SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
สรุปคาสัง Action Script บน Flash MX( ตอนที่ 1)
        ่

คาสั่ง FRadioButton.setGroupName
เมธอดที่ใช้งานกับกลุ่มชื่อของปุ่มเรดิโอหรือกลุ่มปุ่มของขณะรันไทม์
โดยการเรียกเมธอดค่าพารามิเตอร์ที่ถูกกาหนดขึ้นระหว่างการเขียน
คาสั่ง

ใช้วธแรก : ระบุ myRadioButton ของสมาชิกกลุ่มเรดิโอ groupName
    ิ ี
การใช้งาน : myCheckBox.getEnabled()
วิธีที่สอง : ระบุชื่อกลุ่มของทุกปุ่มเรดิโอใน myRadioButtonGroup
การใช้งาน : myRadioButton.setGroupName(groupName)
พารามิเตอร์ : groupName คือสตริงที่ระบุชื่อของกลุ่มปุ่มเรดิโอ

ตัวอย่าง
วิธีแรก : โค้ดแสดงการระบุสีให้กับชื่อกลุ่มสาหรับปุ่มเรดิโอ radioRed
radioRed.setGroupName(“Colors”);
วิธีที่สอง : การระบุชื่อ radioGroupToys เป็นชื่อใหม่ของกลุ่มเรดิโอใน
radioGroupGames
radioGroupGames.setGroupName (“radioGroupToys”);

คาสั่ง FRadioButton.setLabelPlacement
เมธอดที่ใช้ระบุลาเบลที่ปรากฏทางด้านซ้ายหรือขวาของปุ่มเรดิโอ โดย
การเรียกเมธอดผ่านค่าของพารามิเตอร์ Label Placement โดยการ
กาหนดค่าขณะเขียนโปรแกรม

วิธีแรก : ระบุตาแหน่งการวางลาเบลสาหรับปุ่มเรดิโอ 1 ปุ่ม
วิธีที่สอง : ระบุตาแหน่งการวางลาเบลบนทุกๆ ปุ่มเรดิโอในกลุ่มที่สร้าง
ขึ้น
การใช้งาน : myRadioButton.setLabelPlacement(labelPosition)
myRadioButtonGroup.setLabelPlacement(labelPosition)
พารามิเตอร์ : labelPosition ข้อความที่ระบุในตาแหน่งซ้าย (left) หรือ
ขวา (right)

ตัวอย่าง
วิธีแรก : จากตัวอย่างโค้ดเป็นการวางลาเบลสาหรับ radio1 โดยวาง
ตรงด้านซ้ายของปุ่มเรดิโอ
radio1.setLabelPlacement(“left”);
วิธีที่สอง : จากตัวอย่างโค้ดเป็นการวางลาเบลสาหรับปุ่มเรดิโอในกลุ่ม
Colors โดยวางตรงด้านขวาของปุ่มเรดิโอ
Colors.setLabelPlacement(“right”);

คาสัง FRadioButton.setSize
    ่
เมธอดที่ใช้ระบุความกว้างของปุ่มเรดิโอในแบบพิกเซลและการวาดปุ่ม
เรดิโอ (โดยไม่สามารถกาหนดความสูงของปุ่มได้) การเรียกใช้งานจา
เรียดเมธอดผ่านความกว้างของสเกลระหว่างการเขียนโปรแกรม

วิธีแรก : กาหนดขนาดของแต่ละปุ่มเรดิโอ
วิธีที่สอง : กาหนดขนาดของทุกปุ่มเรดิโอในกลุ่ม

การใช้งาน : myRadioButton.setSize(width)
myRadioButtonGroup.setSize(width)
พารามิเตอร์ : width การกาหนดตัวเลขขนาดของปุ่มเรดิโอ ในหน่วย
ของพิกเซล
ตัวอย่าง การกาหนดโค้ด การกาหนดค่าความกว้างของ radio1 ไปที่
200 พิกเซล
radio1.setSize(200);

