SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 11
Downloaden Sie, um offline zu lesen
Session   หนา
การศึกษานอกสถานที่เสมือนจริงดวยเว็บ 3.0 เพื่อสงเสริมความเขาใจใน    B1_9      81
วัฒนธรรมของประเทศในกลุมอาเซียน
Virtual Fieldtrip with Web 3.0 to Enhance the Cultural
Understanding of ASEAN Member Countries
ปาริฉัตร ละครเขต, พิมพพักตร จุลนวล, พิสิฐ แยมนุน

ประสบการณการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิง โดยใชเครื่องคอมพิวเตอร    C1_1      88
สาธารณะและเครื่องคอมพิวเตอรสวนตัว
e-Learning Management Experience in Using Public Computer
and Private Computer
วรรณา ตรีวิทยรัตน, พิชิต ตรีวิทยรัตน

การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนออกเสียงภาษาอังกฤษโดยใชออนไลนออดิโอ       C1_2      93
สตรีมมิ่ง
A Study of Achievement in English Pronunciation Learning
through Online Audio Streaming
พูลสุข กรรณาริก, ณัฏฐ โอธนาทรัพย

การออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการ
                                                                     C1_3     101
เชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง
Design of a Learning Activities via m-learning Based on
Connectivism Approach using Knowledge Review in Physical
Environment
นาวิน คงรักษา, ปณิตา วรรณพิรณ   ุ

นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิงแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ           C1_4     110
One Stop e-Learning Management Innovation
พิชิต ตรีวิทยรัตน, วรรณา ตรีวิทยรัตน


การจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการกับการจัดการความรูบนฐานเทคโนโลยี     C1_5     114
กอนเมฆ เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหดานการเขียนโปรแกรม
คอมพิวเตอร
The Learning Activities Integration with Knowledge
Management through the Cloud Computing to Encourage
Analytic Thinking in Computer Programming
ดวงกมล โพธิ์นาค, ธนยศ สิริโชดก
การออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอ
              ดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง
Design of a Learning Activities via m-learning Based on Connectivism Approach
              using Knowledge Review in Physical Environment.

                                      นาวิน คงรักษา1, ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ2
           1
             สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึง
                                           (nawin30@hotmail.com)
   2
       สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
                                           (panitaw@kmutnb.ac.th)


ABSTRACT                                                     3.3) the step of finding knowledge from physical
                                                             environment following the specified activities, 3.4)
          The objective of this study are 1) to              the step of summarizing the knowledge gained from
design the learning activities via m-learning                the review in order to respond to the learning
based on Connectivism Approach using                         activities   from     physical     environment,    4)
knowledge review in physical environment, 2) to              measurement and evaluation by using the sensible
accredit the design of learning activities via m-            measurement and evaluation form.
learning based on Connectivism Approach using                2. After the 5 experts have evaluated the design of
knowledge review in physical environment. The                learning activities, they give the opinion that the
research process is divided into 2 steps which are           design of learning activities via m-learning based on
1) the step of designing the learning activities via         Connectivism Approach using knowledge review in
m-learning based on Connectivism Approach                    physical environment is developed to be in the high
using knowledge review in physical environment,              level of appropriateness.
2) the step of accrediting the design of learning
activities via m-learning based on Connectivism              Keywords: design of learning activities, m-learning,
Approach using knowledge review in physical                  Connectivism, knowledge review in physical
environment. The sample groups of 5 experts in               environment.
arranging the learning activities via m-learning
based on Connectivism Approach using
knowledge review in physical environment are                 บทคัดยอ
selected from purposive sampling. The research
tools are the design of learning activities via m-           การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ออกแบบการจัดกิจกรรมการ
learning based on Connectivism Approach using
knowledge review in physical environment and
                                                             เรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อ มตอดวยวิธีการ
the accreditation form of the design of learning             ปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง 2) ประเมินรับรองการ
activities via m-learning based on Connectivism
Approach using knowledge review in physical                  รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนว
environment. The statistics used in the research
are arithmetic average and standard deviation.
                                                             ท ฤ ษ ฎี ก า ร เ ชื่ อ ม ต อ ด วย วิ ธี กา ร ป ริ ทั ศ น ค ว า ม รู จ า ก
The findings are:                                            สภาพแวดล อ มจริ ง การดํ า เนิ น การวิ จั ย แบ ง ออกเป น 2
1. The design of learning activities via m-
learning based on Connectivism Approach using                ขั้นตอนคือ 1) การออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็ม
knowledge review in physical environment
consists of 4 elements which are 1) principle of
                                                             เลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรู
the design 2) steps of the design consisting of 2.1)         จากสภาพแวดลอมจริง 2) การประเมินรับรองรูปแบบการจัด
the step of preparation before teaching, 2.2) the
step of arranging the learning activities, 2.3) the          กิ จ กรรมการเรี ย นรู ผ า นเอ็ ม เลิ ร น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก าร
step of drawing a conclusion, 3) learning                    เชื่ อ มต อ ด ว ยวิ ธีก ารปริ ทั ศ น ค วามรู จ ากสภาพแวดล อ มจริ ง
activities via m-learning based on Connectivism
Approach using knowledge review in physical                  กลุมตัวอยางเปน ผูทรงคุณวุฒิดานการจัดกิจกรรมการเรียนรู
environment consists of 4 elements which are
3.1) the step of specifying the learning activities          ผ า นเอ็ ม เลิ ร น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต อ ด ว ยวิ ธี ก าร
from physical environment, 3.2) the step of                  ปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง จํานวน 5 ทาน ไดจาก
selecting the portable tools in conducting the
learning activities from physical environment,
                                                       101
การเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ รูปแบบ                     2020” ตามวิสัยทัศนที่วา “ICT เปนพลังขับเคลื่อนสําคัญใน
การจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎี                        การนําพาคนไทยสูความรูและปญญา เศรษฐกิจไทย สูการ
การเชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอม                        เติบโตอยางยั่งยืน สังคมไทย สูความเสมอภาค” ซึ่งหมายถึง
จริ ง แบบประเมิ น รั บ รองรู ป แบบการจั ด กิจ กรรมการ                       ประเทศไทยจะมีการพัฒนาอยางฉลาด การดําเนินกิจกรรม
เรียนรู ผานเอ็ มเลิรน นิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอดว ย                    ทางเศรษฐกิจ และสั ง คมจะอยู บนพื้ น ฐานของความรู แ ละ
วิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง สถิติที่ใชใน                      ปญญา โดยใหโอกาสแกประชาชนทุกคนในการมีสวนรวม
การวิเคราะหวิจัย คาเฉลี่ยเลขคณิต และสวนเบี่ยงเบน                         ในกระบวนการพั ฒ นาอย างเสมอภาค นํ าไปสู ก ารเติ บ โต
มาตรฐาน                                                                     อย า งสม ดุ ล และยั่ งยื น จ ากยุ ท ธศ าสตร ข อ ที่ 2ของ
ผลการวิจยพบวา
            ั                                                               กระทรวงศึกษาธิการ สนับสนุนการเรียนการสอนดวยการใช
1. รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิง ตาม                      เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
แนวทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต อ ด ว ยวิ ธี ก ารปริ ทั ศ น ค วามรู จ าก         การศึ ก ษาของประเทศไทย มี วัต ถุ ป ระสงค คื อ เพื่ อ สร า ง
สภาพแวดลอมจริง ประกอบดวย 4 องคประกอบ คือ 1)                              กําลังคนของประเทศ โดยเนนการพัฒนาผูเรียนดวยการใช
หลักการของรูปแบบ 2) ขั้นตอนของรูปแบบประกอบดวย                              ICT เปนเครื่องมือหรือเปนสวนประกอบสําคัญของการเรียน
2.1) ขั้นเตรียมการกอนการเรียนการสอน 2.2) ขั้นการจัด                        การสอน รวมทั้งการจัดตั้งศูนยการเรียนรูแหงชาติ (National
กิจกรรมการเรียนการสอน 2.3) ขั้นสรุปผล 3) การจัด                             Learning Center:NLC) เพื่อที่จะเพิ่มประสิทธิภาพการเรียน
กิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิ รนนิง ตามแนวทฤษฎีการ                         การสอนในภาพรวม ใหผูเรียนเปนผูที่มีความรูความสามารถ
เชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง                       ดานการพัฒนาและการประยุกตใช ICT อยางสรางสรรค มี
มี 4 ขั้นตอนคือ 3.1) ขั้นกําหนดกิจกรรมการเรียนรูจาก                        ธรรมาภิบาล คุณธรรม จริยธรรม วิจารณญาณ และรูเทาทัน
สภาพแวดลอมจริง 3.2) ขั้นการเลือกใชเครื่อ งมือแบบ                          อาทิ ผูเรียนมีความสะดวกในการทบทวนบทเรียน สืบคน
เคลื่อนที่ในการทํากิจกรรมการเรียนรูจากสภาพแวดลอม                          ขอมูล ตลอดจนถึงการเรียนรูดวยตัวเองจากระบบ ICT เปน
จริง 3.3) ขั้นหาความรูจากสภาพแวดลอมจริงตามกิจกรรม                         การชวยใหผูสอนไดมีเวลาดูแลใสใจผูเรียนในดานพฤติกรรม
การเรียนรูที่กําหนด 3.4) ขั้นสรุปความรูที่ไดจากการ                       การเรียนรูและสังคมมากขึ้น ซึ่งจะชวยเพิ่มขีดความสามารถ
ปริทัศนเพื่อตอบกิจกรรมการเรียนรูจากสภาพแวดลอมจริง                        ในการแขงขันของประเทศไทยตอไป “การออกแบบการจัด
4) การวัดและประเมินผลใชแบบวัดและการประเมินผล                               กิ จ กรรมการเรี ย นรู ผ า นเอ็ ม เลิ ร น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก าร
ตามสภาพที่เปนจริง                                                          เชื่อมตอ ดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง ”
2. ผูทรงคุณวุฒิจํานวน 5 ทานทําการประเมินรูปแบบ                            เป น การพั ฒ นาเพื่ อ ตอบสนองยุ ท ธศาสตร ข องที่ 2 ของ
การเรี ย นการสอนมี ค วามคิ ด เห็ น ว า รู ป แบบการจั ด                     กระทรวงศึกษาธิการเพราะในปจจุบันมีการใชอุปกรณการ
กิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการ                           เรียนการสอนแบบไรสายและสามารถเคลื่อนที่ไปในที่ตาง ๆ
เชื่อมตอดวยวิธการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง
                  ี                                                         ได อ ย า งสะดวกสบาย การพั ฒ นารู ป แบบนี้ เ พื่ อ ที่ จ ะเป น
ที่พัฒนาขึ้น มีความเหมาะสมอยูในระดับมาก                                    แนวทางใหกับบุคลากรทางการศึกษาในการพัฒนาการเรียน
                                                                            การสอนที่เหมาะสมภายใตบริบทของประเทศไทยตอไป
คําสําคัญ: รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู, เอ็มเลิรน                       เอ็มเลิรนนิง (m-Learning) หมายถึง การจัดกระบวนการ
นิง, ทฤษฎีการเชื่อมตอ , ปริทัศนความรูจากสภาพแวด                          เรี ย นรู แ บบเคลื่ อ นที่ โดยอาศั ย อุ ป กรณ เ คลื่ อ นที่ ที่ มี ก าร
ลอมจริง                                                                    เชื่อมตอแบบไรสาย เชน คอมพิวเตอรขนาดเล็กแบบพกพา
                                                                            แท็ปเล็ต สมารทโฟน เปนตน โดยอาศัยเทคโนโลยีทางการ
1) บทนํา                                                                    สื่อสารเขามาชวยเพื่อจัดกระบวนการเรียนรูใหเปนไปตาม
ประเทศไทยมี ก ารกํ า หนดกรอบนโยบายเทคโนโลยี                                 วัตถุประสงค (มนตชัย เทียนทอง, 2547)
สารสนเทศและการสื่อสาร พ.ศ.2554-2564 หรือ “ICT
                                                                      102
ทฤษฎี ก ารเชื่ อ มตอ (Connectivism) คือ การบูร ณาการ                     2.2) เพื่อประเมินรับรองรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู
หลักการสํารวจที่มีความซับซอน เครือขาย และความ                           ผ า นเอ็ ม เลิ ร น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต อ ด ว ยวิ ธี ก าร
สมบูรณ ตลอดทั้ง ทฤษฎีการบริการจัด การตนเอง การ                           ปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง
เรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายใน สภาวะแวดลอม
ที่ ค ลุ ม เครื อ ของการขยั บ องค ป ระกอบหลั ก ไม ไ ด                  3) ขอบเขตงานวิจัย
หมายความรวมถึ งทุกสิ่งนั้นตองอยู ภายใตการควบคุ ม                       3.1) ประชากรและกลุมตัวอยาง
                                                                                                 
