SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 10
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ั้                                                        ่ ี ่            ่
1. ปร ัชญาวิทยาศาสตร์ดงเดิม ความรู ้วิทยาศาสตร์ หมายถึง ความจริงหรือข ้อเท็จจริงทีมอยูหรือเป็ นอยู่ ซึงได ้
จากการตรวจสอบ          การค ้นคว ้าทดลองอย่างเป็ นระบบ       โดยใช ้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แต่ปร ัชญา
                                                      ่                                    ่
วิทยาศาสตร์แนวใหม่ ความรู ้วิทยาศาสตร์ เป็ นความรู ้ทีเกิดจากการสรรสร ้างของแต่ละบุคคล ซึงมีอทธิพลมาจาก
                                                                                             ิ
                                ่
ความรู ้หรือประสบการณ์เดิม และสิงแวดล ้อมหรือบริบทของสังคมของแต่ละคน

2. แนวคิดของเพียเจต์ (Piaget) เกียวก ับพ ัฒนาการทางสติปัญญาและความคิด คือ การทีคนเรามีปะทะ
                                      ่                                                      ่
             ่                                                                       ่
สัมพันธ์กับสิงแวดล ้อมตังแต่แรกเกิด และการปะทะสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องระหว่างบุคคลกับสิงแวดล ้อมนี้มผลทาให ้
                        ้                                                                           ี
ระดับสติปัญญาและความคิด มีการพัฒนาขึนอย่างต่อเนืองอยูตลอดเวลากระบวนการทีเกียวข ้องกับการพัฒนาทาง
                                        ้         ่     ่                       ่ ่
สติปัญญาและความคิดมี 2 กระบวนการ คือ การปรับตัว (Adaptation) และการจัดระบบโครงสร ้าง (Organization)
                            ่ ุ             ่                                             ่
การปรับตัวเป็ นกระบวนการทีบคคลหาหนทางทีจะปรับสภาพความไม่สมดุลทางความคิดให ้เข ้ากับสิงแวดล ้อมทีอยู่  ่
                                  ั       ่
รอบ ๆ ตัว และเมือบุคคลมีปฏิสมพันธ์กับสิงแวดล ้อมรอบ ๆ ตัว โครงสร ้างทางสมองจะถูกจัดระบบให ้มีความ
                     ่
เหมาะสมกับสภาพแวดล ้อม มีรปแบบของความคิดเกิดขึน กระบวนการปรับตัวประกอบด ้วยกระบวนการทีสาคัญ 2
                                ู                   ้                                             ่
ประการคือ

                                                                           ์ ึ
              1) กระบวนการดูดซึม (Assimilation) หมายถึง กระบวนการทีอนทรียซมซาบประสบการณ์ใหม่เข ้า
                                                                     ่ ิ
  ่
สูประสบการณ์เดิมทีเหมือนหรือคล ้ายคลึงกัน
                  ่                           แล ้วสมองก็รวบรวมปรับเหตุการณ์ใหม่ให ้เข ้ากับโครงสร ้างของ
ความคิดอันเกิดจากการเรียนรู ้ทีมอยูเดิม
                               ่ ี ่

                    2)    กระบวนการปรับขยายโครงสร ้าง (Accomodation) เป็ นกระบวนการทีตอเนื่องมาจาก
                                                                                          ่ ่
                                      ่ ึ                                     ่
กระบวนการดูดซึม คือ ภายหลังจากทีซมซาบของเหตุการณ์ใหม่เข ้ามา และปรับเข ้าสูโครงสร ้างเดิมแล ้วถ ้าปรากฏ
ว่าประสบการณ์ใหม่ทได ้รับการซึมซาบเข ้ามาให ้เข ้ากับประสบการณ์เดิมได ้
                       ี่                                               สมองก็จะสร ้างโครงสร ้างใหม่ขนมา
                                                                                                     ึ้
เพือปรับให ้เข ้ากับประสบการณ์ใหม่นัน
   ่                                ้

                                                                 ่
3. ทฤษฎีการสร้างเสริมความรู ้ (Constructivism) เชือว่านั กเรียนทุกคนมีความรู ้ความเข ้าใจเกียวกับบางสิง    ่               ่
บางอย่างมาแล ้วไม่มากก็น ้อย        ก่อนทีครูจะจัดการเรียนการสอนให ้เน ้นว่าการเรียนรู ้เกิดขึนด ้วยตัวของผู ้เรียนรู ้เอง
                                          ่                                                   ้
และการเรียนรู ้เรืองใหม่จะมีพนฐานมาจากความรู ้เดิม ดังนัน ประสบการณ์เดิมของนั กเรียนจึงเป็ นปั จจัยสาคัญต่อ
                  ่             ื้                            ้
การเรียนรู ้เป็ นอย่างยิง กระบวนการเรียนรู ้ (Process of Leaning) ทีแท ้จริงของนั กเรียนไม่ได ้เกิดจากการบอกเล่า
                        ่                                                 ่
ของครู        หรือนั กเรียนเพียงแต่จดจาแนวคิดต่าง       ๆ       ทีมผู ้บอกให ้เท่านัน
                                                                   ่ ี              ้   แต่การเรียนรู ้วิทยาศาสตร์ตาม
ทฤษฎี Constructivism เป็ นกระบวนการทีนักเรียนจะต ้องสืบค ้นเสาะหา สารวจตรวจสอบ และค ้นคว ้าด ้วยวิธการ
                                             ่                                                                      ี
ต่างๆ จนทาให ้นั กเรียนเกิดความเข ้าใจและเกิดการรับรู ้ความรู ้นั นอย่างมีความหมาย จึงจะสามารถเป็ นองค์ความรู ้
                                                                       ้
ของนักเรียนเอง และเก็บเป็ นข ้อมูลไว ้ในสมองได ้อย่างยาวนาน สามารถนามาใช ้ได ้เมือมีสถานการณ์ใด ๆ มา
                                                                                            ่
เผชิญหน ้า ดังนั นการทีนักเรียนจะสร ้างองค์ความรู ้ได ้ ต ้องผ่านกระบวนการเรียนรู ้ทีหลากหลาย โดยเฉพาะอย่างยิง
                    ้      ่                                                          ่                                  ่
กระบวนการสืบเสาะหาความรู ้ (Inquiry Process)

                                       ื
4. ความหมายและแนวคิดเกียวก ับการสอนแบบสบเสาะหาความรู ้ (Inquiry Method)
                       ่

            การสอนแบบสืบเสาะหาความรู ้มีผู ้ให ้ความหมายและแนวคิดหลากหลาย ดังนี้

      อนั นต์ จันทร์กวี (2523) กล่าวว่า การสอนแบบสืบเสาะหาความรู ้เป็ นวิธการส่งเสริมให ้นั กเรียนรู ้จักคิดด ้วย
                                                                          ี
ตนเอง รู ้จักค ้นคว ้าหาเหตุผล และสามารถแก ้ปั ญหาได ้ โดยการนาเอาวิธการต่างๆ ของกระบวนการทาง
                                                                            ี
วิทยาศาสตร์ไปใช ้ นอกจากนี้ยงเป็ นการเรียนเพือพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด ้วย
                             ั               ่

                                                                                           ่ ่
          สุวัฒน์ นิยมค ้า (2531) กล่าวว่าการสอนแบบสืบเสาะหาความรู ้เป็ นการสอนทีสงเสริมให ้นักเรียนเป็ นผู ้
ค ้นคว ้า หรือสืบเสาะหาความรู ้เกียวกับสิงใดสิงหนึงทีนักเรียนยังไม่เคยมีความรู ้ในสิงนั นมาก่อน โดยใช ้กระบวนการ
                                  ่      ่    ่   ่ ่                               ่ ้
ทางวิทยาศาสตร์เป็ นเครืองมือ
                        ่

         ดวงเดือน เทศวานิช (2535) กล่าวว่า การสอนแบบสืบเสาะหาความรู ้เป็ นรูปแบบการสอนทีเน ้นทักษะการ
                                                                                          ่
                                                           ่
คิดอย่างมีระบบ โดยคานึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล ซึงต ้องมีหลักฐานสนับสนุน วิธนเป็ นวิธทนักเรียน
                                                                                     ี ี้    ี ี่
พิจารณาเหตุผล      สามารถใช ้คาถามทีถกต ้องและคล่องแคล่วสามารถสร ้างและทดสอบสมมติฐานด ้วยการทดลอง
                                    ่ ู
                                               ่                       ี     ่ ่
และตีความจากการทดลองด ้วยตนเอง โดยไม่ขนอยูกับคาอธิบายของครู เป็ นวิธการทีชวยให ้นั กเรียนมีระบบวิธการ
                                            ึ้                                                    ี
แก ้ปั ญหาในทางวิทยาศาสตร์ด ้วยตนเอง

         สมจิต สวธนไพบูลย์ (2541) กล่าวว่า หลักการสอนแบบสืบเสาะหาความรู ้ผู ้เรียนจะต ้องเป็ นผู ้ค ้นคว ้าหา
ความรู ้ จะโดยทางตรงหรือทางอ ้อมก็ตาม ส่วนครูจะเป็ นผู ้อานวยความสะดวกแนะนาและให ้ความช่วยเหลือเท่าที่
จาเป็ น ประกอบด ้วยกระบวนการทีสาคัญ ได ้แก่ การสารวจ และการสร ้างองค์ความรู ้
                              ่
้
          มนมนั ส สุดสิน (2543) สรุปความหมายของการสอนแบบสืบเสาะหาความรู ้ไว ้ว่าการสอนแบบสืบเสาะหา
ความรู ้เป็ นวิธการหนึงทีมงส่งเสริมให ้ผู ้เรียนรู ้จักค ้นคว ้าหาความรู ้ คิดและแก ้ปั ญหาได ้ด ้วยตนเองอย่างมีระบบของ
                ี     ่ ่ ุ่
การคิด ใช ้กระบวนการของการค ้นคว ้าหาความรู ้ ซึงประกอบด ้วยวิธการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทาง
                                                            ่                ี
วิทยาศาสตร์และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ครูมหน ้าทีจัดบรรยากาศ การสอนให ้เอือต่อการเรียนรู ้ คิดแก ้ปั ญหาโดย
                                                      ี       ่                          ้
ใช ้การทดลอง และอภิปรายซักถามเป็ นกิจกรรมหลักในการสอน

           ชลสีต ์ จันทาสี (2543) สรุปความหมายของการสอนแบบสืบเสาะหาความรู ้ไว ้ว่าการสอนแบบสืบเสาะหา
ความรู ้เป็ นวิธการทีมงส่งเสริมให ้นั กเรียนรู ้จักค ้นคว ้าหาความรู ้ด ้วยตนเอง โดยใช ้กระบวนการแสวงหาความรู ้ ซึงครู
                ี    ่ ุ่                                                                                         ่
มีหน ้าทีเพียงเป็ นผู ้คอยให ้ความช่วยเหลือ จัดเตรียมสภาพการณ์และกิจกรรมให ้เอือต่อกระบวนการทีฝึกให ้คิดหา
         ่                                                                                 ้            ่
เหตุผล สืบเสาะหาความรู ้ รวมทังการแก ้ปั ญหาให ้ได ้โดยใช ้คาถามและสือการเรียนการสอนต่าง ๆ เช่น ของจริง
                                    ้                                            ่
สถานการณ์ ให ้นั กเรียนลงมือปฏิบัตการสารวจ ค ้นหาด ้วยตนเอง บรรยากาศการเรียนการสอนให ้นั กเรียนมีอสระใน
                                        ิ                                                                      ิ
การซักถาม การอภิปรายและมีแรงเสริม อาจกล่าวได ้ว่าเป็ นการสอนให ้นั กเรียนคิดเป็ น ทาเป็ น และแก ้ปั ญหาได ้
นั่ นเอง

        กู๊ด (Good. 1973) ได ้ให ้ความหมายของการสอนแบบการสืบเสาะหาความรู ้ว่าเป็ นเทคนิคหรือกลวิธอย่าง     ี
หนึงในการจัดให ้เกิดการเรียนรู ้เนื้อหาบางอย่างของวิชาวิทยาศาสตร์ โดยกระตุ ้นให ้นั กเรียนมีความอยากรู ้อยากเห็น
      ่
เสาะแสวงหาความรู ้โดยการถามคาถาม และพยายามค ้นหาคาตอบให ้พบด ้วยตนเอง นอกจากนี้ยังให ้ความหมาย
ของการสอนแบบสืบเสาะหาความรู ้อีกอย่างหนึงว่าเป็ นวิธการเรียนโดยการแก ้ปั ญหาจากกิจกรรมทีจัดขึน
                                               ่        ี                                       ่  ้      และใช ้
    ี                                        ่
วิธการทางวิทยาศาสตร์ในการทากิจกรรม ซึงปรากฏการณ์ใหม่ ๆ ทีนักเรียนเผชิญแต่ละครัง จะเป็ นตัวกระตุ ้นการ
                                                                  ่                        ้
                     ่ ่
คิดกับการสังเกตกับสิงทีสรุปพาดพิงอย่างชัดเจน ประดิษฐ์ คิดค ้น ตีความหมายภายใต ้สภาพแวดล ้อมทีเหมาะสม    ่
ทีสด การใช ้วิธการอย่างชาญฉลาดสามารถทดสอบได ้ และสรุปอย่างมีเหตุผล
   ่ ุ         ี

