัวอักษร บ้างก็เป็นข้อมูลที่นำเสนอในรูปแบบของมัลติมีเดีย ที่ล้วนแต่แปลงเป็นสัญญาณดิจิตอลแล้วทั้งสิ้นทางด้านการศึกษา อาจจะคล้ายคลึงกับการไปห้องสมุดที่หาตำรา วารสาร โดยที่มีบรรณารักษ์คอยให้คำปรึกษา เพื่อจะได้ข้อมูลและความรู้ที่ต้องการ การใช้ข้อมูลต่าง ๆ
ในอินเทอร์เน็ตก็เช่นเดียว เพราะผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลที่มีอยู่ทันที สามารถเข้าร่วมกิจกรรมทางอินเทอร์เน็ตได้แม้จะอยู่ต่างสถานที่ก็ตาม เว้นเสียแต่ว่าในการศึกษาครั้งนั้นมีจุดประสงค์แตกต่างกันการร่วมกันใช้ข้อมูล แหล่งความรู้ การร่วมใช้ข้อมูลและแหล่งความรู้เป็นเรื่องปกติของกลุ่มผู้ใช้ที่ต้องการจะมีประสบการณ์ด้านการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและข้อมูลต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต โดยทั่วไปแล้วผู้ใช้จะไม่เพียงแต่มีปฏิสัมพันธ์กับข้อมูลหรือผู้เชี่ยวชาญเพียงลำพังเท่านั้น แต่จะเข้าร่วมกิจกรรมทางอินเทอร์เน็ต เช่น การแสดงความคิดเห็น การสนทนา ผ่านเครือข่ายกบผู้ที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน การสมัครเข้าเป็นสมาชิกองค์กรต่าง ๆ เพื่อร่วมกันใช้ข้อมูลหรือร่วมแสดงความคิดเห็นการร่วมมือ ร่วมตัดสินใจ และร่วมกันบริหาร ปัจจุบันมีรูปแบบของการร่วมกันในเครือข่ายอยู่  3  รูปแบบ ได้แก่
การร่วมมือ ร่วมตัดสินใจ และร่วมกันบริหาร ซึ่งเป็นการทำงานระหว่างบุคคล ที่ยังบกพร่องในรูปแบบที่เหมาะสมแม้จะมีจุดหมายเพื่อการใช้ข้อมูลร่วมกันก็ตาม ย้อนกลับไปยังประเด็นการศึกษาซึ่งเป็นการรวมกันระหว่างการเรียนในโรงเรียนหรือการเรียนทางไกลสำหรับผู้ใหญ่ที่จำเป็นจะต้องมีการสื่อสารกันตลอดเวลา ครูผู้สอนต้องจัดโปรแกรม กิจกรรมการเรียนการสอน และการแลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อให้กระบวนการเรียนรู้ สำหรับการเรียนของนักเรียนก็เช่นกันที่ต้องจัดให้มีกิจกรรมที่จะร่วมกันทำงานกับผู้อื่น เพื่อให้เกิดบุคลิกภาพของการร่วมกันทำงาน หรือต้องการให้สร้างสังคมของการเรียนรู้แบบร่วมมือนั้นเองการใช้แหล่งทรัพยากรในอินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษา การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษามีความสัมพันธ์ กับทุกส่วนของการศึกษาเช่นลักษณะการเรียนการสอน หลักสูตร เนื้อหาเวลาเรียน ห้องเรียน ทั้งนี้เพื่อเป็นประโยชน์สูงสุดของผู้เรียน
ดังนั้นจึงจำเป็นต้องสร้างรูปแบบของกิจกรรม การอบรม การวิจัย กิจกรรมเสริมอื่น ๆ ให้สอดคล้องกับการใช้อินเทอร์เน็ตในระหว่าง  2  จุดประสงค์ดังกล่าว เราพบการประยุกต์เนื้อหาหลายรูปแบบซึ่งนำไปสู่เป้าหมายทางการศึกษา  ( ทักษะและความสามารถที่ได้จากการเรียน )  ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์จึงอาจเป็นทั้งเนื้อหาและเครื่องมือในเวลาเดียวกันจากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ปัจจุบันจึงมีการเน้นให้เกิดการประยุกต์การศึกษาในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ดังนั้นการสอนเพื่อให้เกิดทักษะ และความรู้ต้องมาจากการออกแบบโครงการที่มีเฉพาะเจาะจงเพื่อให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ วิธีการ และเป็นเครื่องมือเพื่อให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดทางการศึกษาอินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษาทางไกลเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในกระบวนการเรียนการสอนและนำมาประยุกต์ใช้กับการอบรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะมีแหล่งทรัพยากรด้านการศึกษามากขึ้นเท่าใด ยิ่งเป็นการเพิ่มคุณค่าของการศึกษาอย่างแท้จริงความรู้และทักษะที่จำเป็นของครูผู้สอน
การใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาโดยตรง เพราะเป็นการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์มาแก้ปัญหาทางการศึกษา ประโยชน์ของการใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือความสามารถในการสื่อสารที่หลากหลายระหว่างที่มีกิจกรรมทางเครือข่าย เหตุผลนี้สอดคล้องกับความสามารถและการจัดการเพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างสถานที่หนึ่งไปยังสมาชิกที่อยู่ ณ สถานที่อื่น ความจำเป็นที่พึงระวังของผู้ใช้ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสมาชิกนั้นเองเป้าหมายของการศึกษาในระบบเครือข่าย กระบวนการทางด้านการศึกษาใช้ระบบเครือข่ายเป็นพื้นฐานในการพัฒนามีการเชื่อมโยงกับมิติทั้ง  3  อันได้แก่ .....1.)  การบริการข้อมูลและสาธารณูปโภค .....2.)  ความรู้ และทักษะในการใช้บริการทั้งสองเพื่อฝึกฝนและเพื่อวิธีการและจุดประสงค์ที่การศึกษาต้องการไปถึง
.....3.)  เป้าหมายทางการศึกษาที่สูงสุดสรุปเพื่อส่งเสริมให้เป้าหมายทางการศึกษาทางอินเทอร์เน็ตประสบความสำเร็จ เราจำต้องจัดกิจกรรมทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์และพัฒนาความสามารถของครู เพื่อนำไปสู่การเข้าถึงข้อมูลและการใช้บริการต่างๆ เพื่อเทคโนโลยีการสื่อสารในการศึกษาดังสรุปเป็นตาราง  1 การที่จะนำนักเรียนไปถึงเป้าหมายของการศึกษาซึ่งสัมพันธ์กับเครื่องมือต่างๆ ทางอินเทอร์เน็ต ครูจะต้อง ทดลองใช้ปฏิสัมพันธ์ทางอินเทอร์เน็ตเสียก่อนไม่เพียงแต่เพื่อให้เป็นผู้นำและผู้ออกแบบที่ประสบผลสำเร็จในด้านนี้เท่านั้น แต่เป็นการใช้เครือข่ายจากความต้องการของตนเองและเพื่อไปสู่เป้าหมายของกิจกรรม โดยได้รับการปรับหลักสูตรและจุดประสงค์ ให้สอดคล้องกับการเรียนแบบบรรยายอีกด้วยนอกจากนี้การศึกษาที่ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถแยกได้เป็น  2  ประเด็น คือ
