SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 117
Downloaden Sie, um offline zu lesen
คําวาชีวิต คืออะไร มาจากไหน ?
คําวาชีวิต มาจากคําวาชีวะ แปลวา เปน อยู คือ
อะไร, เปน, มี, อยู
ชีวิต หมายถึง อยางไร
หมายถึง การเปนไป, ดําเนินไป, เคลื่อนไหว
มีวิเคราะหเปนภาษาบาลีวา
ธมมชาเตน ชีวตีติ = ชีวิต
แปลวา สิ่งใดยอม (เปน, อยู, คือ)
 ตามธรรมชาติสิ่งนั้นเรียกวาชีวิต
ชีวิต ภาษาอังกฤษตรงกับคําวา
Life living Thing collectively in general
              plants, preple.
ชีวิตมาอยางไร / จากไหน / เมื่อไร
ทฤษฎี 99
              1 มาจากอะไร
                มาจาก 0
               0 คืออะไร
0 คือ ไมมี และไมมีคือวาง และวางก็คือ 0
สมศักดิ์ = (พอ , แม) - ปูยา - ทวด - โครต -โครต ๆ
            โครตของโครต ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ


        1,000,000 (หนึ่งลาน) ก็มาจากหนึ่ง
                  1 ก็มาจาก 0
กําเนิดชีวิตในทรรศนะตาง ๆ
ทรรศนะของนักปรัชญา
 และนักวิทยาศาสตร
อับเบ จอรจ ลือมาเทรจ
(Abbe George Lemaitre 1894-1966)

      นักวิทยาศาสตรชาวเบลเยี่ยม
    เสนอทฤษฎี (Big Bang Theory)
(การระเบิดครั้งใหญย่ิงหรือทฤษฎีฟองไข)
  เซลลเดียวหลายเซลล (complex cells)
ชาลล ดารวิน
    Charles Darwin
    นักวิทยาศาสตรชาวอังกฤษ

กําเนิดจากเซลลเดียวและ
หลายเซลล (complex cells)
ธาเลส Thales = มาจาก น้ํา
อาแนกซิมิเนส Anaximenes =มาจาก อากาศ
เซโนพาเนส Zenophanes = มาจากดิน
เดโมคริตุส Democritus = มาจากรวมตัวของธาตุ 4
สังคมวิทยา = มนุษย วิวัฒนาการ มาจากสัตวประเภทลิง
ศาสนาพุทธเกิดจากธาตุ 4
ดิน , น้ํา , ไฟ , ลม
ธาตุ คือ สภาวะที่มีอยู, ทรงอยู
ธร ธาตุ ในความทรงไว/และมีอยู
ทรรศนะศาสนาคริสต
ชีวิตมาจาก = พระเจา
พระตรีเอกนุภาพ
                                                                ผูสรางพระยะโฮวา

                                     พระบิดา
ผู ไถ บ าป (พระเย ซู )
ผูเสด็จเพื่อนําทาง
                           พระบุตร               พระจิต
ชวยเหลือมนุษยสู                              หรือพระ
       พระเจา              วิณญาณ
                                                 อันบริสุทธิ์

                             รวมกันเปนพระเจาองคเดียว
ทรรศนะศาสนา อิสลามมาจากพระเจา
    ศาสนาฮินดู มาจากพระเจา
ทรรศนะนักวิทยาศาสตร
ใชคําวา สสาร ที่เรียกวา อนินทรีย
       วิวัฒนาการเปน อินทรีย
องคประกอบของชีวิต มี 2 สวน
ภายนอก กาย รูป
ภายใน     ใจ จิต นาม
มนะอุษย มน =ใจ
         อุษย = สูง
มนุษย = แปลวาผูมีใจสูง
โครงสรางจิตมี 3 ระดับ
1. จิตฝายต่ํา ID ควบคุมไมได
2. จิตระดับกลาง Ego     ควบคุมได

3. จิตที่สงสุด Supergo จิตทีพฒนาแลว
          ู                 ่ ั
ชั่ว
ภูมิมนุษย
 สวรรค
 มนุษย
  นรก
สวรรค 7 ชั้น
1. ชั้นจาตุมหาราชิกา
2. ชั้นดาวดึงส
3. ชั้นยามา
4. ชั้นดุสิต
5. ชั้นนิมมานรดี
6. ชั้นปรนิมมิตวสวัตดี
อบายภูมทั้ง 4
            ิ
1. นรก
2. เปรต
3. อสุรกาย
4. เดรัจฉาน
1


                              วิชาจริยศึกษาเพือการพัฒนาตน
                                              ่
                   เรียบเรียงโดย อ.ปราโมทย สุวรรณา (M.A Philosophy)
----------------------------------------------------------------------------------------------
                ชีวตในคําสอนของพระพุทธศาสนาและศาสนาตางๆ
                    ิ

๑. ลักษณะของชีวิต

                “ชีวิต” ราชบัณฑิตยสถาน(๒๕๔๖: ๓๖๖) ไดใหความหมายไววา “หมายถึง ความ
เปนอยู” ตรงกันขามกับคําวา “อชีวิต” หรือ “อชีวะ คือ ความไมมีชีวิตหรือความตายเพราะกาย
สิ้นไออุนและวิญญาณ รากศัพทเดิมมาจากภาษาบาลีและสันสกฤตมาจากคําวา “ชีว ธาตุ” ซึ่ง
ประกอบดวย “ ต ” ในกิรยากิตก ลง อิ อาคม สําเร็จรูปเปน “ชีวิต”
                                   ิ
                ในคัมภีรบาลี อภิธานนัปปทีปกาสูจิ ไดใหนิยาม ชีวิต ไววา ชีว : ชีวนฺติ สตฺตา เนนาติ
ชี โ ว. ที่ ช่ื อ ว า ชี ว ะ เพราะอรรถวิ เ คราะห ที่ ม าสั ต ว ทั้ ง หลาย ย อ มเป น อยู ด ว ยเหตุ ป จ จั ย นั้ น
(นาคะประทีป, ๒๔๖๔: ๔๕๐)
                ชีวิต : ชีว ปราณธารณ, โต. ชีวนฺติ อเนนาติ ชีวิตํ. ชีวธาตุเปนไปในอรรถวา ทรงไวซึ่ง
ลมปราณ ลง ต ปจจัย จึงมีรูปเปน ชีวิต โดยมีอรรถวิเคราะหวา สัตวทั้งหลาย ยอมเปนอยูดวยการ
ทรงไวซึ่งลมปราณนั้น
                ชีว (ชีวะ) น. ความอยู, ความเปนอยู , ใจ. ดวงวิญญาณ แตมักเรียกวา ชีโว
                คําวาชีวิต มีผูใหความหมายเอาไว ดังนี้
                ๑. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ชีวิต คือ ความเปนอยู
                ๒. กลุมนักชีววิทยา ชีวิต คือ กบวนการ แหงการปรับตัวเอง
                ๓. กลุมจิตนิยม ชีวิต คือ การปรากฏระดับหนึ่งของวิญญาณที่สมบูรณ
                ๔. กลุมสสารนิยม ชีวิต คือ วิวัฒนาการของสสาร
                ๕. หลวงวิจิตรวาทการ ชีวิต คือ การตอสู
                ๖. เซ็คเปยร ชีวิต คือ ละครโรงใหญ
                ๗. อริสโตเติล ไดแบงทัศนะของชีวิต ไว ๓ ระดับ คือ
                       ๗.๑ ชีวิตระดับพืช ชีวิตระดับนี้จะมีเฉพาะความตองการทางชีววิทยา เชน การ
หายใจ การกินอาหาร การขับถายและการสืบพันธ
                        ๗.๒ ชีวิตระดับสัตว ชีวิตระดับนี้มีความตองการทางชีววิทยาและมีความรูสึกทาง
ประสาทสัมผัส เชน การเห็น การฟง เปนตน
2


                   ๗.๓ ชีวิตระดับมนุษย ชีวิตระดับนี้มีความตองการทางชีววิทยา มีความรูสึกทาง
ประสาทสัมผั สและมีแนวความคิดทางดานการคนควาหาเหตุผล อันกอใหเ กิดวุฒิปญญา และ
คุณธรรมตาง ๆ
             มนุษยเปนสัตวโลกที่แตกตางจากสัตวอื่นตรงที่มีสมองขนาดใหญ ซึ่งเปนที่เกิดของปญญา
นํามารวมสรางลักญณะเหนือธรรมชาติ ( super organic ) ในวิถีชีวิต ซึ่งพัฒนาชีวิตทางสังคมของ
มนุษยใหเจริญงอกงามมากขึ้นทุกที คริสตศตวรรษที่ 20 นี้ มนุษยสามารถดํารงชีวิตอยูบนโลกดวย
วิถีที่เหนือธรรมชาติอยางนาอัศจรรยสามารถคิดคนวิทยาการ นําเอาสิ่งแวดลอมทั้งปวงมาสราง
ปรับปรุง และดัดแปลง สรางประดิษฐกรรมใหม เพิ่มขึ้นตตลอดเวลา ชีวิตของมนุษยปจจุบัน จึง
แตกตางจากบรรพกาลอยางยิ่งเพราะเปนชีวิตที่สามารถจัดการและสรางเสริมความสุขสําราญใหแก
ชีวิตตามที่ปารถนาไดดี ในสองสามศตวรรตนี้จึงไดเห็นปรากฏการณทางสังคมที่มนุษยภูมิภาค
ตางๆ ทั่วโลกรวมกันเปนกลุมหรือองคกรรวมมือรวมใจกันเพื่อพัฒนาวิถีเศรษญกิจการเมือง สังคม
และวัฒนธรรมใหกาวหนา โดยเฉพาะในปลายคริสตศตวรรษที่ 20 กระบวนการรวมโลกเปนหนึ่ง
เดียวอยางที่เรียกวาโลกาภิวัตน ( Globalization ) เพื่อเพรกระจายความคิดวิทยาการ เทคโนโลยีและ
ประดิษฐกรรม อยางกวางขวางแกชาวโลกทุกพื้นที่ ในศตวรรษใหมนอกจากมนุษยจะเปนกลุมชีวิต
ที่สุขสบายบนโลกนี้ มนุษยปรารถนาแสวงหาพื้นที่และกลุมพันธมิตรใหมในดวงดาวอื่นตอไป
                     ๑.๑ การเกื้อกูลจิตวิญญาณของกลุมพวกและมนุษยดวยกัน
             ความปรารถนาทางสังคมหรือจิตใจนั้นมีอยูในมนุษยทั่วไป มนุษยตองการทําตนใหเกิด
ประโยชน มีคุณคา และเปนที่ชื่นชมในหมูของตน ในการดําเนินชีวิตทางสังคม มนุษยตองการ
กําลังใจ เกียรติยศ และความสําเร็จตามเปาหมายแหงชีวิต ซึ่งจะแสวงหาไดจากจิตที่มีคุณธรรมและ
สุนทรียภาพรวมกัน มนุษยใชปญญารวมกันสรางสมนําชีวิตของปจเจกบุคคลและเผาพันธุใหดําเนิน
และดํารงตอมาหลายชั่วรุน มนุษยสรางขนบธรรมเนียมประเพณีและกฎระเบียบตางๆเพื่อจัดระบบ
และควบคุมมนุษยใหสามารถติดตอแลกเปลี่ยนและเกื้อกูลชีวิตทางสังคมแกกัน จนเกิดความมั่นคง
และความมีภราดรภาพภายในกลกลุม แมยามทุกขยากและเกิดปญหามนุษยพยายามรวมมือกันฝา
ฟนอุปสรรคและแกปญหาจนลุลวงไป ดังนี้ มนุษยจึงตางเปนขวัญและกําลังใจตอกัน แสดงการ
ยอมรับความชื่นชมยินดี และสรรเสริญคุณงามความดีของกัน จนเกิดความอบอุน ความประทับใจ
ซึ่งสงเสริมจิตวิญญาณมนุษย ใหสูงยิ่งขึ้นไปมนุษยจึงสามารถรักษาเผาพันธุใหดําเนินชีวิตรวมกับ
มนุษยดวยกันและธรรมชาติแวดลอมดวยดีตลอดมา
                     ๑.๒ ความเปนสัตวประเสริฐเหนือสรรพชีวิตอื่นบนโลก
             วิวัฒนาการของมนุษย รวมกับชีวิตอื่นบนโลกนานหลายหมื่นปไดประจักษชัดวา มนุษย
นั้นมีววฒนาการแตกตางและพิเศษเหนือสัตวอื่นในโลก จนสามารถเรียกตนวาสัตวประเสริฐ
          ิั
( wisdom animal ) หลายชั่วอายุขัยมนุษยที่มนุษยยังดํารงชีพอยูไดท้งมีการดําเนินชีวิตที่รุงเรืองอยาง
                                                                    ั
ไมมีส้นสุด มนุษยมพลังสรางสรรคที่จะจัดการกับชีวิตมนุษยและธรรมชาติอื่นๆ ดวยวิถีแหงปญญา
        ิ              ี
3


วิทยาการ และเทคนิคใหม ที่เติบโตเร็วมาก ในสองสามศตวรรษนี้ ไดสรางชีวิตใหมที่ดีที่สุดใหแก
มนุษย วิทยาการจักรกล อาทิ คอมพิวเตอร หุนยนต ตลอดจรชนการควบคุมเครื่องกลไรสายอื่น ทํา
ใหมนุษยมีอิทธิพลมากขึ้นบนโลกและกาวไปมีอํานาจเหนือดาวอื่น
         อย า งไรก็ ต าม ธรรมชาติ บ างประการในตั ว มนุ ษ ย ไ ด ทํ า ลายมนุ ษ ย ด ว ยกั น และทํ า ลาย
ธรรมชาติอื่นดวยความปรารถนาที่เกินกําลังจนเกิดกําลังจนเกิดเปนความโลภโกรธและหลงซึ่งเปน
เหตุผลผลักดันใหมนุษยสวนหนึ่งตองเกิดความทุกขยากทางกาย หรือทางจิตใจชวงเวลาหนึ่งหรือ
ตลอดชีวิตเพราะการแขงขัน แยงชิง กอบโกยผลประโยชน ใหแกตนเองหรือกลุมพวกตน จนละเลย
ตอมนุษยธรรมอยางสัตยประเสริฐไปได ดังนี้ปรากฏการณการทําลายลางมนุษยทั้งในระดับจุลภาค
และภาคจึงพบในสังคมเสมอ เชน ปญหาสังคมปรากฏเสมอในทั่วไป โดยเฉพาะสงครามระหวาง
ประเทศหรือสงครามโลกที่เกิดขึ้น ทั้งในประวัติศาสตรและปจจุบัน
         ๓. พลังสรางสรรคและทําลายสภาพแวดลอมบนโลก
         พลั ง มนุ ษ ย ช าติ ทั้ ง ในเชิ ง ปริ ม าณและเชิ ง คุ ณ ภาพตั้ ง แต บ รรรพกาลมี อิ ท ธิ พ ลต อ การ
เปลี่ ย นแปลงสภาวะแวดล อ มของโลก จํ า นวนพลโลกเพิ่ ม ขึ้ น เสมอมาโดยเฉพาะในปลาย
คริสตศตวรรษที่ 19 และ 20 นี้ประชากรโลกเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว จนกลาววาเปนการระเบิดทาง
ประชากร( population explosion ) สถาบันขอมูลประชากรสหรัฐอเมริกา (1999) แสดงสถิติ
ประชากร เมื่อเริ่มคริสตกาลประชากรโลกมีประมาณ 225 ลานคน ค.ศ.2025 คาดวาประชากรโลกมี
กวา 7,800 ลานคนแรงกดดันดังนี้ มนุษยชาติตางเรงคิดคนประดิษฐกรรม เพื่อดูแลมนุษยจํานวน
มหาศาลใหมีวิถีชีวิตที่อยูรวดจนถึงมีชีวิตที่ดีที่สุด จนทําใหมนุษยเปนผูพัฒนาและผูทําลายสรรพ
สิ่งแวดลอมบนโลกทั้งเจตนาและไมเจตนา ปญหายิ่งใหญที่มนุษยเผชิญหนาอยู คือ การเสื่อมเสีย
ของสภาวะแวดลอมธรรมชาติการเผชิญหนากันของมนุษยตางกลุมตางรัฐเพื่อตอสูชวงชิงทรัพยากร
ทั้งในกลุมผูพัฒนาและผูดอยพัฒนากลุมนายทุนกับกลุมผูไรทุน และสงครามระหวางประเทศทั้ง
สงครามเย็นและสงครามรอน
วิวฒนาการของมนุษย
    ั
         มีผูอธิบายถึงวิวัฒนาการของมนุษยหลายทานดวยกัน แนวคิดที่สนใจเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
ของมนุษยมีดังนี้
         วราคม ทีสุกะ กลาวถึงวิวัฒนาการของมนุษย จากการศึกษาคนคาวของนักวิทยาศาสตรได
สืบคนประวัติความเปนมาของมนุษยไดตามลําดับดังนี้
         1. มนุษยมีบรรพบุรุษที่วิวัฒนาการจากสัตวเลี้ยงลูกดวยนมชนิดหนึ่งในอันดับไพรเมตส
(Primates ) คือ ลิงเอปส ( Apes ) ลิงชนิดนี้มีชีวิตอยูเมื่อประมาณ 25 ลานปมาแลว ไดมีการคนพบ
ซากลิงเอปสบนเกาะเล็กๆ บริเวณทะเลสาบวิคเตอเรีย ในประเทศคีนยา ทวีปแอฟริกา เมื่อปค.ศ.
1930
4