         ซันด์และโทรวบริดจ์ (Sun and Trowbridge. 1973) สรุปลักษณะของการสอนแบบสืบเสาะหาความรู ้ว่า
เป็ นการสอนทีผู ้เรียนเป็ นศูนย์กลาง สร ้างมโนทัศน์ด ้วยตนเอง และเป็ นการพัฒนาความสามารถด ้านต่างๆ ของ
               ่
                                                                          ่
นั กเรียน เช่น ความสามารถทางวิธการ ทักษะทางสังคม ความคิดสร ้างสรรค์ ซึงต ้องให ้อิสระและให ้ผู ้เรียนมีโอกาส
                                    ี
คิด และเป็ นการเรียนทีเน ้นการทดลอง เพือให ้ผู ้เรียน ค ้นพบด ้วยตนเอง และการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู ้จะ
                           ่                ่
กาหนดเวลาสาหรับการเรียนรู ้

         ซานดรา เค เอเบล (Sandra K. Abell. 2002) ได ้กล่าวถึงความหมายของการสืบเสาะหาความรู ้
ตามที่ NSES และ AAAS นิยามไว ้ ดังนี้

        NSES (National Science Education Standards) ได ้ให ้ความหมายของการสืบเสาะหาความรู ้ว่าเป็ น
กิจกรรมทีหลากหลายเกียวกับการสังเกต การถามคาถาม การสารวจตรวจสอบจากเอกสารและแหล่งความรู ้อืน ๆ
          ่          ่                                                                        ่
การวางแผนการสารวจตรวจสอบ การทดสอบตรวจสอบหลักฐานเพือเป็ นการยืนยันความรู ้ทีได ้ค ้นพบมาแล ้ว การใช ้
                                                       ่                   ่
เครืองมือในการรวบรวม การวิเคราะห์ และการแปลความหมายข ้อมูล การนาเสนอผลงาน การอธิบายและการ
    ่
คาดคะเน และการอภิปรายแลกเปลียนความคิดเห็นกันเกียวกับผลงานทีได ้
                              ่                ่            ่

          AAAS (American Association for the Advancement of Science) ได ้ให ้ความหมายการสืบเสาะหา
ความรู ้ว่า เริมต ้นด ้วยคาถามเกียวกับธรรมชาติพร ้อมทังกระตุ ้นนั กเรียนให ้ตืนเต ้นสงสัยใคร่รู ้ให ้นั กเรียนตังใจรวบรวม
               ่                 ่                    ้                       ่                                 ้
ข ้อมูลและหลักฐาน ครูเตรียมข ้อมูลเอกสารความรู ้ต่างๆ ทีมคนศึกษาค ้นคว ้ามาแล ้ว เพือให ้นักเรียนเชือมโยงกับ
                                                           ่ ี                               ่                      ่
                        ่                           ้ ้
ความรู ้ใหม่ หรือเพือให ้มองเห็นภาพได ้ชัดเจนลึกซึงขึนให ้นั กเรียนอธิบายให ้ชัดเจน ไม่เน ้นความจาเกียวกับศัพท์   ่
ทางวิชาการ และใช ้กระบวนการกลุม     ่

               ั้            ื
         ด ังนนกระบวนการสบเสาะหาความรู ้ (Inquiry process) เป็ นกระบวนการเรียนรู ้ทีให ้ผู ้เรียนสร ้างองค์
                                                                                       ่
ความรู ้ใหม่ด ้วยตนเอง โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัต ิ และใช ้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็ นเครืองมือ
                                                                                             ่

                ื
5. ระด ับของการสบเสาะหาความรู ้ (Level of inquiry) แบ่งเป็ น 4 ระดับ คือ

                            ื
                    1) การสบเสาะหาความรูแบบยืนย ัน (Confirmed Inquiry) เป็ นการสืบเสาะหาความรู ้ทีให ้
                                            ้                                                                ่
ผู ้เรียนเป็ นผู ้ตรวจสอบความรู ้หรือแนวคิด เพือยืนยันความรู ้หรือ แนวคิดทีถกค ้นพบมาแล ้ว โดยครูเป็ นผู ้กาหนด
                                               ่                           ่ ู
ปั ญหาและคาตอบ หรือองค์ความรู ้ทีคาดหวังให ้ผู ้เรียนค ้นพบ และให ้ผู ้เรียนทากิจกรรมทีกาหนดในหนังสือหรือใบ
                                        ่                                              ่
งาน หรือตามทีครูบรรยายบอกกล่าว
                     ่

                            ื
                   2) การสบเสาะหาความรูแบบนาทาง (Directed Inquiry) เป็ นการสืบเสาะหาความรู ้ทีให ้
                                              ้                                                         ่
ผู ้เรียนค ้นพบองค์ความรู ้ใหม่ด ้วยตนเอง โดยครูเป็ นผู ้กาหนดปั ญหา และสาธิตหรืออธิบายการสารวจตรวจสอบ แล ้ว
ให ้ผู ้เรียนปฏิบัตการสารวจตรวจสอบตามวิธการทีกาหนด
                   ิ                        ี     ่
ื                      ี้
                   3) การสบเสาะหาความรูแบบชแนะแนวทาง (Guided Inquiry) เป็ นการสืบเสาะหาความรู ้ที่
                                             ้
                                                                                                ้
ให ้ผู ้เรียนค ้นพบองค์ความรู ้ใหม่ด ้วยตนเอง โดยผู ้เรียนเป็ นผู ้กาหนดปั ญหา และครูเป็ นผู ้ชีแนะแนวทางการสารวจ
ตรวจสอบ รวมทังให ้คาปรึกษาหรือแนะนาให ้ผู ้เรียนปฏิบัตการสารวจตรวจสอบ
                   ้                                          ิ

                            ื
              4) การสบเสาะหาความรูแบบเปิ ด (Open Inquiry) เป็ นการสืบเสาะหาความรู ้ทีให ้ผู ้เรียน
                                              ้                                                 ่
ค ้นพบองค์ความรู ้ใหม่ด ้วยตนเอง โดยให ้ผู ้เรียนมีอสระในการคิด เป็ นผู ้กาหนดปั ญหา ออกแบบ และปฏิบัตการ
                                                    ิ                                                ิ
สารวจตรวจสอบด ้วยตนเอง

             ่ ็  ้                ้   ื
6. จิตวิทยาทีเปนพืนฐานของการเรียนรูแบบสบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร์
                                                    ้

                     1) การเรียนรู ้วิทยาศาสตร์นันผู ้เรียนจะเรียนรู ้ได ้ดียงขึนต่อเมือผู ้เรียนได ้เกียวข ้องโดยตรงกับการ
                                                    ้                        ิ่ ้      ่                ่
ค ้นหาความรู ้นั น ๆ มากกว่าการบอกให ้ผู ้เรียนรู ้
                 ้

                  2) การเรียนรู ้จะเกิดได ้ดีทสด เมือสถานการณ์แวดล ้อมในการเรียนรู ้นั นยั่วยุให ้ผู ้เรียนอยากเรียน
                                              ี่ ุ  ่                                  ้
       ี                                         ่     ่
ไม่ใช่บบบังคับผู ้เรียน และครูต ้องจัดกิจกรรมทีจะนาไปสูความสาเร็จในการค ้นคว ้าทดลอง

              3) วิธการนาเสนอของครู จะต ้องส่งเสริมให ้ผู ้เรียนรู ้จักคิด มีความคิดสร ้างสรรค์ ให ้โอกาสผู ้เรียนได ้
                    ี
ใช ้ความคิดของตนเองมากทีสด
                         ่ ุ

             ้   ิ      ่                                         ่
          ทังนี้กจกรรมทีจะให ้ผู ้เรียนทาการสารวจตรวจสอบจะต ้องเชือมโยงกับความรู ้เดิม และผู ้เรียนมีความรู ้และ
                   ่                                 ่                     ่
ทักษะเพียงพอทีจะแสวงหาความรู ้ใหม่ โดยกิจกรรมทีจัดควรเป็ นกิจกรรมนาไปสูการสารวจตรวจสอบ หรือแสวงหา
ความรู ้ใหม่

         7.                                  ื
                 รูปแบบการสอนแบบว ัฏจ ักรการสบเสาะหาความรู ้ (Inquiry Cycle)

          นั กการศึกษาจากกลุม BSCS (Biological Science Curriculum Society) ได ้เสนอกระบวนการสืบเสาะหา
                                  ่
                                                       ่      ่ ่
ความรู ้ เพือให ้ผู ้เรียนสร ้างองค์ความรู ้ใหม่ โดยเชือมโยงสิงทีเรียนรู ้เข ้ากับประสบการณ์หรือความรู ้เดิม เป็ นความรู ้
             ่
หรือแนวคิดของผู ้เรียนเอง เรียกรูปแบบการสอนนี้วา Inquiry cycle หรือ 5Es มีขนตอนดังนี้ (BSCS. 1997)
                                                         ่                            ั้

                  1) การสร้างความสนใจ (Engage) ขันตอนนีเป็ นขันตอนแรกของกระบวนการเรียนรู ้ทีจะ
                                                            ้       ้      ้                                ่
         ่                  ี่          ้                                                ่          ่
นาเข ้าสูบทเรียน จุดประสงค์ทสาคัญของขันตอนนี้ คือ ทาให ้ผู ้เรียนสนใจ ใคร่รู ้ในกิจกรรมทีจะนาเข ้าสูบทเรียน
           ่                                     ั                     ่                   ้  ่
ควรจะเชือมโยงประสบการณ์การเรียนรู ้เดิมกับปั จจุบน และควรเป็ นกิจกรรมทีคาดว่ากาลังจะเกิดขึน ซึงทาให ้ผู ้เรียน
              ่                                                   ่      ่
สนใจจดจ่อทีจะศึกษาความคิดรวบยอด กระบวนการ หรือทักษะ และเริมคิดเชือมโยงความคิดรวบยอด กระบวนการ
หรือทักษะกับประสบการณ์เดิม

                      2)   การสารวจและค้นหา      (Explore) ขันตอนนี้เป็ นขันตอนทีทาให ้ผู ้เรียนมีประสบการณ์
                                                                 ้          ้           ่
ร่วมกันในการสร ้างและพัฒนาความคิดรวบยอด กระบวนการ และทักษะ โดยการให ้เวลาและโอกาสแก่ผู ้เรียนใน
                                      ่ ่
การทากิจกรรมการสารวจและค ้นหาสิงทีผู ้เรียนต ้องการเรียนรู ้ตามความคิดเห็นผู ้เรียนแต่ละคน หลังจากนั นผู ้เรียน
                                                                                                       ้
แต่ละคนได ้อภิปรายแลกเปลียนความคิดเห็นเกียวกับการคิดรวบยอด กระบวนการ และทั กษะในระหว่างทีผู ้เรียนทา
                               ่            ่                                                        ่
กิจกรรมสารวจและค ้นหา เป็ นโอกาสทีผู ้เรียนจะได ้ตรวจสอบหรือเก็บรวบรวมข ้อมูลเกียวกับความคิดรวบยอดของ
                                          ่                                           ่
ผู ้เรียนทียังไม่ถกต ้องและยังไม่สมบูรณ์ โดยการให ้ผู ้เรียนอธิบายและยกตัวอย่างเกียวกับความคิดเห็นของผู ้เรียน
           ่        ู                                                               ่
ครูควรระลึกอยูเสมอเกียวกับความสามารถของผู ้เรียนตามประเด็นปั ญหา
                  ่      ่                                              ผลจากการทีผู ้เรียนมีใจจดจ่อในการทา
                                                                                          ่
                                  ่
กิจกรรม ผู ้เรียนควรจะสามารถเชือมโยงการสังเกต การจาแนกตัวแปร และคาถามเกียวกับเหตุการณ์นันได ้
                                                                                  ่             ้

                 3) การอธิบาย (Explain) ขันตอนนี้เป็ นขันตอนทีให ้ผู ้เรียนได ้พัฒนาความ สามารถในการ
                                                   ้            ้          ่
อธิบายความคิดรวบยอดทีได ้จากการสารวจและค ้นหา
                          ่                               ครูควรให ้โอกาสแก่ผู ้เรียนได ้อภิปรายแลกเปลียนความ  ่
คิดเห็นกันเกียวกับทักษะหรือพฤติกรรมการเรียนรู ้
              ่                                        การอธิบายนันต ้องการให ้ผู ้เรียนได ้ใช ้ข ้อสรุปร่วมกันในการ
                                                                      ้
   ่       ่ ่                                       ้
เชือมโยงสิงทีเรียนรู ้ ในช่วงเวลาทีเหมาะสมนี้ครูควรชีแนะผู ้เรียนเกียวกับการสรุปและการอธิบายรายละเอียด แต่
                                   ่                                ่
อย่างไรก็ตามครูควรระลึกอยูเสมอว่ากิจกรรมเหล่านียังคงเน ้นผู ้เรียนเป็ นศูนย์กลาง
                            ่                    ้                                     นั่ นคือ      ผู ้เรียนได ้พัฒนา
                                                                        ี้
ความสามารถในการอธิบายด ้วยตัวผู ้เรียนเอง บทบาทของครูเพียงแต่ชแนะผ่านทางกิจกรรม เพือให ้ผู ้เรียนมีโอกาส
                                                                                                 ่
อย่างเต็มทีในการพัฒนาความรู ้ความเข ้าใจในความคิดรวบยอดให ้ชัดเจน
            ่                                                                  ในทีสดผู ้เรียนควรจะสามารถอธิบาย
                                                                                   ่ ุ
                                      ่                                      ่ ่
ความคิดรวบยอดได ้อย่างเข ้าใจ โดยเชือมโยงประสบการณ์ ความรู ้เดิมและสิงทีเรียนรู ้เข ้าด ้วยกัน