.....1.  การศึกษาระบบเครือข่าย หมายถึง ข้อมูลและเทคโนโลยีการสื่อสารถูกมองว่าเป็นแขนงวิชาหนึ่งในการกระบวนการเรียนการสอน .....2.  การใช้เครือข่ายเพื่อการศึกษา หมายถึง ข้อมูลและเทคโนโลยีการสื่อสารถูกใช้เป็นเครื่องมือและองค์ประกอบในระบบการศึกษา เช่น การเรียนผ่านอินเทอร์เน็ตผู้นำโครงการทางการศึกษาผ่านอินเทอร์เน็ตต้องมีความรู้และความสามารถจัดให้มีการใช้อินเทอร์เน็ตขั้นพื้นฐานกับสมาชิกในกลุ่มได้ โดยมีการปรับปรุงการบริหาร การร่วมกันใช้ข้อมูล การจัดการของกลุ่มการเรียน และการหาเครือข่าย ด้วยการใช้คุณสมบัติต่างๆ ของเครื่องมือที่มีอยู่แล้วจัดให้เป็นแหล่งความรู้และนำไปสู่ความสำเร็จของกระบวนการศึกษา
  ประยุกต์ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้ประเด็น  แนวคิดและหลักการ         สังคม เทคโนโลยีสารสนเทศ   IT (Information Technology)  ได้มีวิวัฒนาการและ การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น ตามลำดับ ขณะนี้ก็จะมีวิถี ของการพั ฒนาการเปลี่ยน แปลงไปอย่างรวดเร็วและซับ ซ้อนมากกว่ายุคใดๆที่ผ่าน มา ซึ่งทั้งนี้ต้องระดม สมอง สรรพกำลังทั้งมวลเพื่อที่จะให้เกิดการพัฒนา ประเทศ เพื่อการ เตรียมความ พร้อมสำหรับการแข่งขันในเวทีโลก ประเทศไทยได้ เตรียมความพร้อม เข้าสู่ศตวรรษที่  21  แล้ว โดยมีการปรับเปลี่ยน เทคโนโลยีโดยเฉพาะเทคโนโลยี สารสนเทศที่มีผลต่อภาคธุรกิจการศึกษา สังคม ซึ่งเน้นการให้ความสะดวกในด้านการบริหารจัดการ และให้เกิด ความคล่องตัวต่อ การดำเนินงานไปในทิศทางที่สอดคล้องกัน จึงได้วางนโยบาย  e-Thailand  ขึ้น เพื่อเปิดประตูสู่การพัฒนาประเทศ ทั้งนี้ได้เน้นนโยบายหลักทางด้าน สังคมเพื่อลด ช่องว่างทางสังคม เปิดเสรีทางการค้าอิเล็กทรอนิกส์ นโยบายระหว่าง ประเทศ ผลัก ดันโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ หนึ่งในนโยบายของ  e-Thailand  คือการส่งเสริมพัฒนาสังคม สิ่งที่ควรจะคำนึงถึง ก็คือ  e-Education  เป็นการให้ การศึกษาแก่มนุษย์ให้มีความรู้ความสามารถในด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อนำมาปรับใช้ในทุกส่วนงานในวงการไอทีซึ่งมี การนำ หลักการ  2  ประเภทใหญ่ๆดังนี้คือ
                    e-MIS  ด้านการบริหารงาน เป็นการนำไปใช้ ด้านการบริหารงานและการจัดการ ศึกษา เน้นด้านการจัด พิมพ์ เอกสาร ทำฐานข้อมูล การประมวลผล เพื่อจัดทำสารสนเทศทาง การ ศึกษา สำหรับการประกอปการตัดสินใจของผู้บริหารในทุกระดับ                 e- Learning  เป็นการนำไอทีไปใช้ในด้านการส่งเสริมประสิทธิภาพด้านการ เรียนการ สอนใน หลากหลายรูปแบบ เช่น การนำมัลติมีเดียมาใช้เป็นสื่อการสอนของครู /  อาจารย์ให้ นักเรียนเรียนรู้ค้นคว้าด้วยตนเอง ด้วยการเรียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเตอร์ เน็ตการเรียนทางไกลผ่านดาวเทียม การนำไอทีมาใช้เพื่อการ เรียนการ สอนของ  e-Learning  ในยุคปัจจุบัน เป็นการใช้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ทั้งที่เป็น เครื่องเดียวเรียกว่า   stand-alone  หรือการเรียก ผ่านเครือข่ายเชื่อมโยงสู่ อินเตอร์เน็ต เพื่อการ ค้นคว้าหาข้อมูลแลกเปลี่ยนความรู้ บนเครือข่ายซึ่งที่ผ่านมาเรา ใช้สื่อการเรียนการสอนในรูปแบบของสื่อ ประสม  ( Multimedia)  ใช้ในการนำเสนอลงบนแผ่นซีดี - รอมโดยใช้  Authoring Tool  ทั้ง ภาพและเสียงเพื่อเกิดการปฏิสัมพันธ์  ( Interactive)  ให้กับผู้เรียนซึ่ง สื่อ เหล่านี้มี แนวโน้มที่จะได้รับความสนใจสูงขึ้นเรื่อยๆ แต่ปัญหาที่ประสบก็ คือเนื้อหา ที่มีอยู่ไม่ ตรงตามหลักสูตรการศึกษานอกจากนี้ยังมีการละเมิดลิขสิทธิ์ทำ ให้ผู้ผลิต ไม่ สามารถพัฒนาสื่อได้อย่างมีคุณภาพ ในระยะแรกๆเราได้มีการใช้สื่อ ใน หลายประเภทเพื่อการติดต่อรับ - ส่งข้อมูลทาง ด้านการศึกษาที่เรียกว่า การเรียนทางไกล แบ่งเป็น  3  ประเภท คือ
                  -  การเรียนการสอนทางไปรษณีย์ ถือว่าเป็นยุคแรกเริ่มของการเรียนการสอนทาง ไกล มีการับ - ส่งบทเรียนผ่านทางไปรษณีย์ซึ่งจะต้องใช้ระยะเวลามาก ใน การ ติดต่อกันแต่ละครั้ง จึงเป็นอุปสรรคอย่างมากในการเรียนรู้เพราะเอกสาร อาจสูญ หายระหว่าง ทางได้                    -  การเรียนการสอนผ่านทางวิทยุ กระจายเสียง เรามีวิทยุกระจายเสียงเพื่อการ ศึกษา เป็นเครื่องมือที่เชื่อมต่อไปยัง ภูมิภาคทั้งที่เป็นของกระทรวงศึกษาธิการ ทบวง มหาวิทยาลัย และสถาบันการศึกษาหลายแห่ง
-  การเรียนการสอนผ่านทาง โทรทัศน์และเครือข่ายดาวเทียมของกรมการศึกษา นอก โรงเรียน กรมสามัญศึกษาที่ร่วมกับมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาว เทียม ไทย คม สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ช่อง  11  ที่กล่าวมาทั้ง หมดนี้เป็น วิธีการของการเรียนการสอนที่เราเคยใช้กันมา จนถึง ปัจจุบันก็ยังมีการ ใช้อยู่ แต่ด้วยปัจจุบันไอทีเข้ามามีบทบาทอย่าง มาก เราสามารถ ติดต่อกับคน ทั้งโลก สามารถเข้าไปค้นหาข้อมูลได้เพียงปลาย นิ้วสัมผัสบนเครือ ข่ายอินเตอร์ เน็ต เป็นขุมความรู้อันมหาศาล ด้วยวิทยาการเพื่อใช้ในการ พัฒนาองค์ ความ รู้ อันเป็นแหล่งทรัพยากรที่เปี่ยมด้วยคุณค่ามากมาย ดังนั้นการปรับ รูป แบบ การเรียนการสอนในรูปแบบ  e-Learning  จึงเกิดขึ้น อีกทั้งพระราช บัญญัติ การ ศึกษาแห่งชาติยังสนับสนุนการเรียนการสอนแบบนี้อีกด้วย
แหล่งที่มา ,[object Object],Next Previous
ผู้จัดทำ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Next Previous
END   SHOW