คาสั่ง FRadioButton.setStyleProperty
เมธอดที่ใช้กาหนดพรอเพอร์ตี้ FStyleFormat สาหรับปุ่มเรดิโอแต่ละ
ปุ่ม โดยการเรียกใช้งานผ่านเมธอดเพื่อระบุ พรอเพอร์ตี้ผ่านการ
กาหนดค่าสาหรับพรอเพอร์ตี้ในรูปแบบสไตล์ให้กับคอมโพเน็นต์ โดย
ผ่านค่าสาหรับพรอเพอร์ตี้ที่ต้องการลบออกจากสไตล์พรอเพอร์ตี้

การใช้งาน : myRadioButton.setStyleProperty(styleProperty,
value) myRadioButtonGroup.setStyleProperty(styleProperty,
value)
พารามิเตอร์ : styleProperty การกาหนดสตริงพรอเพอร์ตี้ของ
ออบเจ็กต์ FStyleFormat value ค่าที่กาหนดให้กับพรอเพอร์ตี้

ตัวอย่าง โค้ดการกาหนดพรอเพอร์ตี้ radioDot ไปที่ 0xFF12AC (สี
ชมพู)
radioButton1.setStyleProperty(“radioDot”, 0xFF12AC);
โค้ดการกาหนดพรอเพอร์ตี้ radioDot property สาหรับทุกๆ ปุ่มใน
radioGroup1 ให้เป็น 0xFF12AC (สีชมภู)
radioGroup1.setStyleProperty(“radioDot”, 0xFF12AC);

คาสั่ง FRadioButton.setValue
เมธอด การเลือกปุ่มเรดิโอ โดยการระบุข้อมูลและยกเลิกการเลือกปุ่มใน
กลุ่มเดียวกัน การเรียกเมธอดจะเรียกใช้งานผ่านการกาหนด
ค่าพารามิเตอร์ Initial Value ที่กาหนดขึ้นระหว่างการเขียน
ถ้ามีการเรียกเมธอดและมีการเรียก FRadioButton.setState เพื่อเลือก
ปุ่มเรดิโอขณะรันไทม์, ปุ่มเรดิโอที่แตกต่างกันในกลุ่มเดียวกัน, ปุ่มเรดิ
โอที่ระบุในการเลือกจากเมธอดต่อจากนี้

การใช้งาน : myRadioButtonGroup.setValue (“data”)
พารามิเตอร์ : data การกาหนดข้อมูลด้วยการเลือกปุ่มเรดิโอ

ตัวอย่าง โค้ดแสดงการเลือกปุ่มเรดิโอด้วยการกาหนดข้อมูลที่เป็นสีแดง
(red) ในกลุ่มของปุ่มเรดิโอที่เรียก Colors
Colors.setValue(“red”);

คาสั่ง FRadioButton.getData
เมธอดการส่งคืนค่าข้อมูลจากการะบุค่าของปุ่มเรดิโอ โดยใช้
FRadioButton.getValue เพื่อเอาค่าข้อมูลที่เลือกจากปุ่มเรดิโอในกลุ่ม
ของปุ่มเรดิโอมาใช้งาน

การใช้งาน : myRadioButton.getData()
ค่าที่สงคืน : เป็นสตริง
       ่

ตัวอย่าง โค้ดส่งคืนค่าจากปุ่มเรดิโอ flashRadio ไปยังหน้าต่างเอาต์พุต
trace(flashRadio.getData());

คาสั่ง FRadioButton.getEnabled
เมธอดที่แสดงค่าปุ่มเรดิโอหรือกลุ่มของเรดิโอว่าสามารถเลือกได้

วิธีที่ 1 : แสดงค่า myRadioButton ว่ามีการเลือกค่า (จะได้เป็น true)
หรือไม่ถูกเลือกค่า (ให้เป็น false)
วิธีที่ 2 : แสดงปุ่มใน myRadioButtonGroup ว่ามีการคลิ้กเลือก (จะได้
ค่าเป็น true) หรือไม่ถูกเลือก (ค่าที่ได้เป็น false) ถ้าปุ่มอยู่ในกลุ่มที่ถูก
เลือกและมีบางปุ่มไม่ถูกเลือก เมธอดอาจส่งคืนค่าที่ไม่สามารถระบุ
รูปแบบได้
การใช้งาน : myRadioButton.getEnabled()
myRadioButtonGroup.getEnabled()
ค่าที่สงคืน : ค่าบูลลีนหรือค่าที่ไม่สามารถระบุได้
       ่