                4)   การขยายความรู ้ (Elaborate) ขันตอนนี้เป็ นขันตอนทีให ้ผู ้เรียนได ้ยืนยันและขยายหรือ
                                                         ้            ้  ่
   ่                                                            ้ ่ ้
เพิมเติมความรู ้ความเข ้าใจในความคิดรวบยอดให ้กว ้างขวางและลึกซึงยิงขึน และยังเปิ ดโอกาสให ้ผู ้เรียนได ้ฝึ ก
ทักษะและปฏิบัตตามทีผู ้เรียนต ้องการ ในกรณีทผู ้เรียนไม่เข ้าใจหรือยังสับสนอยูหรืออาจจะเข ้าใจเฉพาะข ้อสรุปที่
                    ิ ่                           ี่                               ่
ได ้จากการปฏิบตการสารวจและค ้นหาเท่านั น
                ั ิ                         ้        ควรให ้ประสบการณ์ใหม่ผู ้เรียนจะได ้พัฒนาความรู ้ความเข ้าใจใน
                                         ้ ่ ้                                               ้
ความคิดรวบยอดให ้กว ้างขวางและลึกซึงยิงขึน เป้ าหมายทีสาคัญของขันนี้ คือ ครูควรชีแนะให ้ผู ้เรียนได ้นาไป
                                                               ่        ้
ประยุกต์ใช ้ในชีวตประจาวัน จะทาให ้ผู ้เรียนเกิดความคิดรวบยอด กระบวนการ และทักษะเพิมขึน
                  ิ                                                                         ่ ้

                 5)      การประเมินผล     (Evaluate) ขันตอนนีผู ้เรียนจะได ้รับข ้อมูลย ้อนกลับเกียวกับการอธิบาย
                                                       ้     ้                                    ่
ความรู ้ความเข ้าใจของตนเอง ระหว่างการเรียนการสอนในขันนี้ของรูปแบบการสอน ครูต ้องกระตุ ้นหรือส่งเสริมให ้
                                                         ้
ผู ้เรียนประเมินความรู ้ความเข ้าใจและความสามารถของตนเอง          และยังเปิ ดโอกาสให ้ครูได ้ประเมินความรู ้ความ
เข ้าใจและพัฒนาทักษะของผู ้เรียนด ้วย

          การนารูปแบบการสอนนี้ไปใช ้ สิงทีครูควรระลึกอยูเสมอในแต่ละขันตอนของรูปแบบการสอนนี้ คือ การ
                                       ่ ่              ่            ้
จัดเตรียมกิจกรรม ครูควรจัดเตรียมกิจกรรมให ้เหมาะสมกับความรู ้ความสามารถของผู ้เรียน เมือครูเตรียมกิจกรรม
                                                                                       ่
แล ้ว ครูควรพิจารณาตรวจสอบบทบาทของครูและผู ้เรียนในการปฏิบัตกจกรรมแต่ละขันตอนว่าสอดคล ้องกับรูปแบบ
                                                               ิ ิ         ้
การสอน 5Es หรือไม่จากตารางที่ 1-2 ต่อไปนี้ เพือครูจะได ้ปรับหรือพัฒนากิจกรรมให ้สอดคล ้องกับรูปแบบการ
                                                 ่
สอน

ตารางที่ 1 บทบาทของครูในการเรียนการสอนแบบ Inquiry Cycle (5 Es)




     ขั้นตอนการเรียนการสอน                                                            สิ่ งทีครู ควรทา
                                                                                             ่
                                                สอดคล้องกับ 5 Es                                                       ไม่ สอดคล้องกับ 5 Es
1.การสร้ างความสนใจ (Engage)   §    สร้างความสนใจ                                                        §    อธิ บายความคิดรวบยอด

                               §    สร้างความอยากรู้อยากเห็น                                             §    ให้คาจากัดความและคาตอบ

                               §    ตั้งคาถามกระตุนให้นกเรี ยนคิด
                                                  ้    ั                                                 §    สรุ ปประเด็นให้

                               §     ดึงเอาคาตอบที่ยงไม่ครอบคลุมสิ่ งที่นกเรี ยนรู้ หรื อความคิด
                                                    ั                    ั                               §    จัดคาตอบให้เป็ นหมวดหมู่
                                   เกียว กับความคิดรวบยอด หรื อเนื้อหาสาระ
                                      ่
                                                                                                         §    บรรยาย
2.การสารวจและค้นหา (Explore)   §    ส่ งเสริ มให้นกเรี ยนทางานร่ วมกันในการสารวจตรวจสอบ
                                                  ั                                                      §    เตรี ยมคาตอบไว้ให้

                               §    สังเกตและฟังการโต้ตอบกันระหว่างนักเรี ยนกับนักเรี ยน                 §    บอกหรื ออธิ บายวิธีการแก้ปัญหา

                               §    ซักถามเพื่อนาไปสู่การสารวจตรวจสอบของนักเรี ยน                        §    จัดคาตอบให้เป็ นหมวดหมู่

                               §    ให้เวลานักเรี ยนในการคิดข้อสงสัยตลอดจนปั ญหาต่างๆ                    §    บอกนักเรี ยนเมื่อนักเรี ยนทาไม่ถูก

                               §    ทาหน้าที่ให้คาปรึ กษาแก่นกเรี ยน
                                                             ั                                           §    ให้ขอมูลหรื อข้อเท็จจริ งที่ใช้ในการแก้ปัญหา
                                                                                                                  ้

                                                                                                         §    นานักเรี ยนแก้ปัญหาทีละขั้นตอน
3.การอธิบาย (Explain)          §     ส่ งเสริ มให้นกเรี ยนอธิ บายความคิดรวบยอดหรื อแนวคิด หรื อ
                                                   ั                                                     §    ยอมรับคาอธิบายโดยไม่มีหลักฐานหรื อให้เหตุผล
                                   ให้คาจากัดความด้วยคาพูดของนักเรี ยนเอง                                    ประกอบ

                               §    ให้นกเรี ยนแสดงหลักฐาน ให้เหตุผลและอธิ บายให้กระจ่าง
                                        ั                                                                §    ไม่สนใจคาอธิ บายของนักเรี ยน

                               §      ให้นกเรี ยนอธิ บาย ให้คาจากัดความและชี้บอกส่ วนประกอบ
                                          ั                                                              §    แนะนานักเรี ยนโดยปราศจากการเชื่อมโยงแนวคิด
                                   ต่างๆ ในแผนภาพ                                                            หรื อความคิดรวบยอดหรื อทักษะ

                               §    ให้นกเรี ยนใช้ประสบการณ์เดิมของตนเป็ นพื้นฐานในการ
                                        ั
อธิ บายความคิดรวบยอดหรื อแนวคิด
4. การขยายความรู้              §    คาดหวังให้นกเรี ยนได้ใช้ประโยชน์จากการชี้บอกส่ วน
                                                    ั                                                    §     ให้คาตอบที่ชดเจน
                                                                                                                           ั
                                   ประกอบต่างๆ ในแผนภาพคาจากัดความและการอธิ บายสิ่ งที่
  (Elaborate)                      ได้เรี ยนรู้มาแล้ว                                                    §     บอกนักเรี ยนเมื่อนักเรี ยนทาไม่ถูก

                               §    ส่ งเสริ มให้นกเรี ยนนาสิ่ งที่นกเรี ยนได้เรี ยนรู้ไปประยุกต์ใช้
                                                  ั                 ั                                    §     ใช้เวลามากในการบรรยาย
                                   หรื อขยายความรู้และทักษะในสถานการณ์ใหม่
                                                                                                         §     นานักเรี ยนแก้ปัญหาทีละขั้นตอน
                               §     ให้นกเรี ยนอธิ บายอย่างหลาก หลาย
                                         ั
                                                                                                         §     อธิ บายวิธีการแก้ปัญหา
                               §     ให้นกเรี ยนอ้างอิงข้อมูลที่มีอยู่พร้อมทั้งแสดงหลักฐานและ
                                          ั
                                   ถามคาถามนักเรี ยนว่าได้เรี ยนรู้อะไรบ้าง หรื อได้แนวคิ ดอะไร
                                   (ที่จะนากลวิธีจากการสารวจตรวจสอบครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้)
5. การประเมินผล                §     สังเกตนักเรี ยนในการนาความ คิดรวบยอดและทักษะใหม่ไป                  §     ทดสอบคานิยามศัพท์ และข้อเท็จ จริ ง
                                   ประยุกต์ใช้
  (Evaluate)                                                                                             §     ให้แนวคิดหรื อความคิดรอบยอดใหม่
                               §     ประเมินความรู้และทักษะของนักเรี ยน
                                                                                                         §     ทาให้คลุมเครื อ
                               §    หาหลักฐานที่แสดงว่านักเรี ยนได้เปลี่ยนความคิด หรื อ
                                   พฤติกรรม                                                              §     ส่ งเสริ มการอภิปรายที่ไม่เชื่อมโยงความคิดรวบ
                                                                                                              ยอดหรื อทักษะ
                               §    ให้นกเรี ยนประเมินตนเองเกียว กับการเรี ยนรู้และทักษะ
                                        ั                     ่
                                   กระบวน การกลุ่ม

                               §    ถามคาถามปลายเปิ ด เช่น ทาไมนักเรี ยนจึงคิดเช่นนั้น มี
                                   หลักฐานอะไรนักเรี ยนเรี ยนรู้อะไรเกียว กับสิ่ งนั้น และจะ
                                                                       ่
                                   อธิ บายสิ่ งนั้นอย่างไร

 ตารางที่ 2 บทบาทของน ักเรียนในการเรียนการสอนแบบ Inquiry Cycle (5 Es)




      ขั้นตอนการเรียนการสอน                                                            สิ่ งทีนักเรียนควรทา
                                                                                              ่
                                                     สอดคล้องกับ 5 Es                                                  ไม่ สอดคล้องกับ 5 Es
1.การสร้ างความสนใจ (Engage)   §     ถามคาถาม เช่น ทาไมสิ่ งนี้จึงเกิด ขึ้นฉันได้เรี ยนรู้อะไรบ้าง        §     ถามหาคาตอบที่ถูก
                                   เกียว กับสิ่ งนี้
                                      ่
                                                                                                          §     ตอบเฉพาะคาตอบที่ถก
                                                                                                                                 ู
                               §     แสดงความสนใจ
                                                                                                          §     ยืนยันคาตอบหรื อคาอธิ บาย

                                                                                                         §      มีวิธีการแก้ปัญหาเพียงวิธีเดียว
2.การสารวจและค้นหา (Explore)   §     คิดอย่างอิสระแต่อยู่ในขอบเขตของกิจกรรม                              §      ให้คนอื่นคิดและสารวจตรวจสอบ

                               §     ทดสอบการคาดคะเนและสมมติ ฐาน                                         §     ทางานเพียงลาพังโดยมีปฏิสัมพันธ์กบผูอื่นน้อย
                                                                                                                                               ั ้
                                                                                                              มาก
                               §     คาดคะเนและตั้งสมมติฐานใหม่
                                                                                                         §      ปฏิบติอย่างสับสนไม่มีเป้ าหมายที่ชดเจน
                                                                                                                    ั                             ั
                               §     พยายามหาทางเลือกในการแก้ ปั ญหาและอภิปรายทางเลือก
                                   เหล่านั้นกับคนอื่น                                                    §      เมื่อแก้ปัญหาได้แล้วก็ไม่คิดต่อ
§     บันทึกการสังเกตและให้ขอคิด เห็น
                                                          ้

                              §     ลงข้อสรุ ป
3. การอธิบาย                  §     อธิ บายการแก้ปัญหาหรื อคาตอบที่ซับซ้อน                 §    อธิ บายโดยไม่มีการเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม

  (Explain)                   §     ฟังคาอธิ บายของคนอื่นอย่างคิดวิเคราะห์                 §    ยกตัวอย่างที่ไม่เกียวข้องกัน
                                                                                                                   ่

                              §     ถามคาถามเกียวกับสิ่ งที่คนอื่นได้อธิบาย
                                               ่                                           §    ยอมรับคาอธิบายโดยไม่ให้เหตุผล

                              §     ฟังและพยายามทาความเข้าใจเกียวกับสิ่ งที่ครูอธิ บาย
                                                               ่                           §     ไม่สนใจคาอธิ บายของคนอื่นซึ่ งมีเหตุผลพอที่จะ
                                                                                               เชื่อถือได้
                              §     อ้างอิงกิจกรรมที่ได้ปฏิบติมาแล้ว
                                                            ั

                              §     ใช้ขอมูลที่ได้จากการบันทึก/สังเกตในการอธิ บาย
                                         ้
4. การขยายความรู้             §     นาการชี้บอกส่ วนประกอบต่างๆ ในแผนภาพ คาจากัดความ       §    ปฏิบติโดยไม่มีเป้ าหมายชัดเจน
                                                                                                    ั
                                  คา อธิ บายและทักษะไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ใหม่ที่คล้าย
  (Elaborate)                     กับสถานการณ์เดิม                                         §    ไม่สนใจข้อมูลหรื อหลักฐานที่มีอยู่

                              §      ใช้ขอมูลเดิมในการถามคาถามกาหนดจุดประสงค์ในการแก้
                                         ้                                                 §    อธิ บายเหมือนกับที่ครู จดเตรี ยมไว้หรื อกาหนดให้
                                                                                                                        ั
                                  ปั ญหาตัดสิ นใจ และออกแบบการทดลอง