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้งRights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้งArthit Suriyawongkul
 
หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10niramon_gam
 
งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4aekanyarat
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร
2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร
2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรNaruepon Seenoilkhaw
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1aekanyarat
 
งานนำเสนอบทที่1.
งานนำเสนอบทที่1.งานนำเสนอบทที่1.
งานนำเสนอบทที่1.aekanyarat
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องTanyarad Chansawang
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตkhemjiraacr2
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังpattaranit
 

Was ist angesagt? (15)

Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้งRights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
 
3BB Wifi
3BB Wifi3BB Wifi
3BB Wifi
 
NECTEC Social Network
NECTEC Social NetworkNECTEC Social Network
NECTEC Social Network
 
หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10
 
1บท1
1บท11บท1
1บท1
 
งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร
2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร
2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 
งานนำเสนอบทที่1.
งานนำเสนอบทที่1.งานนำเสนอบทที่1.
งานนำเสนอบทที่1.
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 

Ähnlich wie ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้

เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องNew Tomza
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำPoonyapat Wongpong
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต   อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต Thanradaphumkaew23
 
พลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTพลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTpatitadarakorn
 

Ähnlich wie ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้ (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
2
22
2
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม1
งานคอม1งานคอม1
งานคอม1
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
Grown Up Digital
Grown Up DigitalGrown Up Digital
Grown Up Digital
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต   อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
พลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTพลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICT
 

ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้

  • 1.  
  • 2. Next Previous อินเทอร์เน็ต และสังคมฐานความรู้
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9. สังคมฐานความรู (Knowledge – BasSociety) สังคมฐานความรูเปนสังคมแหงการสรางสรรคและการเรียนรูตลอดชีวิตซึ่งประกอบดวยนักวิชาการ นักวิจัย วิศวกร ผูปฏิบัติกา เครือขายวิจัย และบริษัทที่เกี่ยวของกับการวิจัยและ เปนผูผลิตสินคาเทคโนโลยีขั้นสูงและใหบริการสังคมฐานความรูกอใหเกิดระบบของการผลิตสิ่งประดิษฐใหม ๆ ของชาติซึ่งถูกรวมเขาไวเปนหนึ่งเดียวกับเครือขายของการผลิตการเผยแพร การใช และการคุมครองความรูระหวางประเทศ เครื่องมือทางเทคโนโลยีดานขอมูลและการสื่อสารของสังคมจะทําใหการเขาถึงความรูของมนุษยเปนไปอยางงายดายและเปนไปในวงกวางความรูจะถูกนํามาใชเพื่อเพิ่มอํานาจและทําใหประชาชนสุขสมบูรณทั้งทางจิตใจและรางกาย เพื่อสรางสังคมที่ยั่งยืนขึ้นมา Next Previous
  • 10. สังคมฐานความรู ( Knowledge – Based Socie ) สังคมฐานความรู้เป็นสังคมที่ควรที่ความรู้ได้ กลายมาเป็นทรัพยากรที่มีค่ายิ่ง การพัฒนาความรู้ใหม่ๆเพื่อการแข้งขัน และเสริมสร้างความเข้มแข็งจึงเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งของการพัฒนาประเทศ ซึ่งมีลักษณะสำคัญมี 3 มิติ ดังนี้คือ Next Previous
  • 11.
  • 12.
  • 13.                 เคยนำเสนอเนื้อหา งานวิจัยของ จุฬากรณ์ มาเสถียรวงศ์ นิสิตปริญญาเอก แห่งภาควิชาพัฒนศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ได้เผยแพร่ข้อเสนอการศึกษาเพื่อเด็กรู้ทัน ( รังสรรค์ ) อินเตอร์เน็ตเพื่อวันหน้า                 ขึ้นปีใหม่ พ . ศ . 2548 นี้ ยังมีเรื่องราวอีกมากมายของคนใช้ และการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะอินเตอร์เน็ต ที่ฮิตฮ็อตกันเกือบทุกบ้านเรือน ให้รู้จักการใช้ " เน็ต " อย่างมีคุณธรรม และศีลธรรม                 เปิดนักษัตรใหม่ ปีไก่ ก็ขอหยิบข้อเสนอและเรื่องราวดีๆ มาบอกเล่ากันผ่านข้อเขียนของ จุฬากรณ์ มาเสถียรวงศ์ เพื่อเหล่าอินเตอร์ชน จะได้รวมตัวทำสิ่งดีๆ กันตั้งแต่วันใหม่ๆ กับช่วงเวลาใหม่ๆ นับจากนี้ไป                 เพราะการปรากฏตัวของอินเตอร์เน็ตหรือ " เน็ต " ได้ก่อให้เกิดนวัตกรรมต่างๆ และวาทกรรมอีกมากมายที่ไม่เพียงแต่สะท้อนถึงอิทธิพลของอินเตอร์เน็ตที่มีต่อวัฒนธรรมการสื่อสารและการรับรู้ของคนในสังคมแล้ว อีกทั้งยังสะท้อนถึงนัยของอินเตอร์เน็ตที่มีต่อการพัฒนาประเทศไปสู่สังคมฐานความรู้ (Knowledge-based Society) ที่มีความสามารถในการแข่งขันกับนานาประเทศ และนัยต่อ " ปฏิรูปการศึกษา " และการ " ปฏิรูปการเรียนรู้ " ของเด็กไทยด้วย รู้ให้เท่าทัน ร่วมสร้าง ‘ คุณธรรม ’ ในอินเตอร์เน็ต
  • 14.                 แม้ว่าเรื่องไอซีที อินเตอร์เน็ตจะกลายเป็นวาระแห่งชาติที่รัฐบาลให้ความสำคัญ มีการประกาศนโยบายและยุทธศาสตร์การลงทุนและพัฒนาไอซีที การขยายโครงสร้างพื้นฐาน การปฏิรูปการเรียนรู้ การพัฒนาเครือข่ายอินเตอร์เน็ตไปสู่ภูมิภาคต่างๆ ในประเทศอย่างชัดเจน แต่กระนั้น ช่องว่างระหว่างเด็กไทยผู้ใช้อินเตอร์เน็ตก็ดูยังมีความเหลื่อมล้ำอยู่มาก                 ปัจจุบันเด็กไทยจำนวนมากที่มีโอกาสเติบโตโดยมีอินเตอร์เน็ตเป็นเพื่อน ขณะเดียวกัน เด็กไทยอีกจำนวนไม่น้อยที่ด้อยโอกาสที่จะเข้าถึงการเรียนรู้ดีๆ หรือเข้าไปไม่ถึงองค์ความรู้ที่มีคุณค่าในอินเตอร์เน็ต ซึ่งโอกาสและความเท่าเทียมในการเข้าถึงเทคโนโลยีดังกล่าวดูยังเป็นภารกิจสำคัญที่รัฐบาลไม่อาจปฏิเสธได้              
  • 15.   อย่างไรก็ตาม จากการลงทุนจากรัฐแล้ว ในส่วนภาคปฏิบัติการของผู้ใช้อินเตอร์เน็ตก็ดูเหมือนมีสิ่งที่ต้องรับผิดชอบร่วมกันทั้งสังคม โดยเฉพาะยิ่งความรับผิดชอบต่อ " เด็กวัยเน็ต " ( เด็กวัยเรียนรู้จักมักใช้อินเตอร์เน็ต ) เนื่องจากอินเตอร์เน็ตมิใช่เพียงระบบปฏิบัติการที่เชื่อมโยงความรู้ผู้คนและโลกเท่านั้น แต่มันเต็มไปด้วยสารัตถมากมายและเต็มไปด้วยพหุมิติที่เหนือจริงด้วย อานุภาพของเทคโนโลยีชนิดนี้อาจจะมิใช่แค่เป็นตัวเร่ง / ตัวนำโลกาภิวัตน์ มาสู่ท้องถิ่นต่างๆ ได้ตามความต้องการเท่านั้น                 แต่ยังอาจชักจูงให้เด็กจำนวนมากหลงใหลอินเตอร์เน็ต จนหลงลืมความจริงบางประการของการอยู่ร่วมกันระหว่างมนุษย์กับวัตถุ และที่สุดชีวิตก็อาจตกเป็นทาสของเทคโนโลยีชนิดนี้โดยไม่รู้ตัว ดังที่บทความชิ้นนี้ได้กล่าวมาแต่ต้น
