SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 30
Downloaden Sie, um offline zu lesen
LEUKEMIA
มะเร็งเม็ดเลือดขาวนั้น จะมีการแบ่งตัวเพิ่มจำนวนของเซลล์ตัวอ่อนของเม็ดเลือดขาวเพิ่มมากขึ้น อย่างไม่จำกัดและไม่เจริญเป็นตัวแก่  ซึ่งจะมีผลกระทบต่ออวัยวะที่สร้างเม็ดเลือดชนิดต่างๆ มีผลต่อเกร็ดจะเกิดรอยจ้ำเลือด  ( bruised)  มีภาวะเลือดไหลไม่หยุดได้  ( bleed excessively)  และ อาจจะเป็นจุดแดงๆ ตามผิวหนังได้  ( petechiae )  มีผลต่อเม็ดเลือดขาว มีภาวะติดเชื้อได้ง่ายกว่าคนปกติอีกด้วย รวมทั้งการที่จำนวนเม็ดเลือดแดงมีจำนวนที่ลดลง ก็จะส่งผลให้มีอาการของโลหิตจาง ซึ่งอาจจะทำให้ผู้ป่วยเกิดภาวะหายใจลำบากขึ้นด้วย และอาจจะมีอาการอื่นๆ อีก เช่น อาการมีไข้ขึ้น หนาวสั่น น้ำหนักลด มีอาการอ่อนเพลีย ปวดศีรษะ และเมื่อเซลล์มะเร็งเกิดการแพร่กระจายไปยังตับและม้าม ก็จะทำให้ตับโตและม้ามโตได้ และถ้าหากเซลล์มะเร็งเกิดการแพร่กระจายไปยังกระดูก ก็จะส่งผลทำให้มีอาการปวดกระดูกและข้อ
1. Chemical carcinogens   2.  Ionizing radiation   3.  Chromosomal aberration 4.  Viruses
Nonmalignant conditions Juvenile rheumatoid arthritis Infectious mononucleosis Immune thrombocytopenic purpura (ITP) Pertussis; parapertussis Aplastic anemia Acute infectious lymphocytosis Malignancies Neuroblastoma Malignant lymphoma Retinoblastoma Rhabdomyosarcoma
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Peripheral blood Molecular Genetic Analysis
 
การเจริญเติบโตของเซลล์  Acute Leukemia Chronic Leukemia ลักษณะของเม็ดเลือดขาว และการเจริญเติบโตของเซลล์  Acute   Lymphoblastic   Leukemia  ( ALL ) ส่วนใหญ่พบในเด็กอายุน้อยกว่า  10  ปี ส่วนน้อยพบในผู้ใหญ่ที่มีอายุมากกว่า  65  ปี  ChronicLymphoblastic   Leukemia  ( CLL ) ส่วนใหญ่พบในผู้ใหญ่ที่มีอายุมากกว่า  55  ปี ส่วนน้อยพบในเด็กแต่ไม่ค่อยส่งผลกระทบเท่าไหร่   Acute Myeloid Leukemia  ( AML,ANLL ) ส่วนใหญ่พบในผู้ใหญ่ที่มีอายุมากกว่า 75  ปี ส่วนน้อยพบในเด็กที่มีอายุมากว่า  15  ปี Chronic Myeloid Leukemia  ( CML ) พบได้ในผู้ใหญ่ แต่ไม่ค่อยพบในเด็ก
 
1.General systemic effects   เป็นอาการทั่วไปของมะเร็งไข้ อ่อนเพลีย และซีด เบื่ออาหาร น้ำหนักลด 2. Bone marrow failure   ทำให้เกิด  anemia  ผู้ป่วยอ่อนเพลีย ซีด ใจเต้นเร็ว ภาวะ  neutropenia  ทำให้  มีอาการไข้ โรคติดเชื้อและแผลในช่องปาก ภาวะ  thrombocytopenia  ทำ  ให้มีเลือดออกที่ผิวหนังเป็นจุด  petechiae, purpura  หรือจ้ำเลือด บางรายมี  เลือดออกตามเยื่อบุและที่อวัยวะภายใน 3. Lymphoid system invasion   ทำให้ต่อมน้ำเหลืองโต  ( lymphadenopathy)  ตับและม้ามโตโดยไม่มี อาการ 4. Extramedullary invasion   ตำแหน่งที่พบบ่อยได้แก่ ระบบประสาทส่วนกลาง ( CNS)  ลูกอัณฑะ ตับ  ม้ามและไต กระดูก และข้อ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ไขกระดูกต้องมี  Lymphoblast   >25% ,[object Object]
[object Object],[object Object]
 