ของคน การเรียนรูสามารถเกิดขึ้นไดภายนอกบุคคล(แต                         3.1.1 ประชากร คือ ผูทรงคุณวุฒิดานการออกแบบกิจกรรม
ยังอยูภายในองค การหรือฐานขอมูล)โดยมีการมุงเนนไป                      การเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงผูทรงคุณวุฒิดานทฤษฎีการ
                                                                                                        
ที่การเชื่อมตอที่มีความจํา เพาะเจาะจง และความสามารถ                      เชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง
ในการเรียนรูขอมูลใหมๆมีความสําคัญมากกวา ความรูที่                    3.1.2 กลุมตัวอยาง คือ ผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 5 ทาน ไดโดย
มีในปจจุบัน (Siemens, 2005)                                              การเลือกแบบเจาะจง โดยมีประสบการณในดานที่เกี่ยวของ
การจัดกระบวนการเรียนรูตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอ                            ไมนอยกวา 3 ป ประกอบดวย ดานการออกแบบกิจกรรม
คือ การเรี ย นรู เ ชื่ อมโยงผ านซอฟต แ วร ฮาร ด แวร และ             การเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิง จํานวน 3 ทาน ดานทฤษฎีการ
ขอมูลที่อยูในรูปของดิจิ ทัล มีการเรียนรูขอมูลบนโลก                    เชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง 2
อินเทอรเน็ตอยางตอเนื่องทุกวันทําใหความรูถูกพัฒนา                     ทาน
เพิ่มขึ้นโดยเกิดจากการเชื่อมโยงของขอมูล อาจจะอยูรูป                     3.2) ตัวแปรที่ใชในการวิจัย
ของ ขอความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว เปนตน เพียงแตคลิก                      3.2.1 ตัวแปรตน คือ รูปแบบแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู
ลิงคสวนตาง ๆ ของขอมูลที่อยากรู จะทําใหกระบวนการ                     ผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอดวยวิธการ
                                                                                                                           ี
เรี ยนรูถู กเชื่อ มต อ และปรั บปรุง ความรู เดิ มเพิ่ม ขึ้น ไป          ปริทศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง
                                                                                ั
เรื่อยๆ                                                                   3.2.2 ตัวแปรตาม คือ ผลการประเมินรับรองของรูปแบบ
การปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง เกิดจากเมื่อ                         การจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎี
                                                                                                     
ข อ มู ล ความรู ที่ ถู ก พิ ม พ ขึ้ น บนแอพพลิ เ คชั่ น ครบตาม         การเชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง
จํานวนบุคคลแลวหลังจากนั้นก็จะใหผูเรียนรูทุกคนก็จะ
ได ใช หลั กการของทฤษฏี การเชื่อ มต อ โดยผูเ รีย นรู จ ะ
                                                                          4) วิธีดําเนินการวิจัย
                                                                          ก า ร อ อก แ บ บ ก า ร จั ด กิ จ กร ร ม กา ร เ รี ย น รู ผ า น เ อ็ ม
ศึกษาขอมูลที่อยูบนแอพพลิเคชั่นที่ไดออกแบบไว ของ
                                                                          เลิ ร น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต อ ด ว ยวิ ธี ก ารปริ ทั ศ น
ผูเ รี ย นทุ ก คนที่สง เข า ไปในระบบ เพื่ อ ทํา การปริ ทั ศ น         ความรูจากสภาพแวดลอมจริง แบงการดําเนินงานออกเปน 2
ความรู คือ นํามาวิเคราะห สังเคราะหทบทวนพรอมทั้ง                       ระยะ ดังนี้
เชื่ อมต อข อมู ลความรู ที่ข าดหายเขา ด วยกั น แล ว นํา มา          ระยะที่1 การออกแบบการจัด กิจกรรมการเรียนรูผานเอ็ม
สรุปเปนคําตอบของกิจกรรมการเรียนรูอีกครั้งหนึ่ง แลว                     เลิ ร น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต อ ด ว ยวิ ธี ก ารปริ ทั ศ น
สงผานแอพพลิเคชั่นที่ไดออกแบบไวผานกระบวนการ                           ความรูจากสภาพแวดลอมจริง มีขั้นตอนดังนี้
เรียนรูบนระบบเอ็มเลิรนนิง                                               1) ขั้นการวิเคราะห (Analysis)
                                                                          ศึกษาและวิเคราะหเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการจัด
2) วัตถุประสงคของงานวิจัย                                                กิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิง แนวทฤษฎีการเชื่ อมตอ
2.1) เพื่อออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็ ม                         และวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง เพื่อนําไป
เลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศน                       สังเคราะหเปน การออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผาน
ความรูจากสภาพแวดลอมจริง                                                 เอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอ ดวยวิธีการปริทัศน
                                                                          ความรูจากสภาพแวดลอมจริง
                                                                    103
2) ขั้นการออกแบบ (Design)                                              4) การวิเคราะหผลการประเมินความเหมาะสมของรูปแบบ
การออกแบบกิจกรรมการเรีย นรู ผา นเอ็ มเลิร นนิ ง ตาม                 โดยใชคาเฉลี่ย( X ) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ซึ่งมี
แนวทฤษฎีการเชื่อมตอและวิธีการปริทั ศนความรูจาก                      เกณฑ ใ นการกํ า หนดค า น้ํ า หนั ก ของการประเมิ น ความ
สภาพแวดลอ มจริ ง โดยรู ปแบบมี ก ารออกแบบการจั ด                       เหมาะสมของรูปแบบเป น 5 ระดับ ตามแนวของลิ เคิร ต
กิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการ                      (Likert) ดังนี้
เชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง                       5 หมายถึง มีความเหมาะสมมากที่สุด
ประกอบดวย 4 องคประกอบ 1) หลักการของรูปแบบ                                 4 หมายถึง มีความเหมาะสมมาก
2) ขั้นตอนของรูปแบบ 3) กิจกรรมการเรียนรูผานเอ็ม                           3 หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง
เลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศน                         2 หมายถึง มีความเหมาะสมนอย
ความรู จ ากสภาพแวดลอ มจริง และ 4) การวัด และ                              1 หมายถึง มีความเหมาะสมนอยที่สุด
ประเมินผลใชแบบวัดและการประเมินผลตามสภาพที่                                 และ กํ า หนดเกณฑ ใ นการแปลความหมาย ดั ง นี้
เปนจริง                                                               (ประคอง กรรณสูต, 2542)
3) ขั้นการพัฒนา (Development)                                               4.50 – 5.00 หมายถึง มีความเหมาะสมมากทีสุด  ่
3.1) พัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิง                         3.50 – 4.49 หมายถึง มีความเหมาะสมมาก
แนวทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต อ และวิ ธีก ารปริ ทัศ น ค วามรู จ าก              2.50 – 3.49 หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง
สภาพแวดลอมจริง                                                             1.50 – 2.49 หมายถึง มีความเหมาะสมนอย
3.2) สรางเครื่องมือสําหรับการประเมินความเหมาะสม                            1.00 – 1.49 หมายถึง มีความเหมาะสมนอยทีสุด   ่
ของรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิง
ตามแนวทฤษฎีการเชื่อมต อดวยวิธีการปริทัศนความรู                     5) ผลการวิจัย
จากสภาพแวดลอมจริง                                                     การวิจัยครั้งนี้นําเสนอผลการวิจัยเปน 2 ตอน ดังนี้
ระยะที่ 2 การประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการจัด                         ตอนที่ 1 รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิง
กิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการ                      ตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจาก
เชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง                  สภาพแวดลอมจริง
1) นํารูปแบบที่พัฒนาขึ้นนําเสนอตอ ผูทรงคุณวุฒิดาน                   รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนว
การออกแบบกิ จ กรรมการเรี ย นรู ผ า นเอ็ ม เลิ ร น นิ ง              ทฤษ ฎี ก ารเ ชื่ อ มต อด ว ยวิ ธี ก ารป ริ ทั ศน ความรู จาก
ผูทรงคุณวุฒิดานทฤษฎีการเชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศน                  สภาพแวดลอมจริง ประกอบดวย 4 องคประกอบ คือ
ความรูจากสภาพแวดลอมจริง จํานวน 5 ทาน พิจารณา                        1) หลักการของรูปแบบ
และประเมินความเหมาะสมของรูปแบบ                                         2) ขั้นตอนของรูปแบบ
2) ปรับปรุงรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็ม                      3) การจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎี
เลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอ ดวยวิธีการปริทัศน                   การเชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง
ความรู จ ากสภาพแวดล อ มจริ ง ตามข อ เสนอแนะของ                      4) การวัดและประเมินผลใชแบบวัดและการประเมินผลแบบ
ผูทรงคุณวุฒิ                                                          ตามสภาพที่เปนจริง
3) นําเสนอรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็ม                       นําเสนอดังรูปที่ 1
เลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอ ดวยวิธีการปริทัศน
ความรูจ ากสภาพแวดล อมจริ ง ที่ พัฒ นาขึ้ นในรู ป แบบ
แผนภาพประกอบความเรียง