          2. แรมพิทคุส ( Rampathecus ) เปนไพรเมตสอีกชนิดหนึ่งที่คนพบในประเทศอินเดียเมื่อป
                      ิ
ค.ศ.1939 ตอมาคนพบอีกในทวีปแอฟริกาและยุโรป ไพรเมตสชนิดนี้มีขากรรไกรและฟนใกลเคียง
กับมนุษยมาก เชื่อกันวามีอายุอยูเมื่อประมาณ 14 ลานปที่แลว
          3. ออสตราโลพิทิคุส ( Australopithecus ) คนพบที่แทนซาเนีย ทวีปแอฟริกาใต ตอมามีการ
คนพบอีกหลายแหง จากรูปรางของกระดูกสะโพก สันนิษฐานวายืดตัวตรงคลายมนุษย และเชื่อกัน
วามีการใชเครื่องมือในยุคนี้ คือ เครื่องมือที่เปนหิน สันนิษฐานวามนุษยออสตรา โลพิทิคุส มีความจุ
ของสมองประมาณ 860 ซีซี และมีชีวิตอยูประมาณ 2 ลานปถง 5 แสนปที่แลว
                                                               ึ
          4. โฮโมอีเรคตุส ( Homoerectus ) Homo ในภาษาละติน แปลวา คน Erectus แปลวายืนตัว
ตรง จึงหมายถึงวา คนที่ยืนตัวตรง ซากมนุษยเผาพันธุนี้คนพบซากที่ชวา เรียกวา มนุษยชวา ที่
คนพบในประเทศจีน เรียกวา มนุษยปกกิ่ง สันนิษฐานวามีชีวิตอยูประมาณ 7 – 4 แสนลานปมาแลว
เชื่อกันวา โฮโมรอีเรคตุสเปนมนุษยที่อยูในระหวางออสตราโลพิทิคุสกับมนุษยปจจุบันสามารถยืน
ตัวตรงกวามนษยออสตราโลพิทิคุสมีความจุของสมองประมาณ 1,075 ซีซี ( นอยกวามนุษยใน
ปจจุบัน ) เครื่องมือที่ใชเปนหินแตฝมือขอนขางหยาบแตก็ดีกวามนุษยออสตราโลพิคุศอีกอยางหนึ่ง
ที่สําคัญเพิ่มขึ้นมา คือ รูจักใชไฟแลว
          5. มนุษยนีแอนเดอรทัล ( Neanderthal Man ) ตั้งชื่อตามสถานที่คนพบแหงแรก คือ
สถานที่ที่พบตรั้งแรกในหุบเขาแหงหนึ่งในประเทศเยอรมนี ตอมามีคนพบตามถ้ําหลายแหงใน
ยุโรป จากหลักฐานตางๆ ที่พบทําใหเชื่อวา มนุษยนีแอนเดอรทัล รูปรางใหญ เปนนักลาสัตว และ
รูจักใชไฟเปนอยางดี นอกจากนี้เชื่อวามนุษยพวกนี้มีมันสมองใหญเทากับมนุษยปจจุบัน และรูจัก
ทําพิธีฝงศพ เพราะมักจะมีเครื่องมือตางๆ ฝงรวมกับศพที่คนพบ มีชีวิตอยูเมื่อประมาณ 1.5 แสน
ลานปแลว
          6. โฮโม เซเปยนส ( Homo Sapjens ) มีความจุมันสมอง 1,300 ซีซี นักมนุษยวิทยาเชื่อวา
แอนเดอรเดอรทัล ไดวิวัฒนาการมาเปนมนุษยปจจุบันที่เรียกวา โฮโม เซเปยนส (แปลวา มนุษยผู
ฉลาด )โฮโฒม เซเปยนส ยุคแรกที่สุด คือ มนุษยโครมาญอง ( Cro-Magnon Man ) คนพบที่ประเทศ
ฝรั่งเศส มีอายุอยูระหวาง 4-3.5 หมื่นป ซากมนุษยโฮโม เซเปยนส คนพบในที่หลายแหงทั้งในเอเชีย
แอฟริกา ยุโรป และออสเตรเลีย สันนิษฐานวาเปนนักลาสัตวเพราะพบอาวุธหลายอยาง เชน มีด ธนู
บางพวกเปนศิลปนเขียนภาพตามผนังถ้ํา เชน ในประเทศฝรั่งเศสและสเปน นักมนุษวิทยาเชื่อวา
มนุษยโครมาญองนี้เปนพวกแรกที่ออกจากถ้ํา อันเปนการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญของมนุษยชาติ
          ยุทธ ศักดิ์เดชยนต ไดกลาวถึงขั้นตอนของวิวัฒนาการของมนุษยไวดังนี้
          ๑. เอปส ( Apes ) ที่มีลักษณะเหมือนคน ไดแก Australopiticus และ Zinijanthropus
          ๒. คนที่มีลักษณะเหมือนเอปส ( Ape likke Man ) ไดแก Pithecanthropus และ
Sinanthropus
          ๓. มนุษยโบราณ ( Primitive Species of Man ) ไดแก Neanderthal Man
5


        ๔. มนุษยโบราณ Cro – Magnon

มนุษยยุคปจจุบัน ( Modern men )
          มนุษยปจจุบันที่ชื่อวา Homo sapiens sapiens ไดกระจายอยูบนโลกที่มีลักษณะทาง
ภูมิศาสตรที่แตกตางกัน จึงทําใหเกิดเผาพันธุแตกตางกัน คอรครัมและแมคคอลเลย ( Corkrum and
Mc Cauley 1965 อางถึงใน บพิธ จารุพันธ และนันทพร จารุพันธุ 2538 : 573 – 576 ) อธิบาย
เผาพันธุมนุษยปจจุบันดังนี้
                 
          ๑. ออสเตรลอยด ( Australoids ) โดยทั่วไปมีลักษณศรีษะยาว จมูกแบน หนาผากต่ํา ผม
เป น ลอน ขนตามตั ว มาก ผิ ว ดํ า เช น คนเมื อ งในทวี ป ออสเตรเลี ย เกาะทั ส มาเนี ย และชนเผ า
ตอนกลางทวีปเอเชียใต ( พวกบิลและเวดดา : Bhils and Vaddahs ประเทศศรีลังกา ) และทวีปแอฟ
ริกา ( คนปาในทะเลทรายคาลาฮาร ของทวีปแอฟริกาใต )
          ๒. คอเคซอย ( Caucasoids ) ดํารงชีวิตอยูในขอบเขตอบอุน ลักษณะของศรีษะมีรูปราง
ตางๆกัน แตที่เหมือนกันก็คือ มีจมูกโดง และผมเปนลอน ผิวสีน้ําตาล หรือสีออน เปนกลุมเมดิเตอร
เรเนียน ( Mediteraneans ) ในทวีปยุโรปตอนใตบริเวณชายฝงทะเลเมดิเตอรเรเดียนทางตะวันออก
ของเอเชียใตจนถึงอินเดีย ศรีษะยาวผิวน้ําตาล ผมสีน้ําตาลหรือดํา กลุมนอรคิด (Nordics ) ในยุโรป
เหนือ ศรีษะยาว ผิวสีบรอนซ ผิวขาว และกลุมอัลไพน ( Alpines ) อาศัยอยูบริเวณฝรั่งเศสตอนกลาง
ไปจนถึงรัสเซีย และปอรเซีย
          ๓. มองโกลอยด ( Mongolids ) ดํารงชีวิตในเขตอากาศหนาว ศรีษะกวางกระดูกแก็มเปน
โหนก จมูกไมโดงมาก ผมแข็งเหยียดตรง ผิวเหลืองหรือแดง ขนบนหนามีนอยอาศัยอยูบิเวณทวีป
เอเชียตะสันออกและทวีปอเมริกา แบงเปนกลุมอินเดียอเมริกา ( American Indians ) ซึ่งอพยพจาก
ทวีปเอเชียตะวันออกและทวีปอเมริกา แบงเปนกลุมอินเดียในทวีปอเมริกาใต กลุมเอสกิโม
( Eskimos ) ลักษณะทั่วไปคลายมาองโกลอยดทวีปเอเชียมากกวาอินเดียในทวีปอเมริกา อยูตาม
เมืองทางตอนเหนือของทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ และกลุมมองโกลอยด เอเชีย ( Asiatic
Mongoloids ) อยูทางฝงตะวันออกทวีปเอซีย ประชากรทางตอนใตมีการผสมผสานระหวางลักษณะ
มองโกลอยดกับคอเคซอยจึงเชื่อวาเปนมองโกลอยดที่แยกสายมาจากคออคซอย
          ๔. นิกรอย ( Negroids ) ดํารงชีวิตในเขตอากาศรอน ศรีษะยาว จมูกกวาง ริมฝปากหนา
หนาผากสูง ผมนุม ผิวดํา แบงเปนกลุมนิโกรแอหริกา ( African Negros ) อยูในเขตรอนทองทวีป
แอฟริกา เชนพวกไนล ( Nile Negros ) พวกอยูในปาตอนกลางทวีป ( negros )พวกบันตู ( Bantus )
ทางตะวันออกเฉียงใตของทวีป ดพวกคนปาซูลู ( zulu ) และพวกคนปาเผาแคฟเฟอร ( Kuffir ) กลุม
นิโกรตามชายฝงทะเล ( Oceanic Negros ) คนผิวดําตามเกาะในมหาสมุทรแปซิฟก และทาง
ตะวันออกของเกาะนิวกินี
6


         ๕. ปกมี่ ( Pygmies , Negritoes ) รูปรางแคระ มีความสูงไมเกิน 145 เซนติเมตร จมูกกวาง
ศรัษะกวาง อาศัยอยูตามปาเขตรอนในคองโก หมูเกาะอันดามัน ในอาวเบงกอลคาบสมุทรมาเลย
เกาะนิวกินี และเกาะฟลิปนส
         มนุษยแตกตางจากสัตวในดานการรูจักใชเครื่องมือมากกวาอยูที่ความแตกตางของรางกาย
เครื่องมือนั้นเทากับการยืดแขนมนุษยออกไป สัตวทั้งหลายมีเครื่องมือตามธรรมชาติเฉพาะที่เปน
สวนประกอบของรางกาย เชน มามีฟนสําหรับกินหญา และมีขาไวสําหรับวิ่งบนที่ราบ แตรางกาย
นของมนุษยไมจําเปนตองมีวิวัฒนาการถึงเพียงนั้น เพราะมนุษยสามารถปรับตัวไดโดยการสราง
เครื่องมือเพื่อปรับสภาพแวดลอม และความสามารถในการปรับตัวของมนุษยเชนนี้เองทําใหมนุษย
สามารถสรางเครื่องมือใชเพื่อปรับตัวใหอยุไดในที่อยุตางๆบนโลก มนุษยจึงสามารถอยูไดแทบทุก
หนทุกแหงบนโลก และการที่มนุษยมีถิ่นที่อยูอาศัยแตกตางกันนี้เองทําใหเกิดเชื้อชาติที่แตกตางกัน
ออกไปอยูในสวนตางๆ ของพื้นโลก ( ดูภาพคนเชื้อชาติตางๆซึ่งมีแหลงกําเนิดแตกตางกันไป )

ลักษณะสําคัญของวิวัฒนาการมนุษย

         วิวัฒนาการทางชีวภาพของมนุษย มีลักษณะที่สําคัญอยู 3 ประการ คือ ประการแรกมนุษย
สามารถยืดตัวตรงตั้งฉากกับพื้นและเดินดวยเทาเพียง 2 ขาง ทําใหมอทั้งสองวางอยุอะไรทําตางๆได
                                                                 ื
สะดวก ประการที่สอง การเปลี่ยนลักษณะของกะโหลกศรีษะและฟน ซึ่งทําใหเกิดลักษณะประการ
ที่สาม คือ ขนาดของมันสมองโตขึ้นและกลไกสวนตางๆก็ซับซอนขึ้นโดยเฉพาะสวนที่เกี่ยวกับการ
พุด
         นักวิทยาศาสตรประมาณวามนุษยมีวิวัฒนาการอยางเต็มที่ประมาณ 50,000 ปที่แลวมานี่เอง
และมนุษยพวกนี้สามารถใชเครื่องมือตางๆ กอนการพัฒนาขนาดของสมองไดเทากัน
         กลุมเมดิเตอรเรเนียน ( Mediteraneans ) ในทวีปยุโรปตอนใต บริเวณชายฝงทะเลเมดิเตอร
เรเดียนทางตะวันออกของเอเชียใตจนถึงอินเดีย ศรีษะยาว ผิวสีน้ําตาล ผมสีน้ําตาลหรือดํากลุมนอร
คิด ( Nordics ) ในยุโรปเหนือศรีษะยาว ผิวสีบรอนซ ผิวขาว และกลุมอัลไพน ( Alpines ) อาศัยอยู
บริเวณฝรั่งเศสตอนกลางไปจนถึงรัสเซีย และปอรเซีย
         มนุษยแตกตางจากสัตวในดานการรูจักใชเครื่องมือมากกวาอยูที่ความแตกตางของรางกาย
เครื่องมือนั้นเทากับการยืดแขนมนุษยออกไป สัตวทั้งหลายมีเครื่องมือตามธรรมชาติเฉพาะที่เปน
สวนประกอบของรางกาย เชน มามีฟนสําหรับกินหญา และมีขาไวสําหรับวิ่งบนที่ราบ แตรางกาย
นของมนุษยไมจําเปนตองมีวิวัฒนาการถึงเพียงนั้น เพราะมนุษยสามารถปรับตัวไดโดยการสราง
เครื่องมือเพื่อปรับสภาพแวดลอม และความสามารถในการปรับตัวของมนุษยเชนนี้เองทําใหมนุษย
สามารถสรางเครื่องมือใชเพื่อปรับตัวใหอยุไดในที่อยุตางๆบนโลก มนุษยจึงสามารถอยูไดแทบทุก
7


หนทุกแหงบนโลก และการที่มนุษยมีถิ่นที่อยูอาศัยแตกตางกันนี้เองทําใหเกิดเชื้อชาติที่แตกตางกัน
ออกไปอยูในสวนตางๆ ของพื้นโลก ( ดูภาพคนเชื้อชาติตางๆซึ่งมีแหลงกําเนิดแตกตางกันไป )
          ลักษณะทางกายภาพของมนุษย กําเนินใหมนุษย กําเนินใหมนุษยตองปรับตนอยางยิ่งยวด
เพื่อดํารงชีวิตอยูไดทามกลางชีวิตและสภาพแวดลอมอื่นๆ ทั่งโดยวิธีอยูรวมกัน ตอสูแยงชิงและการ
ถอยหนีจากสิ่งแวดลอมในธรรมชาติรอบๆตัว จนถึงบัดนี้ มนุษยสามารถดํารงรักษาเผาพันธุ ตลอด
ทั้งแสดงพลังอํานาจเหนือธรรมชาติแวดลอมบางสวนไดดีอันเปนผลใหสามารถเลือกสรรและ
พัฒนาชีวิตทางกายภาพและทางสังคมเขาสูระบบชีวิตที่ดีที่สุด เมื่อพิจรณาเปรียบเทียบลักษณะทาง
กายภาพของมนุษยกับสิ่งมีชีวิตอื่น ตลอดทั้งผลที่นําไปสูการปรับตนเพื่อการดํารงอยูบนโลกพบ
โลกพบวา มนุษยมีทั้งลักษณะเดนที่สงเสริมใหเกิดพลังอํานาจและลักษณะดอยอันออนแอของ
มนุษย
          ๑. ลักษณะเดนทางกายภาพที่สงเสริมใหเกิดพลังอํานาจสรางสรรคมหลายประการ
                                                                            ี
             ๑.๑ มนุษยนับวาเปนสัตวที่มีสมองขนาดใหญตามสัดสวนของรางกาย น้ําหนักสมอง
มนุษยปจจุบันประมาณ 1,600 มิลลิลิตร มนุษยจึงเปนสัตวที่คิดเปนและใชปญญาใหเกิดประโยชน
ในการดํารงชีวิตธํารงรักษาเผาพันธุของตน และมีอานาจเหนือสิ่งมีชีวิตอื่นบนโลกสิ่งประดิษฐตางๆ
                                                    ํ                                         
เปนผลผลิตของปญญาที่นํามาสรางเสริมใหการดํารงชีวิตของมนุษยสะดวกสบายขึ้น หรือในทาง
ตรงกันขามอาจนําไปสูความเสื่อมโทรมของธรรมชาติแวดลอมและหรือมนุษยเองก็ได
             ๑.๒ มนุษยมีนิ้วมือหานิ้วที่มีความคลองตัวในการหยิบจับสิ่งตางๆ แมสิ่งของขนาดเล็ก
จิ๋วอยางเข็มซึ่งเข็มสงเสริมใหสามารถประดิษฐผลงานที่มีความประณีตละเอียดออนทั้งใหญเล็ก
โดยเฉพาะผลงานเชิงศิลปะมนุ ษยใ ชศักยภาพทั้งสองประการนี้พัฒนาสิ่งประดิษ ฐสําหรับการ
ดํารงชีวิตไดอยางมีคุณภาพ จึงสรางความภูมิใจและแสดงความสามารถ จากคํากลาว “ มนุษยทํา” (
man made )
             ๑.๓ ตําแหนงดวงตาทั้งสองขางของมนุษยอยูดานหนา สามารถมองเห็นชัดเจนเปนสาม
มิติและเห็นไดกวางไกล เมื่อมีการทรงตัวขึ้นในแนวตั้ง ลักษณะการมองเห็นดังนี้ มนุษยไดปรับ
สายตาเพื่อมองและสรางสุนทรียภาพทางสายตา โดยอาศัยลักษณะทางชีวภาพสองประการขางตน
มารวมสรางสรรคจนเกิดเปนผลงานอารยธรรมของมนุษยชาติขึ้นมา
             ๑.๔ มนุษยมีการทรงตัวแนวตั้งจึงเกิดความคลองแคลวในการเคลื่อนที่รอบตัวเมื่อเทาทั้ง
สองวางเวาจากการทําหนาที่ในการทรงตัว จึงกลายเปนมือที่มีคุณภาพในการสรางผลงานหรือ
สิ่งประดิษฐทั้งปวง
             ๑.๕ มนุษยมีความตองการทางเพศเมื่อยางเขาสุวัยหนุมสาวและความตองการทางเพศนี้
เกิดขึ้นไดตลอดเวลาจนถึงวัยชรา ในขณะที่สัตวอื่นมีความตองการทางเพศในชวงเวลาเจริญพันธที่
ยาวนานตอเนื่อง แมวามนุษยสามารถมีลุกออนไดคราวละหนึ่งก็ตาม
8


