SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 11
Downloaden Sie, um offline zu lesen
นางสาวสุดารัตน์ สุปัน ม.4/7 เลขที31
                                 ่
ประวัติ
   เมื่อคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดาเนินเยี่ยมพสกนิกร เมื่อปี พ.ศ.
  2498 ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ทรงรับทราบถึงความเดือดร้อนทุกข์ยากของราษฎรและเกษตรกรที่
  ขาดแคลนน้าอุปโภคบริโภคและการเกษตร จึงได้มีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานโครงการพระราชดาริ
  "ฝนหลวง"(Artificial rain) ให้กับ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล ไปดาเนินการ ซึ่งต่อมาได้เกิดเป็นโครงการ
  ค้นคว้าทดลองปฏิบัติการฝนเทียมหรือฝนหลวงขึ้น ในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  เมื่อปี พ.ศ. 2512 ด้วยความสาเร็จของ โครงการ จึงได้ตราพระราชกฤษฎีกาก่อตั้งสานักงานปฏิบัติการฝน
  หลวงขึ้นในปี พ.ศ. 2518 ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อเป็นหน่วยงานรองรับโครงการ
  พระราชดาริฝนหลวงต่อไป
   การทาฝนเทียมหรือฝนหลวงเป็นกรรมวิธีการเหนี่ยวนาน้าจากฟ้า ใช้เครื่องบินบรรจุสารเคมีขึ้นไปโปรย
  ในท้องฟ้า โดยดูจากความชืนของเมฆและสภาพทิศทางลมประกอบกัน ปัจจัยสาคัญที่ทาให้เกิดฝนคือ
                              ้
  ความร้อนชื้นปะทะความเย็น และมีแกนกลั่นตัวที่มีประสิทธิภาพในปริมาณที่เหมาะสม กล่าวคือ เมื่อมวล
  อากาศร้อนชื้นทีระดับผิวพื้นขึ้นสูอากาศเบื้องบน อุณหภูมิของมวลอากาศจะลดต่าลงจนถึงความสูงที่
                   ่                 ่
  ระดับหนึ่ง หากอุณหภูมิที่ลดต่าลงนั้นมากพอก็จะทาให้ไอน้าในมวลอากาศอิ่มตัว จะเกิดขบวนการกลั่น
  ตัวเองของไอน้าในมวลอากาศขึ้นบนแกนกลั่นตัว เกิดเป็นฝนตกลงมา ฉะนั้นสารเคมีที่ใช้จงประกอบด้วย
                                                                                         ึ
  "สูตรร้อน" ใช้เพื่อกระตุ้นเร่งเร้ากลไกการหมุนเวียนของบรรยากาศ, "สูตรเย็น" ใช้เพื่อกระตุ้นกลไกการ
  รวมตัวของละอองเมฆให้โตขึ้นเป็นเม็ดฝน และสูตรที่ใช้เป็นแกนดูดซับความชื้น เพื่อใช้กระตุ้นกลไก
  ระบบการกลั่นตัวให้มีประสิทธิภาพสูง

                                        นางสาวสุดารัตน์ สุปัน ม.4/7 เลขที31
                                                                         ่
จากการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จเยี่ยมราษฎรใน
จังหวัดต่างๆ เป็นประจาได้ทรงพบเห็นท้องถิ่นหลายๆแห่งประสบ
ปัญหาความแห้งแล้งหรือขาดแคลนน้าเพื่อการอุปโภค บริโภค และ
การทาเกษตรโดยเฉพาะอย่างยิ่งในฤดูเพาะปลูกเกษตรกรจะประสบ
ความเดือดร้อน ทุกข์ยากมาก เนื่องจากบางครั้งฝนได้ทิ้งช่วงนานหรือ
ภาวะฝนทิ้งช่วงเกิดในระยะวิกฤติของพืชผล คือพืชอยู่ในระยะที่กาลัง
ให้ผลผลิตต่า ดังนั้นภาวะฝนแล้งหรือฝนทิ้งช่วงในแต่ละครั้ง/แต่ละปี
จึงสร้างความเดือดร้อนและความสูญเสียทางเศรษฐกิจแก่เกษตรกร
เป็นอย่างสูง


                        นางสาวสุดารัตน์ สุปัน ม.4/7 เลขที31
                                                         ่
โครงการฝนหลวงตามแนวพระราชดาริ




   ด้วยสายพระเนตรที่ยาวไกลและทรงความอัจฉริยะในพระองค์ท่านดังนั้นในปี พุทธศักราช2498 จึงได้มีพระราชดาริค้นหา
   วิธีการ ที่จะทาให้เกิดฝนตกนอกเหนือจากที่จะได้รับจากธรรมชาติโดยนาเทคโนโลยีนาสมัยและทรัพยากรที่มีอยู่ประยุกต์กับ
   ศักยภาพของการเกิดฝนในเขตร้อน เช่น ประเทศไทยมุ่งขจัดปัญหาความเดือดร้อนดังกล่าว และทรงมีพระราชหฤทัยเชื่อมั่นว่า
   วิธีการดังกล่าวนี้จะทาให้การพัฒนาระบบการจัดทรัพยากรน้าของชาติเกิดความพร้อมและครบบริบูรณ์ตามวัภจักรของน้า คือ
   1.การพัฒนาระบบการจัดการทรัพยากรแหล่งน้าใต้ดิน
   2.การพัฒนาระบบการจัดการทรัพยากรแหล่งน้าผิวดิน
  3.การพัฒนาการจัดการทรัพยากรแหล่งน้าในบรรยากาศ
  และทรงเชื่อมั่นในพระราชหฤทัยว่าด้วยลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศของประเทศจะสามารถดาเนินการให้
  บังเกิดผลสาเร็จได้อย่างแน่นอน ดังนั้นในปี พุทธศักราช 2499 จึงได้ทรงพระมหากรุณาพระราชทานโครงการ
  พระราชดาริ "ฝนหลวง" ให้หม่อมราชวงศ์เทพฤทธิ์ เทวกุล รับไปดาเนินการศึกษาวิจัยและการพัฒนากรรมวิธีการ
  ทาฝนให้บังเกิดผลโดยเร็ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงกาหนดขั้นตอนของกรรมวิธีการทาฝนหลวงขึ้น
  เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายๆ ตามลาดับดังนี้