                                                                 104
รูปที่ 1: องคประกอบของรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชือมตอดวยวิธีการปริทัศน
                                                                                         ่
                                          ความรูจากสภาพแวดลอมจริง

1.1) หลักการของรูปแบบ                                        1.2.2 ขั้นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ประกอบดวย หลักการของการจัดกิจกรรมการเรียนรู                การจัดการเรียนการสอนแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผาน
ผานเอ็มเลิรนนิง หลักการจัดการเรียนการสอนตามแนว             เอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศน
ทฤษฏีการเชื่อมตอ และกระบวนการวิธีการปริทัศน                ความรูจากสภาพแวดลอมจริง 4 ขั้นตอน
ความรูจากสภาพแวดลอมจริง                                     1.2.3 ขั้นสรุปผล ใชการสรุปผลตามสภาพจริง
1.2) ขั้นตอนของรูปแบบ
1.2.1ขั้นเตรียมการกอนการเรียนการสอน                         1.3) กิจกรรมการเรียนรูผานเอ็ม เลิรนนิ งตามแนวทฤษฎี
 เตรียมดานโครงสรางของระบบการเรียนรูแบบเคลื่อนที่          การเชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอม
(m-Learning)เตรียมแอพพลิเคชั่นที่สรางตามแนวทฤษฎี            จริง
การเชื่อมตอ (Connectivism) ออกแบบกิจกรรมการเรียน            การจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎี
การสอนจากสภาพ แวดลอมจริงผานกระบวนการเรียนรู               การเชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง
แบบเคลื่อนที่ (m-Learning)                                   ประกอบดวย 4 ขั้นตอน นําเสนอดังรูปที่ 2




                                                       105
รูปที่ 2: กิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอดวยวิธีการปริทศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง
                                                                                   ั


1.3.1 ขั้นกําหนดกิจกรรมการเรียนรู                                         1.3.4 ขั้นสรุปความรูที่ไดจากการปริทัศน
จากสภาพแวดลอมจริง ผูสอนจะทําการออกแบบ                                    เพื่อตอบกิจกรรมการเรียนรูจากสภาพแวดลอมจริง เมื่อขอมูล
กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น ต า ม ที่ กํ า ห น ด ไ ว 1 ) พั ฒ น า         ความรูที่ถูกพิมพขึ้นบนแอพพลิเคชั่นครบตามจํานวนบุคคล
Application และเตรี ย มระบบ m-Learning 2) การ                              แลวหลังจากนั้นก็จะใหผูเรียนรูทุกคนก็จะไดใชหลักการของ
ออกแบบกิ จ กรรมการเรี ย นรู ต ามแนวทฤษฎี 3)การ                            ทฤษฏี ก ารเชื่ อ มต อ โดยผู เ รี ย นรู จ ะศึ ก ษาข อ มู ล ที่ อ ยู บ น
เชื่อมตอ กําหนดสภาพแวดลอมจริง 4) ขอตงลงในการทํา                         แอพพลิเคชั่นที่ไดออกแบบไว ของผูเรียนทุกคนที่สงเขาไป
กิจกรรมการเรียนรู                                                         ในระบบ เพื่ อ ทํ า การปริ ทั ศ น ค วามรู คื อ นํ า มาวิ เ คราะห
1.3.2 ขั้นการเลือกใชเครื่องมือแบบเคลื่อนที่                               สังเคราะหทบทวนพรอมทั้ง เชื่อมตอขอมูลความรูที่ขาดหาย
ในการทํากิจกรรมการเรียนรูจากสภาพแวดลอมจริง ขั้นนี้                       เขาดวยกัน แลวนํามาสรุปเปนคําตอบของกิจกรรมการเรียนรู
ผูสอนเลือกเครื่องมือที่ใชในการทํากิจกรรม เชน สมารท                     อีกครั้งหนึ่ง แลวสงผานแอพพลิเคชั่นที่ ไดออกแบบไวผาน
โฟน แท็ ป เล็ ต รวมทั้ง ต อ งเลื อ กวิ ธีการเชื่อ มต อระบบ               กระบวนการเรียนรูบนระบบเอ็มเลิรนนิง
เครือขายวาจะผาน เซลลูลาหเน็ทเวิรก หรือ อินเทอรเน็ต                   1.4) การวัดและประเมินผล
เน็ทเวิรก เพื่อใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอมจริง
                                                                          การวัดและประเมิ นผลใชแบบวัดและการประเมินผลตาม
1.3.3 ขั้นหาความรูจากสภาพแวดลอมจริง                                      สภาพจริง หลังจากการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง
ตามกิจกรรมการเรียนรูที่กําหนด จากกิจกรรมการเรียนรู                       แลว ผูสอนจะใชการประเมินโดยดูจากคําตอบที่เขามาใน
ที่ผูสอนกําหนด ผูเรียนก็จะทําการหาขอมูลความรูจาก                       ระบบขณะนั้นในลักษณะการโตตอบสองทิศทางปฏิสัมพันธ
สภาพแวดลอมจริงตามการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ไดรับ                        ของผู เ รี ย นกั บ ระบบ และพฤติ ก รรมการเรี ย นรู ผ า นเอ็ ม
มอบหมาย แลวพิมพความรูที่ไดของแตละบุคคลสงผาน                         เลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอ
กระบวนการเรียนรูบนแอพพลิเคชั่นแบบเอ็มเลิรนนิงใน                          ตอนที่ 2 ผลการประเมินรับรองรูปแบบการจัดกิจกรรมการ
ลักษณะโตตอบสองทิศทาง                                                      เรี ย นรู ผ า นเอ็ ม เลิ ร น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต อ ด ว ย
                                                                           วิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง

                                                                     106
การประเมิ น รั บ รองของรู ป แบบการจั ด กิ จ กรรมการ                           พั ฒ นา Applicationและเตรี ย มระบบ m-Learning มี ค วาม
เรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอดวย                          เหมาะสมอยู ใ นระดั บ มากที่ สุ ด ( X =4.80, SD=0.45)
วิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง ดําเนินการ                           รองลงมาไดแก การออกแบบกิจกรรมการเรียนรูตามแนว
ประเมินโดยผูทรงคุณวุฒจํานวน 5 ทาน นําเสนอผลการ
                          ิ                                                   ทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต อ ( X =4.40,      SD=0.89) กํ า หนด
ประเมินดังตารางที่ 1                                                          สภาพแวดลอมจริง ( X =4.20, SD=0.84) และขอตกลงในการ
                                                                              ทํากิจกรรมการเรียนรู ( X =4.20, SD=0.45)
ตารางที่ 1: ผลการประเมินรูปแบบการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู ดานองคประกอบของรูปแบบ                                              ตารางที่ 3: ผลการประเมินขันตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู
                                                                                                         ้
       รายละเอียดการออกแบบ                 X      S.D.    ความเหมาะสม         ขั้นการเลือกใชเครื่องมือแบบเคลือนที่
                                                                                                              ่
 1. หลั กการและแนวคิดที่ ใชเป น                                                    รายละเอียดการออกแบบ                         ความเหมาะสม
                                           4.40   0.55         มาก                                                 X      S.D.
 พื้นฐานในการพัฒนารูปแบบ
                                                                               1. เลือกเครื่องมือที่จะใช          4.60   0.55     มากทีสุด
                                                                                                                                        ่
 2. วัตถุประสงคของรูปแบบ                  4.40   0.89         มาก
                                                                               2. อธิบายขั้นตอนวิธีการใชงาน
 3. รู ป แบบการจั ด กิ จ กรรมการ
                                           4.20   0.84         มาก             เครื่องมือที่จะใชผานระบบ          4.20   0.84       มาก
 เรียนรู
                                                                               m-Learning
 4. การวัดและประเมินผล                     4.00   0.71         มาก
                                                                               ภาพรวมของผลการประเมิน               4.40   0.20       มาก
 ภาพรวมของผลการประเมิน                     4.25   0.15         มาก
                                                                              จากตารางที่ 3 พบวา ขั้นการเลือกใชเครื่องมือแบบเคลื่อนที่
จากตารางที่ 1 พบวา องคประกอบในการออกแบบการ
                                                                              ผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ เ ห็ น ว า มี ค วามเหมาะสมอยู ใ นระดั บ มาก
จั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ฯ ผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ เ ห็ น ว า มี ค วาม
                                                                              ( X =4.40, SD=0.20) เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา เลือก
เหมาะสมอยูในระดับมาก ( X =4.25, SD=0.15) เมื่อ
                                                                              เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช มี ค วามเหมาะสมอยู ใ นระดั บ มากที่ สุ ด
พิจารณาเปนรายดาน พบวา หลักการและแนวคิดที่ใ ช
                                                                              ( X =4.60, SD=0.55) รองลงมาได แ ก อธิ บ ายขั้ น ตอน
เปนพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบ มีความเหมาะสมอยู
                                                                              วิ ธี ก ารใช ง านเครื่ อ งมื อ ที่ จ ะใช ผ า นระบบ m-Learning
ในระดั บ มาก ( X =4.40, SD=0.55) รองลงมาได แ ก
                                                                              ( X =4.20, SD=0.84)
วัตถุประสงคของรูปแบบ ( X =4.40, SD=0.89) รูปแบบ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู( X =4.20, SD=0.84) และการ
                                                                              ตารางที่ 4: ผลการประเมินขันตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู
                                                                                                        ้
วัดผลประเมินผล ( X =4.00, SD=0.71)
                                                                              ขั้นหาความรูจากสภาพแวดลอมจริง
                                                                                    รายละเอียดการออกแบบ            X      S.D.   ความเหมาะสม
ตารางที่ 2: ผลการประเมินขันตอนการจัดกิจกรรมการ
                          ้                                                    1. หาความรูที่ไดจากสภาพแวด
                                                                                                                   4.60   0.55     มากที่สุด
เรียนรู ขันกําหนดกิจกรรมการเรียนรูจากสภาพแวดลอม
           ้                                                                   ลอมจริง
                                                                               2. นําความรูที่ไดสงเขาสูระบบ
จริง                                                                           m-Learning
                                                                                                                   4.60   0.55     มากที่สุด
        รายละเอียดของขั้นตอน               X      S.D.   ความเหมาะสม           ภาพรวมของผลการประเมิน               4.60    0       มากที่สุด
 1. พัฒนา Application และเตรียม
 ระบบ m-Learning
                                           4.80   0.45     มากที่สุด          จากตารางที่ 4 พบวา ขั้นหาความรูจากสภาพแวดลอมจริง
 2. การออกแบบกิ จ กรรมการ                                                     ผูทรงคุณวุฒิเห็นวามีความเหมาะสมอยูในระดับมากที่สุด
 เ รี ย น รู ต า ม แ น ว ท ฤ ษ ฎี ก า ร   4.40   0.89       มาก              ( X =4.60, SD=0) เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา หาความรู
 เชื่อมตอ
 3. กําหนดสภาพแวดลอมจริง                  4.20   0.84       มาก
                                                                              ที่ไดจากสภาพแวด ลอมจริง อยูในระดับมากที่สุด ( X =4.60,
 4. ขอตกลงในการทํากิจกรรมการ                                                 SD=0.55) เทากับนําความรูที่ไดสงเขาสูระบบ m-Learning
                                           4.20   0.45       มาก
 เรียนรู                                                                     ( X =4.60, SD=0.55)
 ภาพรวมของผลการประเมิน                     4.40   0.24       มาก
จากตารางที่ 2 พบว า ขั้ น การจั ดกิ จ กรรมการเรี ย นรู
ผู ท รงคุ ณวุ ฒิ เ ห็ น ว า มี ค วามเหมาะสมอยู ใ นระดั บ มาก
( X =4.40, SD=0.24) เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ขั้น
                                                                        107
ตารางที่ 5: ผลการประเมินขันตอนการจัดกิจกรรมการ
                              ้                                                 ( X =4.13, SD=0.20) เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวารูปแบบ
เรียนรู ขันสรุปความรูที่ไดจากการปริทศน
           ้                           ั                                        การจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎี
       รายละเอียดการออกแบบ                    X      S.D.   ความเหมาะสม         การเชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจาสภาพแวดลอมจริง
 1 . นํ า ค ว า ม รู ที่ อ ยู ใ น ร ะ บ บ
  m-Learning มาทําการวิเ คราะห
                                                                                อยู ใ นระดั บ มาก ( X =4.2, SD=0.84) รองลงมาได แ ก
 สั ง เคราะห ทบทวนพร อ มทั้ ง               4.80   0.45     มากที่สุด         ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนว
 เชื่ อมตอ ข อมู ลความรูที่ ขาดหาย                                           ทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต อ ด ว ยวิ ธี ก าร ปริ ทั ศ น ค วามรู จ า ก
 เขาดวยกัน
 2. สรุปเปนความรูท่ีตอบกิจกรรม                                                สภาพแวดลอมจริง ( X =4.2, SD=0.45) และรูปแบบการจัด
                                              4.60   0.89     มากที่สุด
 การเรียนรูอีกครั้งหนึ่ง                                                       กิ จ กรรมการเรี ย นรู ผ า นเอ็ ม เลิ ร น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก าร
 3. นําขอสรุปที่ไดสงเขาสูระบบ
  m-Learning
                                              4.80   0.45     มากที่สุด         เชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวด ลอมจริง
 ภาพรวมของผลการประเมิน                        4.73   0.26     มากที่สุด         ( X =4.00, SD=0.71)
จากตารางที่ 5 พบวา ขั้นสรุปความรูที่ไดจากการปริทัศน
ผูทรงคุณวุฒิเห็นวามีความเหมาะสมอยูในระดับมากทีสด       ่ ุ                   6) อภิปรายผล
( X =4.73, SD=0.26) เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา นํา                           จากผลการวิจัยมีประเด็นในการอภิปรายดังนี้
ความรูมาวิเคราะห สังเคราะห ทบทวนพรอมทั้ง เชื่อมตอ                          6.1) การประเมินรับรองรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู
ขอมูลความรูที่ขาดหายเขาดวยกัน อยูในระดับมากที่สุด                          ผ า นเอ็ ม เลิ ร น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต อ ด ว ยวิ ธี ก าร
( X =4.80, SD=0.45) เทากับ นําขอสรุปสงเขาสูระบบ                            ปริ ทั ศ น ค วามรู จ ากสภาพแวดล อ มจริ ง โดยผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ
m-Learning ( X =4.80, SD=0.45) รองลงมาไดแก สรุป                               พบวา ผลการประเมินอยูในระดับมาก สอดคลองกับจอยซ
เป น ความรู ที่ ต อบกิ จ กรรมการเรี ย นรู อี ก ครั้ ง หนึ่ ง                 และเวล (Joyce and weil, 2000) ที่กลาวถึงการพัฒนาการ
( X =4.60, SD=0.89)                                                             เรียนการสอน ควรเริ่มจากการวิเคราะห ขอมูลพื้นฐานตางๆ
                                                                                เกี่ยวกับเรื่องที่ตองการนํามาพัฒนาเปนรูปแบบการเรียนการ
ตารางที่ 6: ผลการประเมินรูปแบบกับการนําไปใชจริง                                สอน นําเสนอแนวคิดสําคัญของขอมูลที่ไดจากการวิเคราะห
       รายละเอียดการออกแบบ                    X      S.D.   ความเหมาะสม         มากําหนดหลักการและรายละเอียดขององคประกอบ
 1. รู ป แบบการจั ด กิ จ กรรมการ
 เรี ยนรู ผา นเอ็ ม เลิ รน นิ งตามแนว                                        6.2) จากผลการประเมินของผูทรงคุณวุฒิ พบวาขั้นตอนการ
 ทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต อ ด ว ยวิ ธี ก าร
                                              4.00   0.71       มาก
                                                                                จั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ผ า นเอ็ ม เลิ ร นิ ง ตามแนวทฤษฏี การ
 ปริ ทั ศ น ค วามรู จ ากสภาพ แวด
 ลอมจริง มีความเหมาะสมอยูใ น
                                                                                เชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง อยู
 ระดับใด                                                                        ในระดับมาก ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ (Shawnz Neo
 2. ขั้ น ตอนการจั ด กิ จ กรรมการ                                               and Jun Megata, 2012) ที่กลาววา การเรียนรูดวยวิธีการ m-
 เรี ยนรู ผา นเอ็ ม เลิ รน นิ งตามแนว
 ทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต อ ด ว ยวิ ธี ก าร                                        learning แบบ Trail Shuttle สามารถสนับสนุนการเรียนรู
                                              4.2    0.45       มาก
 ปริทัศนความรูจาสภาพแวดลอม                                                   ภายนอกห อ งเรี ย น ซึ่ ง ผู เ รี ย นมี สว นร วมในการเรี ยนรู เ มื่ อ
 จริ ง มี ความ เหมาะสมอยู ใ น
 ระดับใด
                                                                                เทียบกับการเรียนในชั้นเรียน ผูเรียนสามารถตอบสนองแบบ
 3. รู ป แบบการจั ด กิ จกรรมการ                                                 RealTime จากสถานที่ จริ งที่ ได ออกไปเรี ยนรู ครู ผูส อนก็
 เรี ยนรู ผา นเอ็ ม เลิ รน นิ งตามแนว                                        สามารถทราบขอมูลที่ผูเรียนนั้นสงกลับมาแบบ RealTime
 ทฤษฎีการเชื่อมตอดวยวิธีการ
                                              4.2    0.84       มาก
 ปริทัศนความรูจาสภาพแวดลอม
 จริ ง มี ค วาม เป น ไปได ใ นการ                                              7) ขอเสนอแนะ
 นําไปใชจริงในระดับใด
 ภาพรวมของผลการประเมิน                        4.13   0.20       มาก             7.1) ขอเสนอแนะสําหรับการนําผลการวิจัยไปใช
จากตารางที่ 6 พบว า รู ป แบบกั บ การนํ า ไปใช จ ริ ง                          สถาบันการศึกษาที่นํารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการ
ผูท รงคุณวุ ฒิ เห็ น วา มีค วามเหมาะสมอยู ในระดั บ มาก                       สอนนี้ไปใชควรมีการจัดเตรียมโครงสรางพื้นฐาน เตรียม

                                                                          108
ผูสอน และเตรียมผูเรียน เพื่อใหสามารถจัดกิจกรรมการ                           มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ.
เรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฏีการเชื่อมตอ ดวย                  มนต ชั ย เที ย นทอง. (2547,พฤษภาคม-สิ ง หาคม). M-
วิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง ได                                   Learning: แนวทางใหมของ e-learning. วารสาร
7.2) ขอเสนอแนะสําหรับการวิจยครั้งตอไป
                                    ั                                          เทคโนโลยีและการสื่อสารการศึกษา. 1(1): 3-11.
ควรมีการนํารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็ม                      Joyce, B.R., and Weil, M. 2000. Models of
                                                                                Teaching. 6th ed. Massachusetts: Allyn &
เลิรนนิงตามแนวทฤษฏีการเชื่อมตอ ดวยวิธีการปริทัศน                            Bacon.
                                                                       Neo, S., & Magata, J. (2012). Location Based
ความรูจากสภาพแวดลอมจริงไปทดลองใชเพื่อศึกษาผล                                 mobile learning in Singapore Schools.
ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ผ า นเอ็ ม                  International e-Learning Conference
                                                                                2012(IEC2012), 49-53.
เลิรนนิงตามแนวทฤษฏีการเชื่อมตอ ดวยวิธีการปริทัศน                   Siemens, G. (2005/1). Connectivism: A learning
                                                                                theory for the digital age. International
ความรูจากสภาพแวดลอมจริง เชน แอพพลิเคชั่นที่จะใช                             Journal of Instructional Technology and
บนอุ ป กรณ แ บบเคลื่ อ นที่ โครงสร า งพื้ น ฐานของการ                         Distance Learning, 2(1): 3-10.

จัดระบบเอ็มเลิรนนิง และการจัดกิจกรรมตามแนวทฤษฏี
การเชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอม
จริงที่เหมาะสมกับผูเรียน สถานที่ ที่เกิ ดขึ้นจริง รูปแบบ
การประเมิลผลที่เหมาะสมกับการจัดกิจกรรม

8) กิตติกรรมประกาศ
ผูวิจัยขอขอบพระคุณ ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปรัชญนันท
นิ ล สุ ข ผู ช ว ยศาสตราจารย ดร.วิ ว รรธน จั น ทร เ ทพย
อาจารย ดร.อภิชาติ อนุกูลเวช อาจารยบุรินทร นรินทร
อาจารยกวิทธิ์ ศรีสัมฤทธิ์ ผูทรงคุณวุฒิสําหรับความ
อนุเคราะหในการประเมินรับรองและใหขอเสนอแนะที่
เป น ประโยชน เ พื่ อ พั ฒ นารู ป แบบการจั ด กิจ กรรมการ
เรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฏีการเชื่อมตอ ดวย
วิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง

9) เอกสารอางอิง
ปณิตา วรรณพิรุณ. (2554). สื่อการเรียนการสอนบน
      เครือขายคอมพิวเตอร. กรุงเทพฯ: ศูนยผลิตตํารา
      เรียนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระ
      นครเหนือ.
ประคอง กรรณสู ต . (2542). สถิ ติ เ พื่ อ การวิ จั ย ทาง
      พฤติ ก รรมศาสตร . พิ ม พ ค รั้ ง ที่ 3. กรุ ง เทพฯ:
      สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ปรัชญนันท นิลสุข. (2554). เทคโนโลยีสารสนเทศทาง
      การศึ ก ษา. กรุ ง เทพฯ: ศู น ย ผ ลิ ต ตํ า ราเรี ย น


                                                                 109

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von Panita Wannapiroon Kmutnb

Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2
Panita Wannapiroon Kmutnb
 

Mehr von Panita Wannapiroon Kmutnb (20)

ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
 
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนเทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
 
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมเทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
 
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issueCtu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
 
Interactive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctuInteractive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctu
 
Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5
 
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
 
Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2
 
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
 
Interactive e leraning
Interactive e leraningInteractive e leraning
Interactive e leraning
 
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
 
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
 
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
 
Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...
Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...
Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...
 