           ๑.๖ มนุษยเปนสัตวสังคม มนุษยนั้นมีความออนแอทางชีวภาพหลายประการดังจะกลาว
ตอไปจึงจําเปนและปรารถนาที่อยูรวมกันเปนกลุมเหลามากกวาอยูโดดเดี่ยวซึ่งจะสามารถผดุงรักษา
ชีวิตของตนและเผาพันธุไวใหไดทามกลางธรรมชาติแวดลอมที่มีอันตรายและไมปลอดภัยนักผล
ของการรวมตัวทางกายภาพไดนําไปสูการระดมปญญาภายในกลุมสรางแบบแผนและระเบียบชีวิต
รวมกัน จนเกิดระบบชีวิตใหมที่เหนือกวาเปนธรรมชาติ อิทิ สัญลักษณ เชน ภาษา ขนบธรรมเนียม
ประเพณี และประดิษฐกรรมสําหรับการดํารงชีวิตทางสังคมของมนุษย
           ๑.๗ มนุษยมีชวงชีวิตที่ยาวนาน อายุขัยเฉลี่ยของมนุษยประมาณ 58 ป มนุษยจึงมีชวง
โอกาสดีที่มีระยะเวลามากพอที่จะสรางสมภูมิปญญา และกระบวนการเรียนรูทางสังคม เพื่อใหเกิด
การสืบทอดและสานสรางวิถีชีวิตที่ดียิ่งขึ้นของมนุษยรุนลูกหลานตอๆมา ความสามารถในการ
ปรับตัวดานการเรียนรูของมนุษยเชนนี้ สัตวอื่นไมอาจปรับตัวไดเชนมนุษย
         ๒. ลักษณะออนแอทางกายของมนุษย มีหลายประการจนอาจทําใหชีวิตและเผาพันธุของ
มนุษยชาติสูญสิ้นโลกนี้ไดในทามกลางธรรมชาติที่แกรงและโหดราย แตอยางไรก็ตาม มนุษยไดใช
คุณลักษณะทางกายภาพที่ดีทั้งปวงมาลบเลือนและขจัดลักษณะดอยกวาจนแทบจะหมดสิ้น กลาวคือ
           ๒.๑ ขนาดสรีระที่ไมใหญโตนัก และการมีสรีระภายนอกที่ออนนุมเปราะบางดังเชน
ผิวหนังออนบาง เสนผม และเสนขนไมเหนียวและหนา เล็บเปราะ ฟนไมแข็งแรงและคมมากพอ
ลักษณะของสรีระเชนนี้เปนจุดออนของรางกายในการอยูรอดเนื่องจากไมสามารถทนทานตอเขี้ยว
เล็บและวัตถุแข็งคมทั้งปวง แมสภาวะที่รอนหรือหนาวเกินไป อีกทั้งพละกําลังที่ไมแข็งแรงพอจะ
ตอสุกบสัตวใหญไดโดยลําพัง
       ั
           ๒.๒ การเปลงเสียงตามสุญชาตญาณจณะมีความรูสึกตางๆ แมยามโกรธเกรี้ยวก็ไม
โกญจนาทความไวตอกลิ่นต่ํา การไดยินเสียงไมสมบรูณสูงสุด การเครื่อนไหวดวยการเดิน และการ
วิ่งไมรวดเร็วเชนสัตวอื่นคุณลักษณะทางชีวภาพที่ออนแอเหลานี้เปนจุดออนในการดํารงอยูของ
ชีวตมากทีเดียว
    ิ
           ๒.๓ สภาวะการเจริญพันธุของมนุษยเปนอุปสรรค

๒. ชีวิตและกําเนิดชีวิตในทัศนะของศาสนาพุทธ
                ชีวิต คือความเปนอยูขององคประกอบที่เรียกวา ขันธ ๕ อันประกอบดวย รูป เวทนา
สัญญา สังขาร และวิญญาณ ที่มาประกอบกันเขาเปนสิ่งที่บัญญัติเรียกวา สัตว บุคคล เรา เขา และการ
มีชีวิตนั้นเริ่มนับตั้งแตปฏิสนธิในครรภมารดา และอาจจะสิ้นสุดลงขณะใดขณะหนึ่ง ในชวงเวลาที่
แตกตางกัน เช น มีชีวิ ตอยูในครรภห ลังจากปฏิสนธิไ มกี่วัน หรือหลั งคลอด ๑ วัน ๑ เดื อน ๑ ป
หรือ…๒๐ ป…๑๐๐ ป(บุญมี แทนแก็ว, ๒๕๔๑: ๒๗ - ๒๘)และในชวงที่ยังมีชีวิตอยูยอมตองการมี
ชีวตที่ดีที่สด ซึ่งในทัศนะของพระพุทธศาสนา ชีวิตที่ดีท่ีสุดคือ ชีวิตที่แสวงหาความจริงที่ทําใหหลุด
   ิ         ุ
พนจากการเวียนวายตายเกิด แตในความเปนจริงจะมีมนุษยสักกี่คนที่พยายามแสวงหาความจริงนั้น
9


สวนมากยังตองการแสวงหาความสุข ลาภ ยศ สรรเสริญ มากกวา และพยายามที่จะหลีกเลี่ยงความ
เสื่อมทั้งหลาย มีความเลื่อมลาภ เสื่อมยศ นินทา อันเปนทางมาแหงทุกข ทั้งนี้เพราะ ไมเขาใจวาคุณ
คาที่แทจริงของชีวิตนั้นคืออะไรนั่นเอง
             การกําเนิดของชีวิต ทางพุทธปรัชญาเรียกวา โยนิ คือกําเนิดหรือที่ที่ปฏิสนธิวิญญาณ
อาศัยเกิด ชาติ คือการเกิด ทั้ง ๒ คํานี้มีความหมายตางกันวา โยนิ หมายถึงการกําเนิด, แบบ หรือ
ชนิดของการเกิดของสัตว สวนคําวา ชาติ นั้น มีความหมายกวางออกไปอีกคือ หมายถึงการเกิด
ชนิด เหลาและปวงชนแหงประเทศเดียวกัน ในมหาสีหนาทสูตร พระพุทธองคไดตรัสกับพระสารี
บุตรเกี่ยวกับโยนิ ไวดังนี้
            สารีบุตร กําเนิด ๔ ชนิดนี้ กําเนิด ๔ ชนิดไหนบาง คือ กําเนิดอัณฑชะ กําเนิดชลาพุชะ
กําเนิดสังเสทชะ และกําเนิดโอปปาติกะกําเนิด กําเนิดอัณฑชะคืออะไร คือเหลาสัตวผูเจาะทําลาย
เปลือกไขแลวเกิด นี้เราเรียกวา กําเนิดอัณฑชะ กําเนิดชลาพุชะคืออะไร คือเหลาสัตวผูเกิดในครรภ
นี้เราเรียกวา กําเนิดชลาพุชะ กําเนิดสังเสทชะคืออะไร คือเหลาสัตวผูเกิดในปลาเนา ซากศพเนา
ขนมบูด น้ําครําหรือเถาไคล นี้เราเรียกวา กําเนิดสังเสทชะ กําเนิดโอปปาติกะ คืออะไร คือเทวดา
สัตวนรก มนุษยบางจําพวกและเปรตบางจําพวก นี้เราเรียกวา กําเนิดโอปปาติกะ
             พระพุทธดํารัสขางตนนั้น บงชัดวา กําเนิดของสัตวหรือสิ่งมีชวตนั้นมี ๔ ทางคือ
                                                                          ีิ
             ๑. ชลาพุชะ หมายถึง การเกิดของสิ่งมีชีวิตแบบคลอดออกมาเปนตัวแลวคอยๆ โตขึ้น
ไดแก มนุษย เทวดาชั้นต่ํา (หมายถึง เทวดาชั้นจาตุมหาราชิกาที่เปนภุมมัฏฐเทวดาคือ เทวดาที่อยูบน
พื้นดิน ไมมีวิมานที่ลอยอยูในอากาศเปนที่อยู ซึ่งมีชื่อวา วินิปาติกอสุรา และเวมานิกเปรต) สัตว
เดรัจฉานบางพวก เปรต (เวนนิชฌามตัณหิกเปรต คือเปรตจําพวกที่ถูกไฟเผาอยูเสมอ) และอสุรกาย
             ๒. อัณฑชะ หมายถึง การเกิดของสิ่งมีชีวิตที่ตองอาศัยเกิดจากทองมารดา แตมีฟอง
หอหุม คลอดออกมาเปนไขกอนแลวจึงฟกออกมาเปนตัวในภายหลัง ไดแก มนุษย เทวดาชั้นต่ํา
สัตวเดียรัจฉาน เปรต (เวนนิชฌามตัณหิกเปรต) และอสุรกาย
             ในรูปสังคหวิภาค กลาววา ชลาพุชกําเนิดและอัณฑชกําเนิด ทั้ง ๒ รวมเรียกวา คัพภเสย
ยก-กําเนิด เพราะตองอาศัยเกิดในครรภมารดาเหมือนกัน ตางกันเพียงวา ออกมาเปนตัวหรือออกมา
เปนฟองกอนแลวจึงแตกเปนตัวภายหลัง ซึ่งเกิดไดเฉพาะในกามภูมิเทานั้น๑๑
             ๓. สังเสทชะ หมายถึง การเกิดของสิ่งมีชีวิตแบบอาศัยที่เย็น ชื้นหรือแฉะ สิ่งบูดเนา เกิด
เชน หนอน (กิมิชาติ) แมพวกราและเชื้อโรคก็รวมอยูในสังเสทชะกําเนิด ไดแก มนุษย เทวดาชั้นต่ํา
สัตวเดียรัจฉาน เปรต (เวนนิชฌามตัณหิกเปรต) และอสุรกาย
            ๑. โอปปาติก ะ หมายถึ ง การเกิ ด ของสิ่งมี ชีวิตแบบไม ตองอาศัยมารดาบิ ดาเป นผู ใ ห
กําเนิด ไดแก มนุษยตนกัปป (มนุษยยุคแรก) เทวดา ๖ ชั้น (ยกเวนเทวดาชั้นต่ํา) สัตวเดียรัจฉาน
เปรต (รวมทั้งนิชฌามตัณหิกเปรต) และอสุรกาย
10


                             วิวัฒนาการของชีวิตใหมในครรภมารดาในมุมมองทางพระพุทธศาสนา

                เมื่อเราทราบกันแลววาสัตวที่มาเกิดในครรภมารดาในลักษณะเปนวิญญาณ วิญญาณ
เขาถือปฏิสนธิในครรภมารดา ครรภมารดาสวนที่เล็ก ก็คือมดลูก (ชลาพุ)                               ในมดลูกมีไข
(OvumX ) ของมารดา ผสมกับน้ําเชื้อ (Spem) ของบิดาไดแลว
                ปปญจสูทนี อธิบายวา เมื่อบิดามารดามีเพศสัมพันธกันแลงครั้งหนึ่ง ภายใน ๗ วัน
นั้นเอง จะเปนชวงที่มีวิญญาณเขามาถือปฏิสนธิ หากเลย ๗ วันนั้นไป ไขที่ผสมเชื้อหาไมมี
วิญญาณ ถือปฏิสนธิ ก็หมดสภาพ
                เมื่อวิญญาณปฏิสนธิแลว ก็จะมีรูป ๓ อยางเกิดขึ้นพรอมกัน คือ เคาโครงรางกาย
(กาย) , สมอง (วัตถุ)                 และเพศ (เพศหญิงและเพศชาย) วิญญาณที่มาปฏิสนธินี้เรียกวา
ปฏิสนธิวิญญาณ (วิญญาณที่ทําหนาที่ใหกําเนิดชีวิต) เมื่อทําหนาที่ใหปฏิสนธิและดับไปเปน
ป จ จั ย ให เ กิ ด ภวั ง ควิ ญ ญาณสื บต อภวัง ควิญ ญาณนี้จ ะทํา หน า ที่ ห ลอเลี้ย งสร า งสรรชีวิ ต ใหมใ ห
วิวัฒนาการขึ้นตามลําดับ
                ในอินทกสูตร พระพุทธเจาไดตรัสถึงวิวัฒนาการของชีวิตในครรภมารดาไว ดังนี้
                 “รูปนี้เปนกลละกอน จากกลละเปนอัมพุทะ จากอัมพุทะเกิดเปนเปสิ จากเปสิเกิดเปน
ฆนะ จากฆนะเกิดเปน ๕ ปุม ตอจากนั้นก็มีผม ขนและเล็บ (เปนตน) เกิดขึ้น มารดาของสัตว
ในครรภบริโภคขาวน้ําโภชนาหารอยางใด สัตวที่อยูในครรภมารดาก็เลี้ยงอัตตภาพอยูดวยอาหาร
อยางนั้นในครรภนั้น”
                พระสูตรอีกสูตรหนึ่ง ที่พระพุทธเจาไดตรัสไววาดวยลําดับของชีวิตในครรภมารดา
ซึ่งเราไปพบคําบาลีเปนคาถาวา
ปมํ กลลํ โหติ กลลา โหติ อพฺพุทํ
อพฺพุทา ชายเต เปสิ เปสิ นิตฺตตฺตตี ฆโน
ฆนา ปสาขา ชายนฺติ เกสา โลมา นขาป
                นี้คือคําอธิบายดวยลําดับการเกิดเปนระยะ ๆ ทีละชวงสัปดาห หรือชวงละเจ็ดวัน ๆ
ลําดับแรกที่สุดก็คือ เปน ปมํ กลลํ เปนกลละกอน
                อรรถกถาสารั ต ถปกาสิ นี ไ ด ข ยายความพระพุ ท ธพจน นี้ ว า ระยะแรกเป น กลละนั้ น
หมายความวา สัตวที่เกิดในครรภมารดาอวัยวะทุกสวนมิใชเกิดพรอมกันทีเดียว แทจริงแลวคอย ๆ
วิวัฒนาการขึ้นทีละนอยตามลําดับโดยระยะแรกอยูในสภาพเปน “กลละ” กอน กลละคือน้ําใส มี
สีคลายเนยใส ขนานเทาหยาดน้ํามันงา ซึ่งติดอยูที่ปลายดายที่ทําจากขนแกะแรกเกิด ๓ เสน ฎีกา
อภิธัมมัตถวิภาวินี อธิบายเสริมวา “กลละนั้น มีเคาโครงของกายภาพอยูดวยแลว ๓ อยาง คือ
กายทสกะ (โครงสรางทางรางกาย) วัตถุทสกะ (โครงสรางทางสมอง) และภาวะทสกะ
11


(โครงสรางกําหนดเพศ)              โครงสรางทั้ง ๓ นี้ ปรากฏรวมอยูแลวในกลละ สวนกลละจะมี
ลักษณะเปนก็อนกลมใส มีขนานเทาหยดน้ํามันงาซึ่งอยูติดที่ขนแกะแรกเกิด ๑ เสน”
           จากกลละมาเปนอัพพุทะ (จากน้ําใสมาเปนน้ําขุนขน) อรรถกถาอธิบายวา ครั้นเปน
กลละได ๗ วัน อัพพุทะนั้นจะวิวัฒนาการเปนน้ําขุนขน มีสีคลายน้ําลางเนื้อ เรียกวา “อัพพุทะ”
           จากอัพพุทะมาเปนเปสิ (จากน้ําขุนขนมาเปนชิ้นเนื้อ) อรรถกถาอธิบายวา ครั้นเปนอัพ
พุทะได ๗ วันแลว อัพพุทะนั้นก็วิวัฒนาการแข็งตัวเปนชิ้นเนื้อสีแดง มีลักษณะคลายเนื้อแตงโม
บด
           จากเปสิมาเปนฆนะ (จากชิ้นเนื้อมาเปนก็อน) อรรถกถาอธิบายวา ครั้นเปนชิ้นเนื้อได
๗ วัน ชิ้นเนื้อก็วิวัฒนาการแข็งตัวขึ้นอีกเปนก็อนเนื้อ ทรงกลมรีคลายไขไก
            จากก็อนเนื้อก็เกิดเปนสาขา อรรถกถาอธิบายวา ในสัปดาหที่ ๕ ก็อนเนื้อขึ้นก็เกิดเปน
ปุม ๕ ปุม เรียกวา “ปญจสาขา” ปุม ๕ ปุมนี้ภายใน ๗ วันนั้น ก็วิวัฒนาการขึ้นเปนมือ ๒ ขาง
เทา ๒ ขาง และศีรษะ ในสัปดาหที่ ๖ เคาโครงตา (จักขุทสกะ) ก็เกิด จากนนั้นสัปดาหที่ ๗
เคาโครงลิ้น (ชิวหาทสกะ) ก็เกิด รวมเวลาตั้งแตแรกถือปฏิสนธิจนกระทั้งถึงเวลาเกิดอวัยวะ คือ
ตา หู จมูก ลิ้น ทั้งสิ้น ๙ สัปดาห (๖๓ วัน)
           จากสัปดาหที่ ๙ ไปถึงสัปดาหที่ ๔๒ องคาพยพตาง ๆ เกิดขึ้น คือ ผม ขน เล็บ
หนัง เนื้อ เอ็ น กระดูก เยื่ อในกระดูก มาม หัวใจ ตับ พังพืด ไต ปอด ไสใหญ ไสนอย
(อาหารใหม อาหารเกา)
           ในขณะที่องคาพยพตาง ๆ เกิดขึ้นอยูนั้น สวนตาง ๆ ของรางกายก็เกิดขึ้นดวยพรอม
กันดังนี้
           สวนที่เกิดเปนของเหลว (อาโปธาตุ) ไดแก น้ําดี เสลด น้ําเหลือง เหงื่อ มันขน เปลว
มัน น้ําลาย น้ํามูก ไขขอ ปสสาวะ
           สวนที่เปนพลังงาน (เตโชธาตุ) ไดแก ไฟธาตุทํารางกายใหอบอุน ซึ่งตอไปจะแปร
สภาพเปนไฟยอยอาหาร ไฟทํารางกายใหทรุดโทรม ไฟที่ทํารางกายใหกระวนกระวาย (เชน รอน
ใน เปนตน)
           สวนที่เปนกาซ (วาโยธาตุ) ไดแก ลมพัดซานไป ลมพัดขึ้นเบื้องบน ลมพัดลงเบื้องต่ํา
ลมในทอง ลมพัดในไส ลมพัดไปมาตามตัว ซึ่งตอไปจะแปรสภาพเปนลมหายใจ
           ๔. ความเปนอยูในครรภของมารดา ตามที่ปรากฏในอินทกสูตร วา มารดาของสัตวใน
ครรภบริโภคขาวน้ําโภชนาการอยางใด สัตวผูอยูในครรภมารดาก็เลี้ยงดวยอัตภาพอยางนั้นใน
ครรภ อรรถาธิบายเพิ่มเติมวา สัตวที่อยูในครรภมารดาบริโภคอาหารทางก็านสะดือ (นาภิโต
อฏฐิตนาโฬ) กลาวคือ ก็านสะดือจะติดเปนอันเดียวกันกับแผนทองของมารดา ก็านสะดือนั้นมี
ลักษณะเปนรูปพรุนขางในเหมือนก็าน รสอาหารที่มารดากินเขาไปแลวแผซานไปทางกานสะดือ
สัตวในครรภก็เลี้ยงตนเองดวยรสอาหารนั้น
12