                                               นางสาวสุดารัตน์ สุปัน ม.4/7 เลขที31
                                                                                ่
ขั้นตอนที่หนึ่ง : "ก่อกวน"
 เป็นขั้นตอนที่เมฆธรรมชาติเริ่มก่อตัวทางแนวตั้งการปฏิบัติการฝนหลวงในขั้นตอนนี้จะมุ่งใช้สารเคมีไปกระตุ้นให้มวล
  อากาศเกิดการลอยตัวขึ้นสู่เบื้องบน เพื่อให้เกิดกระบวนการชักนาไอน้าหรือความชื้นเข้าสู่ระบบการเกิดเมฆระยะเวลาที่จะ
  ปฏิบัติการในขั้นตอนนี้ไม่ควรเกิน 10.00 น. ของแต่ละวันโดยการใช้สารเคมีที่สามารถดูดซับไอน้าจากมวลอากาศได้แม้จะมี
  เปอร์เซ็นต์ความชื้นสัมพัทธ์ต่า (มี ค่า Critical relative humidity ต่า)เพื่อกระตุ้นกลไกของกระบวนการกลั่นตัวไอน้าในมวล
  อากาศ (เป็นการสร้าง Surrounding ให้เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเมฆด้วย) ทางด้านเหนือลมของพื้นที่เป้าหมาย เมื่อ
  เมฆเริ่มเกิดมีการก่อตัวและเจริญเติบโตทางตั้งแล้วจึงใช้สารเคมีที่ให้ปฏิกิริยาคายความร้อนโปรยเป็นวงกลมหรือเป็นแนวถัด
  มาทางใต้ลมเป็นระยะทางสั้นๆ เข้าสู่ก้อนเมฆเพื่อกระตุ้นให้เกิดกลุ่มแกนร่วม(main cloud core) ในบริเวณปฏิบัติการ
  สาหรับใช้เป็นศูนย์กลางที่จะสร้างกลุ่มเมฆฝนในขั้นตอนต่อไป
  ขั้นตอน ที่ สอง : "เลี้ยง ให้ อ้วน"
เป็นขั้นตอนที่เมฆกาลังก่อตัวเจริญเติบโตซึ่งเป็นระยะสาคัญมากในการปฏิบัติการฝนหลวงเพราะจะต้องไปเพิ่มพลังงาน
  ให้แก่ updraft ให้ยาวนานออกไปต้องใช้เทคโนโลยีและประสบการณ์หรือศิลปะแห่งการทาฝนควบคู่ไปพร้อมๆ กันเพื่อ
  ตัดสินใจโปรยสารเคมีฝนหลวงชนิดใด ณ ที่ ใดของกลุ่มก้อนเมฆ และในอัตราใดจึงเหมาะสมเพราะต้องให้กระบวนการ
  เกิดละอองเมฆสมดุลกับความแรงของ updraft มิฉะนั้นจะทาให้เมฆ สลาย
   ขั้นตอน ที่ สาม : "โจมตี"
เป็นขั้นตอนสุดท้ายของกรรมวิธีปฏิบัติการฝนหลวงเมฆหรือกลุ่มเมฆฝนมีความหนาแน่นมากพอที่จะสามารถตกเป็นฝนได้
  ภายในกลุ่มเมฆจะมีเม็ดน้าขนาดใหญ่มากมาย หากเครื่องบินบินเข้าไปในกลุ่มเมฆฝนนี้จะมีเม็ดน้าเกาะตามปีกและกระจัง
  หน้าของเครื่องบินเป็นขั้นตอนที่สาคัญและอาศัยประสบการณ์มากเพราะจะต้องปฏิบัติการเพื่อลดความรุนแรงของ updraft
  หรือทาให้อายุของ updraft หมดไปสาหรับการปฏิบตการในขันตอนนีจะต้องพิจารณาจุดมุงหมายของการทาฝนหลวง ซึงมี
                                                         ั ิ      ้         ้               ่                       ่
  อยู่ 2 ประเด็นคือเพื่อเพิ่มปริมาณฝนตก (Rain enhancement) และเพื่อให้เกิดการกระจายการตกของฝน (Rain redistribution)