Working process of digital journalists in the 21st century
Working process of digital journalists in the 21st centuryWorking process of digital journalists in the 21st century
Working process of digital journalists in the 21st century
 
Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...
Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...
Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...
 
The design of cloud computing management information system accordance with t...
The design of cloud computing management information system accordance with t...The design of cloud computing management information system accordance with t...
The design of cloud computing management information system accordance with t...
 
Study of e waste management with green ict in thai higher education institutions
Study of e waste management with green ict in thai higher education institutionsStudy of e waste management with green ict in thai higher education institutions
Study of e waste management with green ict in thai higher education institutions
 
The design of cloud computing management information system accordance with t...
The design of cloud computing management information system accordance with t...The design of cloud computing management information system accordance with t...
The design of cloud computing management information system accordance with t...
 
Interactive innovation การสร้างบทเรียนออนไลน์โดยใช้ระบบบริหารจัดการเรียนรู้ M...
Interactive innovation การสร้างบทเรียนออนไลน์โดยใช้ระบบบริหารจัดการเรียนรู้ M...Interactive innovation การสร้างบทเรียนออนไลน์โดยใช้ระบบบริหารจัดการเรียนรู้ M...
Interactive innovation การสร้างบทเรียนออนไลน์โดยใช้ระบบบริหารจัดการเรียนรู้ M...
 

Design of a Learning Activities via m-learning Based on Connectivism Approach using Knowledge Review in Physical Environment [NEC2012]

