SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 44
Downloaden Sie, um offline zu lesen
จุ
ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 เดือน กันยายน - เดือน ธันวาคม 2553

       ล สาร ชมรมจริ ย ธรรม
   โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
                           ISSN 1906-7860
ชมรมจริยธรรมได้รบรางวัลผลงานดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ระดับเขต 4
                  ั
 	        เรื่อง	ผลลัพธ์อันยิ่งใหญ่เหนือความคาดหวัง




2 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
จุลสารชมรมจริยธรรม
                โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
วัตถุประสงค์
	        1.		เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านจริยธรรม	หลักธรรม	และแนวทางการ
	        				ปฏิบัติธรรมของทุกเชื้อชาติ	ทุกศาสนา
	        2.		เพื่อเป็นสื่อ	ในการเผยแพร่ผลงาน	และกิจกรรมของชมรมจริยธรรม
	        				โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
	        3.		เพื่อให้สมาชิกชมรมและผู้สนใจมีความรู้	ความเข้าใจเพิ่มขึ้นในด้าน
	        				จริยธรรม	หลักธรรม	แนวการปฏิบัติธรรมและพิจารณานำามาปฏิบัติ
	        				เพื่อการพัฒนาจิตใจ

สำานักงาน	         องค์กรแพทย์			โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
	         	        โทรศัพท์			0-3552-1555		ต่อ	7401

ที่ปรึกษา		        นายแพทย์ชัชรินทร์		ปิ่นสุวรรณ				ผู้อำานวยการโรงพยาบาล
	         	        แพทย์หญิงจงดี					แจ้งศรีสุข	
	         	        นายแพทย์ธีรินทร์			รัตนพิชญชัย
	         	        แพทย์หญิงไพลิน			รัตนพิชญชัย


ประธานชมรม	        แพทย์หญิงนลินี			เดียววัฒนวิวัฒน์					

บรรณาธิการ	        นายแพทยจิรภัทร		กัลยาณพจน์พร							 	

กองบรรณาธิการ	 ทันตแพทย์หญิงอุไร		บัวทอง	 	                 พญ.วิไลพร		สกุลพิพัฒน์ศิลป์		
	         	        พญ.ธัญญกร		นันทิยกุล	        	           เภสัชกรอุ่นเรือน		เจริญสวัสดิ์		
	         			      น.ส.จเกศบุญชู		เกษมพิพัฒน์พงศ์	          น.ส.วิราวรรณ	เทพาวัฒนาสุข
	         	        น.ส.กรพินทุ์		ปานวิเชียร				 	           นางฐิติมา			บุญชื่น	 	
	         	        นางรุ่งนิภา		จ่างทอง		       	           นางพยงค์			ชินบุตร	
	         	        นายวรวรรธ	อุดมสิริคุณ	       	           นางอมรรัตน์		ลิมจิตสมบูรณ์	
                                                                            ้

ฝ่ายศิลป์		        นางจงรักษ์		ระโหฐาน
	         	        นางแววดาว		บุญจิตธรรม

                  ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี                      3
บรรณาธิการแถลง


                                             เรียนผูอานทุกท่านจุลสารชมรมจริยธรรม
                                                   ้่
                                เล่มนี้ถือว่าเป็นเล่มที่ 3 แล้ว คณะบรรณาธิการเรา
                                ได้รับข้อเสนอแนะจากผู้อ่านมากมาย จึงได้ช่วยกัน
                                ระดมความคิดและปรับปรุงเนื้อหาให้เกิดประโยชน์
                                กับผู้อ่านมากที่สุดดังเช่นมีการเพิ่มเติมหัวข้อธรรม
                                ต่าง ๆ ให้มีความหลากหลายมากขึ้น นอกจากนั้น
                                ยังได้ปรับปรุงในส่วนของขนาดตัวหนังสือให้อ่านได้
                                ง่าย และเลือกชนิดกระดาษให้สบายตายิ่งขึ้น

         ในช่วงนี้เป็นช่วงส่งท้ายปีเก่า 2553 และต้อนรับปีใหม่ 2554 ทางคณะ
บรรณาธิการก็หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจุลสารฉบับนี้ จะยังทำาหน้าที่เป็นสื่อนำาสิ่งดี ๆ ใน
ชีวิต ไปให้กับผู้ที่มีโอกาสได้อ่าน และหากมีข้อเสนอแนะต่าง ๆ ก็ยินดีน้อมรับนำาไป
ปรับปรุง แก้ไขให้เหมาะสมในโอกาสต่อไป


                                                นายแพทย์จิรภัทร กัลยาณพจน์พร




4 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
สารจากประธานชมรม


           ในวาระดิ ถี ข้ึ น ปี ใ หม่ ดิ ฉั น ขอให้ ทุ ก ท่ า น
“เปิดใจรับความสุข” ทุกวันนี้ความสุขมีอยู่รอบตัว
เราแต่ที่เรามองไม่เห็นคือ ไม่เปิดใจรับความสุขด้วย
ใจ ทุกท่านมีสุขภาพดี มีที่อยู่อาศัย กินอิ่ม นอน
อุ่น มีครอบครัวที่อบอุ่น มีหน้าที่การงานดีที่จะทำา
ประโยชน์ให้ตนเองและสังคม นั่นแหล่ะคือความสุข
ที่มีอยู่รอบตัวเราแล้ว การที่เราไม่สามารถมองเห็น
ความสุขหรือชื่นชมสิ่งพิเศษที่เรามีอยู่ เพราะใจเรา
มัวจดจ่อแต่สิ่งที่เรายังไม่มี จึงไม่ค่อยเห็นคุณค่าของ
สิ่งที่เรามี แม้ว่าสิ่งนั้นจะวิเศษเพียงใด คนจำานวนไม่น้อยทุกข์ เพราะจิตใจจดจ่ออยู่
กับความใฝ่ฝันหรือจุดมุ่งหมายที่พึงปรารถนา ความสำาเร็จที่ยังมาไม่ถึง ซึ่งจะเป็น
แรงขับเคลื่อนทำาให้เกิดความพากเพียรพยายามต่อไป แต่อาจทำาให้เราละเลย สิ่ง
ดีๆ ที่มีอยู่ ซึ่งให้ความสุขแก่เราทุกขณะ ดังนั้นควรเปิดใจรู้คุณค่าสิ่งดีๆรอบตัว
เราเถิด
                                  จากหนังสือ เปิดใจรับความสุข พระอาจารย์ไพศาลวิสาโร

           ปีใหม่ขอให้ทุกท่านฝึกฝนตนเองให้ “ปล่อยวาง” เปิดใจด้วยการมีสติ ชื่นชม
สิ่งที่มีและยินดีสิ่งที่ได้ไม่ปล่อยให้ความรัก โลภ โกรธ และหลงครอบงำาจิต เราจะ
พบกับความโปร่งเบา มีความสุขสงบเย็นจากภายในใจของทุกท่านเทอญ สาธุ


                                                          ด้วยความปรารถนาดี
                                                แพทย์หญิงนลินี เดียววัฒนวิวัฒน์
                                                        ประธานชมรมจริยธรรม