ตัวอย่าง การส่งคืนค่าสถานะมีการเลือก radio1 จะแสดงค่าในหน้าต่าง
เอาต์พุต
trace(radio1.getEnabled());

คาสั่ง FRadioButton.getLabel
เมธอด ที่ส่งคืนค่าลาเบลของสตริงที่ระบุในปุ่มเรดิโอ ผู้ใช้งานไม่
สามารถใช้เมธอดนี้เพื่อดึงลาเบล กลุ่มของปุ่มเรดิโอด้วย
radioButtonGroup.getLabel ได้

การใช้งาน : myRadioButton.getLabel()
ค่าที่สงคืน : สตริง
       ่

ตัวอย่าง โค้ดการส่งคืนค่าลาเบลของ radio2 ไปยังหน้าต่างเอาต์พุต
trace(radio2.getLabel());

More Related Content

More from focusstorm124

การโหลดรูปภาพจาก Folder ภายนอกมาใช้กับ flash
การโหลดรูปภาพจาก Folder ภายนอกมาใช้กับ flashการโหลดรูปภาพจาก Folder ภายนอกมาใช้กับ flash
การโหลดรูปภาพจาก Folder ภายนอกมาใช้กับ flashfocusstorm124
 
การสร้างตัว Preload
การสร้างตัว Preloadการสร้างตัว Preload
การสร้างตัว Preloadfocusstorm124
 
การวาด Flare
การวาด Flareการวาด Flare
การวาด Flarefocusstorm124
 
การเปลี่ยนสีวัตถุ
การเปลี่ยนสีวัตถุการเปลี่ยนสีวัตถุ
การเปลี่ยนสีวัตถุfocusstorm124
 
การเปลี่ยนขนาดเส้นขอบของวัตถุ
การเปลี่ยนขนาดเส้นขอบของวัตถุการเปลี่ยนขนาดเส้นขอบของวัตถุ
การเปลี่ยนขนาดเส้นขอบของวัตถุfocusstorm124
 
การทำเส้นวิ่งเป็นกรอบสี่เหลี่ยม
การทำเส้นวิ่งเป็นกรอบสี่เหลี่ยมการทำเส้นวิ่งเป็นกรอบสี่เหลี่ยม
การทำเส้นวิ่งเป็นกรอบสี่เหลี่ยมfocusstorm124
 
การทำวัตถุเคลื่อนไหว
การทำวัตถุเคลื่อนไหวการทำวัตถุเคลื่อนไหว
การทำวัตถุเคลื่อนไหวfocusstorm124
 
การทำภาพ Tv screen
การทำภาพ Tv screenการทำภาพ Tv screen
การทำภาพ Tv screenfocusstorm124
 
การทำปุ่มควบคุมการเล่นเพลง
การทำปุ่มควบคุมการเล่นเพลงการทำปุ่มควบคุมการเล่นเพลง
การทำปุ่มควบคุมการเล่นเพลงfocusstorm124
 
การกำหนดวัตถุหมุนรอบตัวเอง
การกำหนดวัตถุหมุนรอบตัวเองการกำหนดวัตถุหมุนรอบตัวเอง
การกำหนดวัตถุหมุนรอบตัวเองfocusstorm124
 
การทำตัวอักษร Blur
การทำตัวอักษร Blurการทำตัวอักษร Blur
การทำตัวอักษร Blurfocusstorm124
 
การใช้ปุ่มสำเร็จรูป
การใช้ปุ่มสำเร็จรูปการใช้ปุ่มสำเร็จรูป
การใช้ปุ่มสำเร็จรูปfocusstorm124
 
การ Import file
การ Import fileการ Import file
การ Import filefocusstorm124
 
Flash mx ตอน แสดงวิดีโอใน flash mx 2004
Flash mx ตอน แสดงวิดีโอใน flash mx 2004Flash mx ตอน แสดงวิดีโอใน flash mx 2004
Flash mx ตอน แสดงวิดีโอใน flash mx 2004focusstorm124
 