            สรุปแลวคนเราอยูในครรภมารดา ๔๒ สัปดาห คิดเปนเดือนได ๑๐ เดือน คิดเปนวัน
ได ๒๙๔ วัน ซึ่งตลอดระยะเวลาเทานี้ ชีวิตเราเกิดและวิวัฒนาการสมบูรณเต็มที่พรอมที่จะ
ออกมาลืมตาดูโลกไดกลาวถึงการเกิด วิวัฒนาการของชีวิตใหมในครรภมารดาและความเปนอยูใน
ครรภมารดาในทัศนะของพระพุทธศาสนามาแลว
            การเกิด ในวันที่ ๑๔ ของแตละเดือน ในรางกายของหญิงที่ยังมีประจําเดือนจะมีไขสุก
พรอมที่จะผสมกับสเปอรมหลุดออกมาจากรังไข ไขนี้เล็กมากมีขนาด ๐. ๑๓๕ มิลลิเมตร ตัวไข
มีเยื่อบาง ๆ ซึ่งเปนเซลลรูปกรวยคลุมอยู ภายในไขมีโครโมโซมบอกเพศทารกและยีนอยู ยีนนี้มี
ขนาดเล็กมากประมาณ ๐.๐๐๐๐๒ มิลลิเมตร และมีความสําคัญมากเพราะจําทําหนาที่สืบลักษณะ
ของบรรพบุรุษมายังลูกหลานตอไป ลักษณะดังกลาวนั้น ก็คือสีผมลักษณะของหนาตา ศรีษะ จมูก
รวมทั้งนิสัยใจคอเปนตน ยีนนี้มีอยูในโครโมโซม
โครโมโซมมีจํานวนจํากัด คือ มี ๒๓ คู รวมทั้งโครโมโซม X หรือโครโมโซม Y สําหรับบอก
เพศดวย
            กอนที่ไขกับสเปอรมจะผสมกัน ตางก็ลดจํานวนโครโมโซมเหลือครึ่งหนึ่งภายหลังผสม
กันแลวจึงรวมกลับเปน ๒๓ คูเทาเกา ถารวมเปน ๒๒ คู + XY จะเปนชาย ถาเปน ๒๒ คู
+XX ลูกจะเปนหญิง
            เมื่อสเปอรมเขาไปในชองคลอดแลว จะวายทวนขึ้นไปในโพรงมดลูก ไปที่หลอดมดลูก
ดานนอก ทั้งนี้กินเวลาประมาณ ๖๕-๗๕ นาที การผสมไขจะเกิดขึ้นที่นั่นโดยสเปอรม ๑ ตัว
จะใชหัวไซทะลุเยื่อหุมเซลลของไขเขาไปไดและทิ้งหางไวภายในนอกไข
            จากนั้นไขที่ผสมแลว (Ferltillzed Ovum = Zygote) จะลอยกลับไปโพรงมดลูก
ระหวางนี้ไขจะเปลี่ยนแปลงรูปรางและเซลลภายในจากสภาพที่ผสมแลวเปนสภาพมีผิวขรุขระ
คลายนอยหนา (Morula) ประมาณวันที่ ๖ จะแปรสภาพเปนตัวออน (Embeyo) ซึ่งจะวิวฒนาการ      ั
ตอไป ตัวออนขั้นนี้ จะมีสภาพเนื้อเยื่อของเซลลตรงกลางเปนรูกลวงซึ่งพรอมแลวที่จะฝงตัวลงใน
เยื่อบุมดลูกที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อการตั้งครรภ ตัวออนจะพัฒนาตัวเองอยู ๖ สัปดาห และสิ้นสุด
เมื่ออายุ ๒ เดือน เนื้อเยื่อเซลลของตัวออนแบงออกไดเปน ๓ ชั้น คือ
             ๑. ชั้นในที่สุด (Endoderm) ชั้นนี้จะเจริญเติบโตตอไปเปนเยื่อบุลําไส เยื่อบุทางเดิน
ของระบบหายใจ กระเพาะปสสาวะ ทอปสสาวะ ตอมไทรอยด และตอมไทมัส
            ๒. ชั้นกลาง (Mesoderm) ชั้นนี้จะเจริญเติบโตเปนกลามเนื้อ กระดูก เสนเลือด
กระดูกออน เอ็นตาง ๆ แกนกลางของฟน ไต ทอไต รังไข (เพศหญิง) ลูกอัณฑะ (เพศชาย)
หัวใจ หลอดโลหิต ทอน้ําเหลือง เยื่อหุมหัวใจและเยื่อหุมปอด
            ๓. ชั้นนอกสุด (Ectoderm) ชั้นนี้จะเจริญเติบโตเปนผิวหนัง ผม ขน เล็บ ตอมน้ํามัน
ตอมน้ําลาย ตอมน้ํามูก เคลือบฟน ระบบประสาท รวมทั้งเนื้อสมอง
13


           หลังจาก ๒ เดือนนี้แลว ขณะยางเขาเดือนที่ ๓ เซลลอวัยวะจะเจริญเติบโตและมี
รูปรางพอที่จะมองเห็นคราว ๆ ไดวา เปนรางกายมนุษย (Fetus)
           นับจากเดือนที่ ๓ ถึงคลอด (คือสัปดาหที่ ๘ หลังจากมีสภาพเปนตัวออนแลว) ทารกก็
จะเจริญเติบโตขึ้นเรื่อย ๆ อวัยวะตาง ๆ จะมีวิวัฒนาการไปตามลําดับจนครบ ๙ เดือน หรือ ๔๐
สัปดาห หรือ ๒๘๐ วัน จึงจะคลอด
           ๒. วิวัฒนาการของชีวิตใหมในครรภมารดา ไขตั้งแตผสมกับสเปอรมจนอายุได ๒
สัปดาห เรียกวา ไข (Ovum)
           ระหวาง ๓-๘ สัปดาห                    เรียกวา ตัวออน (Embryo)
           ระหวาง ๘ สัปดาห ถึงคลอด             เรียกวา ทารก (Fetus)
           ที่กลาวมาทั้งหมดนี้ คือ วิวัฒนาการอยางคราว ๆ ที่เปลี่ยนสภาพมาตามลําดับคือ จาก
ไข เปนตัวออน และจากตัวออนเปนทารก นักชีววิทยาไดศึกษาและใหรายละเอียดเกี่ยวกับอวัยวะ
และน้ําหนักตัวของทารกอีกดังตอไปนี้
           สัปดาหที่ ๓ เริ่มมีทางเดินอาหาร ตอไปมีหัวใจเกิดขึ้น และมีตุมแขนขา และระบบ
ประสาท เริ่มพัฒนาขึ้น โดยชั้นเซลลกอพันธดานอก หรือผิวหนังของตัวออนจะหนาขึ้นตามลําดับ
มีเสนกลางและกลายเปนกลีบยาว ๒ กลีบ กลีบยาว ๒ กลีบนี้แหละจะทําใหเกิดมีรองขึ้น ๑ รอง
จากดานหัวไปดานทาย รองนี้จะปดกลายเปนหลอดขึ้นมา ๑ หลอด เมื่อกลีบทั้ง ๒ แตะกัน
และผสมผสานเปนเนื้อเดียวกันโดยเริ่มจากเอวเรื่อยไปจนถึงปลายทั้ง ๒ ขาง ยอดหลอดจะโตขึ้น
เปนสมอง และใยประสาทเริ่มเติบโตออกจากสมองและไขสันหลังที่เพิ่งจะมีขึ้นมา
           สัปดาหที่ ๔ ตัวยาว ๑ เซ็นติเมตร มีตุมตา หู จมูก แก็ม เริ่มเปนรูปรางขึ้นมา
           สัปดาหที่ ๕-๖ ตัวยาว ๑ เซ็นติเมตรเศษ ศรีษะและรางกายมีขนาดเทา ๆ กัน กาน
สมองเติบโตขึ้นมาก มือทั้ง ๒ ขาง มีนิ้วมือใหเห็นราง ๆ แตเทายังมีลักษณเหมือนใบพาย
           สัปดาหที่ ๖-๗ ตัวยาว ๒-๓ เซนติเมตร นิ้วมือกําลังพัฒนาขึ้นมา แตแขนยังสั้น
           สัปดาหที่ ๘ ตัวยาว ๔ เซนติเมตร ตัวงอ มองดูศรีษะใหญกวาตัว เพราะสมองเริ่ม
เจริญ อวัยวะสืบพันธุภายนอกเจริญขึ้น แตยังแยกเพศไมได
           สัปดาหที่ ๙ ตัวยาว ๕ เซนติเมตร อวัยวะเพศเริ่มวิวัฒนาการขึ้น
   สัปดาหที่ ๑๐-๑๑ ตัวยาว ๖ เซนติเมตร หัวใจเปนรูปรางสมบูรณแลว เซลล เลือดขาวที่ทํา
หนาที่ตอตานเชื้อโรคกําลังกอตัวขึ้นในปุมน้ําเหลือง ตายังปดอยู หนาผากใหญและกลม จมูกเล็ก
และบี้ กลามเนื้อทํางานแลวที่ใตผิวหนัง ริมฝปากเปดและปด หนาผากยน คิ้วเลิกและศรีษะสั่นได
           สัปดาหที่ ๑๒ ตัวยาว ๙ เซนติเมตร หนัก ๑๕ กรัม มีนิ้วมือ นิ้วเทามองเห็นชัดเจน
และมีเล็บออน ๆ เริ่มแยกเพศได
14


            สัปดาหที่ ๑๖ ตัวยาว ๑๖ เซนติเมตร หนัก ๑๑๐ กรัม แยกเพศไดชัดเจน มีการ
เคลื่อนไหวของระบบการหายใจและการกลืนเริ่มมีขนออนขึ้น ผิวหนังแดง ดิ้นไดจนมารดารูสึก
ทันที (ถาฟงจะไดยินเสียงหัวใจเด็กเตน)
            สัปดาหที่ ๒๐ ตัวยาว ๒๕ เซนติเมตร หนัก ๓๐๐ กรัม ศรีษะยังใหญอยู ทองเล็กลง
มีผมเพิ่มขึ้น
            สัปดาหที่ ๒๔ ตัวยาว ๓๐ เซนติเมตร หนัก ๖๓๐ กรัม มีขนออนขึ้นทั่วตัว มีขนตา
และขนคิ้ว หนังตาแยกจากกัน ผิวหนังยนเหี่ยวรูปรางดีขึ้น
            สัปดาหที่ ๒๘ ตัวยาว ๓๕ เซนติเมตร หนัก ๑.๐๔๕ กรัม (สามารถเลี้ยงรอดได ถา
คลอดออกมา แตมีจํานวนนอยมาก)             ผิวหนังมีสีแดง ยน และมีไขปกคลุมอยูเต็ม ลืมตาได
(อัณฑะลงมาอยูในถุง- เพศชาย) รองเสียงคอย
            สัปดาหที่ ๓๒ ตัวยาว ๔๐ เซนติเมตร หนัก ๒,๐๐๐ กรัม ลักษณะคลายคนแก และ
คลายเด็กปลายสัปดาหที่ ๒๘
            สัปดาหที่ ๓๖ ตัวยาว ๔๕ เซนติเมตร หนัก ๒,๕๐๐ กรัมขึ้นไป ผิวหนังมีสีชมพู ถือ
วาครบกําหนดคลอดแลว รองทันทีเมื่อคลอด และลืมตายกมือยกเทาปดไปปดมา สวนมากถาย
ปสสาวะขณะที่รอง ทําปากดูดได และถาใหน้ํารับประทานจะดูดได มีขนเล็กนอยบริเวณไหล มี
ไขติ ด ตามตั ว โดยเฉพาะตามข อ พั บ เล็ บ ยาวพั น นิ้ ว เด็ ก ผู ช ายอั ณ ฑะจะลงมาอยู ใ นถุ ง อั ณ ฑะ
เด็กผูหญิงแคมอวัยวะเพศทั้ง ๒ ขางจะติดกัน

๓. องคประกอบของชีวิต

            ชีวิตที่สามารถดํารงอยูไดดวยสวนประกอบที่สําคัญ ๒ สวนคือ กายกับใจ หรือจิต ถา
หากปราศจากสิ่งใดสิ่งหนึ่งแลว ไมสามารถที่จะดํารงอยูไดดวยตัวของมันเอง แตเปนการอาศัยซึ่ง
กันและกันจึงดํารงอยูได จึงใครที่จะเสนอแนวคิดเหลานี้
สมพร สุขเกษม (๒๕๔๒: ๔๕ - ๕๑) ไดกลาวถึงองคประกอบของชีวตไวสรุปไดดังนี้
                                                                      ิ
            ๑. องคประกอบของชีวิตทางกายภาพ
            รางกายมนุษยประกอบไปดวยเซลล (Cell) จํานวนนับพัน ๆ ลานเซลลขึ้นไป เซลลเปน
หนวยยอยที่เล็กที่สุดในชีวิต ซึ่งแสดงธรรมชาติของความมีชีวิต เชน ในสวนของเซลที่เปนโปโต
ปลาสซึม ( Photoplasm ) ซึ่งเรียกกันวาสารมีชวิต ( Life substance) นั้นมีการเจริญเติบโตขยายพันธ
                                              ี
ตอบสนองตอสิ่งเรา หายใจตองการอาหารและมีการเปลี่ยนแปลงอาหารใหเปนพลังงาน ธรรมชาติ
เชนนี้ทําใหชีวิตมี “ ความตองการทางกาย ” หรือ “ความตองการทางชีววิทยา” ( Biological
Needs ) ซึ่งเปน “แรงขับ” ( Drives) พื้นฐานของพฤติกรรม
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life
02life

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุPadvee Academy
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
พุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนพุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนniralai
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
พระพุทธม.6 SW603
พระพุทธม.6 SW603พระพุทธม.6 SW603
พระพุทธม.6 SW603satriwitthaya
 
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานอัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานPadvee Academy
 
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีรวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีTheeraphisith Candasaro
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)Padvee Academy
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์Padvee Academy
 
พลังแห่งจักรวาล
พลังแห่งจักรวาลพลังแห่งจักรวาล
พลังแห่งจักรวาลanong
 
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕Napakan Srionlar
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดPadvee Academy
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาSuraphat Honark
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อPadvee Academy
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาkruudompcccr
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาPadvee Academy
 

Was ist angesagt? (20)

ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 
พุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนพุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียน
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
พระพุทธม.6 SW603
พระพุทธม.6 SW603พระพุทธม.6 SW603
พระพุทธม.6 SW603
 
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานอัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
 
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีรวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
 
พลังแห่งจักรวาล
พลังแห่งจักรวาลพลังแห่งจักรวาล
พลังแห่งจักรวาล
 
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 

Andere mochten auch

Introduction to digitalart
Introduction to digitalartIntroduction to digitalart
Introduction to digitalartPises Tantimala
 
"รู้รอบเรื่องภาษีธุรกิจ" SME Webinar สัมมนาออนไลน์
"รู้รอบเรื่องภาษีธุรกิจ" SME Webinar สัมมนาออนไลน์ "รู้รอบเรื่องภาษีธุรกิจ" SME Webinar สัมมนาออนไลน์
"รู้รอบเรื่องภาษีธุรกิจ" SME Webinar สัมมนาออนไลน์ K SME
 
สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์
สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์
สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์ajpeerawich
 
Presentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity Building
Presentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity BuildingPresentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity Building
Presentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity BuildingNopporn Thepsithar
 
Steve Blank’s Petal Diagram vs. Rod King’s Value Engine Map: Visual Tools for...
Steve Blank’s Petal Diagram vs. Rod King’s Value Engine Map: Visual Tools for...Steve Blank’s Petal Diagram vs. Rod King’s Value Engine Map: Visual Tools for...
Steve Blank’s Petal Diagram vs. Rod King’s Value Engine Map: Visual Tools for...Rod King, Ph.D.
 
How to value your tech startup
How to value your tech startupHow to value your tech startup
How to value your tech startupBenjamin Rohé
 
Bootstrap Business Seminar 4: Building a Business Model
Bootstrap Business Seminar 4: Building a Business ModelBootstrap Business Seminar 4: Building a Business Model
Bootstrap Business Seminar 4: Building a Business ModelCityStarters
 
How to fund your documentary like a startup
How to fund your documentary like a startupHow to fund your documentary like a startup
How to fund your documentary like a startupBjarke Calvin
 
Just in time manufacturing ppt
Just in time manufacturing pptJust in time manufacturing ppt
Just in time manufacturing pptSwati Luthra
 
Integrating Social Media in your business model
Integrating Social Media in your business modelIntegrating Social Media in your business model
Integrating Social Media in your business modelPieter Baert
 

Andere mochten auch (16)

Lean
LeanLean
Lean
 
Googleplus thailand
Googleplus thailandGoogleplus thailand
Googleplus thailand
 
Webnatics th seminar Kay
Webnatics th seminar KayWebnatics th seminar Kay
Webnatics th seminar Kay
 
Taluang 56
Taluang 56Taluang 56
Taluang 56
 
Introduction to digitalart
Introduction to digitalartIntroduction to digitalart
Introduction to digitalart
 
"รู้รอบเรื่องภาษีธุรกิจ" SME Webinar สัมมนาออนไลน์
"รู้รอบเรื่องภาษีธุรกิจ" SME Webinar สัมมนาออนไลน์ "รู้รอบเรื่องภาษีธุรกิจ" SME Webinar สัมมนาออนไลน์
"รู้รอบเรื่องภาษีธุรกิจ" SME Webinar สัมมนาออนไลน์
 
สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์
สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์
สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์
 
Presentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity Building
Presentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity BuildingPresentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity Building
Presentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity Building
 
Steve Blank’s Petal Diagram vs. Rod King’s Value Engine Map: Visual Tools for...
Steve Blank’s Petal Diagram vs. Rod King’s Value Engine Map: Visual Tools for...Steve Blank’s Petal Diagram vs. Rod King’s Value Engine Map: Visual Tools for...
Steve Blank’s Petal Diagram vs. Rod King’s Value Engine Map: Visual Tools for...
 