                      ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี          5
สารบัญ
      คนดีของชมรมจริยธรรม                            7
      ธรรมะกับสุขภาพ                                10
      จดหมายจากผู้อ่าน                              13
      ถาม-ตอบ                                       14
      แนะนำาหนังสือน่าอ่าน                          15
      ธรรมะจากภาพยนตร์                              17
      แนะนำาสถานที่ปฏิบัติธรรม                      18
      เรืองจากปก
         ่                                          19
      ข่าวประชาสัมพันธ์                             21
      สารจากผู้อำานวยการโรงพยาบาล                   23
      เรื่องเล่าความดี                              27
      ธรรมะวันละคำา                                 31
      กลอนธรรมและคำาคม                              32
      ธรรมขัน                                       33
      นิทานชาดก                                     34
      พระคุณแม่                                     36
      ปริศนาธรรม                                    38
      กฎแห่งกรรม                                    40




6 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
บุคคลน่ายกย่อง

คนดีของรพ.เจ้าพระยายมราช
              พ.ศ. 2553                                     พญ.นลินี

    	 นายแพทย์เอลวิล		เพชรปลูก

     “ทำ�ง�นวันนี้ให้ดีที่สุด”



      	 นายสมร		เนียมอินทร์
      ตำาแหน่งช่างไม้ ชั้น 3 แผนกช่าง
      รับผิดชอบต่อหน้าที่
      มีมิตรไมตรี ต่อผู้ร่วมงาน
      “มีจริยธรรม คุณธรรม ประจำ�ใจ”



      	 นางมาลัย	มณีอินทร์	
      ตำาแหน่งคนงาน หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรมชั้น 4
      ทำ า ใจให้ รั ก งานก่ อ นเพื่ อ จะได้ มี ค วามสุ ข ในการทำ า งาน
      รับผิดชอบในหน้าที่ให้สมบูรณ์เสียสละเวลาส่วนตัวตาม
      โอกาส ทำางานเปรียบเสมือนบ้านของเราเอง
      “ซื่อสัตย์ ขยันอดทน มีน้ำ�ใจ
      พย�ย�มทำ�ง�นให้ดีที่สุด”
      (ถูกต้อง ทันเวล� เรียนรู้ง�นอยู่เสมอ)


   ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี                   7
นางสาวทิราวรรณ		ไทยานันท์	
                         พยาบาลวิชาชีพชำานาญการ แผนกผู้ป่วยนอก
                         ทำาใจให้รักงานก่อนเพื่อจะได้มี ค ว า ม สุ ข ข ณ ะ ทำ า ง า น
                         ตั้งใจทำางานสุดความสามารถทั้งสติปัญญา และกำาลังกาย
                         ให้เต็มศักยภาพ รับผิดชอบงานในหน้าที่ให้สมบูรณ์ที่สุด
                         เสียสละเวลาส่วนตัวตามโอกาส ช่วยเหลือเอื้อเฟื้อเพื่อน
                         ร่วมงานตามสมควร นึกเสมอว่า “ทำางานที่มีดีกว่า ไม่มี
                         งานทำา” และที่ทำางานเปรียบเสมือนบ้านหลังที่ 2 ของเรา
                         “ขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด อดทน”


                              นางดวงแข		ลาภวิบูลย์สุข
                         พยาบาลวิชาชีพชำานาญการ หอผู้ป่วย บจศ.1
                         ถ้าเราเกิดมาเป็นผู้ให้ อนิสงส์์ที่จะได้คือกลาย เป็นผู้รับ
                         แต่ถ้าเกิดมาเพื่อจะเอาแต่ได้ แล้วใครจะให้ เมื่อมีแต่
                         ผู้ที่อยากจะรับ ไม่ว่าท่านจะให้หรือจะรับ วันสุดท้าย
                         ของลมหายใจ คือนามธรรมที่จะนำาพาให้เป็นไป
                         “จะมุ่งทำ�ในสิ่งที่ดีที่สุด เพื่อคนรอบข้�งมีคว�ม
                         สุขก�ย สุขใจ คล�ยทุกข์”

                         				นางสาวอัมพร		ปักษี		
                         จพง.ทันตสาธารณสุข หน่วยงาน ทันตกรรม
                         ตอนเด็กๆ เคยโกรธแม่เพราะแม่ทำาไร่ มีผัก หรือผล
                         ไม้ ก็จะเลือกที่ดีๆ ให้คนอื่น ส่วนของที่ไม่ดีมีตำาหนิ
                         ก็จะเก็บไว้กินเองจนโตมาทำ างานมีหน้าที่รับผิดชอบ
                         และคิดถึงตัวเองเมื่อตอนเด็ ก ว่ า อยากได้ กิ น ของดี ๆ
                         จึ ง พยายามทำ า แต่ สิ่ ง ที่ ดี ที่ สุ ด ซึ่ ง คิ ด ว่ า น่ า จะเป็ น การ
                         “ มี น้ำ � ใจทำ � ง�นเต็ ม คว�มส�ม�รถและก�รมี
                         มนุษยสัมพันธ์กับคนทั่วไป”
8 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
3. อัตถจริยา คือ การประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ ผู้อื่น รวมทั้งการช่วย
เหลือ ด้วยกาย และการแนะนำาด้วยวาจา
4. สมานัตตา คือ การวางตนให้เหมาะสมแก่ฐานะของตน การวางตนเสมอต้น
เสมอปลายไม่ถือตัว
“อัตต�หิ อัตโน น�โถ ตนแลเป็นที่พึ่งแห่งตน”


                               นายดำารง		ทัศน์ศรี
                          ตำาแหน่ง ลูกจ้างประจำา พนักงาน รปภ.
                          การครองตนยึดระเบียบวินัย กฎหมาย ของทางราชการ
                          อย่างเคร่งครัด ยึดหลักธรรมศาสนาในการดำาเนินชีวิตการ
                          ครองคนทำางานรับใช้ผู้บังคับบัญชาเต็มใจและเต็มความ
                          สามารถมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนร่วมงานทุกคนการ
                          ครองตนทำางานเพื่อความเสียสละไม่ท้อแท้ท้อถอยเมื่อเจอ
                          อุปสรรคทำางานด้วยใจรักมีความสุขกับคนและการทำางาน
                          “คว�มสำ�เร็จของท่�น คือง�นบริก�รของเร�
                          เร�ทำ�เพื่อผู้อื่น แต่ไม่ให้ผู้อื่นทำ�เพื่อเร�”

                      	        	นายประทีป		ศิลปะ
                          ตำาแหน่ง ลูกจ้างประจำา คนสวน
                          มีคุณธรรมในการดำาเนินชีวิตทำางานให้ดีตลอดไป ไม่เคย
                          ขาดงานช่ ว ยเหลื อ เพื่ อ นร่ ว มงานและบุ ค คลทั่ ว ไปด้ ว ย
                          อัธยาศัยที่ดี
                         “เสียสละอุทิศตนเองให้กับท�งร�ชก�ร”
                     ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี               9
ธรรมะกับสุขภาพ
                       คาถาลดความอ้วน
                          ของพระพุทธเจ้า                                 พญ.วิไลพร
                                            ปัญหาสำาหรับคนวัยทำางานที่พบบ่อยก็คือ
                                      ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากการทุ่มเททำางานจนขาด
                                      การดูแลรักษาร่างกายตามสมควร            หนุมสาว
                                                                                ่
                                      ออฟฟิศหลายคนเมืออายุมากขึน หน้าท้องทีเ่ คย
                                                         ่          ้
                                      แบนราบกลับป่องขึน สิงทีเ่ คยเรียกว่าท้องเปลียน
                                                       ้        ่                    ่
                                      เป็นพุง ลำาแขนเล็กเรียวเพรียวงามกลับใหญ่ขนจน้ึ
                                      มีขนาดปานท่อนขา ไฟท้ายเคยตึงเต่งกลับขยายตัว
ออกทุกทิศทางอย่างไม่หยุดยังเหมือนจักรวาล ตามทฤษฎีบกแบง
                           ้                               ๊ิ
          ก�รกินม�กอ้วนม�กย่อมส่งผลต่อชีวิต และอันทีจริงปัญหานีกไม่ได้เป็น
                                                                  ่       ้็
เรืองใหม่อะไรเลย เพราะนับแต่สมัยพุทธกาลปัญหาโรคอ้วนก็ได้มการบันทึกไว้แล้ว เคยมีคน
   ่                                                          ี
ทูลถามพระพุทธองค์ ซึงก็ได้พระราชทาน “คาถาลดความอ้วน” ไว้เสียด้วย
                    ่