  • 16.                 สำหรับยุทธศาสตร์ในการจัดการนั้นดูจะมีทางเลือกหลากหลาย ตั้งแต่ระดับนโยบายถึงระดับปฏิบัติการดังที่กล่าว แต่แน่นอนว่า ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ที่จะเท่าทันสื่อดังกล่าวถือว่าจำเป็นอย่างยิ่งในยุคนี้ ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือของผู้มีส่วนใกล้ชิดกับเด็ก ไม่ว่าจะเป็นครู พ่อแม่ผู้ปกครอง และเด็กๆ ด้วย รวมถึงสื่อและชุมชนที่ถือเป็นสถาบันที่มีอิทธิพลต่อการอบรมบ่มเพาะเด็ก และอยู่ใกล้ตัวเด็ก                 ด้วยเหตุนี้จึงได้มีข้อเสนอบางประการ ที่แม้อาจจะไม่ใช่คำตอบทั้งหมดของการจัดการในเรื่องนี้ แต่น่าจะเป็นทางเลือกที่น่าจะช่วยกันสร้างสรรค์ให้อินเตอร์เน็ตเป็นสื่อการเรียนรู้ที่สร้างสรรค์สังคมได้ไม่มากก็น้อย ดังนี้                 การส่งเสริมให้ครูในฐานะผู้สอน / ผู้ชี้นำมีความสามารถ " ทันโลก ทันเน็ต ทันเด็ก " ทั้งในแง่ทักษะในการใช้อินเตอร์เน็ตเข้าถึงความรู้ใหม่ๆ เพื่อประโยชน์การเรียนการสอน ความสามารถในการจัดการเน็ตและส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อการค้นคว้าอย่างเหมาะสม บทบาทการสร้างความรู้ความเข้าใจแก่เด็กให้เห็นความจริงของเทคโนโลยีชนิดนี้ที่เป็น " ดาบสองคม " การพัฒนาให้เกิดสำนึกในการใช้ไอทีเพื่อสังคม กล่าวอีกนัยก็คือการพัฒนาครูให้มีความรู้เป็น " ครูไอเทค " ( I-tech teacher) ที่ใช้ไอทีเพื่อการเรียนรู้ก็เป็นสิ่งสำคัญยิ่งที่จะสร้างเด็กไอสไตล์ ( I-Style) หรือเด็กที่ฉลาดในการใช้ไอที
  • 17.                 การมียุทธศาสตร์ปฏิรูปการเรียนรู้ เรื่อง " อินเตอร์เน็ตศึกษา / สื่อศึกษา " ( Internet education / media education) ในทุกระดับการศึกษา เพื่อให้เด็กในแต่ละวัยที่มีโอกาสเข้าถึงอินเตอร์เน็ตได้เรียนรู้เรื่องอินเตอร์เน็ตในมิติต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นความรู้ ความจริง จริยธรรม คุณโทษและและพลานุภาพของอินเตอร์เน็ต รวมไปถึงสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวพันกับอินเตอร์เน็ต ตัวอย่างแนวคิดและสาระสำคัญของ " อินเตอร์เน็ตศึกษา " ( Internet education / media education)                 ความรู้เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตรวมถึงสิ่งอื่นที่เกี่ยวพันกับอินเตอร์เน็ต เช่น คอมพิวเตอร์ สื่อแบบต่างๆ ทั้งโทรทัศน์ วิทยุ และสื่ออื่น กับผลกระทบในแง่มุมต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับตนเอง ความรู้เกี่ยวกับข้อมูลที่มากับอินเตอร์เน็ตและเทคโนโลยีสื่อสารแบบต่างๆ ที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กับอินเตอร์เน็ต มีความรู้ความเข้าใจในจริยธรรม มีจรรยาบรรณของการใช้อินเตอร์เน็ตอย่างเหมาะสม                 ทักษะการเลือกสรรและคัดกรองข้อมูลที่มากับเว็บ / สื่อต่างๆ ทักษะการเลือกสรร การสืบค้นการเข้าถึงหรือลิงค์ไปยังเว็บไซต์ต่างๆ ที่มีคุณภาพ ทักษะการจัดการความรู้ที่มากับอินเตอร์เน็ต ทักษะการบริหารเวลาและการใช้เน็ตในชีวิตประจำวันอย่างถูกต้องเหมาะสม
  • 18. อินเตอร์เน็ตเพื่อการศึกษา การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษายุคแห่งสังคมความรู้เป็นยุคที่นักการศึกษามีบทบาทต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างยิ่ง อินเทอร์เน็ตเป็นช่องทางของการส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วทั้งโลก เราต่างก้าวหน้าผ่านยุคแห่งสังคมข่าวสารมาแล้วซึ่งทำให้ประจักษ์ได้ว่าข่าวสารต่าง ๆ นั้นจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา และอื่น ๆ ได้นั้น ต้องอาศัยความรู้ในการจัดการการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษามีความหมายครอบคลุม
  • 19. กิจกรรมด้านการศึกษาที่ถูกวางรูปแบบโดยครูผู้ทำหน้าที่ถ่ายทอดความรู้ผ่านทางอินเทอร์เน็ต เนื่องจากรูปแบบการสื่อสารและการควบคุมนักเรียนทางไกลแบบ Online มีลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากการเรียนการสอนในห้องเรียนซึ่งทำกันเป็นปกติ ดังนั้นเป้าหมายของการศึกษาผ่านอินเทอร์เน็ตจึงประกอบด้วยวัตถุประสงค์หลัก 3 ประการ ได้แก่ .....1. การสร้างกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตให้เหมาะสมกับระดับผู้เรียน .....2. การเสริมทักษะและความรู้เพื่อให้ครูสามารถดำเนินการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 20. .....3. การกำหนดเป้าหมายการศึกษาเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนการสร้างกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตกิจกรรมการศึกษาในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสามารถแสดงความสัมพันธ์ของกิจกรรมต่าง