How to value your tech startup
How to value your tech startupHow to value your tech startup
How to value your tech startup
 
Webinar Lean Startup
Webinar Lean StartupWebinar Lean Startup
Webinar Lean Startup
 
Bootstrap Business Seminar 4: Building a Business Model
Bootstrap Business Seminar 4: Building a Business ModelBootstrap Business Seminar 4: Building a Business Model
Bootstrap Business Seminar 4: Building a Business Model
 
How to fund your documentary like a startup
How to fund your documentary like a startupHow to fund your documentary like a startup
How to fund your documentary like a startup
 
Just In Time (JIT) Systems
Just In Time (JIT) SystemsJust In Time (JIT) Systems
Just In Time (JIT) Systems
 
Just in time manufacturing ppt
Just in time manufacturing pptJust in time manufacturing ppt
Just in time manufacturing ppt
 
Integrating Social Media in your business model
Integrating Social Media in your business modelIntegrating Social Media in your business model
Integrating Social Media in your business model
 

Ähnlich wie 02life

03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลniralai
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนPanda Jing
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงChinnakorn Pawannay
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บรรพต แคไธสง
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarmaTongsamut vorasan
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarmaTongsamut vorasan
 
๑๙ มหาสติปัฏฐานสูตร มจร.pdf
๑๙  มหาสติปัฏฐานสูตร มจร.pdf๑๙  มหาสติปัฏฐานสูตร มจร.pdf
๑๙ มหาสติปัฏฐานสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
9789740329237
97897403292379789740329237
9789740329237CUPress
 
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓Tongsamut vorasan
 
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓Tongsamut vorasan
 
บาลี 25 80
บาลี 25 80บาลี 25 80
บาลี 25 80Rose Banioki
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นGawewat Dechaapinun
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 

Ähnlich wie 02life (20)

03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาล
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหน
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
 
ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11
 
๑๙ มหาสติปัฏฐานสูตร มจร.pdf
๑๙  มหาสติปัฏฐานสูตร มจร.pdf๑๙  มหาสติปัฏฐานสูตร มจร.pdf
๑๙ มหาสติปัฏฐานสูตร มจร.pdf
 
9789740329237
97897403292379789740329237
9789740329237
 
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
 
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
 
บาลี 25 80
บาลี 25 80บาลี 25 80
บาลี 25 80
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 

Mehr von etcenterrbru

บทที่ 11 การสื่อสารการตลาด
บทที่ 11 การสื่อสารการตลาดบทที่ 11 การสื่อสารการตลาด
บทที่ 11 การสื่อสารการตลาดetcenterrbru
 
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลบทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลetcenterrbru
 
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์etcenterrbru
 
6161103 11.7 stability of equilibrium
6161103 11.7 stability of equilibrium6161103 11.7 stability of equilibrium
6161103 11.7 stability of equilibriumetcenterrbru
 
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodiesetcenterrbru
 
6161103 11 virtual work
6161103 11 virtual work6161103 11 virtual work
6161103 11 virtual worketcenterrbru
 
6161103 10.9 mass moment of inertia
6161103 10.9 mass moment of inertia6161103 10.9 mass moment of inertia
6161103 10.9 mass moment of inertiaetcenterrbru
 
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertiaetcenterrbru
 
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axesetcenterrbru
 
6161103 10.6 inertia for an area
6161103 10.6 inertia for an area6161103 10.6 inertia for an area
6161103 10.6 inertia for an areaetcenterrbru
 
6161103 10.5 moments of inertia for composite areas
6161103 10.5 moments of inertia for composite areas6161103 10.5 moments of inertia for composite areas
6161103 10.5 moments of inertia for composite areasetcenterrbru
 
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integrationetcenterrbru
 
6161103 10.10 chapter summary and review
6161103 10.10 chapter summary and review6161103 10.10 chapter summary and review
6161103 10.10 chapter summary and reviewetcenterrbru
 
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a bodyetcenterrbru
 
6161103 9.6 fluid pressure
6161103 9.6 fluid pressure6161103 9.6 fluid pressure
6161103 9.6 fluid pressureetcenterrbru
 
6161103 9.3 composite bodies
6161103 9.3 composite bodies6161103 9.3 composite bodies
6161103 9.3 composite bodiesetcenterrbru
 
6161103 9.7 chapter summary and review
6161103 9.7 chapter summary and review6161103 9.7 chapter summary and review
6161103 9.7 chapter summary and reviewetcenterrbru
 
6161103 8.4 frictional forces on screws
6161103 8.4 frictional forces on screws6161103 8.4 frictional forces on screws
6161103 8.4 frictional forces on screwsetcenterrbru
 
6161103 8.3 wedges
6161103 8.3 wedges6161103 8.3 wedges
6161103 8.3 wedgesetcenterrbru
 
6161103 8.2 problems involving dry friction
6161103 8.2 problems involving dry friction6161103 8.2 problems involving dry friction
6161103 8.2 problems involving dry frictionetcenterrbru
 

Mehr von etcenterrbru (20)

บทที่ 11 การสื่อสารการตลาด
บทที่ 11 การสื่อสารการตลาดบทที่ 11 การสื่อสารการตลาด
บทที่ 11 การสื่อสารการตลาด
 
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลบทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
 
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
 
6161103 11.7 stability of equilibrium
6161103 11.7 stability of equilibrium6161103 11.7 stability of equilibrium
6161103 11.7 stability of equilibrium
 
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies
 
6161103 11 virtual work
6161103 11 virtual work6161103 11 virtual work
6161103 11 virtual work
 
6161103 10.9 mass moment of inertia
6161103 10.9 mass moment of inertia6161103 10.9 mass moment of inertia
6161103 10.9 mass moment of inertia
 
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia
 
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes
 
6161103 10.6 inertia for an area
6161103 10.6 inertia for an area6161103 10.6 inertia for an area
6161103 10.6 inertia for an area
 
6161103 10.5 moments of inertia for composite areas
6161103 10.5 moments of inertia for composite areas6161103 10.5 moments of inertia for composite areas
6161103 10.5 moments of inertia for composite areas
 
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration
 
6161103 10.10 chapter summary and review
6161103 10.10 chapter summary and review6161103 10.10 chapter summary and review
6161103 10.10 chapter summary and review
 
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body
 
6161103 9.6 fluid pressure
6161103 9.6 fluid pressure6161103 9.6 fluid pressure
6161103 9.6 fluid pressure
 
6161103 9.3 composite bodies
6161103 9.3 composite bodies6161103 9.3 composite bodies
6161103 9.3 composite bodies
 
6161103 9.7 chapter summary and review
6161103 9.7 chapter summary and review6161103 9.7 chapter summary and review
6161103 9.7 chapter summary and review
 
6161103 8.4 frictional forces on screws
6161103 8.4 frictional forces on screws6161103 8.4 frictional forces on screws
6161103 8.4 frictional forces on screws
 
6161103 8.3 wedges
6161103 8.3 wedges6161103 8.3 wedges
6161103 8.3 wedges
 
6161103 8.2 problems involving dry friction
6161103 8.2 problems involving dry friction6161103 8.2 problems involving dry friction
6161103 8.2 problems involving dry friction
 