                                             นางสาวสุดารัตน์ สุปัน ม.4/7 เลขที31
                                                                              ่
เครื่องมือและอุปกรณ์สาคัญที่ใช้ประกอบในการทาฝนหลวง
   1. เครื่องมืออุตุนิยมวิทยาใช้ในการตรวจวัดและศึกษาสภาพอากาศ ประกอบการวางแผนปฏิบัติการนอกเหนือจากแผนที่อากาศ
     ภาพถ่ายดาวเทียมที่ได้รับสนับสนุนเป็นประจาวันจากกรมอุตุนิยมวิทยาที่มีใช้ได้แก่
     1.1 เครื่องวัดลมชั้นบน (Pilot Balloon) ใช้ตรวจวัดทิศทางและความเร็ว ลมระดับสูงจากผิวดินขึ้นไป
     1.2 เครื่องวิทยุหยังอากาศ (Radiosonde) เป็นเครื่องมืออิเล็คทรอนิคส์ประกอบด้วยเครื่องส่งวิทยุ ซึ่งจะติดไปกับบอลลูนและ
                        ่
     เครื่องรับสัญญาณวิทยุซึ่งจะบอกให้ทราบถึงข้อมูลอุณหภูมิความชื้นของบรรยากาศในระดับต่างๆ
      1.3 เครื่องเรดาร์ ตรวจอากาศ (Weather Radar) ที่มีใช้อยู่เป็นแบบติดรถยนต์เคลื่อนที่ได้มีประสิทธิภาพสามารถบอกบริเวณที่มี
     ฝนตกและความแรงหรือปริมาณน้าฝนและการเคลื่อนที่ของกลุ่มฝนได้ในรัศมี 200-400 กม. ซึ่งนอกจากจะใช้ประกอบการวางแผน
     ปฏิบัติการแล้วยังใช้เป็นหลักฐานในการประเมินผลปฏิบัติการฝนหลวงอีกด้วย
    1.4 เครื่องมือตรวจอากาศผิวพื้นต่างๆ เช่น เครื่องวัดอุณหภูมิเครื่องวัด ความเร็วและทิศทางลมเครื่องวัดปริมาณน้าฝนเป็นต้น
    2. เครื่องมือเตรียมสารเคมี ได้แก่เครื่องบดสารเคมีเครื่องผสมสารเคมีทั้งแบบน้าและแบบผงถังและกรวยโปรยสารเคมีเป็นต้น
    3. เครื่องมือสื่อสารใช้ในการติดต่อสื่อสารและสั่งการระหว่างนักวิชาการบนเครื่องบินกับฐานปฏิบัติการหรือระหว่างฐานปฏิบัติการ
     2 แห่ง หรือใช้รายงานผลระหว่างฐานปฏิบัติงานสานักงานฯ ในส่วนกลางโดยอาศัยข่ายร่วมของวิทยุตารวจศูนย์สื่อสารสานักงาน
     ปลัดกระทรวงมหาดไทยวิทยุเกษตรและกรมไปรษณีย์โทรเลขเครื่องมือสื่อสารที่ใช้ในปัจจุบันได้แก่วิทยุซิงเกิลไซด์แบนด์ วิทยุ
     FM.1, FM.5 เครื่องโทรพิมพ์ เป็นต้น
   4. เครื่องมือทางวิชาการอื่นๆ เช่นอุปกรณ์ทางการวางแผนปฏิบัติการเข็มทิศแผนที่กล้องส่องทางไกล เครื่องมือตรวจสอบสารเคมี
     กล้องถ่ายภาพและอื่นๆ
    5. สถานีเรดาร์ฝนหลวง ในบรรดาเครื่องมืออุปกรณ์วิทยาศาสตร์ภายใต้โครงการวิจยทรัพยากรบรรยากาศประยุกต์จานวน 8 รายการ
                                                                                      ั
     นั้น Doppler radar จัดเป็นเครื่องมืออุปกรณ์วิทยาศาสตร์ที่มีมูลค่าสูงสุด Doppler radar นี้ใช้เพื่อวางแผนการทดลองและติดตาม
     ประเมินผลปฏิบัติการฝนหลวงสาธิตเครื่องมือชนิดนี้ทางานโดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ (Microvax 3400) ควบคุมการสั่งการการเก็บ
     บันทึกรวบรวมข้อมูลสามารถนาข้อมูลกลับมาแสดงใหม่จากเทปบันทึกในรูปแบบการทางานของ IRIS (IRIS Software) ผ่าน
     Processor (RUP-6) กล่าวคือข้อมูลจะถูกบันทึกไว้ในเทปบันทึกข้อมูล ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถนามาใช้ได้ตลอดซึง        ่
     เชื่อมต่อกับระบบเรดาร์การแสดงผล/ข้อมูลโดยจอภาพ (TV.monitor) ขนาด 20 นิ้ว สถานที่ตั้ง Doppler radar หรือที่เรียกว่าสถานี
     เรดาร์ฝนหลวงนี้อยู่ที่ ตาบลยางเปียง อาเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่



                                    นางสาวสุดารัตน์ สุปัน ม.4/7 เลขที31
                                                                     ่
จากกรรมวิธีการทาฝนหลวงที่ใช้เป็นหลักอยู่ในปัจจุบันคือการโปรยสารเคมีฝนหลวงจากเครืองบิน     ่
เพื่อเร่งหรือเสริมการก่อตัวและการเจริญเติบโตของเมฆและการโจมตีกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการที่เคย
ปฏิบัติกันมาตั้งแต่เริ่มแรกจนถึงปัจจุบันนี้นั้นในบางครั้งก็ประสบปัญหาที่ไม่สามารถปฏิบัติการตาม
ขั้นตอนกรรมวิธีให้ครบถ้วนสมบูรณ์ เช่น ในขั้นโจมตีให้ฝนตกลงสูพื้นที่เป้าหมายไม่สามารถกระทา
                                                                   ่
ได้เนื่องจากฝนตกปกคลุมสนามบินเกิดลมพายุปั่นป่วนและรุนแรงเครืองบินไม่สามารถบินขึ้น
                                                                     ่
ปฏิบัติการได้ทาให้กลุ่มเมฆเคลื่อนพ้นพื้นที่เป้าหมายจากปัญหาต่างๆ เหล่านี้ จึงได้มีการวิจัยและ
ทดลองกรรมวิธีการทาฝนเพื่อการพัฒนาและก้าวหน้าบรรลุเป้าหมายยิ่งขึ้นอีกระดับหนึ่งอาทิเช่นการ
ทาวิจัยสร้างจรวดบรรจุสารเคมียิงจากพื้นดินเข้าสู่ก้อนเมฆหรือยิงจากเครื่องบินจึงได้มีการเริ่มวิจัย
ประดิษฐ์จรวดทาฝนร่วมกับกรมสรรพาวุธทหารบกเมื่อ พ.ศ. 2515-2516 จนก้าวหน้าถึงระดับทดลอง
ยิงในเบื้องต้นแล้วแต่ต้องหยุดชะงักด้วยความจาเป็นบางประการของกรมสรรพาวุธทหารบกจนถึง
พ.ศ.2524 คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติได้แต่งตั้งคณะทางานพัฒนาและวิจัยจรวดฝนเทียมขึ้น
ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านจรวดของกองทัพบกกองทัพเรือกองทัพอากาศ นักวิชาการของสภาวิจัย
แห่งชาติและนักวิชาการฝนหลวงซึงได้ทาการวิจัยประดิษฐ์และพัฒนาจรวดต้นแบบขึ้นทาการทดลอง
                                     ่
ยิงทดสอบก้าวหน้ามาตามลาดับและถึงขั้นบรรจุสารเคมีเพื่อทดลองยิงเข้าสู่ก้อนเมฆจริงแล้วในปี พ.ศ.
2530 ขณะนี้กาลังอยู่ในขั้นทาการผลิตจรวดเชิงอุตสาหกรรมเพื่อทาการยิงทดลองและตรวจสอบผลใน
เชิงปฏิบัติการต่อไปในการนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรง พระกรุณาพระราชทาน
แนวความคิดในการวิจัยชิ้นนี้
 อาจกล่าวได้ว่าการวางแผนและกาหนดกรรมวิธีในการทาฝนหลวงในขั้นตอนต่างๆนั้นได้มาจากพระ
ราชอัจฉริยภาพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในการประมวลและวิเคราะห์ข้อมูลรวมทั้งการนา
ความสามารถของเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการดาเนินงานให้แต่ละขั้นตอนมีประสิทธิภาพมาก
ยิ่งขึ้นไม่ว่าจะเป็นวิทยุสื่อสาร, ดาวเทียมหรือแม้แต่คอมพิวเตอร์ก็ตามกล่าวคือพระองค์ทรงให้
ความสาคัญกับการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง

               นางสาวสุดารัตน์ สุปัน ม.4/7 เลขที31
                                                ่
เงยหน้าดูท้องฟ้ามีเมฆ ทาไมมีเมฆอย่างนี้
        ทาไมจะดึงเมฆนี่ลงมาให้ได้ ก็เคยได้ยินเรื่องทาฝน
         ก็มาปรารภกับคุณเทพฤทธิ์ ฝนทาได้ มีหนังสือ
                    เคยอ่านหนังสือ ทาได้..."
          พระราชดารัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
 โครงการพระราชดาริฝนหลวง เป็นโครงการที่ก่อกาเนิดจากพระ
มหากรุณาธิคุณที่ห่วงใยในความทุกข์ยากของพสกนิกรในท้องถิ่น
   ทุรกันดาร ที่ต้องประสบปัญหาการขาดแคลนน้าเพื่ออุปโภค
บริโภค และเกษตรกรรม อันเนื่องมาจากภาวะแห้งแล้ง ซึ่งมีสาเหตุ
    มาจากความผันแปร และความคลาดเคลื่อนของฤดูกาลตาม
                           ธรรมชาติ
                          นางสาวสุดารัตน์ สุปัน ม.4/7 เลขที31
                                                           ่
รายละเอียดโครงการ
การทาฝนหลวงนี้มีขั้นตอน ยุ่งยากหลายประการ จึงต้องใช้บุคลากรหลาย
ฝ่ายร่วมมือกัน จึงจะประสบความสาเร็จ ซึ่งเป็นเหตุผลหนึ่ง ที่ต้องมีหลาย
หน่วยงานเข้าร่วมกัน สร้างสรรค์โครงการนี้ ให้เป็นฝันที่เป้นจริงของพี่
น้องชาวอีสานในส่วนของฝนหลวงพิเศษ
โครงการฝนหลวงพิเศษ หากสามารถช่วยเหลือพี่น้องชาวอีสานจากภาวะ
แห้งแล้ง ถึงแม้จะมีการสร้างเขื่อนหรือ อ่างเก็บน้าขนาดเล็กในบางส่วน
ของภูมิภาค แต่ก็ยังไม่ เพียงพอที่จะเก็บกักน้าสารับอุปโภค บริโภคและ
ใช้ในการเกษตร โครงการนี้จึงสามารถ บรรเท่าความเดือดร้อนได้ เพราะ
สามารถที่จะเข้าไปปฏิบัติ ภารกิจในจุดต่างๆ ซึ่งเกิด ภาวะแห้งแล้งได้


                              นางสาวสุดารัตน์ สุปัน ม.4/7 เลขที31
                                                               ่
รายละเอียด(ต่อ)
แม้ฝนที่ตกในบางครั้ง อาจจะผิดเป้าหมายไปบ้าง เนื่องจาก ข้อผิดพลาดของสภาพลมฟ้า
    อากาศ หรือจากการคานวน แต่ก็เป็น เพียงส่วนน้อย เมื่อเทียบกับผลสาเร็จซึ่งนับได้
    ว่าอยู่ในระดับที่น่าพึงพอใจ
    จากที่กล่าวมาในข้างต้น สามารถพิสูจน์ได้ว่า กองทัพเรือไม่ได้มีเพียงหน้าที่ในการ
    ปกป้องน่านน้าไทยเท่านั้น แต่ยังได้เข้าช่วยเหลือราษฎรในภูมิภาคต่างๆ ในหลาย
    โครงการที่ร่วมมือกับภาครัฐอื่นๆ เช่น โครงการดับไฟป่าที่ จว.เชียงใหม่ สามารถ
    รักษา พื้นที่ป่าให้พ้นจากความเสียหายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งที่เพื่อรับใช้เบื้องพระ
    ยุคลบาท ในการช่วยเหลือราษฎรของพระองค์ท่าน ให้อยู่ดีกินดี มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น




                                        นางสาวสุดารัตน์ สุปัน ม.4/7 เลขที31
                                                                         ่
จัดทำโดย
นางสาวสุดารัตน์ สุปัน
  ม.4/7 เลขที่ 31
        เสนอ
 ครู อารีย์ บุญรักษา


         นางสาวสุดารัตน์ สุปัน ม.4/7 เลขที31
                                          ่

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
โครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวงโครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวงTanwalai Kullawong
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงPongsa Pongsathorn
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงyeen_28175
 
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวงเศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวงchaiing
 
New งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointNew งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointNattanaree
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1amloveyou
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงyeen_28175
 

Was ist angesagt? (10)

โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวงโครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
SMMS ฝนหลวง
SMMS ฝนหลวงSMMS ฝนหลวง
SMMS ฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวงเศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
 
New งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointNew งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power point
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 

Ähnlich wie เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31

เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวงเศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวงchaiing
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
การพยากรณ์อากาศ
การพยากรณ์อากาศการพยากรณ์อากาศ
การพยากรณ์อากาศdnavaroj
 
โครงการ กังหันน้ำ
โครงการ กังหันน้ำ โครงการ กังหันน้ำ
โครงการ กังหันน้ำ zodiacppat
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงFernThidarat
 
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่มโครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่มSudarat Sangsuriya
 
ผลการผลิต เชียงใหม่
ผลการผลิต เชียงใหม่ผลการผลิต เชียงใหม่
ผลการผลิต เชียงใหม่Dow P.
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Inknaka
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริRachatawan Netsuwan
 