[object Object]
Phenotype Chromosomal abnormalities Genes  ที่เกี่ยวข้อง Prognesis -Early Pre-BZ ( Common ALL ) Hyperdiploidy(50-60 chromosomes) good t (2;21) TEL AML1 good -Pre-B t (1;19) (q23; p13) PBX E2A intermediate t(9;22)(q34;p11) (Philadelphia chromosome) ABL BCR poor -mature B cell t (8;14) (q24; p32) MYC IGH poor t (2;8) (q12; p24) IGK MYC poor t (8;22) (q24; p11) MYC IGL poor Infant leukemia t (4;11) (q21; p23) AF4 MLL very poor -T cell structural changes involving T-cell receptor genes poor 14q11 TCR   , TCR  7q34 TCR  7p15 TCR  deletion or tranlocation involving 12p TEL
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
INTERMEDIATE Age 2-9 years inclusive with WBC  =  10,000-49,999 / cu . mm .  or Age 2-9 years inclusive with WBC <10,000 / cu . mm .  and male  ( Platelets <100,000 / cu . mm .)  12-23 months with WBC <50,000 / cu . mm . POOR Age  > 10 years, or WBC  > 50,000 / cu . mm . ( and >1 yr but  <  20 years ) Must not meet Lymphoma Syndrome Criteria FAVORABLE WBC <10,000 / cu . mm . Age 2-9 years inclusive All girls, boys with platelets >100,000 / cu . mm .
 
1.General systemic effects   ไข้ อ่อนเพลีย และซีดเบื่ออาหาร น้ำหนักลด 2. Bone marrow failure   อ่อนเพลีย ซีด เหนื่อยง่าย เป็นอาการที่พบบ่อย ในผุ้ป่วยที่เป็นมาก หรือสูงอายุ อาจพบมีใจสั่นเป็นลม หรือ  Angina  ร่วมด้วย ภาวะ  neutropenia  ทำให้มีอาการไข้ โรคติดเชื้อและแผลในช่องปาก ภาวะ  thrombocytopenia  ทำให้มีเลือดออกที่ผิวหนังเป็นจุด  petechiae, purpura  หรือจ้ำเลือด  3. Lymphoid system invasion   ทำให้ต่อมน้ำเหลืองโต  ( lymphadenopathy)  ตับและม้าม แต่มักจะโตไม่มาก  4 . Extramedullary invasion   อาการความดันในโพรงกะโหลกศีรษะ อาเจียน คอแข็งและเป็นอัมพาตของเส้นประสาทสมองเส้นที่ 6  ปวดกระดูกและข้อ 5. Metabolic effect   ความผิดปกติของการทำงานของไต ,  ภาวะ  HyperCalcemia 6. ภาวะฉุกเฉินที่สำคัญ   ได้แก่  Disseminated intravascular coagulation (DIC)   และ  hyperleukocytosis
1. Complete blood count  ( CBC )   anemia and a low number of platelets. A white blood cell count ( WBC ) can be high, low, or normal  ตรวจพบมี   blast  cells  ในเลือด  10-20  เปอร์เซ็นต์ ของผู้ป่วยพบมี  Auer rod  ใน  blast cell   2.  Bone marrow aspiration   :  Morphology  ( FAB )
Acute Lymphobastic Leukemia Acute Myeloblastic Leukemia ,[object Object],[object Object],Hb <10 g/dl ,  Thrombocytopenia WBC :High,Low  Hb <10 g/dl,  Thrombocytopenia WBC :High,Low,Normal ,>50% พบ  Aued rod  ,[object Object],[object Object],L1,L2,L3 M0-M7 Immunologic Flow Cytometry B- cell lineage, marker CD19 -24 T - cell lineage,marker CD1-8 Marker CD33, CD13, CD15, CD11b, CD 14   หรือ  CD36 )  อย่างน้อย  1   ชนิด มากกว่า  90  % Cytogenetic Chromosome Number  ( Ploidy ) =>Hyperdiploidy Chromosome Structure :Translocations   => t (8 ;14 ) , t (9 ;22 ) , t (4 ;11 ) ,t (1 ;19 ) Chromosome Number   ( Ploidy )  =>Hypodiploidy Chromosome Structure   :Translocations ,deletion =>t (8 ;21 ) ,t (15 ;17 ) , t (9 ;11 ) ,inv/del (16)( q22 )
Characteristic Acute Lymphobastic Leukemia Acute Myeloblastic Leukemia Size 10-20 m m 14-20 m m Nucleus     Shape Round or oval Round or oval Chromatin Smooth, homogeneous Spongy, loose, finely developed meshwork Nucleoli 0-2 and indistinct 2-5 and distinct “punched-out” Nuclear membrane Smooth, round Irregular Nuclear-cytoplasmic ratio High Low Cytoplasm     Color Blue Blue-gray Amount Thin rim More abundant Granules Absent Present Auer rods Absent Present Cytochemistry     PAS stain Positive Negative Myeloperoxidase Negative Positive Sudan black B Negative Positive Periodic-acid-Schiff +/- - Terminal deoxynucleotidyl transferase (Tdt) + -
 