           เรืองมีอยูวา วันหนึง พระเจ้าปเสนทิโกศล แห่งสาวัตถี แคว้นโกศล เข้าเฝ้าพระพุทธ
              ่      ่่       ่
องค์เพือสนทนาธรรม คุยกันไปคุยกันมาพระเจ้าปเสนฯ ได้ตรัสปรึกษาว่าตัวพระองค์เองเป็น
         ่
พวกช่างกิน เสวยจุบจิบทังวันไม่หยุดหย่อน จนร่างกายอ้วนใหญ่ รูสกอึดอัด เดินอุยอ้ายไม่
                            ้                                     ้ึ            ้
คล่องแคล่ว เสด็จไหนนิดหน่อยก็เหนือยหอบ กลางวันก็งวงเหงาหาวนอน ออกว่าราชการ
                                       ่                ่
ไม่คอยไหว พระพุทธเจ้าจึงทรงเมตตาพระราชทานคาถา
    ่                                                         (อันแปลว่าบทกลอนท่องบ่น
ไม่ใช่หมายถึงคาถาอาคมแนวเดรัจฉานวิชา [ความรูทขวางการหลุดพ้น] อย่างทีเ่ รามักเข้าใจ)
                                                  ้ ่ี
บทหนึงแก่พระเจ้าปเสนฯ ความว่า
       ่
         มะนุชัสสะ สะท� สตีมะโต มัตตัง ช�นะโต ลัทธะโภชะเน
         ตะนุกุสสะ ภะวันติ เวทะน� สะณิกัง ชีระติ อ�ยุ ป�ละยัง
        หลังจากได้คาถามา ก็ทรงดีพระทัยยิง ทุกครังเมือถึงเวลาเสวย พระเจ้าปเสนฯ จะ
                                          ่     ้ ่
ทรงให้มหาดเล็กคนหนึงยืนระวังอยูตรงข้างโต๊ะเสวย
                   ่           ่                    โดยทรงกำาชับว่าหากมหาดเล็กเห็น
พระองค์เสวยจนอิมแล้ว แต่ยงไม่มททาทีจะหยุด ก็ให้ทองคาถาลดความอ้วนทีพระพุทธเจ้า
               ่          ั ีี่ ่                 ่                   ่
พระราชทานไว้ ออกมาให้ดงๆ เพือเตือนสติให้ทรงหยุดเสวย
                       ั     ่
10 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
ผลจากการปฏิบตตนตามคอร์สไดเอ็ตทีพระเจ้าปเสนฯ ทรงดีไซน์ขนนี้ ก็คอ พระองค์
                           ัิ                 ่                   ้ึ      ื
ทรงสามารถลดปริมาณพระกระยาหารทีเ่ สวยต่อมือลงได้เรือยๆ จนกระทังในทีสดก็ทรงลด
                                                ้       ่            ่ ุ่
ความพระอ้วนลงไปได้หลายกิโล
            จะว่าไปแล้ว การทีพระเจ้าปเสนฯ ทรงลดน้าหนักได้นน ไม่ได้เป็นเพราะผลจาก
                              ่                     ำ     ้ั
อิทธิฤทธิความขลังของคาถาลดความอ้วนทีรบพระราชทานมาจากพระพุทธองค์หรอกครับ แต่
          ์                             ่ั
การทีทรงสามารถระงับพระทัยให้ทรงหยุดเสวยได้เมือได้ยนมหาดเล็กท่องคาถาให้ฟง
       ่                                          ่ ิ                       ั    ก็
เพราะทรงได้ฉกคิดตามเนือความในคาถาต่างหาก
                 ุ       ้
            ผูอานก็คงอยากทราบแล้วใช่ไหมครับว่า คาถาลดความอ้วนของพระพุทธเจ้ามีเนือ
              ้่                                                                 ้
ความว่าอย่างไร ถ้างันก็ขอเฉลยเลยแล้วกันนะครับ คาถาข้างบนถอดความได้วา
                      ้                                               ่
....ผูมสติรตวตลอดเวลาขณะกินอาหาร จะมีโรคน้อย แก่ชา และอายุยน....
      ้ ี ู้ ั                                        ้      ื

        เป็นไงครับ ทีนกคงสว่างกระจ่างใจกันแล้วนะครับ ว่าทำาไมพระเจ้าปเสนฯ จึงลด
                         ้ี ็
ความอ้วนได้สาเร็จ นันก็เพราะพระองค์ทรงฟังคาถาออกนันเอง
            ำ       ่                             ่
        ทุกมือ ขณะกำ�ลังเสวยพระกระย�ห�รอย่�งเม�มัน ห�กเริ่มจะม�ก
              ้
จนเลยเถิด ก็จะมีเสียงมห�ดเล็กลอยเตือนขึ้นม� ทำ�นองว่�อย่�ทรงเหวย
ม�กนะพะย่ะค่ะ ไม่งั้นจะทรงอ้วน สมองไม่แล่น ง่วงเหง�ห�วนอนทั้งวัน
แล้วจะทรงว่�ร�ชก�รไม่ได้ผลดี

           จะว่าไปแล้ว    อุปสรรคสำาคัญประการ
หนึ่งของการเจริญภาวนาจนเกิดปัญญาถึงขั้นหลุด
พ้น ไม่ตองกลับมาเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไป ซึงถือ
         ้                                 ่
เป็น “งาน” สำาคัญทีสดในมุมมองของชาวพุทธ ก็คอ
                      ุ่                      ื
“ความง่วงเหงาหาวนอน” ทีจดเป็นหนึงใน ๕ ของ
                         ่ั       ่
ตัวถ่วงความเจริญของจิตใจ (นิวรณ์ ๕) อันประกอบ
ด้วย ความพอใจในกาม ความผูกใจพยาบาท ความ
ง่วงเหงาหาวนอนขณะภาวนา ความคิดฟุงซ่านรำาคาญ
                                    ้
หงุดหงิด และความลังเลสงสัยในประโยชน์ของการ
ภาวนา

                       ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี          11
หัวใจสำ�คัญของคำ�สอนของพระพุทธเจ้�นั้น                      ดูจะหนีไม่พ้นก�ร
ภ�วน�เจริญสติให้รู้อยู่ในปัจจุบันอย่�งไม่ประม�ท                    เพราะการมีสติถอว่ามี
                                                                                   ื
ประโยชน์ทงในทางธรรมและทางโลก ไม่วากิจการงานใด หากกระทำาไปโดยขาดสติกากับ ก็
           ้ั                         ่                                        ำ
อาจส่งผลเสียหายร้ายแรงต่องานทีตนรับผิดชอบ จนถึงต่อองค์กรทีตนทำางานอยูได้ เช่น การ
                              ่                               ่            ่
ขาดสติบนดาลโทสะจนทำาร้ายเพือนร่วมงาน หรือการขาดสติไม่รถงความละโมบทีเ่ กิดขึนในใจ
        ั                   ่                            ู้ ึ                    ้
ตนจนถึงกับหลงไปยักยอกทรัพย์สนบริษทมาเป็นของตนความมีสติมคณในทีทกสถานในกาล
                                ิ   ั                           ีุ     ่ ุ
ทุกเมือ บุคคลผูมปญญาย่อมสามารถตักตวงประโยชน์จากความมีสติได้อย่างไม่จากัด ดังเช่น
      ่        ้ีั                                                           ำ
พระเจ้าปเสนทิโกศลทีทรงลดความอ้วนได้กเ็ พราะทรงมีสติในบริโภคนันเอง สาวๆ ท่านใด
                   ่                                            ่
สนใจจะนำาคาถานีไปประกอบการลดน้าหนักก็เชิญได้เลยนะครับ.....
                ้                 ำ

                                                                                   ทีมา
                                                                                     ่
             http://www.ocsc.go.th/ocsccms/frontweb/vie...ntID=CNT0004030
               http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic....f=7&t=18548




                     Remember to always dream
                 More importantly to make those derms
                    Come true and never give up.