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนาโครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนาfrankenjay
 
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403Purinut Wongmaneeroj
 
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม.4/10 เลขที่ 14
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม.4/10 เลขที่ 14นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม.4/10 เลขที่ 14
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม.4/10 เลขที่ 14Nattakan Wuttipisan
 
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม. 4.10 เลขที่ 14
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล  ม. 4.10 เลขที่ 14นัฐกานต์ วุฒิพิศาล  ม. 4.10 เลขที่ 14
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม. 4.10 เลขที่ 14Nattakan Wuttipisan
 
รายงานสังคม
รายงานสังคมรายงานสังคม
รายงานสังคมthnaporn999
 
แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่
แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่
แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่Freedom Soraya
 

Ähnlich wie เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31 (20)

เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวงเศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
การพยากรณ์อากาศ
การพยากรณ์อากาศการพยากรณ์อากาศ
การพยากรณ์อากาศ
 
โครงการ กังหันน้ำ
โครงการ กังหันน้ำ โครงการ กังหันน้ำ
โครงการ กังหันน้ำ
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่มโครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
 
ผลการผลิต เชียงใหม่
ผลการผลิต เชียงใหม่ผลการผลิต เชียงใหม่
ผลการผลิต เชียงใหม่
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนาโครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
 
R maker3 th
R maker3 thR maker3 th
R maker3 th
 
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
 
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม.4/10 เลขที่ 14
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม.4/10 เลขที่ 14นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม.4/10 เลขที่ 14
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม.4/10 เลขที่ 14
 
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม. 4.10 เลขที่ 14
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล  ม. 4.10 เลขที่ 14นัฐกานต์ วุฒิพิศาล  ม. 4.10 เลขที่ 14
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม. 4.10 เลขที่ 14
 
11.ลม
11.ลม11.ลม
11.ลม
 
รายงานสังคม
รายงานสังคมรายงานสังคม
รายงานสังคม
 
แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่
แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่
แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่
 

เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31

  • 2. ประวัติ เมื่อคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดาเนินเยี่ยมพสกนิกร เมื่อปี พ.ศ. 2498 ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ทรงรับทราบถึงความเดือดร้อนทุกข์ยากของราษฎรและเกษตรกรที่ ขาดแคลนน้าอุปโภคบริโภคและการเกษตร จึงได้มีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานโครงการพระราชดาริ "ฝนหลวง"(Artificial rain) ให้กับ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล ไปดาเนินการ ซึ่งต่อมาได้เกิดเป็นโครงการ ค้นคว้าทดลองปฏิบัติการฝนเทียมหรือฝนหลวงขึ้น ในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อปี พ.ศ. 2512 ด้วยความสาเร็จของ โครงการ จึงได้ตราพระราชกฤษฎีกาก่อตั้งสานักงานปฏิบัติการฝน หลวงขึ้นในปี พ.ศ. 2518 ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อเป็นหน่วยงานรองรับโครงการ พระราชดาริฝนหลวงต่อไป การทาฝนเทียมหรือฝนหลวงเป็นกรรมวิธีการเหนี่ยวนาน้าจากฟ้า ใช้เครื่องบินบรรจุสารเคมีขึ้นไปโปรย ในท้องฟ้า โดยดูจากความชืนของเมฆและสภาพทิศทางลมประกอบกัน ปัจจัยสาคัญที่ทาให้เกิดฝนคือ ้ ความร้อนชื้นปะทะความเย็น และมีแกนกลั่นตัวที่มีประสิทธิภาพในปริมาณที่เหมาะสม กล่าวคือ เมื่อมวล อากาศร้อนชื้นทีระดับผิวพื้นขึ้นสูอากาศเบื้องบน อุณหภูมิของมวลอากาศจะลดต่าลงจนถึงความสูงที่ ่ ่ ระดับหนึ่ง หากอุณหภูมิที่ลดต่าลงนั้นมากพอก็จะทาให้ไอน้าในมวลอากาศอิ่มตัว จะเกิดขบวนการกลั่น ตัวเองของไอน้าในมวลอากาศขึ้นบนแกนกลั่นตัว เกิดเป็นฝนตกลงมา ฉะนั้นสารเคมีที่ใช้จงประกอบด้วย ึ "สูตรร้อน" ใช้เพื่อกระตุ้นเร่งเร้ากลไกการหมุนเวียนของบรรยากาศ, "สูตรเย็น" ใช้เพื่อกระตุ้นกลไกการ รวมตัวของละอองเมฆให้โตขึ้นเป็นเม็ดฝน และสูตรที่ใช้เป็นแกนดูดซับความชื้น เพื่อใช้กระตุ้นกลไก ระบบการกลั่นตัวให้มีประสิทธิภาพสูง นางสาวสุดารัตน์ สุปัน ม.4/7 เลขที31 ่
  • 3. จากการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จเยี่ยมราษฎรใน จังหวัดต่างๆ เป็นประจาได้ทรงพบเห็นท้องถิ่นหลายๆแห่งประสบ ปัญหาความแห้งแล้งหรือขาดแคลนน้าเพื่อการอุปโภค บริโภค และ การทาเกษตรโดยเฉพาะอย่างยิ่งในฤดูเพาะปลูกเกษตรกรจะประสบ ความเดือดร้อน ทุกข์ยากมาก เนื่องจากบางครั้งฝนได้ทิ้งช่วงนานหรือ ภาวะฝนทิ้งช่วงเกิดในระยะวิกฤติของพืชผล คือพืชอยู่ในระยะที่กาลัง ให้ผลผลิตต่า ดังนั้นภาวะฝนแล้งหรือฝนทิ้งช่วงในแต่ละครั้ง/แต่ละปี จึงสร้างความเดือดร้อนและความสูญเสียทางเศรษฐกิจแก่เกษตรกร เป็นอย่างสูง นางสาวสุดารัตน์ สุปัน ม.4/7 เลขที31 ่
  • 4. โครงการฝนหลวงตามแนวพระราชดาริ ด้วยสายพระเนตรที่ยาวไกลและทรงความอัจฉริยะในพระองค์ท่านดังนั้นในปี พุทธศักราช2498 จึงได้มีพระราชดาริค้นหา วิธีการ ที่จะทาให้เกิดฝนตกนอกเหนือจากที่จะได้รับจากธรรมชาติโดยนาเทคโนโลยีนาสมัยและทรัพยากรที่มีอยู่ประยุกต์กับ ศักยภาพของการเกิดฝนในเขตร้อน เช่น ประเทศไทยมุ่งขจัดปัญหาความเดือดร้อนดังกล่าว และทรงมีพระราชหฤทัยเชื่อมั่นว่า วิธีการดังกล่าวนี้จะทาให้การพัฒนาระบบการจัดทรัพยากรน้าของชาติเกิดความพร้อมและครบบริบูรณ์ตามวัภจักรของน้า คือ 1.การพัฒนาระบบการจัดการทรัพยากรแหล่งน้าใต้ดิน 2.การพัฒนาระบบการจัดการทรัพยากรแหล่งน้าผิวดิน 3.การพัฒนาการจัดการทรัพยากรแหล่งน้าในบรรยากาศ และทรงเชื่อมั่นในพระราชหฤทัยว่าด้วยลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศของประเทศจะสามารถดาเนินการให้ บังเกิดผลสาเร็จได้อย่างแน่นอน ดังนั้นในปี พุทธศักราช 2499 จึงได้ทรงพระมหากรุณาพระราชทานโครงการ พระราชดาริ "ฝนหลวง" ให้หม่อมราชวงศ์เทพฤทธิ์ เทวกุล รับไปดาเนินการศึกษาวิจัยและการพัฒนากรรมวิธีการ ทาฝนให้บังเกิดผลโดยเร็ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงกาหนดขั้นตอนของกรรมวิธีการทาฝนหลวงขึ้น เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายๆ ตามลาดับดังนี้ นางสาวสุดารัตน์ สุปัน ม.4/7 เลขที31 ่