  • 1.
  • 2. Session หนา การศึกษานอกสถานที่เสมือนจริงดวยเว็บ 3.0 เพื่อสงเสริมความเขาใจใน B1_9 81 วัฒนธรรมของประเทศในกลุมอาเซียน Virtual Fieldtrip with Web 3.0 to Enhance the Cultural Understanding of ASEAN Member Countries ปาริฉัตร ละครเขต, พิมพพักตร จุลนวล, พิสิฐ แยมนุน ประสบการณการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิง โดยใชเครื่องคอมพิวเตอร C1_1 88 สาธารณะและเครื่องคอมพิวเตอรสวนตัว e-Learning Management Experience in Using Public Computer and Private Computer วรรณา ตรีวิทยรัตน, พิชิต ตรีวิทยรัตน การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนออกเสียงภาษาอังกฤษโดยใชออนไลนออดิโอ C1_2 93 สตรีมมิ่ง A Study of Achievement in English Pronunciation Learning through Online Audio Streaming พูลสุข กรรณาริก, ณัฏฐ โอธนาทรัพย การออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการ  C1_3 101 เชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง Design of a Learning Activities via m-learning Based on Connectivism Approach using Knowledge Review in Physical Environment นาวิน คงรักษา, ปณิตา วรรณพิรณ ุ นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิงแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ C1_4 110 One Stop e-Learning Management Innovation พิชิต ตรีวิทยรัตน, วรรณา ตรีวิทยรัตน การจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการกับการจัดการความรูบนฐานเทคโนโลยี C1_5 114 กอนเมฆ เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหดานการเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร The Learning Activities Integration with Knowledge Management through the Cloud Computing to Encourage Analytic Thinking in Computer Programming ดวงกมล โพธิ์นาค, ธนยศ สิริโชดก
  • 3. การออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอ ดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง Design of a Learning Activities via m-learning Based on Connectivism Approach using Knowledge Review in Physical Environment. นาวิน คงรักษา1, ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ2 1 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึง (nawin30@hotmail.com) 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี (panitaw@kmutnb.ac.th) ABSTRACT 3.3) the step of finding knowledge from physical environment following the specified activities, 3.4) The objective of this study are 1) to the step of summarizing the knowledge gained from design the learning activities via m-learning the review in order to respond to the learning based on Connectivism Approach using activities from physical environment, 4) knowledge review in physical environment, 2) to measurement and evaluation by using the sensible accredit the design of learning activities via m- measurement and evaluation form. learning based on Connectivism Approach using 2. After the 5 experts have evaluated the design of knowledge review in physical environment. The learning activities, they give the opinion that the research process is divided into 2 steps which are design of learning activities via m-learning based on 1) the step of designing the learning activities via Connectivism Approach using knowledge review in m-learning based on Connectivism Approach physical environment is developed to be in the high using knowledge review in physical environment, level of appropriateness. 2) the step of accrediting the design of learning activities via m-learning based on Connectivism Keywords: design of learning activities, m-learning, Approach using knowledge review in physical Connectivism, knowledge review in physical environment. The sample groups of 5 experts in environment. arranging the learning activities via m-learning based on Connectivism Approach using knowledge review in physical environment are บทคัดยอ selected from purposive sampling. The research tools are the design of learning activities via m- การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ออกแบบการจัดกิจกรรมการ learning based on Connectivism Approach using knowledge review in physical environment and เรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อ มตอดวยวิธีการ the accreditation form of the design of learning ปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง 2) ประเมินรับรองการ activities via m-learning based on Connectivism Approach using knowledge review in physical รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนว environment. The statistics used in the research are arithmetic average and standard deviation. ท ฤ ษ ฎี ก า ร เ ชื่ อ ม ต อ ด วย วิ ธี กา ร ป ริ ทั ศ น ค ว า ม รู จ า ก The findings are: สภาพแวดล อ มจริ ง การดํ า เนิ น การวิ จั ย แบ ง ออกเป น 2 1. The design of learning activities via m- learning based on Connectivism Approach using ขั้นตอนคือ 1) การออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็ม knowledge review in physical environment consists of 4 elements which are 1) principle of เลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรู the design 2) steps of the design consisting of 2.1) จากสภาพแวดลอมจริง 2) การประเมินรับรองรูปแบบการจัด the step of preparation before teaching, 2.2) the step of arranging the learning activities, 2.3) the กิ จ กรรมการเรี ย นรู ผ า นเอ็ ม เลิ ร น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก าร step of drawing a conclusion, 3) learning เชื่ อ มต อ ด ว ยวิ ธีก ารปริ ทั ศ น ค วามรู จ ากสภาพแวดล อ มจริ ง activities via m-learning based on Connectivism Approach using knowledge review in physical กลุมตัวอยางเปน ผูทรงคุณวุฒิดานการจัดกิจกรรมการเรียนรู environment consists of 4 elements which are 3.1) the step of specifying the learning activities ผ า นเอ็ ม เลิ ร น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต อ ด ว ยวิ ธี ก าร from physical environment, 3.2) the step of ปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง จํานวน 5 ทาน ไดจาก selecting the portable tools in conducting the learning activities from physical environment, 101
  • 4. การเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ รูปแบบ 2020” ตามวิสัยทัศนที่วา “ICT เปนพลังขับเคลื่อนสําคัญใน การจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎี การนําพาคนไทยสูความรูและปญญา เศรษฐกิจไทย สูการ การเชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอม เติบโตอยางยั่งยืน สังคมไทย สูความเสมอภาค” ซึ่งหมายถึง จริ ง แบบประเมิ น รั บ รองรู ป แบบการจั ด กิจ กรรมการ ประเทศไทยจะมีการพัฒนาอยางฉลาด การดําเนินกิจกรรม เรียนรู ผานเอ็ มเลิรน นิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอดว ย ทางเศรษฐกิจ และสั ง คมจะอยู บนพื้ น ฐานของความรู แ ละ วิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง สถิติที่ใชใน ปญญา โดยใหโอกาสแกประชาชนทุกคนในการมีสวนรวม การวิเคราะหวิจัย คาเฉลี่ยเลขคณิต และสวนเบี่ยงเบน ในกระบวนการพั ฒ นาอย างเสมอภาค นํ าไปสู ก ารเติ บ โต มาตรฐาน อย า งสม ดุ ล และยั่ งยื น จ ากยุ ท ธศ าสตร ข อ ที่ 2ของ ผลการวิจยพบวา ั กระทรวงศึกษาธิการ สนับสนุนการเรียนการสอนดวยการใช 1. รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิง ตาม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ แนวทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต อ ด ว ยวิ ธี ก ารปริ ทั ศ น ค วามรู จ าก การศึ ก ษาของประเทศไทย มี วัต ถุ ป ระสงค คื อ เพื่ อ สร า ง สภาพแวดลอมจริง ประกอบดวย 4 องคประกอบ คือ 1) กําลังคนของประเทศ โดยเนนการพัฒนาผูเรียนดวยการใช หลักการของรูปแบบ 2) ขั้นตอนของรูปแบบประกอบดวย ICT เปนเครื่องมือหรือเปนสวนประกอบสําคัญของการเรียน 2.1) ขั้นเตรียมการกอนการเรียนการสอน 2.2) ขั้นการจัด การสอน รวมทั้งการจัดตั้งศูนยการเรียนรูแหงชาติ (National กิจกรรมการเรียนการสอน 2.3) ขั้นสรุปผล 3) การจัด Learning Center:NLC) เพื่อที่จะเพิ่มประสิทธิภาพการเรียน กิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิ รนนิง ตามแนวทฤษฎีการ การสอนในภาพรวม ใหผูเรียนเปนผูที่มีความรูความสามารถ เชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง ดานการพัฒนาและการประยุกตใช ICT อยางสรางสรรค มี มี 4 ขั้นตอนคือ 3.1) ขั้นกําหนดกิจกรรมการเรียนรูจาก ธรรมาภิบาล คุณธรรม จริยธรรม วิจารณญาณ และรูเทาทัน สภาพแวดลอมจริง 3.2) ขั้นการเลือกใชเครื่อ งมือแบบ อาทิ ผูเรียนมีความสะดวกในการทบทวนบทเรียน สืบคน เคลื่อนที่ในการทํากิจกรรมการเรียนรูจากสภาพแวดลอม ขอมูล ตลอดจนถึงการเรียนรูดวยตัวเองจากระบบ ICT เปน จริง 3.3) ขั้นหาความรูจากสภาพแวดลอมจริงตามกิจกรรม การชวยใหผูสอนไดมีเวลาดูแลใสใจผูเรียนในดานพฤติกรรม การเรียนรูที่กําหนด 3.4) ขั้นสรุปความรูที่ไดจากการ การเรียนรูและสังคมมากขึ้น ซึ่งจะชวยเพิ่มขีดความสามารถ ปริทัศนเพื่อตอบกิจกรรมการเรียนรูจากสภาพแวดลอมจริง ในการแขงขันของประเทศไทยตอไป “การออกแบบการจัด 4) การวัดและประเมินผลใชแบบวัดและการประเมินผล กิ จ กรรมการเรี ย นรู ผ า นเอ็ ม เลิ ร น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก าร ตามสภาพที่เปนจริง เชื่อมตอ ดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง ” 2. ผูทรงคุณวุฒิจํานวน 5 ทานทําการประเมินรูปแบบ เป น การพั ฒ นาเพื่ อ ตอบสนองยุ ท ธศาสตร ข องที่ 2 ของ การเรี ย นการสอนมี ค วามคิ ด เห็ น ว า รู ป แบบการจั ด กระทรวงศึกษาธิการเพราะในปจจุบันมีการใชอุปกรณการ กิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการ เรียนการสอนแบบไรสายและสามารถเคลื่อนที่ไปในที่ตาง ๆ เชื่อมตอดวยวิธการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง ี ได อ ย า งสะดวกสบาย การพั ฒ นารู ป แบบนี้ เ พื่ อ ที่ จ ะเป น ที่พัฒนาขึ้น มีความเหมาะสมอยูในระดับมาก แนวทางใหกับบุคลากรทางการศึกษาในการพัฒนาการเรียน การสอนที่เหมาะสมภายใตบริบทของประเทศไทยตอไป คําสําคัญ: รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู, เอ็มเลิรน เอ็มเลิรนนิง (m-Learning) หมายถึง การจัดกระบวนการ นิง, ทฤษฎีการเชื่อมตอ , ปริทัศนความรูจากสภาพแวด เรี ย นรู แ บบเคลื่ อ นที่ โดยอาศั ย อุ ป กรณ เ คลื่ อ นที่ ที่ มี ก าร ลอมจริง เชื่อมตอแบบไรสาย เชน คอมพิวเตอรขนาดเล็กแบบพกพา แท็ปเล็ต สมารทโฟน เปนตน โดยอาศัยเทคโนโลยีทางการ 1) บทนํา สื่อสารเขามาชวยเพื่อจัดกระบวนการเรียนรูใหเปนไปตาม ประเทศไทยมี ก ารกํ า หนดกรอบนโยบายเทคโนโลยี วัตถุประสงค (มนตชัย เทียนทอง, 2547) สารสนเทศและการสื่อสาร พ.ศ.2554-2564 หรือ “ICT 102