               “จงฝันอยู่เสมอ ที่สำ�คัญม�กไปกว่� นั ้ น คื อ
            ทำ � คว�มฝันให้เป็นคว�มจริง และอย่� ยอมแพ้ ”




12 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
จดหมายจากผู้อ่าน
                           ความประทับใจ
                                                                   ไพรัตน์ ศรีเรือง


          22 ตุลาคม 2553 ได้ไปไถ่ของออกมาจากโรงรับจำานำา ราคา 120,000 บาท แล้ว
ลืมวางทิงไว้ ดิฉนเสียใจมากทำางานหนัก ขายของเหนือยเพือจะมีเอาไว้ใส่ เขียว ๆ แดง ๆ กับ
        ้       ั                              ่ ่
เขามัง เสียใจมากนอนไม่หลับหลายวัน นังคิด นอนคิด หลับตาเห็นแต่ของ ทำางานก็ไม่เป็นสุข
     ่                               ่
ฐานะลูกจ้างชัวคราว เงินทองก็นอย กว่าจะมีเก็บกับเขาได้แต่เวลาทีของหายมันแว๊บเดียวเอง
             ่                 ้                              ่
ลูก ๆ ก็พยายามปลอบใจไม่ตองเสียใจ สมบัตนอกกายนะแม่ แม่อาจจะมีเคราะห์กได้นะ แม่
                             ้            ิ                                 ็
สะเดาะเคราะห์ไปนะ

         แล้ววันหนึงก็มหนังสือส่งมาทีบาน มาในนามชือของนางไพรัตน์ ศรีเรือง เอ๊ะใครส่ง
                   ่ ี                  ่้          ่
อะไรมามีเรืองอะไรในหนังสือเล่มนีบาง มันเป็นหนังสือของ “ชมรมจริยธรรม” โรงพยาบาล
           ่                       ้้
เจ้าพระยายมราช ก็เปิดอ่านดู ยิงอ่านก็รสกได้วาหนังสือเล่มนีมคณค่า อ่านทุกหน้า ทุกตอน
                                 ่         ู้ ึ ่         ้ีุ
แล้วความร้อนลุมในใจของเรามันเย็นลง ใจของเราสงบลง สมบัตเิ ป็นของนอกกาย เราจะ
               ่
ไม่ยดเหนียวมันเอาไว้ ขอเพียงได้มชวตอยู่ ยังทำาความดีได้อกมากมาย ยกมือไหว้เจ้าคุณยม
    ึ ่                             ีีิ                 ี
ลูกจะเป็นคนดีของพ่อนะคะ จะพูดดีกบคนไข้ จะปฏิบตตวดีกบผูปวยทุกคนค่ะ
                                      ั           ัิั ั ้่




                        ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี          13
ถามตอบ

               หลักการนั่งสมาธิง่ายๆ                                       พญ.ธัญญกร

ถาม....จะมีหลักปฏิบัติอย่างไร ให้นั่งสมาธิได้ง่ายขึ้นเจ้าคะ
ตอบ....
          คำาถามนี้เข้าใจว่าคงจะมาจากการนั่งสมาธิแล้วจิตใจไม่สงบ
          1.พย�ย�มใช้ชีวิตให้เรียบง่�ย อะไรที่พอจะตัดออกได้ก็ให้ตัดออกไปเสีย
โดยเฉพาะภารกิจทั้งหลายที่ทำาให้เกิดความกังวลใจ
          2.รักษ�ศีลให้ดี ดำารงชีวิตอยู่ในหลักศีลธรรมทั้งต่อหน้าและลับหลังผู้อื่น
          3.ระมัดระวังอ�รมณ์            ที่เกิดในชีวิตประจำาวันไม่ให้เกิดความหวั่นไหวเมื่อ
กระทบอารมณ์ หรือเมื่อกระทบอารมณ์แล้วก็ให้รีบจัดการให้เรียบร้อย แก้ปัญหาให้เสร็จ
แล้วปล่อยวางเสีย ไม่ปล่อยให้อารมณ์ตกค้างอยู่ในใจ เมื่อมีเวลาว่างก็พยายามจับลม
บ่อยๆหรือใช้ลมหายใจเป็นกัลยาณมิตร
          4.พย�ย�มนั่งสม�ธิอย่�งสม่ำ�เสมอ ประมาณ 20 นาที หรือครึ่ง
ชั่วโมงวันละ 2-3 ครั้ง
          การนั่งสมาธิอย่างสม่ำาเสมอนั้น แม้จิตจะสงบหรือไม่สงบก็ไม่เป็นไร ให้เรา
พยายามดูที่จิต โดยทำาใจกลางๆแล้วเจริญสติ อย่ายินดียินร้ายกับความสงบหรือไม่สงบ
ถ้าเกิดความไม่สงบให้มองเป็นธรรมะ ที่เกิดขึ้นมาแล้วไม่นานก็จะดับไปเอง ถ้าเราเกิด
ยินดีก็จะหลงไปตามอารมณ์นั้น แล้วคิดปรุงแต่งไปเรื่อยๆ แต่ถ้ายินร้าย ก็จะเกิดความไม่
พอใจในตัวเอง เกิดความเดือดร้อนขึ้นในใจอีก
          โดยสรุปแล้วก็อยู่ที่การ “ คิดดี พูดดี ทำาดี “ นั่นเอง ถ้ารักษาใจให้เป็นปกติใน
ชีวิตประจำาวันได้แล้ว ก็จะช่วยให้นั่งสมาธิได้ง่ายขึ้น
                                                           โดย พระอาจารย์มิตซูโอะ คเวสโก

            จงอย่าได้รู้สึกสงสารตัวเอง ถ้าเกิดมีใครได้พบความสำาเร็จ
            หรือได้รับมรดกเงินล้าน อย่าเสียเวลาไปกับความรู้สึกแย่ ๆ
                             ด้วยเหตุมันไม่ใช่ของคุณ
                  ที่มา..การฝึกจิตและบ่มเพาะความเมตตา เซอเกียม ตรุงปะ

14 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
แนะนำาหนังสือน่าอ่าน

             อยู่อย่างไรให้ชีวิตสวัสดี
                                                                   ภกญ.อุนเรือน
                                                                         ่