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
1.Blood cell counts .   high lymphocyte count, low red cell count and a low platelet count.  2.Blood cell examination.    flow cytometry  or  immunophenotyping .     the type of leukemia – chronic B-cell leukemias are most common, chronic T-cell leukemias are rare and NK (natural killer)  leukemia is very rare. 3.Immunoglobulin Test.    CLL may have low levels of immunoglobulins. A low immunoglobulin level may be the cause of repeated infections.   4.Bone Marrow Tests and Cytogenetic Tests
 
[object Object]
Accelerated phase   มี  Criteria  ต่อไปนี้อย่างน้อย  1  ข้อ 1.  Blasts 10-19 %  ในเลือด หรือไขกระดูก 2.  Basophils > 20%  ในเลือด  3.  Persistent thrombocytopenia or thrombocytosis,Unresponsive to therapy 4. Increasing Splenomegary or Leukocytosis,Unresponsive to therapy 5. Cytogenetic evolution Blastic phase   เป็นระยะสุดท้าย มี   blasts  ในเลือด หรือไขกระดูกมากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ  20  ใน Marrow Biossy  อาจเป็น  Myrloid,Lymphoid  หรือ Extramedullary blastic phase  Chronic phase   ประมาณร้อยละ  85 %  ของผู้ป่วยจะมาพบแพทย์ในระยะนี้ อาการที่พบบ่อย เหนื่อยง่าย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด แน่นท้อง คลำก้อนได้ในท้อง บางครั้งผุป่วยอาจไม่มีอาการอะไร แต่ตรวจพบโดยบังเอิญจากการเจาะเลือด พบเม็ดเลือดขาวสุงมาก อาการทางสมอง ตา ปอดพบได้ไม่บ่อย ผู้ป่วยส่วนใหญ่ ม้ามโต คลำได้ แต่ตับโตไม่มาก ผลเลือด  –  WBC, Neutrophil,band,Eosinophil,Basophils สูงมาก  Uric acid,LDH,Vitamin B12  สูงมาก  ส่วนใหญ่มีโลหิตจางไม่รุนแรง มีเกร็ดเลือดสูง  ,Bone Marrow –Hypercellularity
1. เคมีบำบัด  Chemotherapy   สามารถให้ได้ทั้งทางฉีดและการกิน มะเร็งบางชนิดอาจต้องให้เข้าไขสันหลัง   2. รังสีรักษา  Radiotherapy   สามารถให้ได้  2  กรณีคือให้รังสีบริเวณที่มะเร็งอยู่ เช่นม้าม อันฑะ หรืออาจให้ฉายรังสีทั้งตัวเพื่อเตรียมการปลุกถ่ายไขกระดูก   3. การปลุกถ่ายไขกระดูก  Bone marrow transplantation   โดยการให้เคมีบำบัดขนาดสูงร่วมกับรังสีเพื่อทำลายเซลล์หลังจากนั้นจึงนำไขกระดูกของคนปกติฉีดเข้าไป ผู้ป่วยจำเป็นต้องอยู่โรงพยาบาลจนกระทั่งร่างกายสามารถสร้างเม็ดเลือดได้   4. การสร้างภูมิคุ้มกัน  Biological therapy   โดยการใช้  interferon  กับเซลล์มะเร็งได้บางชนิด    การรักษาอื่นๆที่จำเป็น -  ถ้าได้รับการติดเชื้อที่รุนแรงจำเป็นต้องได้รับยาปฏิชีวนะ  antibiotic ภาวะโลหิตจางเป็นภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญและพบบ่อยหากเป็นมากอาจทำให้ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยง่าย ถ้าซีดมากควรได้รับการเติมเลือด  tranfussions ในปัจจุบันการรักษาด้วยสเต็มเซลล์จึงเป็นทางเลือกใหม่ โดยจะรักษาร่วมกับการให้ยาเคมีบำบัดและการฉายรังสีในปริมาณต่ำ  ( minitransplant)  ซึ่งสเต็มเซลล์ที่ใช้นั้นมาจากเซลล์เม็ดเลือดที่ได้จาก  3  แหล่งคือ ไขกระดูก เลือด และเลือดจากสายสะดือ
THANK YOU