02life

  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 10. ธมมชาเตน ชีวตีติ = ชีวิต แปลวา สิ่งใดยอม (เปน, อยู, คือ) ตามธรรมชาติสิ่งนั้นเรียกวาชีวิต
  • 13. ทฤษฎี 99 1 มาจากอะไร มาจาก 0 0 คืออะไร 0 คือ ไมมี และไมมีคือวาง และวางก็คือ 0
  • 14. สมศักดิ์ = (พอ , แม) - ปูยา - ทวด - โครต -โครต ๆ โครตของโครต ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ 1,000,000 (หนึ่งลาน) ก็มาจากหนึ่ง 1 ก็มาจาก 0
  • 17. อับเบ จอรจ ลือมาเทรจ (Abbe George Lemaitre 1894-1966) นักวิทยาศาสตรชาวเบลเยี่ยม เสนอทฤษฎี (Big Bang Theory) (การระเบิดครั้งใหญย่ิงหรือทฤษฎีฟองไข) เซลลเดียวหลายเซลล (complex cells)
  • 18. ชาลล ดารวิน Charles Darwin นักวิทยาศาสตรชาวอังกฤษ กําเนิดจากเซลลเดียวและ หลายเซลล (complex cells)
  • 19. ธาเลส Thales = มาจาก น้ํา อาแนกซิมิเนส Anaximenes =มาจาก อากาศ เซโนพาเนส Zenophanes = มาจากดิน เดโมคริตุส Democritus = มาจากรวมตัวของธาตุ 4
  • 20. สังคมวิทยา = มนุษย วิวัฒนาการ มาจากสัตวประเภทลิง
  • 21. ศาสนาพุทธเกิดจากธาตุ 4 ดิน , น้ํา , ไฟ , ลม ธาตุ คือ สภาวะที่มีอยู, ทรงอยู ธร ธาตุ ในความทรงไว/และมีอยู
  • 23. พระตรีเอกนุภาพ ผูสรางพระยะโฮวา พระบิดา ผู ไถ บ าป (พระเย ซู ) ผูเสด็จเพื่อนําทาง พระบุตร พระจิต ชวยเหลือมนุษยสู หรือพระ พระเจา วิณญาณ อันบริสุทธิ์ รวมกันเปนพระเจาองคเดียว
  • 24. ทรรศนะศาสนา อิสลามมาจากพระเจา ศาสนาฮินดู มาจากพระเจา
  • 25. ทรรศนะนักวิทยาศาสตร ใชคําวา สสาร ที่เรียกวา อนินทรีย วิวัฒนาการเปน อินทรีย
  • 26. องคประกอบของชีวิต มี 2 สวน ภายนอก กาย รูป ภายใน ใจ จิต นาม
  • 27.
  • 28. มนะอุษย มน =ใจ อุษย = สูง มนุษย = แปลวาผูมีใจสูง
  • 29. โครงสรางจิตมี 3 ระดับ 1. จิตฝายต่ํา ID ควบคุมไมได 2. จิตระดับกลาง Ego ควบคุมได 3. จิตที่สงสุด Supergo จิตทีพฒนาแลว ู ่ ั
  • 32. สวรรค 7 ชั้น 1. ชั้นจาตุมหาราชิกา 2. ชั้นดาวดึงส 3. ชั้นยามา 4. ชั้นดุสิต 5. ชั้นนิมมานรดี 6. ชั้นปรนิมมิตวสวัตดี
  • 33. อบายภูมทั้ง 4 ิ 1. นรก 2. เปรต 3. อสุรกาย 4. เดรัจฉาน
  • 34. 1 วิชาจริยศึกษาเพือการพัฒนาตน ่ เรียบเรียงโดย อ.ปราโมทย สุวรรณา (M.A Philosophy) ---------------------------------------------------------------------------------------------- ชีวตในคําสอนของพระพุทธศาสนาและศาสนาตางๆ ิ ๑. ลักษณะของชีวิต “ชีวิต” ราชบัณฑิตยสถาน(๒๕๔๖: ๓๖๖) ไดใหความหมายไววา “หมายถึง ความ เปนอยู” ตรงกันขามกับคําวา “อชีวิต” หรือ “อชีวะ คือ ความไมมีชีวิตหรือความตายเพราะกาย สิ้นไออุนและวิญญาณ รากศัพทเดิมมาจากภาษาบาลีและสันสกฤตมาจากคําวา “ชีว ธาตุ” ซึ่ง ประกอบดวย “ ต ” ในกิรยากิตก ลง อิ อาคม สําเร็จรูปเปน “ชีวิต” ิ ในคัมภีรบาลี อภิธานนัปปทีปกาสูจิ ไดใหนิยาม ชีวิต ไววา ชีว : ชีวนฺติ สตฺตา เนนาติ ชี โ ว. ที่ ช่ื อ ว า ชี ว ะ เพราะอรรถวิ เ คราะห ที่ ม าสั ต ว ทั้ ง หลาย ย อ มเป น อยู ด ว ยเหตุ ป จ จั ย นั้ น (นาคะประทีป, ๒๔๖๔: ๔๕๐) ชีวิต : ชีว ปราณธารณ, โต. ชีวนฺติ อเนนาติ ชีวิตํ. ชีวธาตุเปนไปในอรรถวา ทรงไวซึ่ง ลมปราณ ลง ต ปจจัย จึงมีรูปเปน ชีวิต โดยมีอรรถวิเคราะหวา สัตวทั้งหลาย ยอมเปนอยูดวยการ ทรงไวซึ่งลมปราณนั้น ชีว (ชีวะ) น. ความอยู, ความเปนอยู , ใจ. ดวงวิญญาณ แตมักเรียกวา ชีโว คําวาชีวิต มีผูใหความหมายเอาไว ดังนี้ ๑. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ชีวิต คือ ความเปนอยู ๒. กลุมนักชีววิทยา ชีวิต คือ กบวนการ แหงการปรับตัวเอง ๓. กลุมจิตนิยม ชีวิต คือ การปรากฏระดับหนึ่งของวิญญาณที่สมบูรณ ๔. กลุมสสารนิยม ชีวิต คือ วิวัฒนาการของสสาร ๕. หลวงวิจิตรวาทการ ชีวิต คือ การตอสู ๖. เซ็คเปยร ชีวิต คือ ละครโรงใหญ ๗. อริสโตเติล ไดแบงทัศนะของชีวิต ไว ๓ ระดับ คือ ๗.๑ ชีวิตระดับพืช ชีวิตระดับนี้จะมีเฉพาะความตองการทางชีววิทยา เชน การ หายใจ การกินอาหาร การขับถายและการสืบพันธ ๗.๒ ชีวิตระดับสัตว ชีวิตระดับนี้มีความตองการทางชีววิทยาและมีความรูสึกทาง ประสาทสัมผัส เชน การเห็น การฟง เปนตน
  • 35. 2 ๗.๓ ชีวิตระดับมนุษย ชีวิตระดับนี้มีความตองการทางชีววิทยา มีความรูสึกทาง ประสาทสัมผั สและมีแนวความคิดทางดานการคนควาหาเหตุผล อันกอใหเ กิดวุฒิปญญา และ คุณธรรมตาง ๆ มนุษยเปนสัตวโลกที่แตกตางจากสัตวอื่นตรงที่มีสมองขนาดใหญ ซึ่งเปนที่เกิดของปญญา นํามารวมสรางลักญณะเหนือธรรมชาติ ( super organic ) ในวิถีชีวิต ซึ่งพัฒนาชีวิตทางสังคมของ มนุษยใหเจริญงอกงามมากขึ้นทุกที คริสตศตวรรษที่ 20 นี้ มนุษยสามารถดํารงชีวิตอยูบนโลกดวย วิถีที่เหนือธรรมชาติอยางนาอัศจรรยสามารถคิดคนวิทยาการ นําเอาสิ่งแวดลอมทั้งปวงมาสราง ปรับปรุง และดัดแปลง สรางประดิษฐกรรมใหม เพิ่มขึ้นตตลอดเวลา ชีวิตของมนุษยปจจุบัน จึง แตกตางจากบรรพกาลอยางยิ่งเพราะเปนชีวิตที่สามารถจัดการและสรางเสริมความสุขสําราญใหแก ชีวิตตามที่ปารถนาไดดี ในสองสามศตวรรตนี้จึงไดเห็นปรากฏการณทางสังคมที่มนุษยภูมิภาค ตางๆ ทั่วโลกรวมกันเปนกลุมหรือองคกรรวมมือรวมใจกันเพื่อพัฒนาวิถีเศรษญกิจการเมือง สังคม และวัฒนธรรมใหกาวหนา โดยเฉพาะในปลายคริสตศตวรรษที่ 20 กระบวนการรวมโลกเปนหนึ่ง เดียวอยางที่เรียกวาโลกาภิวัตน ( Globalization ) เพื่อเพรกระจายความคิดวิทยาการ เทคโนโลยีและ ประดิษฐกรรม อยางกวางขวางแกชาวโลกทุกพื้นที่ ในศตวรรษใหมนอกจากมนุษยจะเปนกลุมชีวิต ที่สุขสบายบนโลกนี้ มนุษยปรารถนาแสวงหาพื้นที่และกลุมพันธมิตรใหมในดวงดาวอื่นตอไป ๑.๑ การเกื้อกูลจิตวิญญาณของกลุมพวกและมนุษยดวยกัน ความปรารถนาทางสังคมหรือจิตใจนั้นมีอยูในมนุษยทั่วไป มนุษยตองการทําตนใหเกิด ประโยชน มีคุณคา และเปนที่ชื่นชมในหมูของตน ในการดําเนินชีวิตทางสังคม มนุษยตองการ กําลังใจ เกียรติยศ และความสําเร็จตามเปาหมายแหงชีวิต ซึ่งจะแสวงหาไดจากจิตที่มีคุณธรรมและ สุนทรียภาพรวมกัน มนุษยใชปญญารวมกันสรางสมนําชีวิตของปจเจกบุคคลและเผาพันธุใหดําเนิน และดํารงตอมาหลายชั่วรุน มนุษยสรางขนบธรรมเนียมประเพณีและกฎระเบียบตางๆเพื่อจัดระบบ และควบคุมมนุษยใหสามารถติดตอแลกเปลี่ยนและเกื้อกูลชีวิตทางสังคมแกกัน จนเกิดความมั่นคง และความมีภราดรภาพภายในกลกลุม แมยามทุกขยากและเกิดปญหามนุษยพยายามรวมมือกันฝา ฟนอุปสรรคและแกปญหาจนลุลวงไป ดังนี้ มนุษยจึงตางเปนขวัญและกําลังใจตอกัน แสดงการ ยอมรับความชื่นชมยินดี และสรรเสริญคุณงามความดีของกัน จนเกิดความอบอุน ความประทับใจ ซึ่งสงเสริมจิตวิญญาณมนุษย ใหสูงยิ่งขึ้นไปมนุษยจึงสามารถรักษาเผาพันธุใหดําเนินชีวิตรวมกับ มนุษยดวยกันและธรรมชาติแวดลอมดวยดีตลอดมา ๑.๒ ความเปนสัตวประเสริฐเหนือสรรพชีวิตอื่นบนโลก วิวัฒนาการของมนุษย รวมกับชีวิตอื่นบนโลกนานหลายหมื่นปไดประจักษชัดวา มนุษย นั้นมีววฒนาการแตกตางและพิเศษเหนือสัตวอื่นในโลก จนสามารถเรียกตนวาสัตวประเสริฐ ิั ( wisdom animal ) หลายชั่วอายุขัยมนุษยที่มนุษยยังดํารงชีพอยูไดท้งมีการดําเนินชีวิตที่รุงเรืองอยาง ั ไมมีส้นสุด มนุษยมพลังสรางสรรคที่จะจัดการกับชีวิตมนุษยและธรรมชาติอื่นๆ ดวยวิถีแหงปญญา ิ ี
  • 36. 3 วิทยาการ และเทคนิคใหม ที่เติบโตเร็วมาก ในสองสามศตวรรษนี้ ไดสรางชีวิตใหมที่ดีที่สุดใหแก มนุษย วิทยาการจักรกล อาทิ คอมพิวเตอร หุนยนต ตลอดจรชนการควบคุมเครื่องกลไรสายอื่น ทํา ใหมนุษยมีอิทธิพลมากขึ้นบนโลกและกาวไปมีอํานาจเหนือดาวอื่น อย า งไรก็ ต าม ธรรมชาติ บ างประการในตั ว มนุ ษ ย ไ ด ทํ า ลายมนุ ษ ย ด ว ยกั น และทํ า ลาย ธรรมชาติอื่นดวยความปรารถนาที่เกินกําลังจนเกิดกําลังจนเกิดเปนความโลภโกรธและหลงซึ่งเปน เหตุผลผลักดันใหมนุษยสวนหนึ่งตองเกิดความทุกขยากทางกาย หรือทางจิตใจชวงเวลาหนึ่งหรือ ตลอดชีวิตเพราะการแขงขัน แยงชิง กอบโกยผลประโยชน ใหแกตนเองหรือกลุมพวกตน จนละเลย ตอมนุษยธรรมอยางสัตยประเสริฐไปได ดังนี้ปรากฏการณการทําลายลางมนุษยทั้งในระดับจุลภาค และภาคจึงพบในสังคมเสมอ เชน ปญหาสังคมปรากฏเสมอในทั่วไป โดยเฉพาะสงครามระหวาง ประเทศหรือสงครามโลกที่เกิดขึ้น ทั้งในประวัติศาสตรและปจจุบัน ๓. พลังสรางสรรคและทําลายสภาพแวดลอมบนโลก พลั ง มนุ ษ ย ช าติ ทั้ ง ในเชิ ง ปริ ม าณและเชิ ง คุ ณ ภาพตั้ ง แต บ รรรพกาลมี อิ ท ธิ พ ลต อ การ เปลี่ ย นแปลงสภาวะแวดล อ มของโลก จํ า นวนพลโลกเพิ่ ม ขึ้ น เสมอมาโดยเฉพาะในปลาย คริสตศตวรรษที่ 19 และ 20 นี้ประชากรโลกเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว จนกลาววาเปนการระเบิดทาง ประชากร( population explosion ) สถาบันขอมูลประชากรสหรัฐอเมริกา (1999) แสดงสถิติ ประชากร เมื่อเริ่มคริสตกาลประชากรโลกมีประมาณ 225 ลานคน ค.ศ.2025 คาดวาประชากรโลกมี กวา 7,800 ลานคนแรงกดดันดังนี้ มนุษยชาติตางเรงคิดคนประดิษฐกรรม เพื่อดูแลมนุษยจํานวน มหาศาลใหมีวิถีชีวิตที่อยูรวดจนถึงมีชีวิตที่ดีที่สุด จนทําใหมนุษยเปนผูพัฒนาและผูทําลายสรรพ สิ่งแวดลอมบนโลกทั้งเจตนาและไมเจตนา ปญหายิ่งใหญที่มนุษยเผชิญหนาอยู คือ การเสื่อมเสีย ของสภาวะแวดลอมธรรมชาติการเผชิญหนากันของมนุษยตางกลุมตางรัฐเพื่อตอสูชวงชิงทรัพยากร ทั้งในกลุมผูพัฒนาและผูดอยพัฒนากลุมนายทุนกับกลุมผูไรทุน และสงครามระหวางประเทศทั้ง สงครามเย็นและสงครามรอน วิวฒนาการของมนุษย ั มีผูอธิบายถึงวิวัฒนาการของมนุษยหลายทานดวยกัน แนวคิดที่สนใจเกี่ยวกับวิวัฒนาการ ของมนุษยมีดังนี้ วราคม ทีสุกะ กลาวถึงวิวัฒนาการของมนุษย จากการศึกษาคนคาวของนักวิทยาศาสตรได สืบคนประวัติความเปนมาของมนุษยไดตามลําดับดังนี้ 1. มนุษยมีบรรพบุรุษที่วิวัฒนาการจากสัตวเลี้ยงลูกดวยนมชนิดหนึ่งในอันดับไพรเมตส (Primates ) คือ ลิงเอปส ( Apes ) ลิงชนิดนี้มีชีวิตอยูเมื่อประมาณ 25 ลานปมาแลว ไดมีการคนพบ ซากลิงเอปสบนเกาะเล็กๆ บริเวณทะเลสาบวิคเตอเรีย ในประเทศคีนยา ทวีปแอฟริกา เมื่อปค.ศ. 1930
  • 37. 4 2. แรมพิทคุส ( Rampathecus ) เปนไพรเมตสอีกชนิดหนึ่งที่คนพบในประเทศอินเดียเมื่อป ิ ค.ศ.1939 ตอมาคนพบอีกในทวีปแอฟริกาและยุโรป ไพรเมตสชนิดนี้มีขากรรไกรและฟนใกลเคียง กับมนุษยมาก เชื่อกันวามีอายุอยูเมื่อประมาณ 14 ลานปที่แลว 3. ออสตราโลพิทิคุส ( Australopithecus ) คนพบที่แทนซาเนีย ทวีปแอฟริกาใต ตอมามีการ คนพบอีกหลายแหง จากรูปรางของกระดูกสะโพก สันนิษฐานวายืดตัวตรงคลายมนุษย และเชื่อกัน วามีการใชเครื่องมือในยุคนี้ คือ เครื่องมือที่เปนหิน สันนิษฐานวามนุษยออสตรา โลพิทิคุส มีความจุ ของสมองประมาณ 860 ซีซี และมีชีวิตอยูประมาณ 2 ลานปถง 5 แสนปที่แลว ึ 4. โฮโมอีเรคตุส ( Homoerectus ) Homo ในภาษาละติน แปลวา คน Erectus แปลวายืนตัว ตรง จึงหมายถึงวา คนที่ยืนตัวตรง ซากมนุษยเผาพันธุนี้คนพบซากที่ชวา เรียกวา มนุษยชวา ที่ คนพบในประเทศจีน เรียกวา มนุษยปกกิ่ง สันนิษฐานวามีชีวิตอยูประมาณ 7 – 4 แสนลานปมาแลว เชื่อกันวา โฮโมรอีเรคตุสเปนมนุษยที่อยูในระหวางออสตราโลพิทิคุสกับมนุษยปจจุบันสามารถยืน ตัวตรงกวามนษยออสตราโลพิทิคุสมีความจุของสมองประมาณ 1,075 ซีซี ( นอยกวามนุษยใน ปจจุบัน ) เครื่องมือที่ใชเปนหินแตฝมือขอนขางหยาบแตก็ดีกวามนุษยออสตราโลพิคุศอีกอยางหนึ่ง ที่สําคัญเพิ่มขึ้นมา คือ รูจักใชไฟแลว 5. มนุษยนีแอนเดอรทัล ( Neanderthal Man ) ตั้งชื่อตามสถานที่คนพบแหงแรก คือ สถานที่ที่พบตรั้งแรกในหุบเขาแหงหนึ่งในประเทศเยอรมนี ตอมามีคนพบตามถ้ําหลายแหงใน ยุโรป จากหลักฐานตางๆ ที่พบทําใหเชื่อวา มนุษยนีแอนเดอรทัล รูปรางใหญ เปนนักลาสัตว และ รูจักใชไฟเปนอยางดี นอกจากนี้เชื่อวามนุษยพวกนี้มีมันสมองใหญเทากับมนุษยปจจุบัน และรูจัก ทําพิธีฝงศพ เพราะมักจะมีเครื่องมือตางๆ ฝงรวมกับศพที่คนพบ มีชีวิตอยูเมื่อประมาณ 1.5 แสน ลานปแลว 6. โฮโม เซเปยนส ( Homo Sapjens ) มีความจุมันสมอง 1,300 ซีซี นักมนุษยวิทยาเชื่อวา แอนเดอรเดอรทัล ไดวิวัฒนาการมาเปนมนุษยปจจุบันที่เรียกวา โฮโม เซเปยนส (แปลวา มนุษยผู ฉลาด )โฮโฒม เซเปยนส ยุคแรกที่สุด คือ มนุษยโครมาญอง ( Cro-Magnon Man ) คนพบที่ประเทศ ฝรั่งเศส มีอายุอยูระหวาง 4-3.5 หมื่นป ซากมนุษยโฮโม เซเปยนส คนพบในที่หลายแหงทั้งในเอเชีย แอฟริกา ยุโรป และออสเตรเลีย สันนิษฐานวาเปนนักลาสัตวเพราะพบอาวุธหลายอยาง เชน มีด ธนู บางพวกเปนศิลปนเขียนภาพตามผนังถ้ํา เชน ในประเทศฝรั่งเศสและสเปน นักมนุษวิทยาเชื่อวา มนุษยโครมาญองนี้เปนพวกแรกที่ออกจากถ้ํา อันเปนการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญของมนุษยชาติ ยุทธ ศักดิ์เดชยนต ไดกลาวถึงขั้นตอนของวิวัฒนาการของมนุษยไวดังนี้ ๑. เอปส ( Apes ) ที่มีลักษณะเหมือนคน ไดแก Australopiticus และ Zinijanthropus ๒. คนที่มีลักษณะเหมือนเอปส ( Ape likke Man ) ไดแก Pithecanthropus และ Sinanthropus ๓. มนุษยโบราณ ( Primitive Species of Man ) ไดแก Neanderthal Man