                                             เป็นหนังสือที่บริษัทสถาพรบุคส์ จำากัด
                                    จัดพิมพ์ โดยรวบรวมปาฐกถาธรรมของพระ
                                    พรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ) เพื่อเผย
                                    แพร่กิตติคุณและคำาสอนของท่าน พระพรหม
                                    มังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ) ได้สมัญญา
                                    นามจากท่านพุทธทาสภิกขุว่าเป็น “ภิกขุแม่ทัพ
                                    โลก” ผู้เผยแพร่หลักธรรมแห่งพระพุทธศาสนา
                                    ในแนวทางที่ถูกต้อง           สอนพุทธบริษัทเพื่อ
                                    เปลี่ยนแปลงชีวิตในทางที่ดีมีความสุข

         ท่านได้วางรากฐานอันมันคงในอุดมการณ์เผยแผ่ธรรมะในปี 2492 ณ พุทธสถาน
                              ่
เชียงใหม่ วัดอุโมงค์ (สวนพุทธธรรม) ปี 2503 ได้ขยายมาวางรากฐานแห่งการเผยแผ่
และปฏิบัติที่วัดชลประทานรังสฤษฏ์ นนทบุรี และ ปี 2537 ที่วัดปัญญานันทาราม
ปทุมธานี ท่านมีปณิธานว่า “ข้าพเจ้ามอบกายใจถวายเป็นพลีแก่พระองค์ และยินดีทำางาน
ตามรอยพระองค์เสมอไป เพื่อให้สัจธรรมของพระองค์ได้เข้าถึงใจของหมู่สัตว์ผู้มีโมหะ
ครอบงำาและเข้าใจทางเดินออกจากโมหะนั้นเสีย”

        หนังสือเล่มนี้แบ่งเป็น 5 ส่วน ดังนี้
        1. ท่องเที่ยวในก�ยนคร
           สอนให้รวาตัวเราคืออะไร ประกอบขึนด้วยอะไรบ้าง ส่วนประกอบนันมีหน้าที่
                   ู้ ่                      ้                               ้
อย่างไร เราได้มาอย่างไร เอามาใช้ประโยชน์แก่ตนเองและแก่คนอืนอย่างไร ร่างกาย
                                                                    ่
นี้ถ้าใช้ให้เป็นมันก็เป็นคุณค่า เป็นประโยชน์ ถ้าใช้ไม่เป็นก็เกิดทุกข์เกิดโทษ


                      ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี           15
2. ก�รประพฤติธรรม
        กล่าวถึงการประพฤติธรรมง่ายๆ ในครอบครัว และการประพฤติธรรมระหว่าง
นายจ้างกับลูกจ้าง ยึดหลักความเสียสละ การให้ การคิดดี และการเอาชนะกันด้วยความดี

         3. ประโยชน์ของธรรมะ
        ธรรมะคือเครื่องมือสำาคัญของชีวิต เครื่องทุ่นแรงของจิตใจ ให้ตื่นรู้กับชีวิต คิด
ก้าวหน้า ท่านยังสอนถึงการขัดเกลาเด็กๆ ให้รู้จักคุณค่าแห่งชีวิต ให้เขาได้คิดว่าเกิดมา
ทำาไม อยู่เพื่ออะไร สิ่งที่ควรจะประพฤติปฏิบัติคืออะไร เมื่อเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่จะเป็นคน
ดีมีปัญญา รักษาวงศ์สกุลไว้ได้

         4. สวัสดิวิธี ชีวิตช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ
            กล่าวถึงการแก้ปัญหาในชีวิตประจำาวัน      คำาสอนของพระพุทธเจ้าที่บัญญัติไว้
มากมายนั้น ถ้าพูด ย่อๆ สั้นๆ ก็อยู่ที่เรื่องเหตุผลของชีวิตนี่เอง เป็นเรื่องที่ทำาให้เราเข้าใจ
ชีวิตถูกต้อง เข้าใจเหตุของสิ่งนั้นถูกต้อง และจะแก้ไขสิ่งนั้นโดยวิธีใด แล้วเราก็แก้ไขโดย
วิธีนั้น ปัญหาชีวิตก็จะลดน้อยลงไป “วัตถุเป็นแต่เพียงสิ่งรับใช้ ไม่ใช่สิ่งที่เราจะเอามาเป็น
นายแก่ชีวิตเรา การวัดกันด้วยวัตถุนี่แหละ คือการก้าวไปที่ผิดพลาด”

         5. ภ�วน�ช่วยเสริมเพิ่มกำ�ลังจิต
         ท่านอธิบายถึงการภาวนาว่า ภาวนารวมถึงการอบรมบ่มตัวเองให้เจริญงอกงาม
ด้วยสติปัญญาจุดหมายของการเจริญภาวนาอยู่ที่ทำาให้จิตใจเราสงบ ให้จิตเราตั้งมั่นอ่อน
โยน เหมาะที่จะใช้งาน

         หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือที่น่าอ่านอีกเล่มหนึ่ง เพราะเป็นคำาสอนตามหลักพุทธ
ศาสนาที่เข้าใจง่าย นำาไปปฏิบัติได้ และมีเป้าหมายอยู่ที่ทำาให้ทุกคนได้ประพฤติธรรมอัน
เป็นพื้นฐานที่ทำาให้เป็นผู้อยู่อย่างผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน




16 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
ธรรมมะจากภาพยนตร์

                              กังฟู แพนด้า                                     รุงนิภา
                                                                                 ่

วิธีคิด           มีความสำาคัญมาก
                  สำาหรับชีวิต
แพ้ หรือชนะ       อยู่ที่กำาลังใจ
แท้ที่จริง        กำาลังใจก็คือวิธีคิด
โดยเฉพาะ          วิธีคิดอย่างมีสติ

          ภาพยนตร์การ์ตูน เรื่อง
กังฟูแพนด้าเป็นภาพยนตร์เรื่องหนึ่ง
ที่เหมาะสำาหรับดูกับเด็กๆ ดูกันไป สอนกันไป สนุกด้วย อบอุ่นด้วย
          เป็นเรื่องราวของ เจ้าโป แพนด้าน้อยหัวใจนักสู้ที่ชื่นชอบวิชากังฟูเป็นชีวิตจิตใจ
เรื่องราวไม่คาดฝันเกิดขึ้นเมื่อ เจ้าโป ได้รับตำาแหน่ง “นักรบมังกร ” สุดเท่ห์ ที่ใครๆ
ก็ต้องทึ่งและอิจฉาแต่เบื้องหลัง ใครจะรู้บ้างว่า เจ้าโป ต้องใช้ความพยายาม อดทน
พากเพียรสักเพียงใด ในการฝึกฝนวิทยายุทธ์ เพื่อครอบครอง “คัมภีร์มังกร ” สิ่งเดียว
ที่ เจ้าโป มีคือกำาลังใจ

          แม้รางวัลแห่งความสำาเร็จได้ถูกประทานมาให้ เจ้าโป สมดั่งปรารถนา เจ้า
โป ก็ต้องมาผจญกับ “ เสือดาวไต้ลุง ” ลูกศิษย์คิดล้างครูของอาจารย์ เจ้าโป ที่
พยายามทำาทุกวิถีทางที่จะล้มล้างอาจารย์ตัวเอง เพื่อความเป็นใหญ่ เจ้าโป ต้องผนึก
กำาลัง รวมทีม สมานความสามัคคีกับบรรดาลูกศิษย์ของอาจารย์เพื่อวางแผนรับมือกับ
“ เสือดาวไต้ลุง ”
          วิธีคิด พลังสามัคคีของ เจ้าโป กังฟูแพนด้าที่จะสามารถที่ฟันฝ่าเอาชนะ ความ
เห็นแก่ตัว ความพยาบาทของ “ เสือดาวไต้ลุง ” ได้อย่างไร ต้องดูกันครับ