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Was ist angesagt? (20)

Hepatorenal syndrome
Hepatorenal syndromeHepatorenal syndrome
Hepatorenal syndrome
 
Tumor lysis syndrome
Tumor lysis syndromeTumor lysis syndrome
Tumor lysis syndrome
 
NLR and Severe Pancreatitis
NLR and Severe PancreatitisNLR and Severe Pancreatitis
NLR and Severe Pancreatitis
 
Acute Pancreatitis
Acute PancreatitisAcute Pancreatitis
Acute Pancreatitis
 
Haematuria presentation.pptx
Haematuria presentation.pptxHaematuria presentation.pptx
Haematuria presentation.pptx
 
Chronic Pancreatitis
Chronic PancreatitisChronic Pancreatitis
Chronic Pancreatitis
 
A Detailed study on Lupus Nephritis
A Detailed study on Lupus NephritisA Detailed study on Lupus Nephritis
A Detailed study on Lupus Nephritis
 
Inflammatory bowel disease
Inflammatory bowel diseaseInflammatory bowel disease
Inflammatory bowel disease
 
Approach to splenomegaly
Approach to splenomegalyApproach to splenomegaly
Approach to splenomegaly
 
Acute Pancreatitis
Acute PancreatitisAcute Pancreatitis
Acute Pancreatitis
 
Tls
TlsTls
Tls
 
Peptic ulcer disease final
Peptic ulcer disease final Peptic ulcer disease final
Peptic ulcer disease final
 
Gastric Cancer / Carcinoma management
Gastric Cancer / Carcinoma managementGastric Cancer / Carcinoma management
Gastric Cancer / Carcinoma management
 
Oncologic emergencies
Oncologic emergenciesOncologic emergencies
Oncologic emergencies
 
Esophagus cancer
Esophagus cancerEsophagus cancer
Esophagus cancer
 
Hematologic emergency
Hematologic emergencyHematologic emergency
Hematologic emergency
 
Hyperviscosity syndrome
Hyperviscosity syndromeHyperviscosity syndrome
Hyperviscosity syndrome
 
Acid base disorders extern2
Acid base disorders extern2Acid base disorders extern2
Acid base disorders extern2
 
Polycystic Kidney disease
Polycystic Kidney diseasePolycystic Kidney disease
Polycystic Kidney disease
 