  • 5. ทฤษฎี ก ารเชื่ อ มตอ (Connectivism) คือ การบูร ณาการ 2.2) เพื่อประเมินรับรองรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู หลักการสํารวจที่มีความซับซอน เครือขาย และความ ผ า นเอ็ ม เลิ ร น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต อ ด ว ยวิ ธี ก าร สมบูรณ ตลอดทั้ง ทฤษฎีการบริการจัด การตนเอง การ ปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง เรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายใน สภาวะแวดลอม ที่ ค ลุ ม เครื อ ของการขยั บ องค ป ระกอบหลั ก ไม ไ ด 3) ขอบเขตงานวิจัย หมายความรวมถึ งทุกสิ่งนั้นตองอยู ภายใตการควบคุ ม 3.1) ประชากรและกลุมตัวอยาง  ของคน การเรียนรูสามารถเกิดขึ้นไดภายนอกบุคคล(แต 3.1.1 ประชากร คือ ผูทรงคุณวุฒิดานการออกแบบกิจกรรม ยังอยูภายในองค การหรือฐานขอมูล)โดยมีการมุงเนนไป การเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงผูทรงคุณวุฒิดานทฤษฎีการ  ที่การเชื่อมตอที่มีความจํา เพาะเจาะจง และความสามารถ เชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง ในการเรียนรูขอมูลใหมๆมีความสําคัญมากกวา ความรูที่ 3.1.2 กลุมตัวอยาง คือ ผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 5 ทาน ไดโดย มีในปจจุบัน (Siemens, 2005) การเลือกแบบเจาะจง โดยมีประสบการณในดานที่เกี่ยวของ การจัดกระบวนการเรียนรูตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอ ไมนอยกวา 3 ป ประกอบดวย ดานการออกแบบกิจกรรม คือ การเรี ย นรู เ ชื่ อมโยงผ านซอฟต แ วร ฮาร ด แวร และ การเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิง จํานวน 3 ทาน ดานทฤษฎีการ ขอมูลที่อยูในรูปของดิจิ ทัล มีการเรียนรูขอมูลบนโลก เชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง 2 อินเทอรเน็ตอยางตอเนื่องทุกวันทําใหความรูถูกพัฒนา ทาน เพิ่มขึ้นโดยเกิดจากการเชื่อมโยงของขอมูล อาจจะอยูรูป 3.2) ตัวแปรที่ใชในการวิจัย ของ ขอความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว เปนตน เพียงแตคลิก 3.2.1 ตัวแปรตน คือ รูปแบบแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู ลิงคสวนตาง ๆ ของขอมูลที่อยากรู จะทําใหกระบวนการ ผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอดวยวิธการ  ี เรี ยนรูถู กเชื่อ มต อ และปรั บปรุง ความรู เดิ มเพิ่ม ขึ้น ไป ปริทศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง ั เรื่อยๆ 3.2.2 ตัวแปรตาม คือ ผลการประเมินรับรองของรูปแบบ การปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง เกิดจากเมื่อ การจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎี  ข อ มู ล ความรู ที่ ถู ก พิ ม พ ขึ้ น บนแอพพลิ เ คชั่ น ครบตาม การเชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง จํานวนบุคคลแลวหลังจากนั้นก็จะใหผูเรียนรูทุกคนก็จะ ได ใช หลั กการของทฤษฏี การเชื่อ มต อ โดยผูเ รีย นรู จ ะ 4) วิธีดําเนินการวิจัย ก า ร อ อก แ บ บ ก า ร จั ด กิ จ กร ร ม กา ร เ รี ย น รู ผ า น เ อ็ ม ศึกษาขอมูลที่อยูบนแอพพลิเคชั่นที่ไดออกแบบไว ของ เลิ ร น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต อ ด ว ยวิ ธี ก ารปริ ทั ศ น ผูเ รี ย นทุ ก คนที่สง เข า ไปในระบบ เพื่ อ ทํา การปริ ทั ศ น ความรูจากสภาพแวดลอมจริง แบงการดําเนินงานออกเปน 2 ความรู คือ นํามาวิเคราะห สังเคราะหทบทวนพรอมทั้ง ระยะ ดังนี้ เชื่ อมต อข อมู ลความรู ที่ข าดหายเขา ด วยกั น แล ว นํา มา ระยะที่1 การออกแบบการจัด กิจกรรมการเรียนรูผานเอ็ม สรุปเปนคําตอบของกิจกรรมการเรียนรูอีกครั้งหนึ่ง แลว เลิ ร น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต อ ด ว ยวิ ธี ก ารปริ ทั ศ น สงผานแอพพลิเคชั่นที่ไดออกแบบไวผานกระบวนการ ความรูจากสภาพแวดลอมจริง มีขั้นตอนดังนี้ เรียนรูบนระบบเอ็มเลิรนนิง 1) ขั้นการวิเคราะห (Analysis) ศึกษาและวิเคราะหเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการจัด 2) วัตถุประสงคของงานวิจัย กิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิง แนวทฤษฎีการเชื่ อมตอ 2.1) เพื่อออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็ ม และวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง เพื่อนําไป เลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศน สังเคราะหเปน การออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผาน ความรูจากสภาพแวดลอมจริง เอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอ ดวยวิธีการปริทัศน ความรูจากสภาพแวดลอมจริง 103
  • 6. 2) ขั้นการออกแบบ (Design) 4) การวิเคราะหผลการประเมินความเหมาะสมของรูปแบบ การออกแบบกิจกรรมการเรีย นรู ผา นเอ็ มเลิร นนิ ง ตาม โดยใชคาเฉลี่ย( X ) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ซึ่งมี แนวทฤษฎีการเชื่อมตอและวิธีการปริทั ศนความรูจาก เกณฑ ใ นการกํ า หนดค า น้ํ า หนั ก ของการประเมิ น ความ สภาพแวดลอ มจริ ง โดยรู ปแบบมี ก ารออกแบบการจั ด เหมาะสมของรูปแบบเป น 5 ระดับ ตามแนวของลิ เคิร ต กิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการ (Likert) ดังนี้ เชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง 5 หมายถึง มีความเหมาะสมมากที่สุด ประกอบดวย 4 องคประกอบ 1) หลักการของรูปแบบ 4 หมายถึง มีความเหมาะสมมาก 2) ขั้นตอนของรูปแบบ 3) กิจกรรมการเรียนรูผานเอ็ม 3 หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง เลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศน 2 หมายถึง มีความเหมาะสมนอย ความรู จ ากสภาพแวดลอ มจริง และ 4) การวัด และ 1 หมายถึง มีความเหมาะสมนอยที่สุด ประเมินผลใชแบบวัดและการประเมินผลตามสภาพที่ และ กํ า หนดเกณฑ ใ นการแปลความหมาย ดั ง นี้ เปนจริง (ประคอง กรรณสูต, 2542) 3) ขั้นการพัฒนา (Development) 4.50 – 5.00 หมายถึง มีความเหมาะสมมากทีสุด ่ 3.1) พัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิง 3.50 – 4.49 หมายถึง มีความเหมาะสมมาก แนวทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต อ และวิ ธีก ารปริ ทัศ น ค วามรู จ าก 2.50 – 3.49 หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง สภาพแวดลอมจริง 1.50 – 2.49 หมายถึง มีความเหมาะสมนอย 3.2) สรางเครื่องมือสําหรับการประเมินความเหมาะสม 1.00 – 1.49 หมายถึง มีความเหมาะสมนอยทีสุด ่ ของรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิง ตามแนวทฤษฎีการเชื่อมต อดวยวิธีการปริทัศนความรู 5) ผลการวิจัย จากสภาพแวดลอมจริง การวิจัยครั้งนี้นําเสนอผลการวิจัยเปน 2 ตอน ดังนี้ ระยะที่ 2 การประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการจัด ตอนที่ 1 รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิง กิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการ ตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจาก เชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง สภาพแวดลอมจริง 1) นํารูปแบบที่พัฒนาขึ้นนําเสนอตอ ผูทรงคุณวุฒิดาน รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนว การออกแบบกิ จ กรรมการเรี ย นรู ผ า นเอ็ ม เลิ ร น นิ ง ทฤษ ฎี ก ารเ ชื่ อ มต อด ว ยวิ ธี ก ารป ริ ทั ศน ความรู จาก ผูทรงคุณวุฒิดานทฤษฎีการเชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศน สภาพแวดลอมจริง ประกอบดวย 4 องคประกอบ คือ ความรูจากสภาพแวดลอมจริง จํานวน 5 ทาน พิจารณา 1) หลักการของรูปแบบ และประเมินความเหมาะสมของรูปแบบ 2) ขั้นตอนของรูปแบบ 2) ปรับปรุงรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็ม 3) การจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎี เลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอ ดวยวิธีการปริทัศน การเชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง ความรู จ ากสภาพแวดล อ มจริ ง ตามข อ เสนอแนะของ 4) การวัดและประเมินผลใชแบบวัดและการประเมินผลแบบ ผูทรงคุณวุฒิ ตามสภาพที่เปนจริง 3) นําเสนอรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็ม นําเสนอดังรูปที่ 1 เลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอ ดวยวิธีการปริทัศน ความรูจ ากสภาพแวดล อมจริ ง ที่ พัฒ นาขึ้ นในรู ป แบบ แผนภาพประกอบความเรียง 104
  • 7. รูปที่ 1: องคประกอบของรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชือมตอดวยวิธีการปริทัศน ่ ความรูจากสภาพแวดลอมจริง 1.1) หลักการของรูปแบบ 1.2.2 ขั้นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ประกอบดวย หลักการของการจัดกิจกรรมการเรียนรู การจัดการเรียนการสอนแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผาน ผานเอ็มเลิรนนิง หลักการจัดการเรียนการสอนตามแนว เอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศน ทฤษฏีการเชื่อมตอ และกระบวนการวิธีการปริทัศน ความรูจากสภาพแวดลอมจริง 4 ขั้นตอน ความรูจากสภาพแวดลอมจริง 1.2.3 ขั้นสรุปผล ใชการสรุปผลตามสภาพจริง 1.2) ขั้นตอนของรูปแบบ 1.2.1ขั้นเตรียมการกอนการเรียนการสอน 1.3) กิจกรรมการเรียนรูผานเอ็ม เลิรนนิ งตามแนวทฤษฎี เตรียมดานโครงสรางของระบบการเรียนรูแบบเคลื่อนที่ การเชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอม (m-Learning)เตรียมแอพพลิเคชั่นที่สรางตามแนวทฤษฎี จริง การเชื่อมตอ (Connectivism) ออกแบบกิจกรรมการเรียน การจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎี การสอนจากสภาพ แวดลอมจริงผานกระบวนการเรียนรู การเชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง แบบเคลื่อนที่ (m-Learning) ประกอบดวย 4 ขั้นตอน นําเสนอดังรูปที่ 2 105
  • 8. รูปที่ 2: กิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอดวยวิธีการปริทศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง ั 1.3.1 ขั้นกําหนดกิจกรรมการเรียนรู 1.3.4 ขั้นสรุปความรูที่ไดจากการปริทัศน จากสภาพแวดลอมจริง ผูสอนจะทําการออกแบบ เพื่อตอบกิจกรรมการเรียนรูจากสภาพแวดลอมจริง เมื่อขอมูล กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น ต า ม ที่ กํ า ห น ด ไ ว 1 ) พั ฒ น า ความรูที่ถูกพิมพขึ้นบนแอพพลิเคชั่นครบตามจํานวนบุคคล Application และเตรี ย มระบบ m-Learning 2) การ แลวหลังจากนั้นก็จะใหผูเรียนรูทุกคนก็จะไดใชหลักการของ ออกแบบกิ จ กรรมการเรี ย นรู ต ามแนวทฤษฎี 3)การ ทฤษฏี ก ารเชื่ อ มต อ โดยผู เ รี ย นรู จ ะศึ ก ษาข อ มู ล ที่ อ ยู บ น เชื่อมตอ กําหนดสภาพแวดลอมจริง 4) ขอตงลงในการทํา แอพพลิเคชั่นที่ไดออกแบบไว ของผูเรียนทุกคนที่สงเขาไป กิจกรรมการเรียนรู ในระบบ เพื่ อ ทํ า การปริ ทั ศ น ค วามรู คื อ นํ า มาวิ เ คราะห 1.3.2 ขั้นการเลือกใชเครื่องมือแบบเคลื่อนที่ สังเคราะหทบทวนพรอมทั้ง เชื่อมตอขอมูลความรูที่ขาดหาย ในการทํากิจกรรมการเรียนรูจากสภาพแวดลอมจริง ขั้นนี้ เขาดวยกัน แลวนํามาสรุปเปนคําตอบของกิจกรรมการเรียนรู ผูสอนเลือกเครื่องมือที่ใชในการทํากิจกรรม เชน สมารท อีกครั้งหนึ่ง แลวสงผานแอพพลิเคชั่นที่ ไดออกแบบไวผาน โฟน แท็ ป เล็ ต รวมทั้ง ต อ งเลื อ กวิ ธีการเชื่อ มต อระบบ กระบวนการเรียนรูบนระบบเอ็มเลิรนนิง เครือขายวาจะผาน เซลลูลาหเน็ทเวิรก หรือ อินเทอรเน็ต 1.4) การวัดและประเมินผล เน็ทเวิรก เพื่อใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอมจริง  การวัดและประเมิ นผลใชแบบวัดและการประเมินผลตาม 1.3.3 ขั้นหาความรูจากสภาพแวดลอมจริง สภาพจริง หลังจากการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง ตามกิจกรรมการเรียนรูที่กําหนด จากกิจกรรมการเรียนรู แลว ผูสอนจะใชการประเมินโดยดูจากคําตอบที่เขามาใน ที่ผูสอนกําหนด ผูเรียนก็จะทําการหาขอมูลความรูจาก ระบบขณะนั้นในลักษณะการโตตอบสองทิศทางปฏิสัมพันธ สภาพแวดลอมจริงตามการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ไดรับ ของผู เ รี ย นกั บ ระบบ และพฤติ ก รรมการเรี ย นรู ผ า นเอ็ ม มอบหมาย แลวพิมพความรูที่ไดของแตละบุคคลสงผาน เลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอ กระบวนการเรียนรูบนแอพพลิเคชั่นแบบเอ็มเลิรนนิงใน ตอนที่ 2 ผลการประเมินรับรองรูปแบบการจัดกิจกรรมการ ลักษณะโตตอบสองทิศทาง เรี ย นรู ผ า นเอ็ ม เลิ ร น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต อ ด ว ย วิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง 106