                              §     ลงข้อสรุ ปอย่างสมเหตุสมผลจากหลักฐานที่ปรากฏ

                              §     บันทึกการสังเกตและอธิบาย

                              §     ตรวจสอบความเข้าใจกับเพื่อน ๆ
5. การประเมินผล               §     ตอบคาถามปลายเปิ ด โดยใช้การสังเกต หลักฐานและ           §      ลงข้อสรุ ปโดยปราศจากหลักฐานหรื อคาอธิ บายที่
                                  คาอธิ บายที่ยอมรับมาแล้ว                                     เป็ นที่ยอมรับมาแล้ว
  (Evaluate)
                              §    แสดงออกถึงความรู้ความเข้าใจเกียวกับความคิดรวบยอด
                                                                 ่                         §    ตอบแต่เพียงว่าถูกหรื อผิดและอธิบายให้คาจากัด
                                  หรื อทักษะ                                                   ความ/ความจา

                              §     ประเมินความก้าวหน้าด้วยตนเอง                           §    ไม่สามารถอธิ บายเพื่อแสดงความเข้าใจด้วยคาพูด
                                                                                               ของตนเอง
                              §     ถามคาถามเพื่อให้มีการตรวจสอบต่อไป

      รูปแบบการสอนนี้สามารถสะท ้อนให ้เห็นว่า ผู ้เรียนได ้เรียนรู ้อะไร และผู ้เรียนได ้เรียนรู ้อะไร ดังนัน รูปแบบ
                                                                                                            ้
การสอนนี้เป็ นทังรูปแบบการเรียนรู ้ของผู ้เรียนและเป็ นรูปแบบการสอนของครู
                ้

                             ื
8. บรรยากาศการเรียนการสอนแบบสบเสาะหาความรู ้

           อารี พันธ์มณี (2540) กล่าวว่า องค์ประกอบสาคัญในการทาให ้เกิดบรรยากาศการเรียนการสอน คือ
ครูผู ้สอนและผู ้เรียน ผู ้สอนและผู ้เรียนต่างมีบทบาทในการสร ้างบรรยากาศ ครูจะเป็ นผู ้ริเริมสร ้างบรรยากาศ ผู ้เรียน
                                                                                                ่
                                  ั
เป็ นผู ้ตอบสนอง และเติมสีสนให ้กับบรรยากาศการเรียนการสอนให ้เป็ นไปในรูปแบบต่าง ๆ กัน บรรยากาศการเรียน
การสอนทีเป็ นอิสระ ท ้าทาย ตืนเต ้น ปลอดภัยเป็ นประชาธิปไตย ผู ้สอนให ้ความอบอุนทังทางกายและจิตใจ สร ้าง
            ่                       ่                                                       ่ ้
ความรู ้สึกไว ้วางใจให ้กับผู ้เรียนผู ้เรียนได ้รับความเข ้าใจเป็ นมิตร เอืออาทร ห่วงใย ตลอดจนให ้ความดูแล ช่วยเหลือ
                                                                            ้
จะทาให ้ผู ้เรียนมีความกล ้าและอยากเรียนรู ้มากขึน บรรยากาศการเรียนการสอนทีมการยอมรับ มองเห็นคุณค่าในตัว
                                                         ้                              ่ ี
ผู ้เรียน ผู ้เรียนเป็ นบุคคลสาคัญ มีคณค่า และสามารถเรียนได ้ ผู ้สอนควรแสดงความรู ้สึกการยอมรับผู ้เรียนอย่าง
                                             ุ
                                                     ่ ่
จริงใจ กระตุ ้นผู ้เรียนให ้ยอมรับกันเองและเชือมันว่าสามารถทาได ้สาเร็จ

       มัสเซียลาส และค็อคซ์ (Massialas and Cox. 1968) ได ้กล่าวว่า ห ้องเรียนทีเป็ นแบบสืบเสาะหาความรู ้
                                                                               ่
ควรจะมีลักษณะดังนี้
1)      ห ้องเรียนต ้องเป็ นประชาธิปไตย เปิ ดโอกาสให ้นั กเรียนได ้แสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่

         2)      ปั ญหาทีนามาอภิปรายน่าสนใจทีจะขบคิด
                         ่                   ่                  และสามารถตัดสินได ้         ครูมบทบาทเพียงกระตุ ้นให ้
                                                                                                ี
              กิจกรรมการเรียนการสอนดาเนินไปด ้วยดี

         3)      ทุกคนในห ้องเรียนต ้องให ้ความร่วมมือเป็ นอย่างดี

       จากการศึกษาค ้นคว ้าจากเอกสารและบทความต่างๆ       สรุปได ้ว่า             บรรยากาศการเรียนการสอนแบบสืบ
เสาะหาความรู ้ทีเอือต่อการพัฒนากระบวนการคิด ควรมีลักษณะดังนี้
                ่ ้

         1. บรรยากาศภายในห ้องเรียน

               1.1 เป็ นบรรยากาศการโต ้ตอบกันระหว่างครูกับนั กเรียน และนักเรียนกับนั กเรียน อย่างสร ้างสรรค์
สมเหตุสมผล

            1.3 เป็ นบรรยากาศทีนักเรียนรู ้สึกอบอุนใจ ปลอดภัย ปราศจากการตาหนิ วิพากษ์ วิจารณ์ความคิด
                               ่                  ่
ไม่มการตัดสินว่าถูกหรือผิด
    ี

              1.4 บรรยากาศตืนเต ้น น่าสนใจ สนุกสนาน เพือให ้การเรียนรู ้เป็ นแบบสร ้างสรรค์และอิสระ
                            ่                          ่

              1.5 นั กเรียนสนใจ กระตือรือร ้น ให ้ความร่วมมือในการทากิจกรรม

                ั
         2. ปฏิสมพันธ์ระหว่างครูกับนั กเรียน

              2.1 ครูเป็ นกัลยาณมิตรกับนั กเรียน เป็ นกันเอง ให ้กาลังใจแก่นักเรียน

              2.2 ครูใจกว ้าง ให ้นั กเรียนโต ้แย ้งได ้ ยอมรับฟั งความคิดเห็นของนักเรียน

                                    ้
              2.3 ครูให ้คาปรึกษา ชีแนะ และช่วยเหลือนั กเรียน

                ั
         3. ปฏิสมพันธ์ระหว่างนั กเรียนกับนั กเรียน

              3.1 ร่วมมือร่วมใจในการทากิจกรรม ช่วยกันคิด ช่วยกันทางาน ถ ้อยทีถ ้อยอาศัย
                                                                             ่

              3.2 อภิปรายซักถามแลกเปลียนความคิดเห็นกันและโต ้แย ้งกันอย่างสร ้างสรรค์
                                      ่




                                      รูปแบบการจ ัดกระบวนการเรียนรูแบบว ัฎจ ักร
                                                                   ้

                              ื
                          การสบเสาะหาความรู ้ 5 ขนตอน เพือพ ัฒนากระบวนการคิดระด ับสูง
                                                 ั้      ่




          ผลการวิจัยทาให ้ได ้รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู ้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู ้ 5 ขันตอน เพือ
                                                                                                       ้            ่
                                    ่
พัฒนากระบวนการคิดระดับสูง ซึงเป็ นการจัดกระบวนการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นศูนย์กลาง ให ้โอกาสแก่ผู ้เรียนได ้
                                                                 ่
                                           ่          ่
ฝึ กคิด ฝึ กสังเกต ฝึ กถาม-ตอบ ฝึ กการสือสาร ฝึ กเชือมโยงบูรณาการฝึ กนาเสนอ ฝึ กวิเคราะห์วจารณ์ ฝึ กสร ้างองค์
                                                                                                 ิ
                                                               ้
ความรู ้ โดยมีครูเป็ นผู ้กากับ ควบคุม ดาเนินการให ้คาปรึกษา ชีแนะ ช่วยเหลือ ให ้กาลังใจ เป็ นผู ้กระตุ ้นส่งเสริมให ้
ผู ้เรียนคิด อยากรู ้อยากเห็น และสืบเสาะหาความรู ้จากการถามคาถาม และพยายามค ้นหาคาตอบหรือสร ้างองค์
ความรู ้ใหม่ด ้วยตนเองผ่านกระบวนการคิดและปฏิบต ิ ใช ้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็ นเครืองมือ รวมทังครูรวม
                                                  ั                                            ่             ้    ่
แลกเปลียนเรียนรู ้กับผู ้เรียน
           ่                      และสร ้างบรรยากาศการสืบเสาะหาความรู ้ทีเอือให ้ผู ้เรียนคิดอย่างอิสระ
                                                                         ่ ้                                ขอบข่าย
รายละเอียดของรูปแบบปรากฏ ดังนี้
ขั้นตอน                              ลักษณะของกิจกรรม                             บทบาทของครู                              บทบาทของนักเรียน

                                                      หรือสถานการณ์
1. สร้ างความสนใจ                         1. เชื่อมโยงกับความรู้หรื อประสบการณ์      1. สร้างความสนใจ                          1. ตั้งคาถาม
                                          เดิม
(Engage) ครู จดกิจกรรมหรื อสร้าง
              ั                                                                      2. สร้างความอยากรู้อยากเห็น               2. ตอบคาถาม
สถานการณ์กระตุน ยัวยุ หรื อท้าทาย ทา
                 ้ ่                      2. แปลกใหม่นกเรี ยนไม่เคยพบมาก่อน
                                                      ั
ให้นกเรี ยนสนใจ สงสัย ใคร่ รู้ อยากรู้
    ั                                                                                3.ตั้งคาถาม กระตุนให้นกเรี ยนคิด
                                                                                                      ้    ั                   3.แสดงความคิดเห็น
อยากเห็น ขัดแย้ง หรื อเกิดปั ญหา และ      3. ยัวยุ ท้าทาย น่าสนใจ ใคร่ รู้
                                               ่
ทาให้นกเรี ยนต้องการศึกษา ค้นคว้า
       ั                                                                             4. ให้เวลานักเรี ยนคิดก่อนตอบคาถาม        4.กาหนดปั ญหาหรื อเรื่ องที่จะสารวจ
ทดลอง หรื อแก้ปัญหา (สารวจ                4. เปิ ดโอกาสให้มีแนวทางการ                หรื อไม่เร่ งเร้าในการตอบคาถาม            ตรวจสอบให้ชดเจน
                                                                                                                                           ั
ตรวจสอบ) ด้วยตัวของนักเรี ยนเอง           ตรวจสอบอย่างหลากหลาย
                                                                                     5. ดึงเอาคาตอบหรื อความ คิดที่ยงไม่
                                                                                                                    ั          5. แสดงความสนใจ
                                          5. นาไปสู่กระบวนการตรวจสอบด้วย             ชัดเจนไม่สมบูรณ์
                                          ตนเองนักเรี ยนเอง
                                                                                     6. เปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนทาความ
                                                                                                      ั
                                                                                     กระจ่างในปั ญหาที่จะสารวจตรวจสอบ

                                                                                7. เปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนเลือกหรื อ
                                                                                                  ั
                                                                                กาหนดปั ญหาที่จะสารวจตรวจสอบ
2. สารวจและค้นหา (Explore)                                                                    1. นักเรี ยนได้เรี ยนรู้วิธี   1.เปิ ดโอกาสให้            1. คิดอย่างอิสระ แต่
                                                                                              แสวงหาความรู้ดวย    ้          นักเรี ยนได้วิเคราะห์      อยู่ในขอบเขตของ
ครู จดกิจกรรมหรื อสถานการณ์ให้นกเรี ยนสารวจตรวจสอบปั ญหา หรื อประเด็นที่นกเรี ยนสนใจ
     ั                         ั                                         ั                    ตนเอง                          กระบวนการสารวจ             กิจกรรม
ใคร่ รู้                                                                                                                     ตรวจสอบ
                                                                                              2. นักเรี ยนทางานตาม                                      2. ตั้งสมมติฐาน
                                                                                              ความ คิดอย่างอิสระ             2. ซักถามเพื่อนาไปสู่
                                                                                                                             การสารวจตรวจสอบ            3. พิจารณาสมมติฐาน
                                                                                                    3. นักเรี ยน                                        ที่เป็ นไปได้โดยการ
                                                                                                    ตั้งสมมติฐานได้          3. ส่ งเสริ มให้นกเรี ยน
                                                                                                                                              ั         อภิปราย
                                                                                                    หลากหลาย                 ได้ทางานร่ วมกันใน
                                                                                                                             การสารวจตรวจสอบ            4. ระดมความคิดเห็น
                                                                                                    4. พิจารณาข้อมูลและ                                 ในการแก้ปัญหาใน
                                                                                                    ข้อเท็จ จริ งที่ปรากฏ    4. ให้เวลานักเรี ยนใน      การสารวจตรวจสอบ
                                                                                                    แล้วกาหนดสมมติฐาน        การคิดไตร่ ตรอง
                                                                                                    ที่เป็ นไปได้            ปั ญหา                     5. ตรวจสอบ
                                                                                                                                                        สมมติฐานอย่างเป็ น
                                                                                                    5. นักเรี ยนวางแผน       5. สังเกตการณ์ทางาน        ระบบ ขั้นตอนถูกต้อง
                                                                                                    แนวทางการสารวจ           ของนักเรี ยน
                                                                                                    ตรวจสอบ                                             6. บันทึกการสังเกต
                                                                                                                             6. ฟังการโต้ตอบกัน         หรื อผลการสารวจ
                                                                                                    6. นักเรี ยนวิเคราะห์    ของนักเรี ยน               ตรวจสอบ อย่างเป็ น
                                                                                                    อภิปรายเกียวกับ
                                                                                                                ่                                       ระบบ ละเอียด
                                                                                                    กระบวน การสารวจ          7. ทาหน้าที่ในการให้       รอบคอบ
                                                                                                    ตรวจสอบ                  คาปรึ กษา
                                                                                                                                                        7. กระตือรื อร้นมุ่งมัน
                                                                                                                                                                              ่
                                                                                                    7. นักเรี ยนได้ลงมือ     8. อานวยความสะดวก          ในการสารวจ
                                                                                                    ปฏิบติในการสารวจ
                                                                                                          ั                                             ตรวจสอบ
                                                                                                    ตรวจสอบ
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Phornpen Fuangfoo
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)Mamoss CM
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือSukanya Burana
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Ratchada Rattanapitak
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismคน ขี้เล่า
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์Mod DW
 
คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์Cholthicha JaNg
 
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์Charuni Samat
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาitedu355
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางNampeung Kero
 
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11Tum'Tim Chanjira
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matSiriphan Kristiansen
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 

Was ist angesagt? (20)

ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
 
instructional design
instructional design instructional design
instructional design
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
 
คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์
 
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูฝึกหัด
ครูฝึกหัดครูฝึกหัด
ครูฝึกหัด
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 

Andere mochten auch

โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนซับบอนวิทยาคมโครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนซับบอนวิทยาคมWeerachat Martluplao
 
บทที่2 (เสร็จ)
บทที่2 (เสร็จ)บทที่2 (เสร็จ)
บทที่2 (เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมโครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมWeerachat Martluplao
 
Cognitive process
Cognitive processCognitive process
Cognitive processJen Sapida
 
Psychology 102: Cognitive processes
Psychology 102: Cognitive processesPsychology 102: Cognitive processes
Psychology 102: Cognitive processesJames Neill
 
WHAT IS CONSTRUCTIVISM PPT
WHAT IS CONSTRUCTIVISM PPTWHAT IS CONSTRUCTIVISM PPT
WHAT IS CONSTRUCTIVISM PPTkmer8995
 

Andere mochten auch (7)

โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนซับบอนวิทยาคมโครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
 
นำเสนองานวิจัย บทที่ 1
นำเสนองานวิจัย บทที่ 1นำเสนองานวิจัย บทที่ 1
นำเสนองานวิจัย บทที่ 1
 
บทที่2 (เสร็จ)
บทที่2 (เสร็จ)บทที่2 (เสร็จ)
บทที่2 (เสร็จ)
 
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมโครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
 
Cognitive process
Cognitive processCognitive process
Cognitive process
 
Psychology 102: Cognitive processes
Psychology 102: Cognitive processesPsychology 102: Cognitive processes
Psychology 102: Cognitive processes
 
WHAT IS CONSTRUCTIVISM PPT
WHAT IS CONSTRUCTIVISM PPTWHAT IS CONSTRUCTIVISM PPT
WHAT IS CONSTRUCTIVISM PPT
 

Ähnlich wie การสอนแบบสืบเสาะ

ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1Ptato Ok
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expertPtato Ok
 
Com expert kw
Com expert kwCom expert kw
Com expert kwPtato Ok
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ศน. โมเมจ้า
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยPamkritsaya3147
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Natida Boonyadetwong
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้Tawanat Ruamphan
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้Rainbow Tiwa
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
ออซูเบล
ออซูเบลออซูเบล
ออซูเบลsanniah029
 
ทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบลทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบลNusaiMath
 

Ähnlich wie การสอนแบบสืบเสาะ (20)

ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expert
 
Com expert kw
Com expert kwCom expert kw
Com expert kw
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ออซูเบล
ออซูเบลออซูเบล
ออซูเบล
 
ทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบลทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบล
 

Mehr von Weerachat Martluplao

โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐโครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐWeerachat Martluplao
 
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานโครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานWeerachat Martluplao
 
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40Weerachat Martluplao
 
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Mediaการพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social MediaWeerachat Martluplao
 
พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย Weerachat Martluplao
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556Weerachat Martluplao
 
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้นการออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้นWeerachat Martluplao
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57Weerachat Martluplao
 
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคมการจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคมWeerachat Martluplao
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551Weerachat Martluplao
 
Storyboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ applicationStoryboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ applicationWeerachat Martluplao
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551Weerachat Martluplao
 
Stem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentStem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentWeerachat Martluplao
 
ประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric chargesประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric chargesWeerachat Martluplao
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลายรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลายWeerachat Martluplao
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้นรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้นWeerachat Martluplao
 

Mehr von Weerachat Martluplao (20)

โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐโครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
 
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานโครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
 
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
 
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Mediaการพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
 
พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556
 
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้นการออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
 
Asean curriculum thai
Asean curriculum thaiAsean curriculum thai
Asean curriculum thai
 
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคมการจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
Storyboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ applicationStoryboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ application
 
Stem workshop report
Stem workshop reportStem workshop report
Stem workshop report
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
Stem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentStem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills development
 
trigonometry
trigonometrytrigonometry
trigonometry
 
ประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric chargesประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric charges
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลายรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้นรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
 