  • 5. ขั้นตอนที่หนึ่ง : "ก่อกวน" เป็นขั้นตอนที่เมฆธรรมชาติเริ่มก่อตัวทางแนวตั้งการปฏิบัติการฝนหลวงในขั้นตอนนี้จะมุ่งใช้สารเคมีไปกระตุ้นให้มวล อากาศเกิดการลอยตัวขึ้นสู่เบื้องบน เพื่อให้เกิดกระบวนการชักนาไอน้าหรือความชื้นเข้าสู่ระบบการเกิดเมฆระยะเวลาที่จะ ปฏิบัติการในขั้นตอนนี้ไม่ควรเกิน 10.00 น. ของแต่ละวันโดยการใช้สารเคมีที่สามารถดูดซับไอน้าจากมวลอากาศได้แม้จะมี เปอร์เซ็นต์ความชื้นสัมพัทธ์ต่า (มี ค่า Critical relative humidity ต่า)เพื่อกระตุ้นกลไกของกระบวนการกลั่นตัวไอน้าในมวล อากาศ (เป็นการสร้าง Surrounding ให้เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเมฆด้วย) ทางด้านเหนือลมของพื้นที่เป้าหมาย เมื่อ เมฆเริ่มเกิดมีการก่อตัวและเจริญเติบโตทางตั้งแล้วจึงใช้สารเคมีที่ให้ปฏิกิริยาคายความร้อนโปรยเป็นวงกลมหรือเป็นแนวถัด มาทางใต้ลมเป็นระยะทางสั้นๆ เข้าสู่ก้อนเมฆเพื่อกระตุ้นให้เกิดกลุ่มแกนร่วม(main cloud core) ในบริเวณปฏิบัติการ สาหรับใช้เป็นศูนย์กลางที่จะสร้างกลุ่มเมฆฝนในขั้นตอนต่อไป ขั้นตอน ที่ สอง : "เลี้ยง ให้ อ้วน" เป็นขั้นตอนที่เมฆกาลังก่อตัวเจริญเติบโตซึ่งเป็นระยะสาคัญมากในการปฏิบัติการฝนหลวงเพราะจะต้องไปเพิ่มพลังงาน ให้แก่ updraft ให้ยาวนานออกไปต้องใช้เทคโนโลยีและประสบการณ์หรือศิลปะแห่งการทาฝนควบคู่ไปพร้อมๆ กันเพื่อ ตัดสินใจโปรยสารเคมีฝนหลวงชนิดใด ณ ที่ ใดของกลุ่มก้อนเมฆ และในอัตราใดจึงเหมาะสมเพราะต้องให้กระบวนการ เกิดละอองเมฆสมดุลกับความแรงของ updraft มิฉะนั้นจะทาให้เมฆ สลาย ขั้นตอน ที่ สาม : "โจมตี" เป็นขั้นตอนสุดท้ายของกรรมวิธีปฏิบัติการฝนหลวงเมฆหรือกลุ่มเมฆฝนมีความหนาแน่นมากพอที่จะสามารถตกเป็นฝนได้ ภายในกลุ่มเมฆจะมีเม็ดน้าขนาดใหญ่มากมาย หากเครื่องบินบินเข้าไปในกลุ่มเมฆฝนนี้จะมีเม็ดน้าเกาะตามปีกและกระจัง หน้าของเครื่องบินเป็นขั้นตอนที่สาคัญและอาศัยประสบการณ์มากเพราะจะต้องปฏิบัติการเพื่อลดความรุนแรงของ updraft หรือทาให้อายุของ updraft หมดไปสาหรับการปฏิบตการในขันตอนนีจะต้องพิจารณาจุดมุงหมายของการทาฝนหลวง ซึงมี ั ิ ้ ้ ่ ่ อยู่ 2 ประเด็นคือเพื่อเพิ่มปริมาณฝนตก (Rain enhancement) และเพื่อให้เกิดการกระจายการตกของฝน (Rain redistribution) นางสาวสุดารัตน์ สุปัน ม.4/7 เลขที31 ่
  • 6. เครื่องมือและอุปกรณ์สาคัญที่ใช้ประกอบในการทาฝนหลวง 1. เครื่องมืออุตุนิยมวิทยาใช้ในการตรวจวัดและศึกษาสภาพอากาศ ประกอบการวางแผนปฏิบัติการนอกเหนือจากแผนที่อากาศ ภาพถ่ายดาวเทียมที่ได้รับสนับสนุนเป็นประจาวันจากกรมอุตุนิยมวิทยาที่มีใช้ได้แก่ 1.1 เครื่องวัดลมชั้นบน (Pilot Balloon) ใช้ตรวจวัดทิศทางและความเร็ว ลมระดับสูงจากผิวดินขึ้นไป 1.2 เครื่องวิทยุหยังอากาศ (Radiosonde) เป็นเครื่องมืออิเล็คทรอนิคส์ประกอบด้วยเครื่องส่งวิทยุ ซึ่งจะติดไปกับบอลลูนและ ่ เครื่องรับสัญญาณวิทยุซึ่งจะบอกให้ทราบถึงข้อมูลอุณหภูมิความชื้นของบรรยากาศในระดับต่างๆ 1.3 เครื่องเรดาร์ ตรวจอากาศ (Weather Radar) ที่มีใช้อยู่เป็นแบบติดรถยนต์เคลื่อนที่ได้มีประสิทธิภาพสามารถบอกบริเวณที่มี ฝนตกและความแรงหรือปริมาณน้าฝนและการเคลื่อนที่ของกลุ่มฝนได้ในรัศมี 200-400 กม. ซึ่งนอกจากจะใช้ประกอบการวางแผน ปฏิบัติการแล้วยังใช้เป็นหลักฐานในการประเมินผลปฏิบัติการฝนหลวงอีกด้วย 1.4 เครื่องมือตรวจอากาศผิวพื้นต่างๆ เช่น เครื่องวัดอุณหภูมิเครื่องวัด ความเร็วและทิศทางลมเครื่องวัดปริมาณน้าฝนเป็นต้น 2. เครื่องมือเตรียมสารเคมี ได้แก่เครื่องบดสารเคมีเครื่องผสมสารเคมีทั้งแบบน้าและแบบผงถังและกรวยโปรยสารเคมีเป็นต้น 3. เครื่องมือสื่อสารใช้ในการติดต่อสื่อสารและสั่งการระหว่างนักวิชาการบนเครื่องบินกับฐานปฏิบัติการหรือระหว่างฐานปฏิบัติการ 2 แห่ง หรือใช้รายงานผลระหว่างฐานปฏิบัติงานสานักงานฯ ในส่วนกลางโดยอาศัยข่ายร่วมของวิทยุตารวจศูนย์สื่อสารสานักงาน ปลัดกระทรวงมหาดไทยวิทยุเกษตรและกรมไปรษณีย์โทรเลขเครื่องมือสื่อสารที่ใช้ในปัจจุบันได้แก่วิทยุซิงเกิลไซด์แบนด์ วิทยุ FM.1, FM.5 เครื่องโทรพิมพ์ เป็นต้น 4. เครื่องมือทางวิชาการอื่นๆ เช่นอุปกรณ์ทางการวางแผนปฏิบัติการเข็มทิศแผนที่กล้องส่องทางไกล เครื่องมือตรวจสอบสารเคมี กล้องถ่ายภาพและอื่นๆ 5. สถานีเรดาร์ฝนหลวง ในบรรดาเครื่องมืออุปกรณ์วิทยาศาสตร์ภายใต้โครงการวิจยทรัพยากรบรรยากาศประยุกต์จานวน 8 รายการ ั นั้น Doppler radar จัดเป็นเครื่องมืออุปกรณ์วิทยาศาสตร์ที่มีมูลค่าสูงสุด Doppler radar นี้ใช้เพื่อวางแผนการทดลองและติดตาม ประเมินผลปฏิบัติการฝนหลวงสาธิตเครื่องมือชนิดนี้ทางานโดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ (Microvax 3400) ควบคุมการสั่งการการเก็บ บันทึกรวบรวมข้อมูลสามารถนาข้อมูลกลับมาแสดงใหม่จากเทปบันทึกในรูปแบบการทางานของ IRIS (IRIS Software) ผ่าน Processor (RUP-6) กล่าวคือข้อมูลจะถูกบันทึกไว้ในเทปบันทึกข้อมูล ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถนามาใช้ได้ตลอดซึง ่ เชื่อมต่อกับระบบเรดาร์การแสดงผล/ข้อมูลโดยจอภาพ (TV.monitor) ขนาด 20 นิ้ว สถานที่ตั้ง Doppler radar หรือที่เรียกว่าสถานี เรดาร์ฝนหลวงนี้อยู่ที่ ตาบลยางเปียง อาเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ นางสาวสุดารัตน์ สุปัน ม.4/7 เลขที31 ่