  • 38. 5 ๔. มนุษยโบราณ Cro – Magnon มนุษยยุคปจจุบัน ( Modern men ) มนุษยปจจุบันที่ชื่อวา Homo sapiens sapiens ไดกระจายอยูบนโลกที่มีลักษณะทาง ภูมิศาสตรที่แตกตางกัน จึงทําใหเกิดเผาพันธุแตกตางกัน คอรครัมและแมคคอลเลย ( Corkrum and Mc Cauley 1965 อางถึงใน บพิธ จารุพันธ และนันทพร จารุพันธุ 2538 : 573 – 576 ) อธิบาย เผาพันธุมนุษยปจจุบันดังนี้  ๑. ออสเตรลอยด ( Australoids ) โดยทั่วไปมีลักษณศรีษะยาว จมูกแบน หนาผากต่ํา ผม เป น ลอน ขนตามตั ว มาก ผิ ว ดํ า เช น คนเมื อ งในทวี ป ออสเตรเลี ย เกาะทั ส มาเนี ย และชนเผ า ตอนกลางทวีปเอเชียใต ( พวกบิลและเวดดา : Bhils and Vaddahs ประเทศศรีลังกา ) และทวีปแอฟ ริกา ( คนปาในทะเลทรายคาลาฮาร ของทวีปแอฟริกาใต ) ๒. คอเคซอย ( Caucasoids ) ดํารงชีวิตอยูในขอบเขตอบอุน ลักษณะของศรีษะมีรูปราง ตางๆกัน แตที่เหมือนกันก็คือ มีจมูกโดง และผมเปนลอน ผิวสีน้ําตาล หรือสีออน เปนกลุมเมดิเตอร เรเนียน ( Mediteraneans ) ในทวีปยุโรปตอนใตบริเวณชายฝงทะเลเมดิเตอรเรเดียนทางตะวันออก ของเอเชียใตจนถึงอินเดีย ศรีษะยาวผิวน้ําตาล ผมสีน้ําตาลหรือดํา กลุมนอรคิด (Nordics ) ในยุโรป เหนือ ศรีษะยาว ผิวสีบรอนซ ผิวขาว และกลุมอัลไพน ( Alpines ) อาศัยอยูบริเวณฝรั่งเศสตอนกลาง ไปจนถึงรัสเซีย และปอรเซีย ๓. มองโกลอยด ( Mongolids ) ดํารงชีวิตในเขตอากาศหนาว ศรีษะกวางกระดูกแก็มเปน โหนก จมูกไมโดงมาก ผมแข็งเหยียดตรง ผิวเหลืองหรือแดง ขนบนหนามีนอยอาศัยอยูบิเวณทวีป เอเชียตะสันออกและทวีปอเมริกา แบงเปนกลุมอินเดียอเมริกา ( American Indians ) ซึ่งอพยพจาก ทวีปเอเชียตะวันออกและทวีปอเมริกา แบงเปนกลุมอินเดียในทวีปอเมริกาใต กลุมเอสกิโม ( Eskimos ) ลักษณะทั่วไปคลายมาองโกลอยดทวีปเอเชียมากกวาอินเดียในทวีปอเมริกา อยูตาม เมืองทางตอนเหนือของทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ และกลุมมองโกลอยด เอเชีย ( Asiatic Mongoloids ) อยูทางฝงตะวันออกทวีปเอซีย ประชากรทางตอนใตมีการผสมผสานระหวางลักษณะ มองโกลอยดกับคอเคซอยจึงเชื่อวาเปนมองโกลอยดที่แยกสายมาจากคออคซอย ๔. นิกรอย ( Negroids ) ดํารงชีวิตในเขตอากาศรอน ศรีษะยาว จมูกกวาง ริมฝปากหนา หนาผากสูง ผมนุม ผิวดํา แบงเปนกลุมนิโกรแอหริกา ( African Negros ) อยูในเขตรอนทองทวีป แอฟริกา เชนพวกไนล ( Nile Negros ) พวกอยูในปาตอนกลางทวีป ( negros )พวกบันตู ( Bantus ) ทางตะวันออกเฉียงใตของทวีป ดพวกคนปาซูลู ( zulu ) และพวกคนปาเผาแคฟเฟอร ( Kuffir ) กลุม นิโกรตามชายฝงทะเล ( Oceanic Negros ) คนผิวดําตามเกาะในมหาสมุทรแปซิฟก และทาง ตะวันออกของเกาะนิวกินี
  • 39. 6 ๕. ปกมี่ ( Pygmies , Negritoes ) รูปรางแคระ มีความสูงไมเกิน 145 เซนติเมตร จมูกกวาง ศรัษะกวาง อาศัยอยูตามปาเขตรอนในคองโก หมูเกาะอันดามัน ในอาวเบงกอลคาบสมุทรมาเลย เกาะนิวกินี และเกาะฟลิปนส มนุษยแตกตางจากสัตวในดานการรูจักใชเครื่องมือมากกวาอยูที่ความแตกตางของรางกาย เครื่องมือนั้นเทากับการยืดแขนมนุษยออกไป สัตวทั้งหลายมีเครื่องมือตามธรรมชาติเฉพาะที่เปน สวนประกอบของรางกาย เชน มามีฟนสําหรับกินหญา และมีขาไวสําหรับวิ่งบนที่ราบ แตรางกาย นของมนุษยไมจําเปนตองมีวิวัฒนาการถึงเพียงนั้น เพราะมนุษยสามารถปรับตัวไดโดยการสราง เครื่องมือเพื่อปรับสภาพแวดลอม และความสามารถในการปรับตัวของมนุษยเชนนี้เองทําใหมนุษย สามารถสรางเครื่องมือใชเพื่อปรับตัวใหอยุไดในที่อยุตางๆบนโลก มนุษยจึงสามารถอยูไดแทบทุก หนทุกแหงบนโลก และการที่มนุษยมีถิ่นที่อยูอาศัยแตกตางกันนี้เองทําใหเกิดเชื้อชาติที่แตกตางกัน ออกไปอยูในสวนตางๆ ของพื้นโลก ( ดูภาพคนเชื้อชาติตางๆซึ่งมีแหลงกําเนิดแตกตางกันไป ) ลักษณะสําคัญของวิวัฒนาการมนุษย วิวัฒนาการทางชีวภาพของมนุษย มีลักษณะที่สําคัญอยู 3 ประการ คือ ประการแรกมนุษย สามารถยืดตัวตรงตั้งฉากกับพื้นและเดินดวยเทาเพียง 2 ขาง ทําใหมอทั้งสองวางอยุอะไรทําตางๆได ื สะดวก ประการที่สอง การเปลี่ยนลักษณะของกะโหลกศรีษะและฟน ซึ่งทําใหเกิดลักษณะประการ ที่สาม คือ ขนาดของมันสมองโตขึ้นและกลไกสวนตางๆก็ซับซอนขึ้นโดยเฉพาะสวนที่เกี่ยวกับการ พุด นักวิทยาศาสตรประมาณวามนุษยมีวิวัฒนาการอยางเต็มที่ประมาณ 50,000 ปที่แลวมานี่เอง และมนุษยพวกนี้สามารถใชเครื่องมือตางๆ กอนการพัฒนาขนาดของสมองไดเทากัน กลุมเมดิเตอรเรเนียน ( Mediteraneans ) ในทวีปยุโรปตอนใต บริเวณชายฝงทะเลเมดิเตอร เรเดียนทางตะวันออกของเอเชียใตจนถึงอินเดีย ศรีษะยาว ผิวสีน้ําตาล ผมสีน้ําตาลหรือดํากลุมนอร คิด ( Nordics ) ในยุโรปเหนือศรีษะยาว ผิวสีบรอนซ ผิวขาว และกลุมอัลไพน ( Alpines ) อาศัยอยู บริเวณฝรั่งเศสตอนกลางไปจนถึงรัสเซีย และปอรเซีย มนุษยแตกตางจากสัตวในดานการรูจักใชเครื่องมือมากกวาอยูที่ความแตกตางของรางกาย เครื่องมือนั้นเทากับการยืดแขนมนุษยออกไป สัตวทั้งหลายมีเครื่องมือตามธรรมชาติเฉพาะที่เปน สวนประกอบของรางกาย เชน มามีฟนสําหรับกินหญา และมีขาไวสําหรับวิ่งบนที่ราบ แตรางกาย นของมนุษยไมจําเปนตองมีวิวัฒนาการถึงเพียงนั้น เพราะมนุษยสามารถปรับตัวไดโดยการสราง เครื่องมือเพื่อปรับสภาพแวดลอม และความสามารถในการปรับตัวของมนุษยเชนนี้เองทําใหมนุษย สามารถสรางเครื่องมือใชเพื่อปรับตัวใหอยุไดในที่อยุตางๆบนโลก มนุษยจึงสามารถอยูไดแทบทุก
  • 40. 7 หนทุกแหงบนโลก และการที่มนุษยมีถิ่นที่อยูอาศัยแตกตางกันนี้เองทําใหเกิดเชื้อชาติที่แตกตางกัน ออกไปอยูในสวนตางๆ ของพื้นโลก ( ดูภาพคนเชื้อชาติตางๆซึ่งมีแหลงกําเนิดแตกตางกันไป ) ลักษณะทางกายภาพของมนุษย กําเนินใหมนุษย กําเนินใหมนุษยตองปรับตนอยางยิ่งยวด เพื่อดํารงชีวิตอยูไดทามกลางชีวิตและสภาพแวดลอมอื่นๆ ทั่งโดยวิธีอยูรวมกัน ตอสูแยงชิงและการ ถอยหนีจากสิ่งแวดลอมในธรรมชาติรอบๆตัว จนถึงบัดนี้ มนุษยสามารถดํารงรักษาเผาพันธุ ตลอด ทั้งแสดงพลังอํานาจเหนือธรรมชาติแวดลอมบางสวนไดดีอันเปนผลใหสามารถเลือกสรรและ พัฒนาชีวิตทางกายภาพและทางสังคมเขาสูระบบชีวิตที่ดีที่สุด เมื่อพิจรณาเปรียบเทียบลักษณะทาง กายภาพของมนุษยกับสิ่งมีชีวิตอื่น ตลอดทั้งผลที่นําไปสูการปรับตนเพื่อการดํารงอยูบนโลกพบ โลกพบวา มนุษยมีทั้งลักษณะเดนที่สงเสริมใหเกิดพลังอํานาจและลักษณะดอยอันออนแอของ มนุษย ๑. ลักษณะเดนทางกายภาพที่สงเสริมใหเกิดพลังอํานาจสรางสรรคมหลายประการ ี ๑.๑ มนุษยนับวาเปนสัตวที่มีสมองขนาดใหญตามสัดสวนของรางกาย น้ําหนักสมอง มนุษยปจจุบันประมาณ 1,600 มิลลิลิตร มนุษยจึงเปนสัตวที่คิดเปนและใชปญญาใหเกิดประโยชน ในการดํารงชีวิตธํารงรักษาเผาพันธุของตน และมีอานาจเหนือสิ่งมีชีวิตอื่นบนโลกสิ่งประดิษฐตางๆ ํ  เปนผลผลิตของปญญาที่นํามาสรางเสริมใหการดํารงชีวิตของมนุษยสะดวกสบายขึ้น หรือในทาง ตรงกันขามอาจนําไปสูความเสื่อมโทรมของธรรมชาติแวดลอมและหรือมนุษยเองก็ได ๑.๒ มนุษยมีนิ้วมือหานิ้วที่มีความคลองตัวในการหยิบจับสิ่งตางๆ แมสิ่งของขนาดเล็ก จิ๋วอยางเข็มซึ่งเข็มสงเสริมใหสามารถประดิษฐผลงานที่มีความประณีตละเอียดออนทั้งใหญเล็ก โดยเฉพาะผลงานเชิงศิลปะมนุ ษยใ ชศักยภาพทั้งสองประการนี้พัฒนาสิ่งประดิษ ฐสําหรับการ ดํารงชีวิตไดอยางมีคุณภาพ จึงสรางความภูมิใจและแสดงความสามารถ จากคํากลาว “ มนุษยทํา” ( man made ) ๑.๓ ตําแหนงดวงตาทั้งสองขางของมนุษยอยูดานหนา สามารถมองเห็นชัดเจนเปนสาม มิติและเห็นไดกวางไกล เมื่อมีการทรงตัวขึ้นในแนวตั้ง ลักษณะการมองเห็นดังนี้ มนุษยไดปรับ สายตาเพื่อมองและสรางสุนทรียภาพทางสายตา โดยอาศัยลักษณะทางชีวภาพสองประการขางตน มารวมสรางสรรคจนเกิดเปนผลงานอารยธรรมของมนุษยชาติขึ้นมา ๑.๔ มนุษยมีการทรงตัวแนวตั้งจึงเกิดความคลองแคลวในการเคลื่อนที่รอบตัวเมื่อเทาทั้ง สองวางเวาจากการทําหนาที่ในการทรงตัว จึงกลายเปนมือที่มีคุณภาพในการสรางผลงานหรือ สิ่งประดิษฐทั้งปวง ๑.๕ มนุษยมีความตองการทางเพศเมื่อยางเขาสุวัยหนุมสาวและความตองการทางเพศนี้ เกิดขึ้นไดตลอดเวลาจนถึงวัยชรา ในขณะที่สัตวอื่นมีความตองการทางเพศในชวงเวลาเจริญพันธที่ ยาวนานตอเนื่อง แมวามนุษยสามารถมีลุกออนไดคราวละหนึ่งก็ตาม
  • 41. 8 ๑.๖ มนุษยเปนสัตวสังคม มนุษยนั้นมีความออนแอทางชีวภาพหลายประการดังจะกลาว ตอไปจึงจําเปนและปรารถนาที่อยูรวมกันเปนกลุมเหลามากกวาอยูโดดเดี่ยวซึ่งจะสามารถผดุงรักษา ชีวิตของตนและเผาพันธุไวใหไดทามกลางธรรมชาติแวดลอมที่มีอันตรายและไมปลอดภัยนักผล ของการรวมตัวทางกายภาพไดนําไปสูการระดมปญญาภายในกลุมสรางแบบแผนและระเบียบชีวิต รวมกัน จนเกิดระบบชีวิตใหมที่เหนือกวาเปนธรรมชาติ อิทิ สัญลักษณ เชน ภาษา ขนบธรรมเนียม ประเพณี และประดิษฐกรรมสําหรับการดํารงชีวิตทางสังคมของมนุษย ๑.๗ มนุษยมีชวงชีวิตที่ยาวนาน อายุขัยเฉลี่ยของมนุษยประมาณ 58 ป มนุษยจึงมีชวง โอกาสดีที่มีระยะเวลามากพอที่จะสรางสมภูมิปญญา และกระบวนการเรียนรูทางสังคม เพื่อใหเกิด การสืบทอดและสานสรางวิถีชีวิตที่ดียิ่งขึ้นของมนุษยรุนลูกหลานตอๆมา ความสามารถในการ ปรับตัวดานการเรียนรูของมนุษยเชนนี้ สัตวอื่นไมอาจปรับตัวไดเชนมนุษย ๒. ลักษณะออนแอทางกายของมนุษย มีหลายประการจนอาจทําใหชีวิตและเผาพันธุของ มนุษยชาติสูญสิ้นโลกนี้ไดในทามกลางธรรมชาติที่แกรงและโหดราย แตอยางไรก็ตาม มนุษยไดใช คุณลักษณะทางกายภาพที่ดีทั้งปวงมาลบเลือนและขจัดลักษณะดอยกวาจนแทบจะหมดสิ้น กลาวคือ ๒.๑ ขนาดสรีระที่ไมใหญโตนัก และการมีสรีระภายนอกที่ออนนุมเปราะบางดังเชน ผิวหนังออนบาง เสนผม และเสนขนไมเหนียวและหนา เล็บเปราะ ฟนไมแข็งแรงและคมมากพอ ลักษณะของสรีระเชนนี้เปนจุดออนของรางกายในการอยูรอดเนื่องจากไมสามารถทนทานตอเขี้ยว เล็บและวัตถุแข็งคมทั้งปวง แมสภาวะที่รอนหรือหนาวเกินไป อีกทั้งพละกําลังที่ไมแข็งแรงพอจะ ตอสุกบสัตวใหญไดโดยลําพัง ั ๒.๒ การเปลงเสียงตามสุญชาตญาณจณะมีความรูสึกตางๆ แมยามโกรธเกรี้ยวก็ไม โกญจนาทความไวตอกลิ่นต่ํา การไดยินเสียงไมสมบรูณสูงสุด การเครื่อนไหวดวยการเดิน และการ วิ่งไมรวดเร็วเชนสัตวอื่นคุณลักษณะทางชีวภาพที่ออนแอเหลานี้เปนจุดออนในการดํารงอยูของ ชีวตมากทีเดียว ิ ๒.๓ สภาวะการเจริญพันธุของมนุษยเปนอุปสรรค ๒. ชีวิตและกําเนิดชีวิตในทัศนะของศาสนาพุทธ ชีวิต คือความเปนอยูขององคประกอบที่เรียกวา ขันธ ๕ อันประกอบดวย รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ที่มาประกอบกันเขาเปนสิ่งที่บัญญัติเรียกวา สัตว บุคคล เรา เขา และการ มีชีวิตนั้นเริ่มนับตั้งแตปฏิสนธิในครรภมารดา และอาจจะสิ้นสุดลงขณะใดขณะหนึ่ง ในชวงเวลาที่ แตกตางกัน เช น มีชีวิ ตอยูในครรภห ลังจากปฏิสนธิไ มกี่วัน หรือหลั งคลอด ๑ วัน ๑ เดื อน ๑ ป หรือ…๒๐ ป…๑๐๐ ป(บุญมี แทนแก็ว, ๒๕๔๑: ๒๗ - ๒๘)และในชวงที่ยังมีชีวิตอยูยอมตองการมี ชีวตที่ดีที่สด ซึ่งในทัศนะของพระพุทธศาสนา ชีวิตที่ดีท่ีสุดคือ ชีวิตที่แสวงหาความจริงที่ทําใหหลุด ิ ุ พนจากการเวียนวายตายเกิด แตในความเปนจริงจะมีมนุษยสักกี่คนที่พยายามแสวงหาความจริงนั้น
  • 42. 9 สวนมากยังตองการแสวงหาความสุข ลาภ ยศ สรรเสริญ มากกวา และพยายามที่จะหลีกเลี่ยงความ เสื่อมทั้งหลาย มีความเลื่อมลาภ เสื่อมยศ นินทา อันเปนทางมาแหงทุกข ทั้งนี้เพราะ ไมเขาใจวาคุณ คาที่แทจริงของชีวิตนั้นคืออะไรนั่นเอง การกําเนิดของชีวิต ทางพุทธปรัชญาเรียกวา โยนิ คือกําเนิดหรือที่ที่ปฏิสนธิวิญญาณ อาศัยเกิด ชาติ คือการเกิด ทั้ง ๒ คํานี้มีความหมายตางกันวา โยนิ หมายถึงการกําเนิด, แบบ หรือ ชนิดของการเกิดของสัตว สวนคําวา ชาติ นั้น มีความหมายกวางออกไปอีกคือ หมายถึงการเกิด ชนิด เหลาและปวงชนแหงประเทศเดียวกัน ในมหาสีหนาทสูตร พระพุทธองคไดตรัสกับพระสารี บุตรเกี่ยวกับโยนิ ไวดังนี้ สารีบุตร กําเนิด ๔ ชนิดนี้ กําเนิด ๔ ชนิดไหนบาง คือ กําเนิดอัณฑชะ กําเนิดชลาพุชะ กําเนิดสังเสทชะ และกําเนิดโอปปาติกะกําเนิด กําเนิดอัณฑชะคืออะไร คือเหลาสัตวผูเจาะทําลาย เปลือกไขแลวเกิด นี้เราเรียกวา กําเนิดอัณฑชะ กําเนิดชลาพุชะคืออะไร คือเหลาสัตวผูเกิดในครรภ นี้เราเรียกวา กําเนิดชลาพุชะ กําเนิดสังเสทชะคืออะไร คือเหลาสัตวผูเกิดในปลาเนา ซากศพเนา ขนมบูด น้ําครําหรือเถาไคล นี้เราเรียกวา กําเนิดสังเสทชะ กําเนิดโอปปาติกะ คืออะไร คือเทวดา สัตวนรก มนุษยบางจําพวกและเปรตบางจําพวก นี้เราเรียกวา กําเนิดโอปปาติกะ พระพุทธดํารัสขางตนนั้น บงชัดวา กําเนิดของสัตวหรือสิ่งมีชวตนั้นมี ๔ ทางคือ ีิ ๑. ชลาพุชะ หมายถึง การเกิดของสิ่งมีชีวิตแบบคลอดออกมาเปนตัวแลวคอยๆ โตขึ้น ไดแก มนุษย เทวดาชั้นต่ํา (หมายถึง เทวดาชั้นจาตุมหาราชิกาที่เปนภุมมัฏฐเทวดาคือ เทวดาที่อยูบน พื้นดิน ไมมีวิมานที่ลอยอยูในอากาศเปนที่อยู ซึ่งมีชื่อวา วินิปาติกอสุรา และเวมานิกเปรต) สัตว เดรัจฉานบางพวก เปรต (เวนนิชฌามตัณหิกเปรต คือเปรตจําพวกที่ถูกไฟเผาอยูเสมอ) และอสุรกาย ๒. อัณฑชะ หมายถึง การเกิดของสิ่งมีชีวิตที่ตองอาศัยเกิดจากทองมารดา แตมีฟอง หอหุม คลอดออกมาเปนไขกอนแลวจึงฟกออกมาเปนตัวในภายหลัง ไดแก มนุษย เทวดาชั้นต่ํา สัตวเดียรัจฉาน เปรต (เวนนิชฌามตัณหิกเปรต) และอสุรกาย ในรูปสังคหวิภาค กลาววา ชลาพุชกําเนิดและอัณฑชกําเนิด ทั้ง ๒ รวมเรียกวา คัพภเสย ยก-กําเนิด เพราะตองอาศัยเกิดในครรภมารดาเหมือนกัน ตางกันเพียงวา ออกมาเปนตัวหรือออกมา เปนฟองกอนแลวจึงแตกเปนตัวภายหลัง ซึ่งเกิดไดเฉพาะในกามภูมิเทานั้น๑๑ ๓. สังเสทชะ หมายถึง การเกิดของสิ่งมีชีวิตแบบอาศัยที่เย็น ชื้นหรือแฉะ สิ่งบูดเนา เกิด เชน หนอน (กิมิชาติ) แมพวกราและเชื้อโรคก็รวมอยูในสังเสทชะกําเนิด ไดแก มนุษย เทวดาชั้นต่ํา สัตวเดียรัจฉาน เปรต (เวนนิชฌามตัณหิกเปรต) และอสุรกาย ๑. โอปปาติก ะ หมายถึ ง การเกิ ด ของสิ่งมี ชีวิตแบบไม ตองอาศัยมารดาบิ ดาเป นผู ใ ห กําเนิด ไดแก มนุษยตนกัปป (มนุษยยุคแรก) เทวดา ๖ ชั้น (ยกเวนเทวดาชั้นต่ํา) สัตวเดียรัจฉาน เปรต (รวมทั้งนิชฌามตัณหิกเปรต) และอสุรกาย