การสอนแบบสืบเสาะ

  • 1. ั้ ่ ี ่ ่ 1. ปร ัชญาวิทยาศาสตร์ดงเดิม ความรู ้วิทยาศาสตร์ หมายถึง ความจริงหรือข ้อเท็จจริงทีมอยูหรือเป็ นอยู่ ซึงได ้ จากการตรวจสอบ การค ้นคว ้าทดลองอย่างเป็ นระบบ โดยใช ้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แต่ปร ัชญา ่ ่ วิทยาศาสตร์แนวใหม่ ความรู ้วิทยาศาสตร์ เป็ นความรู ้ทีเกิดจากการสรรสร ้างของแต่ละบุคคล ซึงมีอทธิพลมาจาก ิ ่ ความรู ้หรือประสบการณ์เดิม และสิงแวดล ้อมหรือบริบทของสังคมของแต่ละคน 2. แนวคิดของเพียเจต์ (Piaget) เกียวก ับพ ัฒนาการทางสติปัญญาและความคิด คือ การทีคนเรามีปะทะ ่ ่ ่ ่ สัมพันธ์กับสิงแวดล ้อมตังแต่แรกเกิด และการปะทะสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องระหว่างบุคคลกับสิงแวดล ้อมนี้มผลทาให ้ ้ ี ระดับสติปัญญาและความคิด มีการพัฒนาขึนอย่างต่อเนืองอยูตลอดเวลากระบวนการทีเกียวข ้องกับการพัฒนาทาง ้ ่ ่ ่ ่ สติปัญญาและความคิดมี 2 กระบวนการ คือ การปรับตัว (Adaptation) และการจัดระบบโครงสร ้าง (Organization) ่ ุ ่ ่ การปรับตัวเป็ นกระบวนการทีบคคลหาหนทางทีจะปรับสภาพความไม่สมดุลทางความคิดให ้เข ้ากับสิงแวดล ้อมทีอยู่ ่ ั ่ รอบ ๆ ตัว และเมือบุคคลมีปฏิสมพันธ์กับสิงแวดล ้อมรอบ ๆ ตัว โครงสร ้างทางสมองจะถูกจัดระบบให ้มีความ ่ เหมาะสมกับสภาพแวดล ้อม มีรปแบบของความคิดเกิดขึน กระบวนการปรับตัวประกอบด ้วยกระบวนการทีสาคัญ 2 ู ้ ่ ประการคือ ์ ึ 1) กระบวนการดูดซึม (Assimilation) หมายถึง กระบวนการทีอนทรียซมซาบประสบการณ์ใหม่เข ้า ่ ิ ่ สูประสบการณ์เดิมทีเหมือนหรือคล ้ายคลึงกัน ่ แล ้วสมองก็รวบรวมปรับเหตุการณ์ใหม่ให ้เข ้ากับโครงสร ้างของ ความคิดอันเกิดจากการเรียนรู ้ทีมอยูเดิม ่ ี ่ 2) กระบวนการปรับขยายโครงสร ้าง (Accomodation) เป็ นกระบวนการทีตอเนื่องมาจาก ่ ่ ่ ึ ่ กระบวนการดูดซึม คือ ภายหลังจากทีซมซาบของเหตุการณ์ใหม่เข ้ามา และปรับเข ้าสูโครงสร ้างเดิมแล ้วถ ้าปรากฏ ว่าประสบการณ์ใหม่ทได ้รับการซึมซาบเข ้ามาให ้เข ้ากับประสบการณ์เดิมได ้ ี่ สมองก็จะสร ้างโครงสร ้างใหม่ขนมา ึ้ เพือปรับให ้เข ้ากับประสบการณ์ใหม่นัน ่ ้ ่ 3. ทฤษฎีการสร้างเสริมความรู ้ (Constructivism) เชือว่านั กเรียนทุกคนมีความรู ้ความเข ้าใจเกียวกับบางสิง ่ ่ บางอย่างมาแล ้วไม่มากก็น ้อย ก่อนทีครูจะจัดการเรียนการสอนให ้เน ้นว่าการเรียนรู ้เกิดขึนด ้วยตัวของผู ้เรียนรู ้เอง ่ ้ และการเรียนรู ้เรืองใหม่จะมีพนฐานมาจากความรู ้เดิม ดังนัน ประสบการณ์เดิมของนั กเรียนจึงเป็ นปั จจัยสาคัญต่อ ่ ื้ ้ การเรียนรู ้เป็ นอย่างยิง กระบวนการเรียนรู ้ (Process of Leaning) ทีแท ้จริงของนั กเรียนไม่ได ้เกิดจากการบอกเล่า ่ ่ ของครู หรือนั กเรียนเพียงแต่จดจาแนวคิดต่าง ๆ ทีมผู ้บอกให ้เท่านัน ่ ี ้ แต่การเรียนรู ้วิทยาศาสตร์ตาม ทฤษฎี Constructivism เป็ นกระบวนการทีนักเรียนจะต ้องสืบค ้นเสาะหา สารวจตรวจสอบ และค ้นคว ้าด ้วยวิธการ ่ ี ต่างๆ จนทาให ้นั กเรียนเกิดความเข ้าใจและเกิดการรับรู ้ความรู ้นั นอย่างมีความหมาย จึงจะสามารถเป็ นองค์ความรู ้ ้ ของนักเรียนเอง และเก็บเป็ นข ้อมูลไว ้ในสมองได ้อย่างยาวนาน สามารถนามาใช ้ได ้เมือมีสถานการณ์ใด ๆ มา ่ เผชิญหน ้า ดังนั นการทีนักเรียนจะสร ้างองค์ความรู ้ได ้ ต ้องผ่านกระบวนการเรียนรู ้ทีหลากหลาย โดยเฉพาะอย่างยิง ้ ่ ่ ่ กระบวนการสืบเสาะหาความรู ้ (Inquiry Process) ื 4. ความหมายและแนวคิดเกียวก ับการสอนแบบสบเสาะหาความรู ้ (Inquiry Method) ่ การสอนแบบสืบเสาะหาความรู ้มีผู ้ให ้ความหมายและแนวคิดหลากหลาย ดังนี้ อนั นต์ จันทร์กวี (2523) กล่าวว่า การสอนแบบสืบเสาะหาความรู ้เป็ นวิธการส่งเสริมให ้นั กเรียนรู ้จักคิดด ้วย ี ตนเอง รู ้จักค ้นคว ้าหาเหตุผล และสามารถแก ้ปั ญหาได ้ โดยการนาเอาวิธการต่างๆ ของกระบวนการทาง ี วิทยาศาสตร์ไปใช ้ นอกจากนี้ยงเป็ นการเรียนเพือพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด ้วย ั ่ ่ ่ สุวัฒน์ นิยมค ้า (2531) กล่าวว่าการสอนแบบสืบเสาะหาความรู ้เป็ นการสอนทีสงเสริมให ้นักเรียนเป็ นผู ้ ค ้นคว ้า หรือสืบเสาะหาความรู ้เกียวกับสิงใดสิงหนึงทีนักเรียนยังไม่เคยมีความรู ้ในสิงนั นมาก่อน โดยใช ้กระบวนการ ่ ่ ่ ่ ่ ่ ้ ทางวิทยาศาสตร์เป็ นเครืองมือ ่ ดวงเดือน เทศวานิช (2535) กล่าวว่า การสอนแบบสืบเสาะหาความรู ้เป็ นรูปแบบการสอนทีเน ้นทักษะการ ่ ่ คิดอย่างมีระบบ โดยคานึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล ซึงต ้องมีหลักฐานสนับสนุน วิธนเป็ นวิธทนักเรียน ี ี้ ี ี่ พิจารณาเหตุผล สามารถใช ้คาถามทีถกต ้องและคล่องแคล่วสามารถสร ้างและทดสอบสมมติฐานด ้วยการทดลอง ่ ู ่ ี ่ ่ และตีความจากการทดลองด ้วยตนเอง โดยไม่ขนอยูกับคาอธิบายของครู เป็ นวิธการทีชวยให ้นั กเรียนมีระบบวิธการ ึ้ ี แก ้ปั ญหาในทางวิทยาศาสตร์ด ้วยตนเอง สมจิต สวธนไพบูลย์ (2541) กล่าวว่า หลักการสอนแบบสืบเสาะหาความรู ้ผู ้เรียนจะต ้องเป็ นผู ้ค ้นคว ้าหา ความรู ้ จะโดยทางตรงหรือทางอ ้อมก็ตาม ส่วนครูจะเป็ นผู ้อานวยความสะดวกแนะนาและให ้ความช่วยเหลือเท่าที่ จาเป็ น ประกอบด ้วยกระบวนการทีสาคัญ ได ้แก่ การสารวจ และการสร ้างองค์ความรู ้ ่
  • 2. มนมนั ส สุดสิน (2543) สรุปความหมายของการสอนแบบสืบเสาะหาความรู ้ไว ้ว่าการสอนแบบสืบเสาะหา ความรู ้เป็ นวิธการหนึงทีมงส่งเสริมให ้ผู ้เรียนรู ้จักค ้นคว ้าหาความรู ้ คิดและแก ้ปั ญหาได ้ด ้วยตนเองอย่างมีระบบของ ี ่ ่ ุ่ การคิด ใช ้กระบวนการของการค ้นคว ้าหาความรู ้ ซึงประกอบด ้วยวิธการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทาง ่ ี วิทยาศาสตร์และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ครูมหน ้าทีจัดบรรยากาศ การสอนให ้เอือต่อการเรียนรู ้ คิดแก ้ปั ญหาโดย ี ่ ้ ใช ้การทดลอง และอภิปรายซักถามเป็ นกิจกรรมหลักในการสอน ชลสีต ์ จันทาสี (2543) สรุปความหมายของการสอนแบบสืบเสาะหาความรู ้ไว ้ว่าการสอนแบบสืบเสาะหา ความรู ้เป็ นวิธการทีมงส่งเสริมให ้นั กเรียนรู ้จักค ้นคว ้าหาความรู ้ด ้วยตนเอง โดยใช ้กระบวนการแสวงหาความรู ้ ซึงครู ี ่ ุ่ ่ มีหน ้าทีเพียงเป็ นผู ้คอยให ้ความช่วยเหลือ จัดเตรียมสภาพการณ์และกิจกรรมให ้เอือต่อกระบวนการทีฝึกให ้คิดหา ่ ้ ่ เหตุผล สืบเสาะหาความรู ้ รวมทังการแก ้ปั ญหาให ้ได ้โดยใช ้คาถามและสือการเรียนการสอนต่าง ๆ เช่น ของจริง ้ ่ สถานการณ์ ให ้นั กเรียนลงมือปฏิบัตการสารวจ ค ้นหาด ้วยตนเอง บรรยากาศการเรียนการสอนให ้นั กเรียนมีอสระใน ิ ิ การซักถาม การอภิปรายและมีแรงเสริม อาจกล่าวได ้ว่าเป็ นการสอนให ้นั กเรียนคิดเป็ น ทาเป็ น และแก ้ปั ญหาได ้ นั่ นเอง กู๊ด (Good. 1973) ได ้ให ้ความหมายของการสอนแบบการสืบเสาะหาความรู ้ว่าเป็ นเทคนิคหรือกลวิธอย่าง ี หนึงในการจัดให ้เกิดการเรียนรู ้เนื้อหาบางอย่างของวิชาวิทยาศาสตร์ โดยกระตุ ้นให ้นั กเรียนมีความอยากรู ้อยากเห็น ่ เสาะแสวงหาความรู ้โดยการถามคาถาม และพยายามค ้นหาคาตอบให ้พบด ้วยตนเอง นอกจากนี้ยังให ้ความหมาย ของการสอนแบบสืบเสาะหาความรู ้อีกอย่างหนึงว่าเป็ นวิธการเรียนโดยการแก ้ปั ญหาจากกิจกรรมทีจัดขึน ่ ี ่ ้ และใช ้ ี ่ วิธการทางวิทยาศาสตร์ในการทากิจกรรม ซึงปรากฏการณ์ใหม่ ๆ ทีนักเรียนเผชิญแต่ละครัง จะเป็ นตัวกระตุ ้นการ ่ ้ ่ ่ คิดกับการสังเกตกับสิงทีสรุปพาดพิงอย่างชัดเจน ประดิษฐ์ คิดค ้น ตีความหมายภายใต ้สภาพแวดล ้อมทีเหมาะสม ่ ทีสด การใช ้วิธการอย่างชาญฉลาดสามารถทดสอบได ้ และสรุปอย่างมีเหตุผล ่ ุ ี ซันด์และโทรวบริดจ์ (Sun and Trowbridge. 1973) สรุปลักษณะของการสอนแบบสืบเสาะหาความรู ้ว่า เป็ นการสอนทีผู ้เรียนเป็ นศูนย์กลาง สร ้างมโนทัศน์ด ้วยตนเอง และเป็ นการพัฒนาความสามารถด ้านต่างๆ ของ ่ ่ นั กเรียน เช่น ความสามารถทางวิธการ ทักษะทางสังคม ความคิดสร ้างสรรค์ ซึงต ้องให ้อิสระและให ้ผู ้เรียนมีโอกาส ี คิด และเป็ นการเรียนทีเน ้นการทดลอง เพือให ้ผู ้เรียน ค ้นพบด ้วยตนเอง และการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู ้จะ ่ ่ กาหนดเวลาสาหรับการเรียนรู ้ ซานดรา เค เอเบล (Sandra K. Abell. 2002) ได ้กล่าวถึงความหมายของการสืบเสาะหาความรู ้ ตามที่ NSES และ AAAS นิยามไว ้ ดังนี้ NSES (National Science Education Standards) ได ้ให ้ความหมายของการสืบเสาะหาความรู ้ว่าเป็ น กิจกรรมทีหลากหลายเกียวกับการสังเกต การถามคาถาม การสารวจตรวจสอบจากเอกสารและแหล่งความรู ้อืน ๆ ่ ่ ่ การวางแผนการสารวจตรวจสอบ การทดสอบตรวจสอบหลักฐานเพือเป็ นการยืนยันความรู ้ทีได ้ค ้นพบมาแล ้ว การใช ้ ่ ่ เครืองมือในการรวบรวม การวิเคราะห์ และการแปลความหมายข ้อมูล การนาเสนอผลงาน การอธิบายและการ ่ คาดคะเน และการอภิปรายแลกเปลียนความคิดเห็นกันเกียวกับผลงานทีได ้ ่ ่ ่ AAAS (American Association for the Advancement of Science) ได ้ให ้ความหมายการสืบเสาะหา ความรู ้ว่า เริมต ้นด ้วยคาถามเกียวกับธรรมชาติพร ้อมทังกระตุ ้นนั กเรียนให ้ตืนเต ้นสงสัยใคร่รู ้ให ้นั กเรียนตังใจรวบรวม ่ ่ ้ ่ ้ ข ้อมูลและหลักฐาน ครูเตรียมข ้อมูลเอกสารความรู ้ต่างๆ ทีมคนศึกษาค ้นคว ้ามาแล ้ว เพือให ้นักเรียนเชือมโยงกับ ่ ี ่ ่ ่ ้ ้ ความรู ้ใหม่ หรือเพือให ้มองเห็นภาพได ้ชัดเจนลึกซึงขึนให ้นั กเรียนอธิบายให ้ชัดเจน ไม่เน ้นความจาเกียวกับศัพท์ ่ ทางวิชาการ และใช ้กระบวนการกลุม ่ ั้ ื ด ังนนกระบวนการสบเสาะหาความรู ้ (Inquiry process) เป็ นกระบวนการเรียนรู ้ทีให ้ผู ้เรียนสร ้างองค์ ่ ความรู ้ใหม่ด ้วยตนเอง โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัต ิ และใช ้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็ นเครืองมือ ่ ื 5. ระด ับของการสบเสาะหาความรู ้ (Level of inquiry) แบ่งเป็ น 4 ระดับ คือ ื 1) การสบเสาะหาความรูแบบยืนย ัน (Confirmed Inquiry) เป็ นการสืบเสาะหาความรู ้ทีให ้ ้ ่ ผู ้เรียนเป็ นผู ้ตรวจสอบความรู ้หรือแนวคิด เพือยืนยันความรู ้หรือ แนวคิดทีถกค ้นพบมาแล ้ว โดยครูเป็ นผู ้กาหนด ่ ่ ู ปั ญหาและคาตอบ หรือองค์ความรู ้ทีคาดหวังให ้ผู ้เรียนค ้นพบ และให ้ผู ้เรียนทากิจกรรมทีกาหนดในหนังสือหรือใบ ่ ่ งาน หรือตามทีครูบรรยายบอกกล่าว ่ ื 2) การสบเสาะหาความรูแบบนาทาง (Directed Inquiry) เป็ นการสืบเสาะหาความรู ้ทีให ้ ้ ่ ผู ้เรียนค ้นพบองค์ความรู ้ใหม่ด ้วยตนเอง โดยครูเป็ นผู ้กาหนดปั ญหา และสาธิตหรืออธิบายการสารวจตรวจสอบ แล ้ว ให ้ผู ้เรียนปฏิบัตการสารวจตรวจสอบตามวิธการทีกาหนด ิ ี ่