  • 7. จากกรรมวิธีการทาฝนหลวงที่ใช้เป็นหลักอยู่ในปัจจุบันคือการโปรยสารเคมีฝนหลวงจากเครืองบิน ่ เพื่อเร่งหรือเสริมการก่อตัวและการเจริญเติบโตของเมฆและการโจมตีกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการที่เคย ปฏิบัติกันมาตั้งแต่เริ่มแรกจนถึงปัจจุบันนี้นั้นในบางครั้งก็ประสบปัญหาที่ไม่สามารถปฏิบัติการตาม ขั้นตอนกรรมวิธีให้ครบถ้วนสมบูรณ์ เช่น ในขั้นโจมตีให้ฝนตกลงสูพื้นที่เป้าหมายไม่สามารถกระทา ่ ได้เนื่องจากฝนตกปกคลุมสนามบินเกิดลมพายุปั่นป่วนและรุนแรงเครืองบินไม่สามารถบินขึ้น ่ ปฏิบัติการได้ทาให้กลุ่มเมฆเคลื่อนพ้นพื้นที่เป้าหมายจากปัญหาต่างๆ เหล่านี้ จึงได้มีการวิจัยและ ทดลองกรรมวิธีการทาฝนเพื่อการพัฒนาและก้าวหน้าบรรลุเป้าหมายยิ่งขึ้นอีกระดับหนึ่งอาทิเช่นการ ทาวิจัยสร้างจรวดบรรจุสารเคมียิงจากพื้นดินเข้าสู่ก้อนเมฆหรือยิงจากเครื่องบินจึงได้มีการเริ่มวิจัย ประดิษฐ์จรวดทาฝนร่วมกับกรมสรรพาวุธทหารบกเมื่อ พ.ศ. 2515-2516 จนก้าวหน้าถึงระดับทดลอง ยิงในเบื้องต้นแล้วแต่ต้องหยุดชะงักด้วยความจาเป็นบางประการของกรมสรรพาวุธทหารบกจนถึง พ.ศ.2524 คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติได้แต่งตั้งคณะทางานพัฒนาและวิจัยจรวดฝนเทียมขึ้น ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านจรวดของกองทัพบกกองทัพเรือกองทัพอากาศ นักวิชาการของสภาวิจัย แห่งชาติและนักวิชาการฝนหลวงซึงได้ทาการวิจัยประดิษฐ์และพัฒนาจรวดต้นแบบขึ้นทาการทดลอง ่ ยิงทดสอบก้าวหน้ามาตามลาดับและถึงขั้นบรรจุสารเคมีเพื่อทดลองยิงเข้าสู่ก้อนเมฆจริงแล้วในปี พ.ศ. 2530 ขณะนี้กาลังอยู่ในขั้นทาการผลิตจรวดเชิงอุตสาหกรรมเพื่อทาการยิงทดลองและตรวจสอบผลใน เชิงปฏิบัติการต่อไปในการนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรง พระกรุณาพระราชทาน แนวความคิดในการวิจัยชิ้นนี้ อาจกล่าวได้ว่าการวางแผนและกาหนดกรรมวิธีในการทาฝนหลวงในขั้นตอนต่างๆนั้นได้มาจากพระ ราชอัจฉริยภาพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในการประมวลและวิเคราะห์ข้อมูลรวมทั้งการนา ความสามารถของเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการดาเนินงานให้แต่ละขั้นตอนมีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้นไม่ว่าจะเป็นวิทยุสื่อสาร, ดาวเทียมหรือแม้แต่คอมพิวเตอร์ก็ตามกล่าวคือพระองค์ทรงให้ ความสาคัญกับการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง นางสาวสุดารัตน์ สุปัน ม.4/7 เลขที31 ่
  • 8. เงยหน้าดูท้องฟ้ามีเมฆ ทาไมมีเมฆอย่างนี้ ทาไมจะดึงเมฆนี่ลงมาให้ได้ ก็เคยได้ยินเรื่องทาฝน ก็มาปรารภกับคุณเทพฤทธิ์ ฝนทาได้ มีหนังสือ เคยอ่านหนังสือ ทาได้..." พระราชดารัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โครงการพระราชดาริฝนหลวง เป็นโครงการที่ก่อกาเนิดจากพระ มหากรุณาธิคุณที่ห่วงใยในความทุกข์ยากของพสกนิกรในท้องถิ่น ทุรกันดาร ที่ต้องประสบปัญหาการขาดแคลนน้าเพื่ออุปโภค บริโภค และเกษตรกรรม อันเนื่องมาจากภาวะแห้งแล้ง ซึ่งมีสาเหตุ มาจากความผันแปร และความคลาดเคลื่อนของฤดูกาลตาม ธรรมชาติ นางสาวสุดารัตน์ สุปัน ม.4/7 เลขที31 ่
  • 9. รายละเอียดโครงการ การทาฝนหลวงนี้มีขั้นตอน ยุ่งยากหลายประการ จึงต้องใช้บุคลากรหลาย ฝ่ายร่วมมือกัน จึงจะประสบความสาเร็จ ซึ่งเป็นเหตุผลหนึ่ง ที่ต้องมีหลาย หน่วยงานเข้าร่วมกัน สร้างสรรค์โครงการนี้ ให้เป็นฝันที่เป้นจริงของพี่ น้องชาวอีสานในส่วนของฝนหลวงพิเศษ โครงการฝนหลวงพิเศษ หากสามารถช่วยเหลือพี่น้องชาวอีสานจากภาวะ แห้งแล้ง ถึงแม้จะมีการสร้างเขื่อนหรือ อ่างเก็บน้าขนาดเล็กในบางส่วน ของภูมิภาค แต่ก็ยังไม่ เพียงพอที่จะเก็บกักน้าสารับอุปโภค บริโภคและ ใช้ในการเกษตร โครงการนี้จึงสามารถ บรรเท่าความเดือดร้อนได้ เพราะ สามารถที่จะเข้าไปปฏิบัติ ภารกิจในจุดต่างๆ ซึ่งเกิด ภาวะแห้งแล้งได้ นางสาวสุดารัตน์ สุปัน ม.4/7 เลขที31 ่
  • 10. รายละเอียด(ต่อ) แม้ฝนที่ตกในบางครั้ง อาจจะผิดเป้าหมายไปบ้าง เนื่องจาก ข้อผิดพลาดของสภาพลมฟ้า อากาศ หรือจากการคานวน แต่ก็เป็น เพียงส่วนน้อย เมื่อเทียบกับผลสาเร็จซึ่งนับได้ ว่าอยู่ในระดับที่น่าพึงพอใจ จากที่กล่าวมาในข้างต้น สามารถพิสูจน์ได้ว่า กองทัพเรือไม่ได้มีเพียงหน้าที่ในการ ปกป้องน่านน้าไทยเท่านั้น แต่ยังได้เข้าช่วยเหลือราษฎรในภูมิภาคต่างๆ ในหลาย โครงการที่ร่วมมือกับภาครัฐอื่นๆ เช่น โครงการดับไฟป่าที่ จว.เชียงใหม่ สามารถ รักษา พื้นที่ป่าให้พ้นจากความเสียหายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งที่เพื่อรับใช้เบื้องพระ ยุคลบาท ในการช่วยเหลือราษฎรของพระองค์ท่าน ให้อยู่ดีกินดี มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น นางสาวสุดารัตน์ สุปัน ม.4/7 เลขที31 ่
  • 11. จัดทำโดย นางสาวสุดารัตน์ สุปัน ม.4/7 เลขที่ 31 เสนอ ครู อารีย์ บุญรักษา นางสาวสุดารัตน์ สุปัน ม.4/7 เลขที31 ่