ๆ เพราะจำนวนของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตต่อการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษามีความสัมพันธ์กันในอัตราส่วนที่ลดลงโดยพบว่าขั้นพื้นฐานจะมีจำนวนประชากรที่ใช้อินเทอร์เน็ตมาก จำนวนของผู้ใช้ที่มีทักษะ หรือความสามารถในการใช้ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตกลับมีจำนวนที่ลดลงจากข้อเท็จจริงดังกล่าวทำให้วิธีการที่จะสร้างให้มีกิจกรรมเพื่อการศึกษาผ่านอินเทอร์เน็ตอย่างได้ผล จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการวางแผนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ให้เป็นบริการสาธารณูปโภคของประเทศที่มีประสิทธิภาพให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ในเวลาอันรวดเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ซึ่งปัจจุบันมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ได้รับการสนับสนุนจากทบวงมหาวิทยาลัย ( Uninet) ส่วนโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาก็ได้รับการสนับสนุนจาก Schoolnet Thailand เช่นกัน
  • 21. การบริการอินเทอร์เน็ตระดับพื้นฐาน แต่ละขั้นจะมีรูปแบบของกิจกรรมการศึกษาที่แตกต่างกัน การใช้ระบบเครือข่ายระดับพื้นฐานคือการใช้อินเทอร์เน็ตตามโครงสร้างของสาธารณูปโภคที่มีใช้กันอยู่ในทุกแห่ง สาเหตุที่จะทำให้ กลุ่มผู้ใช้ที่ยังไม่รู้จักเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเปลี่ยนเจตคติมายอมรับเพื่อเข้าร่วมในการใช้ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตน่าจะเป็นเพราะความสามารถในการสื่อสารระหว่างบุคคล และความสามารถของอินเทอร์เน็ตในการเข้าถึงข้อมูลที่มีอยู่ในคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ทั่วโลกด้วยเวลาอันรวดเร็วด้วยเหตุนี้จึงสามารถแบ่งบริการที่มีอยู่ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ว่า เป็นบริการด้านการสื่อสารระหว่างบุคคลต่อบุคคล และบุคคลต่อกลุ่มบุคคล เป็นบริการเพื่อการเข้าถึงแหล่งข้อมูลการใช้อินเทอร์เน็ตในปัจจุบันที่สามารถนำมาเป็นตัวอย่างได้แก่ การใช้ e-mail ในการสื่อสารระหว่างบุคคล การใช้ WWW เพื่อสืบหาและเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่าง ๆการเข้าถึงแหล่งข้อมูลและความรู้ ในปัจจุบันอินเทอร์เน็ตถูกนำมาใช้เพื่อการสืบค้น ข้อมูลมากที่สุด ซึ่งผู้ใช้ที่มีอาชีพแตกต่างกันย่อมใช้บริการที่มีอยู่ในปริมาณต่างกัน บ้างเป็นการสืบค้นข้อมูลที่เป็นตัวอักษร บ้างก็เป็นข้อมูลที่นำเสนอในรูปแบบของมัลติมีเดีย ที่ล้วนแต่แปลงเป็นสัญญาณดิจิตอลแล้วทั้งสิ้นทางด้านการศึกษา อาจจะคล้ายคลึงกับการไปห้องสมุดที่หาตำรา วารสาร โดยที่มีบรรณารักษ์คอยให้คำปรึกษา เพื่อจะได้ข้อมูลและความรู้ที่ต้องการ การใช้ข้อมูลต่าง ๆ
  • 22. ในอินเทอร์เน็ตก็เช่นเดียว เพราะผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลที่มีอยู่ทันที สามารถเข้าร่วมกิจกรรมทางอินเทอร์เน็ตได้แม้จะอยู่ต่างสถานที่ก็ตาม เว้นเสียแต่ว่าในการศึกษาครั้งนั้นมีจุดประสงค์แตกต่างกันการร่วมกันใช้ข้อมูล แหล่งความรู้ การร่วมใช้ข้อมูลและแหล่งความรู้เป็นเรื่องปกติของกลุ่มผู้ใช้ที่ต้องการจะมีประสบการณ์ด้านการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและข้อมูลต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต โดยทั่วไปแล้วผู้ใช้จะไม่เพียงแต่มีปฏิสัมพันธ์กับข้อมูลหรือผู้เชี่ยวชาญเพียงลำพังเท่านั้น แต่จะเข้าร่วมกิจกรรมทางอินเทอร์เน็ต เช่น การแสดงความคิดเห็น การสนทนา ผ่านเครือข่ายกบผู้ที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน การสมัครเข้าเป็นสมาชิกองค์กรต่าง ๆ เพื่อร่วมกันใช้ข้อมูลหรือร่วมแสดงความคิดเห็นการร่วมมือ ร่วมตัดสินใจ และร่วมกันบริหาร ปัจจุบันมีรูปแบบของการร่วมกันในเครือข่ายอยู่ 3 รูปแบบ ได้แก่
  • 23. การร่วมมือ ร่วมตัดสินใจ และร่วมกันบริหาร ซึ่งเป็นการทำงานระหว่างบุคคล ที่ยังบกพร่องในรูปแบบที่เหมาะสมแม้จะมีจุดหมายเพื่อการใช้ข้อมูลร่วมกันก็ตาม ย้อนกลับไปยังประเด็นการศึกษาซึ่งเป็นการรวมกันระหว่างการเรียนในโรงเรียนหรือการเรียนทางไกลสำหรับผู้ใหญ่ที่จำเป็นจะต้องมีการสื่อสารกันตลอดเวลา ครูผู้สอนต้องจัดโปรแกรม กิจกรรมการเรียนการสอน และการแลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อให้กระบวนการเรียนรู้ สำหรับการเรียนของนักเรียนก็เช่นกันที่ต้องจัดให้มีกิจกรรมที่จะร่วมกันทำงานกับผู้อื่น เพื่อให้เกิดบุคลิกภาพของการร่วมกันทำงาน หรือต้องการให้สร้างสังคมของการเรียนรู้แบบร่วมมือนั้นเองการใช้แหล่งทรัพยากรในอินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษา การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษามีความสัมพันธ์ กับทุกส่วนของการศึกษาเช่นลักษณะการเรียนการสอน หลักสูตร เนื้อหาเวลาเรียน ห้องเรียน ทั้งนี้เพื่อเป็นประโยชน์สูงสุดของผู้เรียน