Acute cholecystitis
Acute cholecystitisAcute cholecystitis
Acute cholecystitis
 

Ähnlich wie Leukemia (20)

Approach bleeding extern
Approach bleeding externApproach bleeding extern
Approach bleeding extern
 
Approach to acute anemia
Approach to acute anemiaApproach to acute anemia
Approach to acute anemia
 
Appoarch anemia
Appoarch anemiaAppoarch anemia
Appoarch anemia
 
Cpg thalassemia 2014
Cpg thalassemia 2014Cpg thalassemia 2014
Cpg thalassemia 2014
 
Cpg thalassemia 2014-content 2
Cpg thalassemia 2014-content 2Cpg thalassemia 2014-content 2
Cpg thalassemia 2014-content 2
 
Cpg thalassemia 2014-content
Cpg thalassemia 2014-contentCpg thalassemia 2014-content
Cpg thalassemia 2014-content
 
Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)
Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)
Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)
 
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
 
Cpg anemia
Cpg anemiaCpg anemia
Cpg anemia
 
Hemodynamic disorder
Hemodynamic disorderHemodynamic disorder
Hemodynamic disorder
 
Anemia
AnemiaAnemia
Anemia
 
Thrombocytopenia
ThrombocytopeniaThrombocytopenia
Thrombocytopenia
 
Acute Mi
Acute MiAcute Mi
Acute Mi
 
Cvst 2
Cvst 2Cvst 2
Cvst 2
 
Hemolytic anemia
Hemolytic anemiaHemolytic anemia
Hemolytic anemia
 
Shock
ShockShock
Shock
 
Laboratory Testing
Laboratory TestingLaboratory Testing
Laboratory Testing
 
Acute renal failure
Acute renal failureAcute renal failure
Acute renal failure
 
TAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine EmergencyTAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine Emergency
 
ศิริพงษ์
ศิริพงษ์ศิริพงษ์
ศิริพงษ์
 

Mehr von Asst.Prof.Dr.Terdsak Rojsurakitti (20)

CA Cervix
CA CervixCA Cervix
CA Cervix
 
GERD
GERDGERD
GERD
 
DUB
DUBDUB
DUB
 
Shock
ShockShock
Shock
 
Nephrotic Syndrome
Nephrotic SyndromeNephrotic Syndrome
Nephrotic Syndrome
 
Kidney & Urinary System
Kidney & Urinary SystemKidney & Urinary System
Kidney & Urinary System
 
Stroke
StrokeStroke
Stroke
 
Osteoporosis
OsteoporosisOsteoporosis
Osteoporosis
 
Chronic Back Pain
Chronic Back PainChronic Back Pain
Chronic Back Pain
 
Low Back Pain
Low Back PainLow Back Pain
Low Back Pain
 
Brachial Plexus Injury
Brachial Plexus InjuryBrachial Plexus Injury
Brachial Plexus Injury
 
Bile Duct Tumor
Bile Duct TumorBile Duct Tumor
Bile Duct Tumor
 
Appendicitis
AppendicitisAppendicitis
Appendicitis
 
Organ Transplant
Organ TransplantOrgan Transplant
Organ Transplant
 
Thyroid Noudle
Thyroid NoudleThyroid Noudle
Thyroid Noudle
 
Deep Vein Thrombosis
Deep Vein ThrombosisDeep Vein Thrombosis
Deep Vein Thrombosis
 
Gastrointestional Stromal Tumors
Gastrointestional Stromal TumorsGastrointestional Stromal Tumors
Gastrointestional Stromal Tumors
 