การทำปุ่มควบคุมการเล่น Movie ของ flash
การทำปุ่มควบคุมการเล่น Movie ของ flashการทำปุ่มควบคุมการเล่น Movie ของ flash
การทำปุ่มควบคุมการเล่น Movie ของ flashfocusstorm124
 

More from focusstorm124 (15)

การโหลดรูปภาพจาก Folder ภายนอกมาใช้กับ flash
การโหลดรูปภาพจาก Folder ภายนอกมาใช้กับ flashการโหลดรูปภาพจาก Folder ภายนอกมาใช้กับ flash
การโหลดรูปภาพจาก Folder ภายนอกมาใช้กับ flash
 
การสร้างตัว Preload
การสร้างตัว Preloadการสร้างตัว Preload
การสร้างตัว Preload
 
การวาด Flare
การวาด Flareการวาด Flare
การวาด Flare
 
การเปลี่ยนสีวัตถุ
การเปลี่ยนสีวัตถุการเปลี่ยนสีวัตถุ
การเปลี่ยนสีวัตถุ
 
การเปลี่ยนขนาดเส้นขอบของวัตถุ
การเปลี่ยนขนาดเส้นขอบของวัตถุการเปลี่ยนขนาดเส้นขอบของวัตถุ
การเปลี่ยนขนาดเส้นขอบของวัตถุ
 
การทำเส้นวิ่งเป็นกรอบสี่เหลี่ยม
การทำเส้นวิ่งเป็นกรอบสี่เหลี่ยมการทำเส้นวิ่งเป็นกรอบสี่เหลี่ยม
การทำเส้นวิ่งเป็นกรอบสี่เหลี่ยม
 
การทำวัตถุเคลื่อนไหว
การทำวัตถุเคลื่อนไหวการทำวัตถุเคลื่อนไหว
การทำวัตถุเคลื่อนไหว
 
การทำภาพ Tv screen
การทำภาพ Tv screenการทำภาพ Tv screen
การทำภาพ Tv screen
 
การทำปุ่มควบคุมการเล่นเพลง
การทำปุ่มควบคุมการเล่นเพลงการทำปุ่มควบคุมการเล่นเพลง
การทำปุ่มควบคุมการเล่นเพลง
 
การกำหนดวัตถุหมุนรอบตัวเอง
การกำหนดวัตถุหมุนรอบตัวเองการกำหนดวัตถุหมุนรอบตัวเอง
การกำหนดวัตถุหมุนรอบตัวเอง
 
การทำตัวอักษร Blur
การทำตัวอักษร Blurการทำตัวอักษร Blur
การทำตัวอักษร Blur
 
การใช้ปุ่มสำเร็จรูป
การใช้ปุ่มสำเร็จรูปการใช้ปุ่มสำเร็จรูป
การใช้ปุ่มสำเร็จรูป
 
การ Import file
การ Import fileการ Import file
การ Import file
 
Flash mx ตอน แสดงวิดีโอใน flash mx 2004
Flash mx ตอน แสดงวิดีโอใน flash mx 2004Flash mx ตอน แสดงวิดีโอใน flash mx 2004
Flash mx ตอน แสดงวิดีโอใน flash mx 2004
 
การทำปุ่มควบคุมการเล่น Movie ของ flash
การทำปุ่มควบคุมการเล่น Movie ของ flashการทำปุ่มควบคุมการเล่น Movie ของ flash
การทำปุ่มควบคุมการเล่น Movie ของ flash
 

สรุปคำสั่ง Action script บน flash mx (ตอนที่ 1)