                         ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี             17
แนะนำาสถานที่ปฏิบัตธรรม
                   ิ

                        วัดสุนันทวนาราม                                  วิราวรรณ
            จุลสารของชมรมจริยธรรม ฉบับนี้ขอแนะนำา สถานที่ปฏิบัติธรรมที่อยู่ใกล้เคียง
กับจังหวัดสุพรรณบุรี ค่ะ
            วัดสุนันทวน�ร�ม วัดนี้เป็นวัดสาขาของวัดหนองป่าพง ลำาดับที่ ๑๑๗ ซึ่งมี
พระอาจารย์มิตซูโอะ คเวสโก เป็นเจ้าอาวาส ท่านเป็นศิษย์รุ่นแรกของหลวงพ่อชา (พระ
โพธิญาณเถร) ครูบาอาจารย์ที่ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ สถานที่ของวัดแห่งนี้กว้างขวางมาก มี
เนื้อที่ถึง ๑,๕๐๐ไร่ ถือได้ว่าเป็นสถานที่สัปปายะเหมาะสำาหรับการประพฤติปฏิบัติธรรม
มีเสนาสนะที่กลมกลืนกับธรรมชาติ และเป็นวัดที่ช่วยอนุรักษ์ป่าไม้,สัตว์ป่าได้เป็นอย่างดี
อีกทั้งท่านเจ้าอาวาสมีเมตตาจิตสูงมาก
        สถ�นที่ตั้ง บ้านท่าเตียน ตำาบลไทรโยค อำาเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี
        ก�รเดินท�ง ทางเข้าวัดอยู่ ก.ม.๙๐ ของทางหลวง ๓๒๓ ช่วงไทรโยค-
ทองผาภูมิ จากตัวเมืองกาญจนบุรี ถึงน้าตกไทรโยคน้อยประมาณ ๑๑๐ ก.ม. จากน้าตกไทรโยค
                                    ำ                                   ำ
น้อยถึงปากทางเข้าวัด ๔๗ ก.ม. และจากปากทางเข้าวัดถึงศาลาต้อนรับประมาณ ๓ ก.ม.
         มีก�รอบรมปฏิบัติภ�วน�               “อ�น�ป�นสติ”           ให้แก่ประชาชน
ทั่วไป และจัดต่อเนื่องมาเป็นประจำา ปีละ ๙ ครั้งๆละ ๕ - ๙ วัน นอกจากนี้ยัง
ให้การอบรมและนำาปฏิบัติธรรมเป็นหมู่คณะตามคำาขอของสถาบันต่างๆ              ตลอดมา
         มีห้องพักปฏิบัติธรรม ๗๔ ห้อง อาคารนอน ๑๐ หลัง ซึ่งแบ่งเป็นที่พัก
สำาหรับอุบาสิกา ๘ หลังและสำาหรับอุบาสก ๒ หลัง ทั้งหมดนี้สามารถรองรับผู้ปฏิบัติธรรม
ได้ถึง ๘๗๐ คน
         ก�รปฏิบัติธรรมและกิจวัตรประจำ�วัน เริ่มตั้งแต่เวลา๐๓.๐๐-๒๑.๐๐ น.
        ขอแนะนำาคร่าว ๆ เพียงเท่านี้นะคะ            เนื่องจากเนื้อที่มีจำากัด ผู้สนใจ
ต้องการไปปฏิบัติธรรมที่วัดสุนันทวนารามสามารถ        Download รายละเอียดได้ที่
http://www.watsunan.org/


18 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
เรื่องจากปก
                      ประวัติ หลวงพ่อโต
                       วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร                                         พยงค์

              วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร หรือ วัดหลวงพ่อโต เป็นวัดเก่าแก่สันนิษฐาน
ว่ามีอายุราว 1200 ปี อยู่ริมถนนมาลัยแมน ตั้งอยู่เลขที่ 249 หมู่ที่ 2 ต.รั้ว
ใหญ่ อ.เมืองสุพรรณบุรี จ.สุพรรณบุรี เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร
อยู่ทางฝั่งด้านทิศตะวันตกของแม่น้ำาสุพรรณ            หรือแม่น้ำาท่าจีน  ซึ่งอยู่ห่างจากวัด
ประมาณ 2 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 82 ไร่ 2 งาน 16 ตารางวา โดยเมื่อวันที่ 16
กุ ม ภาพั น ธ์ 2 514ได้ ถู ก เวนคื น ให้ กั บ การรถไฟแห่ ง ประเทศไทยเป็ น เนื้ อ ที่ ดิ น ตาม
สัญญา1 ไร่ 2 งาน 60 ตารางวา จึงมีเนื้อที่คงเหลือเพียง 80 ไร่ 3 งาน 56 ตารางวา
              แรกตั้งเป็นวัดเมื่อไรไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด แต่จากการสันนิษฐานโบราณวัตถุ
สำาคัญของวัด คือ พระปางปาลิไลยก์ ซึ่งชาวบ้านทั่วไปเรียกว่า หลวงพ่อโต ประมาณอายุ
อย่างต่ำาสุด สร้างก่อนสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ( ก่อน พ.ศ. 1893 ) อย่าง
สูงสุดยุคทวารวดีตอนต้น (พ.ศ.1200) มีอายุจนถึงทุกวันนี้ ระหว่าง 650 -1300 ปีใน
พงศาวดารเหนือกล่าวว่า พระเจ้ากาเตทรงให้มอญน้อย มาบูรณะวัดป่าเลไลยก์ ภายหลัง
ปี พ.ศ. 1724 เล็กน้อย เป็นวัดเก่าแก่หน้าบันของวิหารวัดป่าเลไลยก์มีพระราชลัญจกร
ประจำาพระองค์ เครื่องหมายพระมหามงกุฎอยู่ระหว่างฉัตรคู่ปรากฏ บอกให้ทราบว่า
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จธุดงค์มาพบสมัยยังทรงผนวชอยู่ เมื่อ
เสด็ จ ขึ ้ น ครองราชย์ แ ล้วจึงทรงมาปฏิสังขรณ์ ที่วัดแห่งนี้ประชาชนนิยมมานมัสการ
หลวงพ่อโต ซึ่งประดิษฐานอยู่ในวิหารสูงเด่นเห็นแต่ไกล เป็นพระพุทธรูปปางป่าเลไลยก์
ศิลปะสมัยอู่ทองสุพรรณภูมิเพราะพระหนุ(คาง) เป็นเหลี่ยม ความเป็นจริงแล้วคางเป็น
เหลี่ยมนี่ส่อเค้าให้เห็นว่าได้รับอิทธิพลถ่ายทอดมาจากศิลปะทวารวดี
        หลวงพ่อโตเป็นพระก่ออิฐถือปูนขนาดใหญ่มากมีลักษณะประทับนั่งห้อยพระบาท
พระหัตถ์ซายวางคว่าบนพระชานุ พระหัตถ์ขวาวางหงายบนพระชานุอกข้างหนึงในท่าทรงรับ
         ้      ำ                                        ี       ่
ของถวาย องค์พระสูง 23.47 เมตร เทียบเท่าตึก 8 ชัน รอบองค์ 11.20 เมตร
                                               ้