Head Injury
Head InjuryHead Injury
Head Injury
 
Circumcision
CircumcisionCircumcision
Circumcision
 
Dhf
DhfDhf
Dhf
 

Leukemia

  • 2. มะเร็งเม็ดเลือดขาวนั้น จะมีการแบ่งตัวเพิ่มจำนวนของเซลล์ตัวอ่อนของเม็ดเลือดขาวเพิ่มมากขึ้น อย่างไม่จำกัดและไม่เจริญเป็นตัวแก่ ซึ่งจะมีผลกระทบต่ออวัยวะที่สร้างเม็ดเลือดชนิดต่างๆ มีผลต่อเกร็ดจะเกิดรอยจ้ำเลือด ( bruised) มีภาวะเลือดไหลไม่หยุดได้ ( bleed excessively) และ อาจจะเป็นจุดแดงๆ ตามผิวหนังได้ ( petechiae ) มีผลต่อเม็ดเลือดขาว มีภาวะติดเชื้อได้ง่ายกว่าคนปกติอีกด้วย รวมทั้งการที่จำนวนเม็ดเลือดแดงมีจำนวนที่ลดลง ก็จะส่งผลให้มีอาการของโลหิตจาง ซึ่งอาจจะทำให้ผู้ป่วยเกิดภาวะหายใจลำบากขึ้นด้วย และอาจจะมีอาการอื่นๆ อีก เช่น อาการมีไข้ขึ้น หนาวสั่น น้ำหนักลด มีอาการอ่อนเพลีย ปวดศีรษะ และเมื่อเซลล์มะเร็งเกิดการแพร่กระจายไปยังตับและม้าม ก็จะทำให้ตับโตและม้ามโตได้ และถ้าหากเซลล์มะเร็งเกิดการแพร่กระจายไปยังกระดูก ก็จะส่งผลทำให้มีอาการปวดกระดูกและข้อ
  • 3. 1. Chemical carcinogens   2.  Ionizing radiation   3.  Chromosomal aberration 4.  Viruses
  • 4. Nonmalignant conditions Juvenile rheumatoid arthritis Infectious mononucleosis Immune thrombocytopenic purpura (ITP) Pertussis; parapertussis Aplastic anemia Acute infectious lymphocytosis Malignancies Neuroblastoma Malignant lymphoma Retinoblastoma Rhabdomyosarcoma
  • 5.
  • 6.  
  • 7. การเจริญเติบโตของเซลล์ Acute Leukemia Chronic Leukemia ลักษณะของเม็ดเลือดขาว และการเจริญเติบโตของเซลล์ Acute Lymphoblastic Leukemia ( ALL ) ส่วนใหญ่พบในเด็กอายุน้อยกว่า 10 ปี ส่วนน้อยพบในผู้ใหญ่ที่มีอายุมากกว่า 65 ปี ChronicLymphoblastic Leukemia ( CLL ) ส่วนใหญ่พบในผู้ใหญ่ที่มีอายุมากกว่า 55 ปี ส่วนน้อยพบในเด็กแต่ไม่ค่อยส่งผลกระทบเท่าไหร่ Acute Myeloid Leukemia ( AML,ANLL ) ส่วนใหญ่พบในผู้ใหญ่ที่มีอายุมากกว่า 75 ปี ส่วนน้อยพบในเด็กที่มีอายุมากว่า 15 ปี Chronic Myeloid Leukemia ( CML ) พบได้ในผู้ใหญ่ แต่ไม่ค่อยพบในเด็ก
  • 8.  
  • 9. 1.General systemic effects เป็นอาการทั่วไปของมะเร็งไข้ อ่อนเพลีย และซีด เบื่ออาหาร น้ำหนักลด 2. Bone marrow failure ทำให้เกิด anemia ผู้ป่วยอ่อนเพลีย ซีด ใจเต้นเร็ว ภาวะ neutropenia ทำให้ มีอาการไข้ โรคติดเชื้อและแผลในช่องปาก ภาวะ thrombocytopenia ทำ ให้มีเลือดออกที่ผิวหนังเป็นจุด petechiae, purpura หรือจ้ำเลือด บางรายมี เลือดออกตามเยื่อบุและที่อวัยวะภายใน 3. Lymphoid system invasion ทำให้ต่อมน้ำเหลืองโต ( lymphadenopathy) ตับและม้ามโตโดยไม่มี อาการ 4. Extramedullary invasion ตำแหน่งที่พบบ่อยได้แก่ ระบบประสาทส่วนกลาง ( CNS) ลูกอัณฑะ ตับ ม้ามและไต กระดูก และข้อ
  • 10.
  • 11.
  • 12.  
  • 13.