  • 24. ดังนั้นจึงจำเป็นต้องสร้างรูปแบบของกิจกรรม การอบรม การวิจัย กิจกรรมเสริมอื่น ๆ ให้สอดคล้องกับการใช้อินเทอร์เน็ตในระหว่าง 2 จุดประสงค์ดังกล่าว เราพบการประยุกต์เนื้อหาหลายรูปแบบซึ่งนำไปสู่เป้าหมายทางการศึกษา ( ทักษะและความสามารถที่ได้จากการเรียน ) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์จึงอาจเป็นทั้งเนื้อหาและเครื่องมือในเวลาเดียวกันจากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ปัจจุบันจึงมีการเน้นให้เกิดการประยุกต์การศึกษาในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ดังนั้นการสอนเพื่อให้เกิดทักษะ และความรู้ต้องมาจากการออกแบบโครงการที่มีเฉพาะเจาะจงเพื่อให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ วิธีการ และเป็นเครื่องมือเพื่อให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดทางการศึกษาอินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษาทางไกลเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในกระบวนการเรียนการสอนและนำมาประยุกต์ใช้กับการอบรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะมีแหล่งทรัพยากรด้านการศึกษามากขึ้นเท่าใด ยิ่งเป็นการเพิ่มคุณค่าของการศึกษาอย่างแท้จริงความรู้และทักษะที่จำเป็นของครูผู้สอน
  • 25. การใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาโดยตรง เพราะเป็นการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์มาแก้ปัญหาทางการศึกษา ประโยชน์ของการใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือความสามารถในการสื่อสารที่หลากหลายระหว่างที่มีกิจกรรมทางเครือข่าย เหตุผลนี้สอดคล้องกับความสามารถและการจัดการเพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างสถานที่หนึ่งไปยังสมาชิกที่อยู่ ณ สถานที่อื่น ความจำเป็นที่พึงระวังของผู้ใช้ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสมาชิกนั้นเองเป้าหมายของการศึกษาในระบบเครือข่าย กระบวนการทางด้านการศึกษาใช้ระบบเครือข่ายเป็นพื้นฐานในการพัฒนามีการเชื่อมโยงกับมิติทั้ง 3 อันได้แก่ .....1.) การบริการข้อมูลและสาธารณูปโภค .....2.) ความรู้ และทักษะในการใช้บริการทั้งสองเพื่อฝึกฝนและเพื่อวิธีการและจุดประสงค์ที่การศึกษาต้องการไปถึง
  • 26. .....3.) เป้าหมายทางการศึกษาที่สูงสุดสรุปเพื่อส่งเสริมให้เป้าหมายทางการศึกษาทางอินเทอร์เน็ตประสบความสำเร็จ เราจำต้องจัดกิจกรรมทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์และพัฒนาความสามารถของครู เพื่อนำไปสู่การเข้าถึงข้อมูลและการใช้บริการต่างๆ เพื่อเทคโนโลยีการสื่อสารในการศึกษาดังสรุปเป็นตาราง 1 การที่จะนำนักเรียนไปถึงเป้าหมายของการศึกษาซึ่งสัมพันธ์กับเครื่องมือต่างๆ ทางอินเทอร์เน็ต ครูจะต้อง ทดลองใช้ปฏิสัมพันธ์ทางอินเทอร์เน็ตเสียก่อนไม่เพียงแต่เพื่อให้เป็นผู้นำและผู้ออกแบบที่ประสบผลสำเร็จในด้านนี้เท่านั้น แต่เป็นการใช้เครือข่ายจากความต้องการของตนเองและเพื่อไปสู่เป้าหมายของกิจกรรม โดยได้รับการปรับหลักสูตรและจุดประสงค์ ให้สอดคล้องกับการเรียนแบบบรรยายอีกด้วยนอกจากนี้การศึกษาที่ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถแยกได้เป็น 2 ประเด็น คือ
  • 27. .....1. การศึกษาระบบเครือข่าย หมายถึง ข้อมูลและเทคโนโลยีการสื่อสารถูกมองว่าเป็นแขนงวิชาหนึ่งในการกระบวนการเรียนการสอน .....2. การใช้เครือข่ายเพื่อการศึกษา หมายถึง ข้อมูลและเทคโนโลยีการสื่อสารถูกใช้เป็นเครื่องมือและองค์ประกอบในระบบการศึกษา เช่น การเรียนผ่านอินเทอร์เน็ตผู้นำโครงการทางการศึกษาผ่านอินเทอร์เน็ตต้องมีความรู้และความสามารถจัดให้มีการใช้อินเทอร์เน็ตขั้นพื้นฐานกับสมาชิกในกลุ่มได้ โดยมีการปรับปรุงการบริหาร การร่วมกันใช้ข้อมูล การจัดการของกลุ่มการเรียน และการหาเครือข่าย ด้วยการใช้คุณสมบัติต่างๆ ของเครื่องมือที่มีอยู่แล้วจัดให้เป็นแหล่งความรู้และนำไปสู่ความสำเร็จของกระบวนการศึกษา