                          ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี                19
มีนักปราชญ์หลายท่านว่า หลวงพ่อโตเดิมคงเป็นพระพุทธรูปปางปฐมเทศนา
สร้างไว้กลางแจ้งเหมือนพระพนัญเชิงในสมัยแรกๆ เพราะมักจะพบว่า พระพุทธรูปขนาด
ใหญ่ที่สร้างในสมัยก่อนอยุธยา และอยุธยาตอนต้น ส่วนมากชอบสร้างไว้กลางแจ้งเพื่อ
ให้สามารถมองเห็นได้แต่ไกล ภายในองค์พระพุทธรูปนี้บรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่ได้มา
จากพระมหาเถรไลยลายจำานวน 36 องค์ หลวงพ่อโตเป็นที่เคารพนับถือของประชาชน
ในจังหวัดสุพรรณบุรีและจังหวัดใกล้เคียง มีงานเทศกาลสมโภชและนมัสการหลวงพ่อวัด
ป่าเลไลยก์ ปีละ 2 ครั้ง คือ ในวันขึ้น 5-6-7-8-9 ค่ำา เดือน 5 และเดือน 12
ทางจันทรคติทุกปี ตรงข้ามวิหารวัดมีร้านขายสินค้าที่ระลึกพื้นเมืองหลายร้านให้แวะเลือก
ซื้อ ด้านหลังวัดมี “คุ้มขุนช้าง” ซึ่งสร้างเป็นเรือนไทยไม้สักหลังใหญ่กว้างขวาง ตามบท
พรรณนาเรือนของขุนช้างในวรรณคดี เรื่องขุนช้างขุนแผน ขึ้นไปบนเรือนจะเห็นฉากภาพ
วาดตัวละครขุนช้างสำาหรับให้นักท่องเที่ยวถ่ายรูปเป็นที่ระลึก บนเรือนแต่ละห้องมีภาพ
บรรยายเล่าเรื่องขุนช้างขุนแผน มีตู้จัดแสดงภาชนะเครื่องใช้ไม้สอยต่างๆไม่ว่าจะเป็นฉาก
กั้นหรือถ้วยโถโอชามเก่าแก่แบบต่างๆ


                                  ที่มา จากหนังสือพุทธมามกมนต์ ฉบับวัดป่าเลไลยก์วรวิหาร




20 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
แจ้งข่าว

            ประชาสัมพันธ์ชมรมจริยธรรม
                  โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช                                   ฐิตมา
                                                                               ิ

            ชมรมจริยธรรมโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช ได้ขับเคลื่อนในรูปแบบสหสาขา
มากขึ้น ผลงานของชมรมเป็นแหล่งศึกษาดูงานให้กับโรงพยาบาลอื่นๆตลอดที่ผ่านมา
ทั้งนี้ก็ได้รับความร่วมมือร่วมใจของบุคลากรหลายๆฝ่าย และได้รับคำาชื่นชมจากบุคคล
ภายในและภายนอก ในการมีส่วนร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้            และสร้างความเข้มแข็ง
ระดับเครือข่าย จากรางวัลที่เราได้รับในปีงบประมาณ 2553 เรื่องสมาธิบำาบัดในระบบ
สุขภาพ ในระดับดีเยี่ยม และรางวัลดีเด่นระดับเขต 4 เรื่องผลลัพธ์อันยิ่งใหญ่เหนือความ
คาดหวัง โครงการพัฒนาต้นแบบเพื่อลดอัตราการเกิดเยื่อบุช่องท้องอักเสบในผู้ป่วยล้าง
ไตทางช่องท้องแบบบูรณาการ

        กิจกรรมล่าสุดได้ร่วมส่งเสริมให้คนรักสุขภาพ ได้รับประทานอาหารที่มี
ประโยชน์ (so good) ในงานทอดผ้าป่าโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช นั่นคือครัว
แมคโครไบโอติกส์ (Macrobiotic)ของคุณสุภาพร เพื่อสุขภาพร่างกายแข็งแรง และ
มีสุขภาพที่ดี

        ในปีงบประมาณ 2554 ได้มีโครงการ/กิจกรรมต่อเนื่องมาและมีกิจกรรมที่น่า
สนใจอยู่หลายๆโครงการดังนี้
        โครงการ End of life ร่วมกับ PCT อายุรกรรม
        โครงการ SKT สมาธิบำาบัด
        โครงการพัฒนาพฤติกรรมบริการ ร่วมกับกลุ่มการพยาบาล
        โครงการคัดเลือกคนดีในหน่วยงาน
        โครงการปฏิบัติธรรมและธรรมะสัญจร
        โครงการธรรมะบรรยาย


                       ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี          21
โครงการหนังสือจุลสารชมรมจริยธรรม
       โครงการเพื่อนช่วยเพื่อนมะเร็งเต้านม
       กิจกรรมตักบาตรเนื่องในวันสำาคัญ
       กิจกรรมพับใบเตย(งานประดิษฐ์ต่างๆ)ที่ OPD ร่วมกับชมรมผู้สูงอายุ
       กิจกรรมเล่าความดี ร่วมกับศูนย์พัฒนาคุณภาพ
       กิจกรรมทำาบุญเดือนเกิด ร่วมกับกลุ่มการพยาบาล
       กิจกรรมเสียงตามสาย เสียงหวานๆนี้เป็นเสียงของพญ.ธัญญกร นันทิยกุล
       กิจกรรมเผยแพร่ธรรมะในลิฟต์

       ผลที่คาดว่าจะได้รับ
       1.เป็นโรงพยาบาลแบบอย่างด้านการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม
       2.บุคคลากรได้รับการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และเป็นส่วนสำาคัญในการ
          สร้างสังคมที่ดีงาม
       3.บุคลากรปฏิบัติงานด้วยหัวใจแห่งความเป็นมนุษย์
       4.บุคลากรมีความสุขในการทำางาน

        โอกาสนี้ขอเชิญบุคลากรทุกท่านท่ีสนใจเข้าร่วมกิจกรรมของชมรมจริยธรรมและ
ร่วมใจในการทำากิจกรรมร่วมกันสมัครเป็นสมาชิกชมรมจริยธรรมได้ทคณฐิตมาเลขาชมรมฯ
                                                           ่ี ุ ิ




22 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
สารจากผู้อำานวยการ
                “บรรลุฝันยมราช
             บรรลุโอกาสคนสุพรรณ”
                                                 นายแพทย์ชัชรินทร์ ปิ่นสุวรรณ

        ปี 48 ต้นมกราคม ผมได้ย้ายมาทำางานที่ รพ.เจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี ผม
ไม่เคยมาที่สุพรรณ แต่ก่อนมาปฏิบัติงานจริง ผมได้มีโอกาสไปงานพิธีบวงสรวงสมเด็จ
พระนเรศวรมหาราช ที่อำาเภอดอนเจดีย์ และพิธีวางพวงมาลาเจ้าพระยายมราชที่โรง
พยาบาล (ซึ่งถือเป็นวันโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช) ในวันที่ 20 มกราคม ของทุกปี
        เป้าหมายอันดับแรกที่ต้องมาทำาที่นี่ คือ การขาดแคลนแพทย์.... !?