  • 14. Phenotype Chromosomal abnormalities Genes ที่เกี่ยวข้อง Prognesis -Early Pre-BZ ( Common ALL ) Hyperdiploidy(50-60 chromosomes) good t (2;21) TEL AML1 good -Pre-B t (1;19) (q23; p13) PBX E2A intermediate t(9;22)(q34;p11) (Philadelphia chromosome) ABL BCR poor -mature B cell t (8;14) (q24; p32) MYC IGH poor t (2;8) (q12; p24) IGK MYC poor t (8;22) (q24; p11) MYC IGL poor Infant leukemia t (4;11) (q21; p23) AF4 MLL very poor -T cell structural changes involving T-cell receptor genes poor 14q11 TCR  , TCR  7q34 TCR  7p15 TCR  deletion or tranlocation involving 12p TEL
  • 15.
  • 16. INTERMEDIATE Age 2-9 years inclusive with WBC = 10,000-49,999 / cu . mm . or Age 2-9 years inclusive with WBC <10,000 / cu . mm . and male ( Platelets <100,000 / cu . mm .) 12-23 months with WBC <50,000 / cu . mm . POOR Age > 10 years, or WBC > 50,000 / cu . mm . ( and >1 yr but < 20 years ) Must not meet Lymphoma Syndrome Criteria FAVORABLE WBC <10,000 / cu . mm . Age 2-9 years inclusive All girls, boys with platelets >100,000 / cu . mm .
  • 17.  
  • 18. 1.General systemic effects ไข้ อ่อนเพลีย และซีดเบื่ออาหาร น้ำหนักลด 2. Bone marrow failure อ่อนเพลีย ซีด เหนื่อยง่าย เป็นอาการที่พบบ่อย ในผุ้ป่วยที่เป็นมาก หรือสูงอายุ อาจพบมีใจสั่นเป็นลม หรือ Angina ร่วมด้วย ภาวะ neutropenia ทำให้มีอาการไข้ โรคติดเชื้อและแผลในช่องปาก ภาวะ thrombocytopenia ทำให้มีเลือดออกที่ผิวหนังเป็นจุด petechiae, purpura หรือจ้ำเลือด 3. Lymphoid system invasion ทำให้ต่อมน้ำเหลืองโต ( lymphadenopathy) ตับและม้าม แต่มักจะโตไม่มาก 4 . Extramedullary invasion อาการความดันในโพรงกะโหลกศีรษะ อาเจียน คอแข็งและเป็นอัมพาตของเส้นประสาทสมองเส้นที่ 6 ปวดกระดูกและข้อ 5. Metabolic effect ความผิดปกติของการทำงานของไต , ภาวะ HyperCalcemia 6. ภาวะฉุกเฉินที่สำคัญ ได้แก่ Disseminated intravascular coagulation (DIC) และ hyperleukocytosis
  • 19. 1. Complete blood count ( CBC ) anemia and a low number of platelets. A white blood cell count ( WBC ) can be high, low, or normal ตรวจพบมี blast cells ในเลือด 10-20 เปอร์เซ็นต์ ของผู้ป่วยพบมี Auer rod ใน blast cell 2. Bone marrow aspiration : Morphology ( FAB )
  • 20.
  • 21. Characteristic Acute Lymphobastic Leukemia Acute Myeloblastic Leukemia Size 10-20 m m 14-20 m m Nucleus     Shape Round or oval Round or oval Chromatin Smooth, homogeneous Spongy, loose, finely developed meshwork Nucleoli 0-2 and indistinct 2-5 and distinct “punched-out” Nuclear membrane Smooth, round Irregular Nuclear-cytoplasmic ratio High Low Cytoplasm     Color Blue Blue-gray Amount Thin rim More abundant Granules Absent Present Auer rods Absent Present Cytochemistry     PAS stain Positive Negative Myeloperoxidase Negative Positive Sudan black B Negative Positive Periodic-acid-Schiff +/- - Terminal deoxynucleotidyl transferase (Tdt) + -
  • 22.  
  • 23.