  • 43. 10 วิวัฒนาการของชีวิตใหมในครรภมารดาในมุมมองทางพระพุทธศาสนา เมื่อเราทราบกันแลววาสัตวที่มาเกิดในครรภมารดาในลักษณะเปนวิญญาณ วิญญาณ เขาถือปฏิสนธิในครรภมารดา ครรภมารดาสวนที่เล็ก ก็คือมดลูก (ชลาพุ) ในมดลูกมีไข (OvumX ) ของมารดา ผสมกับน้ําเชื้อ (Spem) ของบิดาไดแลว ปปญจสูทนี อธิบายวา เมื่อบิดามารดามีเพศสัมพันธกันแลงครั้งหนึ่ง ภายใน ๗ วัน นั้นเอง จะเปนชวงที่มีวิญญาณเขามาถือปฏิสนธิ หากเลย ๗ วันนั้นไป ไขที่ผสมเชื้อหาไมมี วิญญาณ ถือปฏิสนธิ ก็หมดสภาพ เมื่อวิญญาณปฏิสนธิแลว ก็จะมีรูป ๓ อยางเกิดขึ้นพรอมกัน คือ เคาโครงรางกาย (กาย) , สมอง (วัตถุ) และเพศ (เพศหญิงและเพศชาย) วิญญาณที่มาปฏิสนธินี้เรียกวา ปฏิสนธิวิญญาณ (วิญญาณที่ทําหนาที่ใหกําเนิดชีวิต) เมื่อทําหนาที่ใหปฏิสนธิและดับไปเปน ป จ จั ย ให เ กิ ด ภวั ง ควิ ญ ญาณสื บต อภวัง ควิญ ญาณนี้จ ะทํา หน า ที่ ห ลอเลี้ย งสร า งสรรชีวิ ต ใหมใ ห วิวัฒนาการขึ้นตามลําดับ ในอินทกสูตร พระพุทธเจาไดตรัสถึงวิวัฒนาการของชีวิตในครรภมารดาไว ดังนี้ “รูปนี้เปนกลละกอน จากกลละเปนอัมพุทะ จากอัมพุทะเกิดเปนเปสิ จากเปสิเกิดเปน ฆนะ จากฆนะเกิดเปน ๕ ปุม ตอจากนั้นก็มีผม ขนและเล็บ (เปนตน) เกิดขึ้น มารดาของสัตว ในครรภบริโภคขาวน้ําโภชนาหารอยางใด สัตวที่อยูในครรภมารดาก็เลี้ยงอัตตภาพอยูดวยอาหาร อยางนั้นในครรภนั้น” พระสูตรอีกสูตรหนึ่ง ที่พระพุทธเจาไดตรัสไววาดวยลําดับของชีวิตในครรภมารดา ซึ่งเราไปพบคําบาลีเปนคาถาวา ปมํ กลลํ โหติ กลลา โหติ อพฺพุทํ อพฺพุทา ชายเต เปสิ เปสิ นิตฺตตฺตตี ฆโน ฆนา ปสาขา ชายนฺติ เกสา โลมา นขาป นี้คือคําอธิบายดวยลําดับการเกิดเปนระยะ ๆ ทีละชวงสัปดาห หรือชวงละเจ็ดวัน ๆ ลําดับแรกที่สุดก็คือ เปน ปมํ กลลํ เปนกลละกอน อรรถกถาสารั ต ถปกาสิ นี ไ ด ข ยายความพระพุ ท ธพจน นี้ ว า ระยะแรกเป น กลละนั้ น หมายความวา สัตวที่เกิดในครรภมารดาอวัยวะทุกสวนมิใชเกิดพรอมกันทีเดียว แทจริงแลวคอย ๆ วิวัฒนาการขึ้นทีละนอยตามลําดับโดยระยะแรกอยูในสภาพเปน “กลละ” กอน กลละคือน้ําใส มี สีคลายเนยใส ขนานเทาหยาดน้ํามันงา ซึ่งติดอยูที่ปลายดายที่ทําจากขนแกะแรกเกิด ๓ เสน ฎีกา อภิธัมมัตถวิภาวินี อธิบายเสริมวา “กลละนั้น มีเคาโครงของกายภาพอยูดวยแลว ๓ อยาง คือ กายทสกะ (โครงสรางทางรางกาย) วัตถุทสกะ (โครงสรางทางสมอง) และภาวะทสกะ
  • 44. 11 (โครงสรางกําหนดเพศ) โครงสรางทั้ง ๓ นี้ ปรากฏรวมอยูแลวในกลละ สวนกลละจะมี ลักษณะเปนก็อนกลมใส มีขนานเทาหยดน้ํามันงาซึ่งอยูติดที่ขนแกะแรกเกิด ๑ เสน” จากกลละมาเปนอัพพุทะ (จากน้ําใสมาเปนน้ําขุนขน) อรรถกถาอธิบายวา ครั้นเปน กลละได ๗ วัน อัพพุทะนั้นจะวิวัฒนาการเปนน้ําขุนขน มีสีคลายน้ําลางเนื้อ เรียกวา “อัพพุทะ” จากอัพพุทะมาเปนเปสิ (จากน้ําขุนขนมาเปนชิ้นเนื้อ) อรรถกถาอธิบายวา ครั้นเปนอัพ พุทะได ๗ วันแลว อัพพุทะนั้นก็วิวัฒนาการแข็งตัวเปนชิ้นเนื้อสีแดง มีลักษณะคลายเนื้อแตงโม บด จากเปสิมาเปนฆนะ (จากชิ้นเนื้อมาเปนก็อน) อรรถกถาอธิบายวา ครั้นเปนชิ้นเนื้อได ๗ วัน ชิ้นเนื้อก็วิวัฒนาการแข็งตัวขึ้นอีกเปนก็อนเนื้อ ทรงกลมรีคลายไขไก จากก็อนเนื้อก็เกิดเปนสาขา อรรถกถาอธิบายวา ในสัปดาหที่ ๕ ก็อนเนื้อขึ้นก็เกิดเปน ปุม ๕ ปุม เรียกวา “ปญจสาขา” ปุม ๕ ปุมนี้ภายใน ๗ วันนั้น ก็วิวัฒนาการขึ้นเปนมือ ๒ ขาง เทา ๒ ขาง และศีรษะ ในสัปดาหที่ ๖ เคาโครงตา (จักขุทสกะ) ก็เกิด จากนนั้นสัปดาหที่ ๗ เคาโครงลิ้น (ชิวหาทสกะ) ก็เกิด รวมเวลาตั้งแตแรกถือปฏิสนธิจนกระทั้งถึงเวลาเกิดอวัยวะ คือ ตา หู จมูก ลิ้น ทั้งสิ้น ๙ สัปดาห (๖๓ วัน) จากสัปดาหที่ ๙ ไปถึงสัปดาหที่ ๔๒ องคาพยพตาง ๆ เกิดขึ้น คือ ผม ขน เล็บ หนัง เนื้อ เอ็ น กระดูก เยื่ อในกระดูก มาม หัวใจ ตับ พังพืด ไต ปอด ไสใหญ ไสนอย (อาหารใหม อาหารเกา) ในขณะที่องคาพยพตาง ๆ เกิดขึ้นอยูนั้น สวนตาง ๆ ของรางกายก็เกิดขึ้นดวยพรอม กันดังนี้ สวนที่เกิดเปนของเหลว (อาโปธาตุ) ไดแก น้ําดี เสลด น้ําเหลือง เหงื่อ มันขน เปลว มัน น้ําลาย น้ํามูก ไขขอ ปสสาวะ สวนที่เปนพลังงาน (เตโชธาตุ) ไดแก ไฟธาตุทํารางกายใหอบอุน ซึ่งตอไปจะแปร สภาพเปนไฟยอยอาหาร ไฟทํารางกายใหทรุดโทรม ไฟที่ทํารางกายใหกระวนกระวาย (เชน รอน ใน เปนตน) สวนที่เปนกาซ (วาโยธาตุ) ไดแก ลมพัดซานไป ลมพัดขึ้นเบื้องบน ลมพัดลงเบื้องต่ํา ลมในทอง ลมพัดในไส ลมพัดไปมาตามตัว ซึ่งตอไปจะแปรสภาพเปนลมหายใจ ๔. ความเปนอยูในครรภของมารดา ตามที่ปรากฏในอินทกสูตร วา มารดาของสัตวใน ครรภบริโภคขาวน้ําโภชนาการอยางใด สัตวผูอยูในครรภมารดาก็เลี้ยงดวยอัตภาพอยางนั้นใน ครรภ อรรถาธิบายเพิ่มเติมวา สัตวที่อยูในครรภมารดาบริโภคอาหารทางก็านสะดือ (นาภิโต อฏฐิตนาโฬ) กลาวคือ ก็านสะดือจะติดเปนอันเดียวกันกับแผนทองของมารดา ก็านสะดือนั้นมี ลักษณะเปนรูปพรุนขางในเหมือนก็าน รสอาหารที่มารดากินเขาไปแลวแผซานไปทางกานสะดือ สัตวในครรภก็เลี้ยงตนเองดวยรสอาหารนั้น
  • 45. 12 สรุปแลวคนเราอยูในครรภมารดา ๔๒ สัปดาห คิดเปนเดือนได ๑๐ เดือน คิดเปนวัน ได ๒๙๔ วัน ซึ่งตลอดระยะเวลาเทานี้ ชีวิตเราเกิดและวิวัฒนาการสมบูรณเต็มที่พรอมที่จะ ออกมาลืมตาดูโลกไดกลาวถึงการเกิด วิวัฒนาการของชีวิตใหมในครรภมารดาและความเปนอยูใน ครรภมารดาในทัศนะของพระพุทธศาสนามาแลว การเกิด ในวันที่ ๑๔ ของแตละเดือน ในรางกายของหญิงที่ยังมีประจําเดือนจะมีไขสุก พรอมที่จะผสมกับสเปอรมหลุดออกมาจากรังไข ไขนี้เล็กมากมีขนาด ๐. ๑๓๕ มิลลิเมตร ตัวไข มีเยื่อบาง ๆ ซึ่งเปนเซลลรูปกรวยคลุมอยู ภายในไขมีโครโมโซมบอกเพศทารกและยีนอยู ยีนนี้มี ขนาดเล็กมากประมาณ ๐.๐๐๐๐๒ มิลลิเมตร และมีความสําคัญมากเพราะจําทําหนาที่สืบลักษณะ ของบรรพบุรุษมายังลูกหลานตอไป ลักษณะดังกลาวนั้น ก็คือสีผมลักษณะของหนาตา ศรีษะ จมูก รวมทั้งนิสัยใจคอเปนตน ยีนนี้มีอยูในโครโมโซม โครโมโซมมีจํานวนจํากัด คือ มี ๒๓ คู รวมทั้งโครโมโซม X หรือโครโมโซม Y สําหรับบอก เพศดวย กอนที่ไขกับสเปอรมจะผสมกัน ตางก็ลดจํานวนโครโมโซมเหลือครึ่งหนึ่งภายหลังผสม กันแลวจึงรวมกลับเปน ๒๓ คูเทาเกา ถารวมเปน ๒๒ คู + XY จะเปนชาย ถาเปน ๒๒ คู +XX ลูกจะเปนหญิง เมื่อสเปอรมเขาไปในชองคลอดแลว จะวายทวนขึ้นไปในโพรงมดลูก ไปที่หลอดมดลูก ดานนอก ทั้งนี้กินเวลาประมาณ ๖๕-๗๕ นาที การผสมไขจะเกิดขึ้นที่นั่นโดยสเปอรม ๑ ตัว จะใชหัวไซทะลุเยื่อหุมเซลลของไขเขาไปไดและทิ้งหางไวภายในนอกไข จากนั้นไขที่ผสมแลว (Ferltillzed Ovum = Zygote) จะลอยกลับไปโพรงมดลูก ระหวางนี้ไขจะเปลี่ยนแปลงรูปรางและเซลลภายในจากสภาพที่ผสมแลวเปนสภาพมีผิวขรุขระ คลายนอยหนา (Morula) ประมาณวันที่ ๖ จะแปรสภาพเปนตัวออน (Embeyo) ซึ่งจะวิวฒนาการ ั ตอไป ตัวออนขั้นนี้ จะมีสภาพเนื้อเยื่อของเซลลตรงกลางเปนรูกลวงซึ่งพรอมแลวที่จะฝงตัวลงใน เยื่อบุมดลูกที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อการตั้งครรภ ตัวออนจะพัฒนาตัวเองอยู ๖ สัปดาห และสิ้นสุด เมื่ออายุ ๒ เดือน เนื้อเยื่อเซลลของตัวออนแบงออกไดเปน ๓ ชั้น คือ ๑. ชั้นในที่สุด (Endoderm) ชั้นนี้จะเจริญเติบโตตอไปเปนเยื่อบุลําไส เยื่อบุทางเดิน ของระบบหายใจ กระเพาะปสสาวะ ทอปสสาวะ ตอมไทรอยด และตอมไทมัส ๒. ชั้นกลาง (Mesoderm) ชั้นนี้จะเจริญเติบโตเปนกลามเนื้อ กระดูก เสนเลือด กระดูกออน เอ็นตาง ๆ แกนกลางของฟน ไต ทอไต รังไข (เพศหญิง) ลูกอัณฑะ (เพศชาย) หัวใจ หลอดโลหิต ทอน้ําเหลือง เยื่อหุมหัวใจและเยื่อหุมปอด ๓. ชั้นนอกสุด (Ectoderm) ชั้นนี้จะเจริญเติบโตเปนผิวหนัง ผม ขน เล็บ ตอมน้ํามัน ตอมน้ําลาย ตอมน้ํามูก เคลือบฟน ระบบประสาท รวมทั้งเนื้อสมอง
  • 46. 13 หลังจาก ๒ เดือนนี้แลว ขณะยางเขาเดือนที่ ๓ เซลลอวัยวะจะเจริญเติบโตและมี รูปรางพอที่จะมองเห็นคราว ๆ ไดวา เปนรางกายมนุษย (Fetus) นับจากเดือนที่ ๓ ถึงคลอด (คือสัปดาหที่ ๘ หลังจากมีสภาพเปนตัวออนแลว) ทารกก็ จะเจริญเติบโตขึ้นเรื่อย ๆ อวัยวะตาง ๆ จะมีวิวัฒนาการไปตามลําดับจนครบ ๙ เดือน หรือ ๔๐ สัปดาห หรือ ๒๘๐ วัน จึงจะคลอด ๒. วิวัฒนาการของชีวิตใหมในครรภมารดา ไขตั้งแตผสมกับสเปอรมจนอายุได ๒ สัปดาห เรียกวา ไข (Ovum) ระหวาง ๓-๘ สัปดาห เรียกวา ตัวออน (Embryo) ระหวาง ๘ สัปดาห ถึงคลอด เรียกวา ทารก (Fetus) ที่กลาวมาทั้งหมดนี้ คือ วิวัฒนาการอยางคราว ๆ ที่เปลี่ยนสภาพมาตามลําดับคือ จาก ไข เปนตัวออน และจากตัวออนเปนทารก นักชีววิทยาไดศึกษาและใหรายละเอียดเกี่ยวกับอวัยวะ และน้ําหนักตัวของทารกอีกดังตอไปนี้ สัปดาหที่ ๓ เริ่มมีทางเดินอาหาร ตอไปมีหัวใจเกิดขึ้น และมีตุมแขนขา และระบบ ประสาท เริ่มพัฒนาขึ้น โดยชั้นเซลลกอพันธดานอก หรือผิวหนังของตัวออนจะหนาขึ้นตามลําดับ มีเสนกลางและกลายเปนกลีบยาว ๒ กลีบ กลีบยาว ๒ กลีบนี้แหละจะทําใหเกิดมีรองขึ้น ๑ รอง จากดานหัวไปดานทาย รองนี้จะปดกลายเปนหลอดขึ้นมา ๑ หลอด เมื่อกลีบทั้ง ๒ แตะกัน และผสมผสานเปนเนื้อเดียวกันโดยเริ่มจากเอวเรื่อยไปจนถึงปลายทั้ง ๒ ขาง ยอดหลอดจะโตขึ้น เปนสมอง และใยประสาทเริ่มเติบโตออกจากสมองและไขสันหลังที่เพิ่งจะมีขึ้นมา สัปดาหที่ ๔ ตัวยาว ๑ เซ็นติเมตร มีตุมตา หู จมูก แก็ม เริ่มเปนรูปรางขึ้นมา สัปดาหที่ ๕-๖ ตัวยาว ๑ เซ็นติเมตรเศษ ศรีษะและรางกายมีขนาดเทา ๆ กัน กาน สมองเติบโตขึ้นมาก มือทั้ง ๒ ขาง มีนิ้วมือใหเห็นราง ๆ แตเทายังมีลักษณเหมือนใบพาย สัปดาหที่ ๖-๗ ตัวยาว ๒-๓ เซนติเมตร นิ้วมือกําลังพัฒนาขึ้นมา แตแขนยังสั้น สัปดาหที่ ๘ ตัวยาว ๔ เซนติเมตร ตัวงอ มองดูศรีษะใหญกวาตัว เพราะสมองเริ่ม เจริญ อวัยวะสืบพันธุภายนอกเจริญขึ้น แตยังแยกเพศไมได สัปดาหที่ ๙ ตัวยาว ๕ เซนติเมตร อวัยวะเพศเริ่มวิวัฒนาการขึ้น สัปดาหที่ ๑๐-๑๑ ตัวยาว ๖ เซนติเมตร หัวใจเปนรูปรางสมบูรณแลว เซลล เลือดขาวที่ทํา หนาที่ตอตานเชื้อโรคกําลังกอตัวขึ้นในปุมน้ําเหลือง ตายังปดอยู หนาผากใหญและกลม จมูกเล็ก และบี้ กลามเนื้อทํางานแลวที่ใตผิวหนัง ริมฝปากเปดและปด หนาผากยน คิ้วเลิกและศรีษะสั่นได สัปดาหที่ ๑๒ ตัวยาว ๙ เซนติเมตร หนัก ๑๕ กรัม มีนิ้วมือ นิ้วเทามองเห็นชัดเจน และมีเล็บออน ๆ เริ่มแยกเพศได
  • 47. 14 สัปดาหที่ ๑๖ ตัวยาว ๑๖ เซนติเมตร หนัก ๑๑๐ กรัม แยกเพศไดชัดเจน มีการ เคลื่อนไหวของระบบการหายใจและการกลืนเริ่มมีขนออนขึ้น ผิวหนังแดง ดิ้นไดจนมารดารูสึก ทันที (ถาฟงจะไดยินเสียงหัวใจเด็กเตน) สัปดาหที่ ๒๐ ตัวยาว ๒๕ เซนติเมตร หนัก ๓๐๐ กรัม ศรีษะยังใหญอยู ทองเล็กลง มีผมเพิ่มขึ้น สัปดาหที่ ๒๔ ตัวยาว ๓๐ เซนติเมตร หนัก ๖๓๐ กรัม มีขนออนขึ้นทั่วตัว มีขนตา และขนคิ้ว หนังตาแยกจากกัน ผิวหนังยนเหี่ยวรูปรางดีขึ้น สัปดาหที่ ๒๘ ตัวยาว ๓๕ เซนติเมตร หนัก ๑.๐๔๕ กรัม (สามารถเลี้ยงรอดได ถา คลอดออกมา แตมีจํานวนนอยมาก) ผิวหนังมีสีแดง ยน และมีไขปกคลุมอยูเต็ม ลืมตาได (อัณฑะลงมาอยูในถุง- เพศชาย) รองเสียงคอย สัปดาหที่ ๓๒ ตัวยาว ๔๐ เซนติเมตร หนัก ๒,๐๐๐ กรัม ลักษณะคลายคนแก และ คลายเด็กปลายสัปดาหที่ ๒๘ สัปดาหที่ ๓๖ ตัวยาว ๔๕ เซนติเมตร หนัก ๒,๕๐๐ กรัมขึ้นไป ผิวหนังมีสีชมพู ถือ วาครบกําหนดคลอดแลว รองทันทีเมื่อคลอด และลืมตายกมือยกเทาปดไปปดมา สวนมากถาย ปสสาวะขณะที่รอง ทําปากดูดได และถาใหน้ํารับประทานจะดูดได มีขนเล็กนอยบริเวณไหล มี ไขติ ด ตามตั ว โดยเฉพาะตามข อ พั บ เล็ บ ยาวพั น นิ้ ว เด็ ก ผู ช ายอั ณ ฑะจะลงมาอยู ใ นถุ ง อั ณ ฑะ เด็กผูหญิงแคมอวัยวะเพศทั้ง ๒ ขางจะติดกัน ๓. องคประกอบของชีวิต ชีวิตที่สามารถดํารงอยูไดดวยสวนประกอบที่สําคัญ ๒ สวนคือ กายกับใจ หรือจิต ถา หากปราศจากสิ่งใดสิ่งหนึ่งแลว ไมสามารถที่จะดํารงอยูไดดวยตัวของมันเอง แตเปนการอาศัยซึ่ง กันและกันจึงดํารงอยูได จึงใครที่จะเสนอแนวคิดเหลานี้ สมพร สุขเกษม (๒๕๔๒: ๔๕ - ๕๑) ไดกลาวถึงองคประกอบของชีวตไวสรุปไดดังนี้ ิ ๑. องคประกอบของชีวิตทางกายภาพ รางกายมนุษยประกอบไปดวยเซลล (Cell) จํานวนนับพัน ๆ ลานเซลลขึ้นไป เซลลเปน หนวยยอยที่เล็กที่สุดในชีวิต ซึ่งแสดงธรรมชาติของความมีชีวิต เชน ในสวนของเซลที่เปนโปโต ปลาสซึม ( Photoplasm ) ซึ่งเรียกกันวาสารมีชวิต ( Life substance) นั้นมีการเจริญเติบโตขยายพันธ ี ตอบสนองตอสิ่งเรา หายใจตองการอาหารและมีการเปลี่ยนแปลงอาหารใหเปนพลังงาน ธรรมชาติ เชนนี้ทําใหชีวิตมี “ ความตองการทางกาย ” หรือ “ความตองการทางชีววิทยา” ( Biological Needs ) ซึ่งเปน “แรงขับ” ( Drives) พื้นฐานของพฤติกรรม