  • 28.   ประยุกต์ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้ประเด็น แนวคิดและหลักการ       สังคม เทคโนโลยีสารสนเทศ IT (Information Technology) ได้มีวิวัฒนาการและ การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น ตามลำดับ ขณะนี้ก็จะมีวิถี ของการพั ฒนาการเปลี่ยน แปลงไปอย่างรวดเร็วและซับ ซ้อนมากกว่ายุคใดๆที่ผ่าน มา ซึ่งทั้งนี้ต้องระดม สมอง สรรพกำลังทั้งมวลเพื่อที่จะให้เกิดการพัฒนา ประเทศ เพื่อการ เตรียมความ พร้อมสำหรับการแข่งขันในเวทีโลก ประเทศไทยได้ เตรียมความพร้อม เข้าสู่ศตวรรษที่ 21 แล้ว โดยมีการปรับเปลี่ยน เทคโนโลยีโดยเฉพาะเทคโนโลยี สารสนเทศที่มีผลต่อภาคธุรกิจการศึกษา สังคม ซึ่งเน้นการให้ความสะดวกในด้านการบริหารจัดการ และให้เกิด ความคล่องตัวต่อ การดำเนินงานไปในทิศทางที่สอดคล้องกัน จึงได้วางนโยบาย e-Thailand ขึ้น เพื่อเปิดประตูสู่การพัฒนาประเทศ ทั้งนี้ได้เน้นนโยบายหลักทางด้าน สังคมเพื่อลด ช่องว่างทางสังคม เปิดเสรีทางการค้าอิเล็กทรอนิกส์ นโยบายระหว่าง ประเทศ ผลัก ดันโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ หนึ่งในนโยบายของ e-Thailand คือการส่งเสริมพัฒนาสังคม สิ่งที่ควรจะคำนึงถึง ก็คือ e-Education เป็นการให้ การศึกษาแก่มนุษย์ให้มีความรู้ความสามารถในด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อนำมาปรับใช้ในทุกส่วนงานในวงการไอทีซึ่งมี การนำ หลักการ 2 ประเภทใหญ่ๆดังนี้คือ
  • 29.                 e-MIS ด้านการบริหารงาน เป็นการนำไปใช้ ด้านการบริหารงานและการจัดการ ศึกษา เน้นด้านการจัด พิมพ์ เอกสาร ทำฐานข้อมูล การประมวลผล เพื่อจัดทำสารสนเทศทาง การ ศึกษา สำหรับการประกอปการตัดสินใจของผู้บริหารในทุกระดับ               e- Learning เป็นการนำไอทีไปใช้ในด้านการส่งเสริมประสิทธิภาพด้านการ เรียนการ สอนใน หลากหลายรูปแบบ เช่น การนำมัลติมีเดียมาใช้เป็นสื่อการสอนของครู / อาจารย์ให้ นักเรียนเรียนรู้ค้นคว้าด้วยตนเอง ด้วยการเรียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเตอร์ เน็ตการเรียนทางไกลผ่านดาวเทียม การนำไอทีมาใช้เพื่อการ เรียนการ สอนของ e-Learning ในยุคปัจจุบัน เป็นการใช้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ทั้งที่เป็น เครื่องเดียวเรียกว่า stand-alone หรือการเรียก ผ่านเครือข่ายเชื่อมโยงสู่ อินเตอร์เน็ต เพื่อการ ค้นคว้าหาข้อมูลแลกเปลี่ยนความรู้ บนเครือข่ายซึ่งที่ผ่านมาเรา ใช้สื่อการเรียนการสอนในรูปแบบของสื่อ ประสม ( Multimedia) ใช้ในการนำเสนอลงบนแผ่นซีดี - รอมโดยใช้ Authoring Tool ทั้ง ภาพและเสียงเพื่อเกิดการปฏิสัมพันธ์ ( Interactive) ให้กับผู้เรียนซึ่ง สื่อ เหล่านี้มี แนวโน้มที่จะได้รับความสนใจสูงขึ้นเรื่อยๆ แต่ปัญหาที่ประสบก็ คือเนื้อหา ที่มีอยู่ไม่ ตรงตามหลักสูตรการศึกษานอกจากนี้ยังมีการละเมิดลิขสิทธิ์ทำ ให้ผู้ผลิต ไม่ สามารถพัฒนาสื่อได้อย่างมีคุณภาพ ในระยะแรกๆเราได้มีการใช้สื่อ ใน หลายประเภทเพื่อการติดต่อรับ - ส่งข้อมูลทาง ด้านการศึกษาที่เรียกว่า การเรียนทางไกล แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ
  • 30.               - การเรียนการสอนทางไปรษณีย์ ถือว่าเป็นยุคแรกเริ่มของการเรียนการสอนทาง ไกล มีการับ - ส่งบทเรียนผ่านทางไปรษณีย์ซึ่งจะต้องใช้ระยะเวลามาก ใน การ ติดต่อกันแต่ละครั้ง จึงเป็นอุปสรรคอย่างมากในการเรียนรู้เพราะเอกสาร อาจสูญ หายระหว่าง ทางได้               - การเรียนการสอนผ่านทางวิทยุ กระจายเสียง เรามีวิทยุกระจายเสียงเพื่อการ ศึกษา เป็นเครื่องมือที่เชื่อมต่อไปยัง ภูมิภาคทั้งที่เป็นของกระทรวงศึกษาธิการ ทบวง มหาวิทยาลัย และสถาบันการศึกษาหลายแห่ง
  • 31. - การเรียนการสอนผ่านทาง โทรทัศน์และเครือข่ายดาวเทียมของกรมการศึกษา นอก โรงเรียน กรมสามัญศึกษาที่ร่วมกับมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาว เทียม ไทย คม สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ช่อง 11 ที่กล่าวมาทั้ง หมดนี้เป็น วิธีการของการเรียนการสอนที่เราเคยใช้กันมา จนถึง ปัจจุบันก็ยังมีการ ใช้อยู่ แต่ด้วยปัจจุบันไอทีเข้ามามีบทบาทอย่าง มาก เราสามารถ ติดต่อกับคน ทั้งโลก สามารถเข้าไปค้นหาข้อมูลได้เพียงปลาย นิ้วสัมผัสบนเครือ ข่ายอินเตอร์ เน็ต เป็นขุมความรู้อันมหาศาล ด้วยวิทยาการเพื่อใช้ในการ พัฒนาองค์ ความ รู้ อันเป็นแหล่งทรัพยากรที่เปี่ยมด้วยคุณค่ามากมาย ดังนั้นการปรับ รูป แบบ การเรียนการสอนในรูปแบบ e-Learning จึงเกิดขึ้น อีกทั้งพระราช บัญญัติ การ ศึกษาแห่งชาติยังสนับสนุนการเรียนการสอนแบบนี้อีกด้วย
  • 32.
  • 33.
  • 34. END SHOW