  • 24.
  • 25. 1.Blood cell counts .   high lymphocyte count, low red cell count and a low platelet count. 2.Blood cell examination.   flow cytometry or immunophenotyping .    the type of leukemia – chronic B-cell leukemias are most common, chronic T-cell leukemias are rare and NK (natural killer) leukemia is very rare. 3.Immunoglobulin Test.   CLL may have low levels of immunoglobulins. A low immunoglobulin level may be the cause of repeated infections. 4.Bone Marrow Tests and Cytogenetic Tests
  • 26.  
  • 27.
  • 28. Accelerated phase มี Criteria ต่อไปนี้อย่างน้อย 1 ข้อ 1. Blasts 10-19 % ในเลือด หรือไขกระดูก 2. Basophils > 20% ในเลือด 3. Persistent thrombocytopenia or thrombocytosis,Unresponsive to therapy 4. Increasing Splenomegary or Leukocytosis,Unresponsive to therapy 5. Cytogenetic evolution Blastic phase เป็นระยะสุดท้าย มี blasts ในเลือด หรือไขกระดูกมากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 20 ใน Marrow Biossy อาจเป็น Myrloid,Lymphoid หรือ Extramedullary blastic phase Chronic phase ประมาณร้อยละ 85 % ของผู้ป่วยจะมาพบแพทย์ในระยะนี้ อาการที่พบบ่อย เหนื่อยง่าย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด แน่นท้อง คลำก้อนได้ในท้อง บางครั้งผุป่วยอาจไม่มีอาการอะไร แต่ตรวจพบโดยบังเอิญจากการเจาะเลือด พบเม็ดเลือดขาวสุงมาก อาการทางสมอง ตา ปอดพบได้ไม่บ่อย ผู้ป่วยส่วนใหญ่ ม้ามโต คลำได้ แต่ตับโตไม่มาก ผลเลือด – WBC, Neutrophil,band,Eosinophil,Basophils สูงมาก Uric acid,LDH,Vitamin B12 สูงมาก ส่วนใหญ่มีโลหิตจางไม่รุนแรง มีเกร็ดเลือดสูง ,Bone Marrow –Hypercellularity
  • 29. 1. เคมีบำบัด Chemotherapy สามารถให้ได้ทั้งทางฉีดและการกิน มะเร็งบางชนิดอาจต้องให้เข้าไขสันหลัง 2. รังสีรักษา Radiotherapy สามารถให้ได้ 2 กรณีคือให้รังสีบริเวณที่มะเร็งอยู่ เช่นม้าม อันฑะ หรืออาจให้ฉายรังสีทั้งตัวเพื่อเตรียมการปลุกถ่ายไขกระดูก 3. การปลุกถ่ายไขกระดูก Bone marrow transplantation โดยการให้เคมีบำบัดขนาดสูงร่วมกับรังสีเพื่อทำลายเซลล์หลังจากนั้นจึงนำไขกระดูกของคนปกติฉีดเข้าไป ผู้ป่วยจำเป็นต้องอยู่โรงพยาบาลจนกระทั่งร่างกายสามารถสร้างเม็ดเลือดได้ 4. การสร้างภูมิคุ้มกัน Biological therapy โดยการใช้ interferon กับเซลล์มะเร็งได้บางชนิด   การรักษาอื่นๆที่จำเป็น - ถ้าได้รับการติดเชื้อที่รุนแรงจำเป็นต้องได้รับยาปฏิชีวนะ antibiotic ภาวะโลหิตจางเป็นภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญและพบบ่อยหากเป็นมากอาจทำให้ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยง่าย ถ้าซีดมากควรได้รับการเติมเลือด tranfussions ในปัจจุบันการรักษาด้วยสเต็มเซลล์จึงเป็นทางเลือกใหม่ โดยจะรักษาร่วมกับการให้ยาเคมีบำบัดและการฉายรังสีในปริมาณต่ำ ( minitransplant) ซึ่งสเต็มเซลล์ที่ใช้นั้นมาจากเซลล์เม็ดเลือดที่ได้จาก 3 แหล่งคือ ไขกระดูก เลือด และเลือดจากสายสะดือ