  • 9. การประเมิ น รั บ รองของรู ป แบบการจั ด กิ จ กรรมการ พั ฒ นา Applicationและเตรี ย มระบบ m-Learning มี ค วาม เรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมตอดวย เหมาะสมอยู ใ นระดั บ มากที่ สุ ด ( X =4.80, SD=0.45) วิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง ดําเนินการ รองลงมาไดแก การออกแบบกิจกรรมการเรียนรูตามแนว ประเมินโดยผูทรงคุณวุฒจํานวน 5 ทาน นําเสนอผลการ ิ ทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต อ ( X =4.40, SD=0.89) กํ า หนด ประเมินดังตารางที่ 1 สภาพแวดลอมจริง ( X =4.20, SD=0.84) และขอตกลงในการ ทํากิจกรรมการเรียนรู ( X =4.20, SD=0.45) ตารางที่ 1: ผลการประเมินรูปแบบการจัดกิจกรรมการ เรียนรู ดานองคประกอบของรูปแบบ ตารางที่ 3: ผลการประเมินขันตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู ้ รายละเอียดการออกแบบ X S.D. ความเหมาะสม ขั้นการเลือกใชเครื่องมือแบบเคลือนที่ ่ 1. หลั กการและแนวคิดที่ ใชเป น รายละเอียดการออกแบบ ความเหมาะสม 4.40 0.55 มาก X S.D. พื้นฐานในการพัฒนารูปแบบ 1. เลือกเครื่องมือที่จะใช 4.60 0.55 มากทีสุด ่ 2. วัตถุประสงคของรูปแบบ 4.40 0.89 มาก 2. อธิบายขั้นตอนวิธีการใชงาน 3. รู ป แบบการจั ด กิ จ กรรมการ 4.20 0.84 มาก เครื่องมือที่จะใชผานระบบ 4.20 0.84 มาก เรียนรู m-Learning 4. การวัดและประเมินผล 4.00 0.71 มาก ภาพรวมของผลการประเมิน 4.40 0.20 มาก ภาพรวมของผลการประเมิน 4.25 0.15 มาก จากตารางที่ 3 พบวา ขั้นการเลือกใชเครื่องมือแบบเคลื่อนที่ จากตารางที่ 1 พบวา องคประกอบในการออกแบบการ ผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ เ ห็ น ว า มี ค วามเหมาะสมอยู ใ นระดั บ มาก จั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ฯ ผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ เ ห็ น ว า มี ค วาม ( X =4.40, SD=0.20) เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา เลือก เหมาะสมอยูในระดับมาก ( X =4.25, SD=0.15) เมื่อ เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช มี ค วามเหมาะสมอยู ใ นระดั บ มากที่ สุ ด พิจารณาเปนรายดาน พบวา หลักการและแนวคิดที่ใ ช ( X =4.60, SD=0.55) รองลงมาได แ ก อธิ บ ายขั้ น ตอน เปนพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบ มีความเหมาะสมอยู วิ ธี ก ารใช ง านเครื่ อ งมื อ ที่ จ ะใช ผ า นระบบ m-Learning ในระดั บ มาก ( X =4.40, SD=0.55) รองลงมาได แ ก ( X =4.20, SD=0.84) วัตถุประสงคของรูปแบบ ( X =4.40, SD=0.89) รูปแบบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู( X =4.20, SD=0.84) และการ ตารางที่ 4: ผลการประเมินขันตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู ้ วัดผลประเมินผล ( X =4.00, SD=0.71) ขั้นหาความรูจากสภาพแวดลอมจริง รายละเอียดการออกแบบ X S.D. ความเหมาะสม ตารางที่ 2: ผลการประเมินขันตอนการจัดกิจกรรมการ ้ 1. หาความรูที่ไดจากสภาพแวด 4.60 0.55 มากที่สุด เรียนรู ขันกําหนดกิจกรรมการเรียนรูจากสภาพแวดลอม ้ ลอมจริง 2. นําความรูที่ไดสงเขาสูระบบ จริง m-Learning 4.60 0.55 มากที่สุด รายละเอียดของขั้นตอน X S.D. ความเหมาะสม ภาพรวมของผลการประเมิน 4.60 0 มากที่สุด 1. พัฒนา Application และเตรียม ระบบ m-Learning 4.80 0.45 มากที่สุด จากตารางที่ 4 พบวา ขั้นหาความรูจากสภาพแวดลอมจริง 2. การออกแบบกิ จ กรรมการ ผูทรงคุณวุฒิเห็นวามีความเหมาะสมอยูในระดับมากที่สุด เ รี ย น รู ต า ม แ น ว ท ฤ ษ ฎี ก า ร 4.40 0.89 มาก ( X =4.60, SD=0) เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา หาความรู เชื่อมตอ 3. กําหนดสภาพแวดลอมจริง 4.20 0.84 มาก ที่ไดจากสภาพแวด ลอมจริง อยูในระดับมากที่สุด ( X =4.60, 4. ขอตกลงในการทํากิจกรรมการ SD=0.55) เทากับนําความรูที่ไดสงเขาสูระบบ m-Learning 4.20 0.45 มาก เรียนรู ( X =4.60, SD=0.55) ภาพรวมของผลการประเมิน 4.40 0.24 มาก จากตารางที่ 2 พบว า ขั้ น การจั ดกิ จ กรรมการเรี ย นรู ผู ท รงคุ ณวุ ฒิ เ ห็ น ว า มี ค วามเหมาะสมอยู ใ นระดั บ มาก ( X =4.40, SD=0.24) เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ขั้น 107
  • 10. ตารางที่ 5: ผลการประเมินขันตอนการจัดกิจกรรมการ ้ ( X =4.13, SD=0.20) เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวารูปแบบ เรียนรู ขันสรุปความรูที่ไดจากการปริทศน ้ ั การจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฎี รายละเอียดการออกแบบ X S.D. ความเหมาะสม การเชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจาสภาพแวดลอมจริง 1 . นํ า ค ว า ม รู ที่ อ ยู ใ น ร ะ บ บ m-Learning มาทําการวิเ คราะห อยู ใ นระดั บ มาก ( X =4.2, SD=0.84) รองลงมาได แ ก สั ง เคราะห ทบทวนพร อ มทั้ ง 4.80 0.45 มากที่สุด ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนว เชื่ อมตอ ข อมู ลความรูที่ ขาดหาย ทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต อ ด ว ยวิ ธี ก าร ปริ ทั ศ น ค วามรู จ า ก เขาดวยกัน 2. สรุปเปนความรูท่ีตอบกิจกรรม สภาพแวดลอมจริง ( X =4.2, SD=0.45) และรูปแบบการจัด 4.60 0.89 มากที่สุด การเรียนรูอีกครั้งหนึ่ง กิ จ กรรมการเรี ย นรู ผ า นเอ็ ม เลิ ร น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก าร 3. นําขอสรุปที่ไดสงเขาสูระบบ m-Learning 4.80 0.45 มากที่สุด เชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวด ลอมจริง ภาพรวมของผลการประเมิน 4.73 0.26 มากที่สุด ( X =4.00, SD=0.71) จากตารางที่ 5 พบวา ขั้นสรุปความรูที่ไดจากการปริทัศน ผูทรงคุณวุฒิเห็นวามีความเหมาะสมอยูในระดับมากทีสด ่ ุ 6) อภิปรายผล ( X =4.73, SD=0.26) เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา นํา จากผลการวิจัยมีประเด็นในการอภิปรายดังนี้ ความรูมาวิเคราะห สังเคราะห ทบทวนพรอมทั้ง เชื่อมตอ 6.1) การประเมินรับรองรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู ขอมูลความรูที่ขาดหายเขาดวยกัน อยูในระดับมากที่สุด ผ า นเอ็ ม เลิ ร น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต อ ด ว ยวิ ธี ก าร ( X =4.80, SD=0.45) เทากับ นําขอสรุปสงเขาสูระบบ ปริ ทั ศ น ค วามรู จ ากสภาพแวดล อ มจริ ง โดยผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ m-Learning ( X =4.80, SD=0.45) รองลงมาไดแก สรุป พบวา ผลการประเมินอยูในระดับมาก สอดคลองกับจอยซ เป น ความรู ที่ ต อบกิ จ กรรมการเรี ย นรู อี ก ครั้ ง หนึ่ ง และเวล (Joyce and weil, 2000) ที่กลาวถึงการพัฒนาการ ( X =4.60, SD=0.89) เรียนการสอน ควรเริ่มจากการวิเคราะห ขอมูลพื้นฐานตางๆ เกี่ยวกับเรื่องที่ตองการนํามาพัฒนาเปนรูปแบบการเรียนการ ตารางที่ 6: ผลการประเมินรูปแบบกับการนําไปใชจริง สอน นําเสนอแนวคิดสําคัญของขอมูลที่ไดจากการวิเคราะห รายละเอียดการออกแบบ X S.D. ความเหมาะสม มากําหนดหลักการและรายละเอียดขององคประกอบ 1. รู ป แบบการจั ด กิ จ กรรมการ เรี ยนรู ผา นเอ็ ม เลิ รน นิ งตามแนว 6.2) จากผลการประเมินของผูทรงคุณวุฒิ พบวาขั้นตอนการ ทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต อ ด ว ยวิ ธี ก าร 4.00 0.71 มาก จั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ผ า นเอ็ ม เลิ ร นิ ง ตามแนวทฤษฏี การ ปริ ทั ศ น ค วามรู จ ากสภาพ แวด ลอมจริง มีความเหมาะสมอยูใ น เชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง อยู ระดับใด ในระดับมาก ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ (Shawnz Neo 2. ขั้ น ตอนการจั ด กิ จ กรรมการ and Jun Megata, 2012) ที่กลาววา การเรียนรูดวยวิธีการ m- เรี ยนรู ผา นเอ็ ม เลิ รน นิ งตามแนว ทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต อ ด ว ยวิ ธี ก าร learning แบบ Trail Shuttle สามารถสนับสนุนการเรียนรู 4.2 0.45 มาก ปริทัศนความรูจาสภาพแวดลอม ภายนอกห อ งเรี ย น ซึ่ ง ผู เ รี ย นมี สว นร วมในการเรี ยนรู เ มื่ อ จริ ง มี ความ เหมาะสมอยู ใ น ระดับใด เทียบกับการเรียนในชั้นเรียน ผูเรียนสามารถตอบสนองแบบ 3. รู ป แบบการจั ด กิ จกรรมการ RealTime จากสถานที่ จริ งที่ ได ออกไปเรี ยนรู ครู ผูส อนก็ เรี ยนรู ผา นเอ็ ม เลิ รน นิ งตามแนว สามารถทราบขอมูลที่ผูเรียนนั้นสงกลับมาแบบ RealTime ทฤษฎีการเชื่อมตอดวยวิธีการ 4.2 0.84 มาก ปริทัศนความรูจาสภาพแวดลอม จริ ง มี ค วาม เป น ไปได ใ นการ 7) ขอเสนอแนะ นําไปใชจริงในระดับใด ภาพรวมของผลการประเมิน 4.13 0.20 มาก 7.1) ขอเสนอแนะสําหรับการนําผลการวิจัยไปใช จากตารางที่ 6 พบว า รู ป แบบกั บ การนํ า ไปใช จ ริ ง สถาบันการศึกษาที่นํารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการ ผูท รงคุณวุ ฒิ เห็ น วา มีค วามเหมาะสมอยู ในระดั บ มาก สอนนี้ไปใชควรมีการจัดเตรียมโครงสรางพื้นฐาน เตรียม 108
  • 11. ผูสอน และเตรียมผูเรียน เพื่อใหสามารถจัดกิจกรรมการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ. เรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฏีการเชื่อมตอ ดวย มนต ชั ย เที ย นทอง. (2547,พฤษภาคม-สิ ง หาคม). M- วิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง ได Learning: แนวทางใหมของ e-learning. วารสาร 7.2) ขอเสนอแนะสําหรับการวิจยครั้งตอไป ั เทคโนโลยีและการสื่อสารการศึกษา. 1(1): 3-11. ควรมีการนํารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูผานเอ็ม Joyce, B.R., and Weil, M. 2000. Models of Teaching. 6th ed. Massachusetts: Allyn & เลิรนนิงตามแนวทฤษฏีการเชื่อมตอ ดวยวิธีการปริทัศน Bacon. Neo, S., & Magata, J. (2012). Location Based ความรูจากสภาพแวดลอมจริงไปทดลองใชเพื่อศึกษาผล mobile learning in Singapore Schools. ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ผ า นเอ็ ม International e-Learning Conference 2012(IEC2012), 49-53. เลิรนนิงตามแนวทฤษฏีการเชื่อมตอ ดวยวิธีการปริทัศน Siemens, G. (2005/1). Connectivism: A learning theory for the digital age. International ความรูจากสภาพแวดลอมจริง เชน แอพพลิเคชั่นที่จะใช Journal of Instructional Technology and บนอุ ป กรณ แ บบเคลื่ อ นที่ โครงสร า งพื้ น ฐานของการ Distance Learning, 2(1): 3-10. จัดระบบเอ็มเลิรนนิง และการจัดกิจกรรมตามแนวทฤษฏี การเชื่อมตอดวยวิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอม จริงที่เหมาะสมกับผูเรียน สถานที่ ที่เกิ ดขึ้นจริง รูปแบบ การประเมิลผลที่เหมาะสมกับการจัดกิจกรรม 8) กิตติกรรมประกาศ ผูวิจัยขอขอบพระคุณ ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปรัชญนันท นิ ล สุ ข ผู ช ว ยศาสตราจารย ดร.วิ ว รรธน จั น ทร เ ทพย อาจารย ดร.อภิชาติ อนุกูลเวช อาจารยบุรินทร นรินทร อาจารยกวิทธิ์ ศรีสัมฤทธิ์ ผูทรงคุณวุฒิสําหรับความ อนุเคราะหในการประเมินรับรองและใหขอเสนอแนะที่ เป น ประโยชน เ พื่ อ พั ฒ นารู ป แบบการจั ด กิจ กรรมการ เรียนรูผานเอ็มเลิรนนิงตามแนวทฤษฏีการเชื่อมตอ ดวย วิธีการปริทัศนความรูจากสภาพแวดลอมจริง 9) เอกสารอางอิง ปณิตา วรรณพิรุณ. (2554). สื่อการเรียนการสอนบน เครือขายคอมพิวเตอร. กรุงเทพฯ: ศูนยผลิตตํารา เรียนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระ นครเหนือ. ประคอง กรรณสู ต . (2542). สถิ ติ เ พื่ อ การวิ จั ย ทาง พฤติ ก รรมศาสตร . พิ ม พ ค รั้ ง ที่ 3. กรุ ง เทพฯ: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ปรัชญนันท นิลสุข. (2554). เทคโนโลยีสารสนเทศทาง การศึ ก ษา. กรุ ง เทพฯ: ศู น ย ผ ลิ ต ตํ า ราเรี ย น 109