  • 3. ี้ 3) การสบเสาะหาความรูแบบชแนะแนวทาง (Guided Inquiry) เป็ นการสืบเสาะหาความรู ้ที่ ้ ้ ให ้ผู ้เรียนค ้นพบองค์ความรู ้ใหม่ด ้วยตนเอง โดยผู ้เรียนเป็ นผู ้กาหนดปั ญหา และครูเป็ นผู ้ชีแนะแนวทางการสารวจ ตรวจสอบ รวมทังให ้คาปรึกษาหรือแนะนาให ้ผู ้เรียนปฏิบัตการสารวจตรวจสอบ ้ ิ ื 4) การสบเสาะหาความรูแบบเปิ ด (Open Inquiry) เป็ นการสืบเสาะหาความรู ้ทีให ้ผู ้เรียน ้ ่ ค ้นพบองค์ความรู ้ใหม่ด ้วยตนเอง โดยให ้ผู ้เรียนมีอสระในการคิด เป็ นผู ้กาหนดปั ญหา ออกแบบ และปฏิบัตการ ิ ิ สารวจตรวจสอบด ้วยตนเอง ่ ็ ้ ้ ื 6. จิตวิทยาทีเปนพืนฐานของการเรียนรูแบบสบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร์ ้ 1) การเรียนรู ้วิทยาศาสตร์นันผู ้เรียนจะเรียนรู ้ได ้ดียงขึนต่อเมือผู ้เรียนได ้เกียวข ้องโดยตรงกับการ ้ ิ่ ้ ่ ่ ค ้นหาความรู ้นั น ๆ มากกว่าการบอกให ้ผู ้เรียนรู ้ ้ 2) การเรียนรู ้จะเกิดได ้ดีทสด เมือสถานการณ์แวดล ้อมในการเรียนรู ้นั นยั่วยุให ้ผู ้เรียนอยากเรียน ี่ ุ ่ ้ ี ่ ่ ไม่ใช่บบบังคับผู ้เรียน และครูต ้องจัดกิจกรรมทีจะนาไปสูความสาเร็จในการค ้นคว ้าทดลอง 3) วิธการนาเสนอของครู จะต ้องส่งเสริมให ้ผู ้เรียนรู ้จักคิด มีความคิดสร ้างสรรค์ ให ้โอกาสผู ้เรียนได ้ ี ใช ้ความคิดของตนเองมากทีสด ่ ุ ้ ิ ่ ่ ทังนี้กจกรรมทีจะให ้ผู ้เรียนทาการสารวจตรวจสอบจะต ้องเชือมโยงกับความรู ้เดิม และผู ้เรียนมีความรู ้และ ่ ่ ่ ทักษะเพียงพอทีจะแสวงหาความรู ้ใหม่ โดยกิจกรรมทีจัดควรเป็ นกิจกรรมนาไปสูการสารวจตรวจสอบ หรือแสวงหา ความรู ้ใหม่ 7. ื รูปแบบการสอนแบบว ัฏจ ักรการสบเสาะหาความรู ้ (Inquiry Cycle) นั กการศึกษาจากกลุม BSCS (Biological Science Curriculum Society) ได ้เสนอกระบวนการสืบเสาะหา ่ ่ ่ ่ ความรู ้ เพือให ้ผู ้เรียนสร ้างองค์ความรู ้ใหม่ โดยเชือมโยงสิงทีเรียนรู ้เข ้ากับประสบการณ์หรือความรู ้เดิม เป็ นความรู ้ ่ หรือแนวคิดของผู ้เรียนเอง เรียกรูปแบบการสอนนี้วา Inquiry cycle หรือ 5Es มีขนตอนดังนี้ (BSCS. 1997) ่ ั้ 1) การสร้างความสนใจ (Engage) ขันตอนนีเป็ นขันตอนแรกของกระบวนการเรียนรู ้ทีจะ ้ ้ ้ ่ ่ ี่ ้ ่ ่ นาเข ้าสูบทเรียน จุดประสงค์ทสาคัญของขันตอนนี้ คือ ทาให ้ผู ้เรียนสนใจ ใคร่รู ้ในกิจกรรมทีจะนาเข ้าสูบทเรียน ่ ั ่ ้ ่ ควรจะเชือมโยงประสบการณ์การเรียนรู ้เดิมกับปั จจุบน และควรเป็ นกิจกรรมทีคาดว่ากาลังจะเกิดขึน ซึงทาให ้ผู ้เรียน ่ ่ ่ สนใจจดจ่อทีจะศึกษาความคิดรวบยอด กระบวนการ หรือทักษะ และเริมคิดเชือมโยงความคิดรวบยอด กระบวนการ หรือทักษะกับประสบการณ์เดิม 2) การสารวจและค้นหา (Explore) ขันตอนนี้เป็ นขันตอนทีทาให ้ผู ้เรียนมีประสบการณ์ ้ ้ ่ ร่วมกันในการสร ้างและพัฒนาความคิดรวบยอด กระบวนการ และทักษะ โดยการให ้เวลาและโอกาสแก่ผู ้เรียนใน ่ ่ การทากิจกรรมการสารวจและค ้นหาสิงทีผู ้เรียนต ้องการเรียนรู ้ตามความคิดเห็นผู ้เรียนแต่ละคน หลังจากนั นผู ้เรียน ้ แต่ละคนได ้อภิปรายแลกเปลียนความคิดเห็นเกียวกับการคิดรวบยอด กระบวนการ และทั กษะในระหว่างทีผู ้เรียนทา ่ ่ ่ กิจกรรมสารวจและค ้นหา เป็ นโอกาสทีผู ้เรียนจะได ้ตรวจสอบหรือเก็บรวบรวมข ้อมูลเกียวกับความคิดรวบยอดของ ่ ่ ผู ้เรียนทียังไม่ถกต ้องและยังไม่สมบูรณ์ โดยการให ้ผู ้เรียนอธิบายและยกตัวอย่างเกียวกับความคิดเห็นของผู ้เรียน ่ ู ่ ครูควรระลึกอยูเสมอเกียวกับความสามารถของผู ้เรียนตามประเด็นปั ญหา ่ ่ ผลจากการทีผู ้เรียนมีใจจดจ่อในการทา ่ ่ กิจกรรม ผู ้เรียนควรจะสามารถเชือมโยงการสังเกต การจาแนกตัวแปร และคาถามเกียวกับเหตุการณ์นันได ้ ่ ้ 3) การอธิบาย (Explain) ขันตอนนี้เป็ นขันตอนทีให ้ผู ้เรียนได ้พัฒนาความ สามารถในการ ้ ้ ่ อธิบายความคิดรวบยอดทีได ้จากการสารวจและค ้นหา ่ ครูควรให ้โอกาสแก่ผู ้เรียนได ้อภิปรายแลกเปลียนความ ่ คิดเห็นกันเกียวกับทักษะหรือพฤติกรรมการเรียนรู ้ ่ การอธิบายนันต ้องการให ้ผู ้เรียนได ้ใช ้ข ้อสรุปร่วมกันในการ ้ ่ ่ ่ ้ เชือมโยงสิงทีเรียนรู ้ ในช่วงเวลาทีเหมาะสมนี้ครูควรชีแนะผู ้เรียนเกียวกับการสรุปและการอธิบายรายละเอียด แต่ ่ ่ อย่างไรก็ตามครูควรระลึกอยูเสมอว่ากิจกรรมเหล่านียังคงเน ้นผู ้เรียนเป็ นศูนย์กลาง ่ ้ นั่ นคือ ผู ้เรียนได ้พัฒนา ี้ ความสามารถในการอธิบายด ้วยตัวผู ้เรียนเอง บทบาทของครูเพียงแต่ชแนะผ่านทางกิจกรรม เพือให ้ผู ้เรียนมีโอกาส ่ อย่างเต็มทีในการพัฒนาความรู ้ความเข ้าใจในความคิดรวบยอดให ้ชัดเจน ่ ในทีสดผู ้เรียนควรจะสามารถอธิบาย ่ ุ ่ ่ ่ ความคิดรวบยอดได ้อย่างเข ้าใจ โดยเชือมโยงประสบการณ์ ความรู ้เดิมและสิงทีเรียนรู ้เข ้าด ้วยกัน 4) การขยายความรู ้ (Elaborate) ขันตอนนี้เป็ นขันตอนทีให ้ผู ้เรียนได ้ยืนยันและขยายหรือ ้ ้ ่ ่ ้ ่ ้ เพิมเติมความรู ้ความเข ้าใจในความคิดรวบยอดให ้กว ้างขวางและลึกซึงยิงขึน และยังเปิ ดโอกาสให ้ผู ้เรียนได ้ฝึ ก
  • 4. ทักษะและปฏิบัตตามทีผู ้เรียนต ้องการ ในกรณีทผู ้เรียนไม่เข ้าใจหรือยังสับสนอยูหรืออาจจะเข ้าใจเฉพาะข ้อสรุปที่ ิ ่ ี่ ่ ได ้จากการปฏิบตการสารวจและค ้นหาเท่านั น ั ิ ้ ควรให ้ประสบการณ์ใหม่ผู ้เรียนจะได ้พัฒนาความรู ้ความเข ้าใจใน ้ ่ ้ ้ ความคิดรวบยอดให ้กว ้างขวางและลึกซึงยิงขึน เป้ าหมายทีสาคัญของขันนี้ คือ ครูควรชีแนะให ้ผู ้เรียนได ้นาไป ่ ้ ประยุกต์ใช ้ในชีวตประจาวัน จะทาให ้ผู ้เรียนเกิดความคิดรวบยอด กระบวนการ และทักษะเพิมขึน ิ ่ ้ 5) การประเมินผล (Evaluate) ขันตอนนีผู ้เรียนจะได ้รับข ้อมูลย ้อนกลับเกียวกับการอธิบาย ้ ้ ่ ความรู ้ความเข ้าใจของตนเอง ระหว่างการเรียนการสอนในขันนี้ของรูปแบบการสอน ครูต ้องกระตุ ้นหรือส่งเสริมให ้ ้ ผู ้เรียนประเมินความรู ้ความเข ้าใจและความสามารถของตนเอง และยังเปิ ดโอกาสให ้ครูได ้ประเมินความรู ้ความ เข ้าใจและพัฒนาทักษะของผู ้เรียนด ้วย การนารูปแบบการสอนนี้ไปใช ้ สิงทีครูควรระลึกอยูเสมอในแต่ละขันตอนของรูปแบบการสอนนี้ คือ การ ่ ่ ่ ้ จัดเตรียมกิจกรรม ครูควรจัดเตรียมกิจกรรมให ้เหมาะสมกับความรู ้ความสามารถของผู ้เรียน เมือครูเตรียมกิจกรรม ่ แล ้ว ครูควรพิจารณาตรวจสอบบทบาทของครูและผู ้เรียนในการปฏิบัตกจกรรมแต่ละขันตอนว่าสอดคล ้องกับรูปแบบ ิ ิ ้ การสอน 5Es หรือไม่จากตารางที่ 1-2 ต่อไปนี้ เพือครูจะได ้ปรับหรือพัฒนากิจกรรมให ้สอดคล ้องกับรูปแบบการ ่ สอน ตารางที่ 1 บทบาทของครูในการเรียนการสอนแบบ Inquiry Cycle (5 Es) ขั้นตอนการเรียนการสอน สิ่ งทีครู ควรทา ่ สอดคล้องกับ 5 Es ไม่ สอดคล้องกับ 5 Es 1.การสร้ างความสนใจ (Engage) § สร้างความสนใจ § อธิ บายความคิดรวบยอด § สร้างความอยากรู้อยากเห็น § ให้คาจากัดความและคาตอบ § ตั้งคาถามกระตุนให้นกเรี ยนคิด ้ ั § สรุ ปประเด็นให้ § ดึงเอาคาตอบที่ยงไม่ครอบคลุมสิ่ งที่นกเรี ยนรู้ หรื อความคิด ั ั § จัดคาตอบให้เป็ นหมวดหมู่ เกียว กับความคิดรวบยอด หรื อเนื้อหาสาระ ่ § บรรยาย 2.การสารวจและค้นหา (Explore) § ส่ งเสริ มให้นกเรี ยนทางานร่ วมกันในการสารวจตรวจสอบ ั § เตรี ยมคาตอบไว้ให้ § สังเกตและฟังการโต้ตอบกันระหว่างนักเรี ยนกับนักเรี ยน § บอกหรื ออธิ บายวิธีการแก้ปัญหา § ซักถามเพื่อนาไปสู่การสารวจตรวจสอบของนักเรี ยน § จัดคาตอบให้เป็ นหมวดหมู่ § ให้เวลานักเรี ยนในการคิดข้อสงสัยตลอดจนปั ญหาต่างๆ § บอกนักเรี ยนเมื่อนักเรี ยนทาไม่ถูก § ทาหน้าที่ให้คาปรึ กษาแก่นกเรี ยน ั § ให้ขอมูลหรื อข้อเท็จจริ งที่ใช้ในการแก้ปัญหา ้ § นานักเรี ยนแก้ปัญหาทีละขั้นตอน 3.การอธิบาย (Explain) § ส่ งเสริ มให้นกเรี ยนอธิ บายความคิดรวบยอดหรื อแนวคิด หรื อ ั § ยอมรับคาอธิบายโดยไม่มีหลักฐานหรื อให้เหตุผล ให้คาจากัดความด้วยคาพูดของนักเรี ยนเอง ประกอบ § ให้นกเรี ยนแสดงหลักฐาน ให้เหตุผลและอธิ บายให้กระจ่าง ั § ไม่สนใจคาอธิ บายของนักเรี ยน § ให้นกเรี ยนอธิ บาย ให้คาจากัดความและชี้บอกส่ วนประกอบ ั § แนะนานักเรี ยนโดยปราศจากการเชื่อมโยงแนวคิด ต่างๆ ในแผนภาพ หรื อความคิดรวบยอดหรื อทักษะ § ให้นกเรี ยนใช้ประสบการณ์เดิมของตนเป็ นพื้นฐานในการ ั