  • 1. สรุปคาสัง Action Script บน Flash MX( ตอนที่ 1) ่ คาสั่ง FRadioButton.setGroupName เมธอดที่ใช้งานกับกลุ่มชื่อของปุ่มเรดิโอหรือกลุ่มปุ่มของขณะรันไทม์ โดยการเรียกเมธอดค่าพารามิเตอร์ที่ถูกกาหนดขึ้นระหว่างการเขียน คาสั่ง ใช้วธแรก : ระบุ myRadioButton ของสมาชิกกลุ่มเรดิโอ groupName ิ ี การใช้งาน : myCheckBox.getEnabled() วิธีที่สอง : ระบุชื่อกลุ่มของทุกปุ่มเรดิโอใน myRadioButtonGroup การใช้งาน : myRadioButton.setGroupName(groupName) พารามิเตอร์ : groupName คือสตริงที่ระบุชื่อของกลุ่มปุ่มเรดิโอ ตัวอย่าง วิธีแรก : โค้ดแสดงการระบุสีให้กับชื่อกลุ่มสาหรับปุ่มเรดิโอ radioRed radioRed.setGroupName(“Colors”); วิธีที่สอง : การระบุชื่อ radioGroupToys เป็นชื่อใหม่ของกลุ่มเรดิโอใน radioGroupGames radioGroupGames.setGroupName (“radioGroupToys”); คาสั่ง FRadioButton.setLabelPlacement เมธอดที่ใช้ระบุลาเบลที่ปรากฏทางด้านซ้ายหรือขวาของปุ่มเรดิโอ โดย การเรียกเมธอดผ่านค่าของพารามิเตอร์ Label Placement โดยการ กาหนดค่าขณะเขียนโปรแกรม วิธีแรก : ระบุตาแหน่งการวางลาเบลสาหรับปุ่มเรดิโอ 1 ปุ่ม วิธีที่สอง : ระบุตาแหน่งการวางลาเบลบนทุกๆ ปุ่มเรดิโอในกลุ่มที่สร้าง ขึ้น
  • 2. การใช้งาน : myRadioButton.setLabelPlacement(labelPosition) myRadioButtonGroup.setLabelPlacement(labelPosition) พารามิเตอร์ : labelPosition ข้อความที่ระบุในตาแหน่งซ้าย (left) หรือ ขวา (right) ตัวอย่าง วิธีแรก : จากตัวอย่างโค้ดเป็นการวางลาเบลสาหรับ radio1 โดยวาง ตรงด้านซ้ายของปุ่มเรดิโอ radio1.setLabelPlacement(“left”); วิธีที่สอง : จากตัวอย่างโค้ดเป็นการวางลาเบลสาหรับปุ่มเรดิโอในกลุ่ม Colors โดยวางตรงด้านขวาของปุ่มเรดิโอ Colors.setLabelPlacement(“right”); คาสัง FRadioButton.setSize ่ เมธอดที่ใช้ระบุความกว้างของปุ่มเรดิโอในแบบพิกเซลและการวาดปุ่ม เรดิโอ (โดยไม่สามารถกาหนดความสูงของปุ่มได้) การเรียกใช้งานจา เรียดเมธอดผ่านความกว้างของสเกลระหว่างการเขียนโปรแกรม วิธีแรก : กาหนดขนาดของแต่ละปุ่มเรดิโอ วิธีที่สอง : กาหนดขนาดของทุกปุ่มเรดิโอในกลุ่ม การใช้งาน : myRadioButton.setSize(width) myRadioButtonGroup.setSize(width) พารามิเตอร์ : width การกาหนดตัวเลขขนาดของปุ่มเรดิโอ ในหน่วย ของพิกเซล
  • 3. ตัวอย่าง การกาหนดโค้ด การกาหนดค่าความกว้างของ radio1 ไปที่ 200 พิกเซล radio1.setSize(200); คาสั่ง FRadioButton.setStyleProperty เมธอดที่ใช้กาหนดพรอเพอร์ตี้ FStyleFormat สาหรับปุ่มเรดิโอแต่ละ ปุ่ม โดยการเรียกใช้งานผ่านเมธอดเพื่อระบุ พรอเพอร์ตี้ผ่านการ กาหนดค่าสาหรับพรอเพอร์ตี้ในรูปแบบสไตล์ให้กับคอมโพเน็นต์ โดย ผ่านค่าสาหรับพรอเพอร์ตี้ที่ต้องการลบออกจากสไตล์พรอเพอร์ตี้ การใช้งาน : myRadioButton.setStyleProperty(styleProperty, value) myRadioButtonGroup.setStyleProperty(styleProperty, value) พารามิเตอร์ : styleProperty การกาหนดสตริงพรอเพอร์ตี้ของ ออบเจ็กต์ FStyleFormat value ค่าที่กาหนดให้กับพรอเพอร์ตี้ ตัวอย่าง โค้ดการกาหนดพรอเพอร์ตี้ radioDot ไปที่ 0xFF12AC (สี ชมพู) radioButton1.setStyleProperty(“radioDot”, 0xFF12AC); โค้ดการกาหนดพรอเพอร์ตี้ radioDot property สาหรับทุกๆ ปุ่มใน radioGroup1 ให้เป็น 0xFF12AC (สีชมภู) radioGroup1.setStyleProperty(“radioDot”, 0xFF12AC); คาสั่ง FRadioButton.setValue เมธอด การเลือกปุ่มเรดิโอ โดยการระบุข้อมูลและยกเลิกการเลือกปุ่มใน กลุ่มเดียวกัน การเรียกเมธอดจะเรียกใช้งานผ่านการกาหนด ค่าพารามิเตอร์ Initial Value ที่กาหนดขึ้นระหว่างการเขียน ถ้ามีการเรียกเมธอดและมีการเรียก FRadioButton.setState เพื่อเลือก
  • 4. ปุ่มเรดิโอขณะรันไทม์, ปุ่มเรดิโอที่แตกต่างกันในกลุ่มเดียวกัน, ปุ่มเรดิ โอที่ระบุในการเลือกจากเมธอดต่อจากนี้ การใช้งาน : myRadioButtonGroup.setValue (“data”) พารามิเตอร์ : data การกาหนดข้อมูลด้วยการเลือกปุ่มเรดิโอ ตัวอย่าง โค้ดแสดงการเลือกปุ่มเรดิโอด้วยการกาหนดข้อมูลที่เป็นสีแดง (red) ในกลุ่มของปุ่มเรดิโอที่เรียก Colors Colors.setValue(“red”); คาสั่ง FRadioButton.getData เมธอดการส่งคืนค่าข้อมูลจากการะบุค่าของปุ่มเรดิโอ โดยใช้ FRadioButton.getValue เพื่อเอาค่าข้อมูลที่เลือกจากปุ่มเรดิโอในกลุ่ม ของปุ่มเรดิโอมาใช้งาน การใช้งาน : myRadioButton.getData() ค่าที่สงคืน : เป็นสตริง ่ ตัวอย่าง โค้ดส่งคืนค่าจากปุ่มเรดิโอ flashRadio ไปยังหน้าต่างเอาต์พุต trace(flashRadio.getData()); คาสั่ง FRadioButton.getEnabled เมธอดที่แสดงค่าปุ่มเรดิโอหรือกลุ่มของเรดิโอว่าสามารถเลือกได้ วิธีที่ 1 : แสดงค่า myRadioButton ว่ามีการเลือกค่า (จะได้เป็น true) หรือไม่ถูกเลือกค่า (ให้เป็น false) วิธีที่ 2 : แสดงปุ่มใน myRadioButtonGroup ว่ามีการคลิ้กเลือก (จะได้ ค่าเป็น true) หรือไม่ถูกเลือก (ค่าที่ได้เป็น false) ถ้าปุ่มอยู่ในกลุ่มที่ถูก เลือกและมีบางปุ่มไม่ถูกเลือก เมธอดอาจส่งคืนค่าที่ไม่สามารถระบุ รูปแบบได้
  • 5. การใช้งาน : myRadioButton.getEnabled() myRadioButtonGroup.getEnabled() ค่าที่สงคืน : ค่าบูลลีนหรือค่าที่ไม่สามารถระบุได้ ่ ตัวอย่าง การส่งคืนค่าสถานะมีการเลือก radio1 จะแสดงค่าในหน้าต่าง เอาต์พุต trace(radio1.getEnabled()); คาสั่ง FRadioButton.getLabel เมธอด ที่ส่งคืนค่าลาเบลของสตริงที่ระบุในปุ่มเรดิโอ ผู้ใช้งานไม่ สามารถใช้เมธอดนี้เพื่อดึงลาเบล กลุ่มของปุ่มเรดิโอด้วย radioButtonGroup.getLabel ได้ การใช้งาน : myRadioButton.getLabel() ค่าที่สงคืน : สตริง ่ ตัวอย่าง โค้ดการส่งคืนค่าลาเบลของ radio2 ไปยังหน้าต่างเอาต์พุต trace(radio2.getLabel());