  • 5. อธิ บายความคิดรวบยอดหรื อแนวคิด 4. การขยายความรู้ § คาดหวังให้นกเรี ยนได้ใช้ประโยชน์จากการชี้บอกส่ วน ั § ให้คาตอบที่ชดเจน ั ประกอบต่างๆ ในแผนภาพคาจากัดความและการอธิ บายสิ่ งที่ (Elaborate) ได้เรี ยนรู้มาแล้ว § บอกนักเรี ยนเมื่อนักเรี ยนทาไม่ถูก § ส่ งเสริ มให้นกเรี ยนนาสิ่ งที่นกเรี ยนได้เรี ยนรู้ไปประยุกต์ใช้ ั ั § ใช้เวลามากในการบรรยาย หรื อขยายความรู้และทักษะในสถานการณ์ใหม่ § นานักเรี ยนแก้ปัญหาทีละขั้นตอน § ให้นกเรี ยนอธิ บายอย่างหลาก หลาย ั § อธิ บายวิธีการแก้ปัญหา § ให้นกเรี ยนอ้างอิงข้อมูลที่มีอยู่พร้อมทั้งแสดงหลักฐานและ ั ถามคาถามนักเรี ยนว่าได้เรี ยนรู้อะไรบ้าง หรื อได้แนวคิ ดอะไร (ที่จะนากลวิธีจากการสารวจตรวจสอบครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้) 5. การประเมินผล § สังเกตนักเรี ยนในการนาความ คิดรวบยอดและทักษะใหม่ไป § ทดสอบคานิยามศัพท์ และข้อเท็จ จริ ง ประยุกต์ใช้ (Evaluate) § ให้แนวคิดหรื อความคิดรอบยอดใหม่ § ประเมินความรู้และทักษะของนักเรี ยน § ทาให้คลุมเครื อ § หาหลักฐานที่แสดงว่านักเรี ยนได้เปลี่ยนความคิด หรื อ พฤติกรรม § ส่ งเสริ มการอภิปรายที่ไม่เชื่อมโยงความคิดรวบ ยอดหรื อทักษะ § ให้นกเรี ยนประเมินตนเองเกียว กับการเรี ยนรู้และทักษะ ั ่ กระบวน การกลุ่ม § ถามคาถามปลายเปิ ด เช่น ทาไมนักเรี ยนจึงคิดเช่นนั้น มี หลักฐานอะไรนักเรี ยนเรี ยนรู้อะไรเกียว กับสิ่ งนั้น และจะ ่ อธิ บายสิ่ งนั้นอย่างไร ตารางที่ 2 บทบาทของน ักเรียนในการเรียนการสอนแบบ Inquiry Cycle (5 Es) ขั้นตอนการเรียนการสอน สิ่ งทีนักเรียนควรทา ่ สอดคล้องกับ 5 Es ไม่ สอดคล้องกับ 5 Es 1.การสร้ างความสนใจ (Engage) § ถามคาถาม เช่น ทาไมสิ่ งนี้จึงเกิด ขึ้นฉันได้เรี ยนรู้อะไรบ้าง § ถามหาคาตอบที่ถูก เกียว กับสิ่ งนี้ ่ § ตอบเฉพาะคาตอบที่ถก ู § แสดงความสนใจ § ยืนยันคาตอบหรื อคาอธิ บาย § มีวิธีการแก้ปัญหาเพียงวิธีเดียว 2.การสารวจและค้นหา (Explore) § คิดอย่างอิสระแต่อยู่ในขอบเขตของกิจกรรม § ให้คนอื่นคิดและสารวจตรวจสอบ § ทดสอบการคาดคะเนและสมมติ ฐาน § ทางานเพียงลาพังโดยมีปฏิสัมพันธ์กบผูอื่นน้อย ั ้ มาก § คาดคะเนและตั้งสมมติฐานใหม่ § ปฏิบติอย่างสับสนไม่มีเป้ าหมายที่ชดเจน ั ั § พยายามหาทางเลือกในการแก้ ปั ญหาและอภิปรายทางเลือก เหล่านั้นกับคนอื่น § เมื่อแก้ปัญหาได้แล้วก็ไม่คิดต่อ
  • 6. § บันทึกการสังเกตและให้ขอคิด เห็น ้ § ลงข้อสรุ ป 3. การอธิบาย § อธิ บายการแก้ปัญหาหรื อคาตอบที่ซับซ้อน § อธิ บายโดยไม่มีการเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม (Explain) § ฟังคาอธิ บายของคนอื่นอย่างคิดวิเคราะห์ § ยกตัวอย่างที่ไม่เกียวข้องกัน ่ § ถามคาถามเกียวกับสิ่ งที่คนอื่นได้อธิบาย ่ § ยอมรับคาอธิบายโดยไม่ให้เหตุผล § ฟังและพยายามทาความเข้าใจเกียวกับสิ่ งที่ครูอธิ บาย ่ § ไม่สนใจคาอธิ บายของคนอื่นซึ่ งมีเหตุผลพอที่จะ เชื่อถือได้ § อ้างอิงกิจกรรมที่ได้ปฏิบติมาแล้ว ั § ใช้ขอมูลที่ได้จากการบันทึก/สังเกตในการอธิ บาย ้ 4. การขยายความรู้ § นาการชี้บอกส่ วนประกอบต่างๆ ในแผนภาพ คาจากัดความ § ปฏิบติโดยไม่มีเป้ าหมายชัดเจน ั คา อธิ บายและทักษะไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ใหม่ที่คล้าย (Elaborate) กับสถานการณ์เดิม § ไม่สนใจข้อมูลหรื อหลักฐานที่มีอยู่ § ใช้ขอมูลเดิมในการถามคาถามกาหนดจุดประสงค์ในการแก้ ้ § อธิ บายเหมือนกับที่ครู จดเตรี ยมไว้หรื อกาหนดให้ ั ปั ญหาตัดสิ นใจ และออกแบบการทดลอง § ลงข้อสรุ ปอย่างสมเหตุสมผลจากหลักฐานที่ปรากฏ § บันทึกการสังเกตและอธิบาย § ตรวจสอบความเข้าใจกับเพื่อน ๆ 5. การประเมินผล § ตอบคาถามปลายเปิ ด โดยใช้การสังเกต หลักฐานและ § ลงข้อสรุ ปโดยปราศจากหลักฐานหรื อคาอธิ บายที่ คาอธิ บายที่ยอมรับมาแล้ว เป็ นที่ยอมรับมาแล้ว (Evaluate) § แสดงออกถึงความรู้ความเข้าใจเกียวกับความคิดรวบยอด ่ § ตอบแต่เพียงว่าถูกหรื อผิดและอธิบายให้คาจากัด หรื อทักษะ ความ/ความจา § ประเมินความก้าวหน้าด้วยตนเอง § ไม่สามารถอธิ บายเพื่อแสดงความเข้าใจด้วยคาพูด ของตนเอง § ถามคาถามเพื่อให้มีการตรวจสอบต่อไป รูปแบบการสอนนี้สามารถสะท ้อนให ้เห็นว่า ผู ้เรียนได ้เรียนรู ้อะไร และผู ้เรียนได ้เรียนรู ้อะไร ดังนัน รูปแบบ ้ การสอนนี้เป็ นทังรูปแบบการเรียนรู ้ของผู ้เรียนและเป็ นรูปแบบการสอนของครู ้ ื 8. บรรยากาศการเรียนการสอนแบบสบเสาะหาความรู ้ อารี พันธ์มณี (2540) กล่าวว่า องค์ประกอบสาคัญในการทาให ้เกิดบรรยากาศการเรียนการสอน คือ ครูผู ้สอนและผู ้เรียน ผู ้สอนและผู ้เรียนต่างมีบทบาทในการสร ้างบรรยากาศ ครูจะเป็ นผู ้ริเริมสร ้างบรรยากาศ ผู ้เรียน ่ ั เป็ นผู ้ตอบสนอง และเติมสีสนให ้กับบรรยากาศการเรียนการสอนให ้เป็ นไปในรูปแบบต่าง ๆ กัน บรรยากาศการเรียน การสอนทีเป็ นอิสระ ท ้าทาย ตืนเต ้น ปลอดภัยเป็ นประชาธิปไตย ผู ้สอนให ้ความอบอุนทังทางกายและจิตใจ สร ้าง ่ ่ ่ ้ ความรู ้สึกไว ้วางใจให ้กับผู ้เรียนผู ้เรียนได ้รับความเข ้าใจเป็ นมิตร เอืออาทร ห่วงใย ตลอดจนให ้ความดูแล ช่วยเหลือ ้ จะทาให ้ผู ้เรียนมีความกล ้าและอยากเรียนรู ้มากขึน บรรยากาศการเรียนการสอนทีมการยอมรับ มองเห็นคุณค่าในตัว ้ ่ ี ผู ้เรียน ผู ้เรียนเป็ นบุคคลสาคัญ มีคณค่า และสามารถเรียนได ้ ผู ้สอนควรแสดงความรู ้สึกการยอมรับผู ้เรียนอย่าง ุ ่ ่ จริงใจ กระตุ ้นผู ้เรียนให ้ยอมรับกันเองและเชือมันว่าสามารถทาได ้สาเร็จ มัสเซียลาส และค็อคซ์ (Massialas and Cox. 1968) ได ้กล่าวว่า ห ้องเรียนทีเป็ นแบบสืบเสาะหาความรู ้ ่ ควรจะมีลักษณะดังนี้
  • 7. 1) ห ้องเรียนต ้องเป็ นประชาธิปไตย เปิ ดโอกาสให ้นั กเรียนได ้แสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ 2) ปั ญหาทีนามาอภิปรายน่าสนใจทีจะขบคิด ่ ่ และสามารถตัดสินได ้ ครูมบทบาทเพียงกระตุ ้นให ้ ี กิจกรรมการเรียนการสอนดาเนินไปด ้วยดี 3) ทุกคนในห ้องเรียนต ้องให ้ความร่วมมือเป็ นอย่างดี จากการศึกษาค ้นคว ้าจากเอกสารและบทความต่างๆ สรุปได ้ว่า บรรยากาศการเรียนการสอนแบบสืบ เสาะหาความรู ้ทีเอือต่อการพัฒนากระบวนการคิด ควรมีลักษณะดังนี้ ่ ้ 1. บรรยากาศภายในห ้องเรียน 1.1 เป็ นบรรยากาศการโต ้ตอบกันระหว่างครูกับนั กเรียน และนักเรียนกับนั กเรียน อย่างสร ้างสรรค์ สมเหตุสมผล 1.3 เป็ นบรรยากาศทีนักเรียนรู ้สึกอบอุนใจ ปลอดภัย ปราศจากการตาหนิ วิพากษ์ วิจารณ์ความคิด ่ ่ ไม่มการตัดสินว่าถูกหรือผิด ี 1.4 บรรยากาศตืนเต ้น น่าสนใจ สนุกสนาน เพือให ้การเรียนรู ้เป็ นแบบสร ้างสรรค์และอิสระ ่ ่ 1.5 นั กเรียนสนใจ กระตือรือร ้น ให ้ความร่วมมือในการทากิจกรรม ั 2. ปฏิสมพันธ์ระหว่างครูกับนั กเรียน 2.1 ครูเป็ นกัลยาณมิตรกับนั กเรียน เป็ นกันเอง ให ้กาลังใจแก่นักเรียน 2.2 ครูใจกว ้าง ให ้นั กเรียนโต ้แย ้งได ้ ยอมรับฟั งความคิดเห็นของนักเรียน ้ 2.3 ครูให ้คาปรึกษา ชีแนะ และช่วยเหลือนั กเรียน ั 3. ปฏิสมพันธ์ระหว่างนั กเรียนกับนั กเรียน 3.1 ร่วมมือร่วมใจในการทากิจกรรม ช่วยกันคิด ช่วยกันทางาน ถ ้อยทีถ ้อยอาศัย ่ 3.2 อภิปรายซักถามแลกเปลียนความคิดเห็นกันและโต ้แย ้งกันอย่างสร ้างสรรค์ ่ รูปแบบการจ ัดกระบวนการเรียนรูแบบว ัฎจ ักร ้ ื การสบเสาะหาความรู ้ 5 ขนตอน เพือพ ัฒนากระบวนการคิดระด ับสูง ั้ ่ ผลการวิจัยทาให ้ได ้รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู ้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู ้ 5 ขันตอน เพือ ้ ่ ่ พัฒนากระบวนการคิดระดับสูง ซึงเป็ นการจัดกระบวนการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นศูนย์กลาง ให ้โอกาสแก่ผู ้เรียนได ้ ่ ่ ่ ฝึ กคิด ฝึ กสังเกต ฝึ กถาม-ตอบ ฝึ กการสือสาร ฝึ กเชือมโยงบูรณาการฝึ กนาเสนอ ฝึ กวิเคราะห์วจารณ์ ฝึ กสร ้างองค์ ิ ้ ความรู ้ โดยมีครูเป็ นผู ้กากับ ควบคุม ดาเนินการให ้คาปรึกษา ชีแนะ ช่วยเหลือ ให ้กาลังใจ เป็ นผู ้กระตุ ้นส่งเสริมให ้ ผู ้เรียนคิด อยากรู ้อยากเห็น และสืบเสาะหาความรู ้จากการถามคาถาม และพยายามค ้นหาคาตอบหรือสร ้างองค์ ความรู ้ใหม่ด ้วยตนเองผ่านกระบวนการคิดและปฏิบต ิ ใช ้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็ นเครืองมือ รวมทังครูรวม ั ่ ้ ่ แลกเปลียนเรียนรู ้กับผู ้เรียน ่ และสร ้างบรรยากาศการสืบเสาะหาความรู ้ทีเอือให ้ผู ้เรียนคิดอย่างอิสระ ่ ้ ขอบข่าย รายละเอียดของรูปแบบปรากฏ ดังนี้
  • 8. ขั้นตอน ลักษณะของกิจกรรม บทบาทของครู บทบาทของนักเรียน หรือสถานการณ์ 1. สร้ างความสนใจ 1. เชื่อมโยงกับความรู้หรื อประสบการณ์ 1. สร้างความสนใจ 1. ตั้งคาถาม เดิม (Engage) ครู จดกิจกรรมหรื อสร้าง ั 2. สร้างความอยากรู้อยากเห็น 2. ตอบคาถาม สถานการณ์กระตุน ยัวยุ หรื อท้าทาย ทา ้ ่ 2. แปลกใหม่นกเรี ยนไม่เคยพบมาก่อน ั ให้นกเรี ยนสนใจ สงสัย ใคร่ รู้ อยากรู้ ั 3.ตั้งคาถาม กระตุนให้นกเรี ยนคิด ้ ั 3.แสดงความคิดเห็น อยากเห็น ขัดแย้ง หรื อเกิดปั ญหา และ 3. ยัวยุ ท้าทาย น่าสนใจ ใคร่ รู้ ่ ทาให้นกเรี ยนต้องการศึกษา ค้นคว้า ั 4. ให้เวลานักเรี ยนคิดก่อนตอบคาถาม 4.กาหนดปั ญหาหรื อเรื่ องที่จะสารวจ ทดลอง หรื อแก้ปัญหา (สารวจ 4. เปิ ดโอกาสให้มีแนวทางการ หรื อไม่เร่ งเร้าในการตอบคาถาม ตรวจสอบให้ชดเจน ั ตรวจสอบ) ด้วยตัวของนักเรี ยนเอง ตรวจสอบอย่างหลากหลาย 5. ดึงเอาคาตอบหรื อความ คิดที่ยงไม่ ั 5. แสดงความสนใจ 5. นาไปสู่กระบวนการตรวจสอบด้วย ชัดเจนไม่สมบูรณ์ ตนเองนักเรี ยนเอง 6. เปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนทาความ ั กระจ่างในปั ญหาที่จะสารวจตรวจสอบ 7. เปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนเลือกหรื อ ั กาหนดปั ญหาที่จะสารวจตรวจสอบ 2. สารวจและค้นหา (Explore) 1. นักเรี ยนได้เรี ยนรู้วิธี 1.เปิ ดโอกาสให้ 1. คิดอย่างอิสระ แต่ แสวงหาความรู้ดวย ้ นักเรี ยนได้วิเคราะห์ อยู่ในขอบเขตของ ครู จดกิจกรรมหรื อสถานการณ์ให้นกเรี ยนสารวจตรวจสอบปั ญหา หรื อประเด็นที่นกเรี ยนสนใจ ั ั ั ตนเอง กระบวนการสารวจ กิจกรรม ใคร่ รู้ ตรวจสอบ 2. นักเรี ยนทางานตาม 2. ตั้งสมมติฐาน ความ คิดอย่างอิสระ 2. ซักถามเพื่อนาไปสู่ การสารวจตรวจสอบ 3. พิจารณาสมมติฐาน 3. นักเรี ยน ที่เป็ นไปได้โดยการ ตั้งสมมติฐานได้ 3. ส่ งเสริ มให้นกเรี ยน ั อภิปราย หลากหลาย ได้ทางานร่ วมกันใน การสารวจตรวจสอบ 4. ระดมความคิดเห็น 4. พิจารณาข้อมูลและ ในการแก้ปัญหาใน ข้อเท็จ จริ งที่ปรากฏ 4. ให้เวลานักเรี ยนใน การสารวจตรวจสอบ แล้วกาหนดสมมติฐาน การคิดไตร่ ตรอง ที่เป็ นไปได้ ปั ญหา 5. ตรวจสอบ สมมติฐานอย่างเป็ น 5. นักเรี ยนวางแผน 5. สังเกตการณ์ทางาน ระบบ ขั้นตอนถูกต้อง แนวทางการสารวจ ของนักเรี ยน ตรวจสอบ 6. บันทึกการสังเกต 6. ฟังการโต้ตอบกัน หรื อผลการสารวจ 6. นักเรี ยนวิเคราะห์ ของนักเรี ยน ตรวจสอบ อย่างเป็ น อภิปรายเกียวกับ ่ ระบบ ละเอียด กระบวน การสารวจ 7. ทาหน้าที่ในการให้ รอบคอบ ตรวจสอบ คาปรึ กษา 7. กระตือรื อร้นมุ่งมัน ่ 7. นักเรี ยนได้ลงมือ 8. อานวยความสะดวก ในการสารวจ ปฏิบติในการสารวจ ั ตรวจสอบ ตรวจสอบ