                                                             เพราะกำาลังมีแพทย์ลา
                                                 ออกกั น เรื่ อ ยๆปี ที่ ผ่ า นมาออก
                                                 ไปแล้ว 10 กว่าคน โดยเฉพาะ
                                                 ศัลยแพทย์ทั่วไป เหลือเพียง
                                                 2 คนเอง
                                                             วิ สั ญ ญี แ พ ท ย์ ไ ม่ มี
                                                 รั ง สี แ พ ท ย์ มี เ พี ย ง ค น เ ดี ย ว
                                                 เป็นต้น
         เป็นภาระงานที่หนักมากของแพทย์ที่เหลืออยู่เพียง40 กว่าคน จากกรอบเดิมที่
ต้องมี 80 คน ไม่มีศัลยแพทย์ทั่วไปอยู่เวรในบางวัน
         เจ้าหน้าที่กำาลังอยู่ในภาวะขวัญเสีย แล้วประชาชนคนสุพรรณจะเป็นเช่นไร
ผมระลึกถึงคำาพูดของอดีตปลัดฯ ท่านหนึ่งเสมอว่า
          “ผู้อำ�นวยก�รเป็นตัวแทนของกระทรวง ผู้อำ�นวยก�รเป็นตัวแทน
ของผู้ป่วย ผู้ม�ใช้บริก�ร ผู้อำ�นวยก�รเป็นตัวแทนของเจ้�หน้�ที่ทุกคน
สิ่งสำ�คัญที่จะส�ม�รถพัฒน�โรงพย�บ�ลให้เจริญต่อไปนั้น       ขึ้นอยู่กับ
คว�มรัก คว�มส�มัคคีของคนในโรงพย�บ�ลทุกคน”


                      ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี                  23
ผมจำามาปฏิบัติตั้งแต่ผมเริ่มเป็นผู้อำานวยการโรงพยาบาลจังหวัดใหม่ๆ เมื่อปี
2540 ที่กาฬสินธุ์ ผมยังคิดว่าเครือข่าย สสจ. รพศ. รพท. สสอ. สอ.และ อสม. ยังเป็น
กำาลังสำาคัญในการทำางานร่วมกันแบบเข้าใจ ใจถึงใจกัน และเครือข่ายภาคท้องถิ่น ภาค
ประชาชน หรือภาครัฐส่วนอื่นๆ ทั้งหมด

        ผมตั้งเป้าหมายสิ่งต้องทำาตามลำาดับที่สุพรรณบุรี คือ

        อันดับแรก.. แก้ไขปัญหาการขาดแคลนแพทย์ทุกสาขา โดยเฉพาะศัลยแพทย์
        ทั่วไป วิสัญญีแพทย์ รังสีแพทย์ เพื่อสร้างศรัทธากลับคืนมาโดยเร็ว โรงพยาบาล
        จะต้องให้ประชาชนมีความมั่นใจได้ในทุกเรื่อง

        ที่สอง.. แก้ไขปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ คือ ไข้หวัดนก (กำาลังระบาดในปีนั้น
        โดยเฉพาะสุพรรณบุรีมีคนตาย) ไข้เลือดออก (เจ้าประจำา)

        สาม.. การทำางานคุณภาพ HA & HPH แต่ขอให้ประยุกต์ใช้สำาหรับสุพรรณ
        ตามบริบท

         ขณะนั้น ไม่ได้หวังให้ผ่านการรับรอง แต่หวังว่าจะได้ใช้ประโยชน์ในการทำางาน
บริหาร (ซึงได้ใช้มาตลอดในการทำางานเป็นผูอานวยการโรงพยาบาลจังหวัดของผมมาตลอด)
          ่                             ้ำ
         และสุดท้าย..การสร้างขวัญกำาลังใจให้กับเจ้าหน้าที่ทุกคนในโรงพยาบาล เพราะ
คิดว่า ถ้าประชาชนจะได้รับการบริการที่ดีจากเรา บุคลากรของเราจะต้องมีขวัญกำาลังที่ดี
ระดับหนึ่งเสียก่อน




24 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
ก�รทำ�ง�นเป็นทีมได้เริ่มขึ้นที่ยมร�ช มันเป็นง�นที่ค่อนข้�งย�ก
แต่ด้วยในใจ ลึกๆ ของทุกคน ที่มีคว�มรักม�กม�ยต่อโรงพย�บ�ล แต่ยัง
ไม่ถูกปล่อยออกม�อย่�งเต็มที่เท่�นั้นเอง




         ผู้บริห�รคงเป็นผู้ประส�นง�น ผู้สนับสนุน และคอยให้กำ�ลังใจ
เท่�นั้น ผู้ลงมือปฏิบัตินั้นเป็นเจ้�หน้�ที่ทุกคน ที่ต้องร่วมมือร่วมใจกัน
         “เด็กสุพรรณ กลับบ้�นเกิด” สื่อสารให้แพทย์คนสุพรรณสาขาต่างๆ กลับ
มาทำางานที่ยมราช ได้ผลดีเกินคาด “โรงพยาบาลบ้านท่าน โรงพยาบาลพวกเรา” เจ้า
หน้าที่เกือบทั้งโรงพยาบาลเป็นคนสุพรรณ (ทั้งแพทย์, พยาบาล)
           “ยมร�ช รวมใจ” พวกเราขอรับใช้พี่น้องคนสุพรรณ คนบ้านเดียวกัน

         ดูทุกอย่างมันช่างราบรื่นดีเหลือเกิน จนเวลาผ่านไปไม่รู้เนื้อรู้ตัว เพียง 3 ปีเศษ
ปัญหาต่างๆ ก็ได้รับการแก้ไขตามลำาดับ ทั้ง 4 ข้อ ที่พวกเราภูมิใจที่สุดก็คือการนำางาน
คุณภาพ HA & HPH มาประยุกต์ใช้ใน โรงพยาบาลและเครือข่ายของเรา
         ทุกอย่างเป็นการร่วมมือของพวกเราทุกคนในองค์กรแท้ ๆ เลย...
         วิกฤตกล�ยเป็นโอก�สโดยแท้จริง นี่เป็นประสบการณ์อันหนึ่งที่ทุกคนใน
“ยมราช” ได้รับ พวกเรามีผลการทำางานคุณภาพเกิดขึ้นมากมาย ขณะที่ขาดศัลยแพทย์
เราก็เกิดการดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านม มะเร็งลำาไส้ใหญ่ แบบครบวงจร การดูแลผู้ป่วยที่ได้
รับบาดเจ็บที่ศีรษะเป็นระบบเครือข่ายที่มีคุณภาพ และอีกหลายๆ อย่างที่เกิดขึ้น



                         ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี             25
เมื่อโรงพยาบาลของเราน่าอยู่ ได้เอาหัวใจออกมาทำางานร่วมกัน แน่นอน... ผู้
ที่จะได้รับประโยชน์จากสิ่งเหล่านี้ก็คือ ประชาชนคนสุพรรณ หรือผู้มาใช้บริการที่ยมราช
และเครือข่ายของเรา
           เราจะเดินไป และได้เริ่มแล้ว...




          เรายังเชื่อเสมอว่า ศักยภาพของการทำางานเป็นทีมสหสาขาวิชาชีพ แพทย์ที่
มีความรู้เฉพาะทาง (รู้ทางที่สิ้นสุดของโรค) อาจจะเป็นคำาตอบที่ย้อนกลับมาดูว่า หาก
ผู้ป่วยเหล่านี้ไม่ป่วยดีกว่าแน่ ทำาอย่างไรจะไม่ต้องป่วย มาแออัดกันที่โรงพยาบาล เรา
กำาลังมีแนวร่วม แนวคิดเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ
          การทำางานร่วมกับภาคประชาชนและท้องถิ่นเป็นสิ่งจำาเป็นอย่างยิ่งในวิธีคิดที่จะ
เกิดขึ้น การมีน้ำาใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กันกับชุมชน(คนบ้านเดียวกัน) การขยายแนวร่วม วิธี
คิดอันเดียวกันไม่ว่าจะแพทย์ รพศ. รพท. รพช. กับสหสาขาวิชาชีพ คงเกิดขึ้นได้อย่าง
ยืดหยุ่นและยั่งยืน

      SHA ก็เป็นแนวทางหนึ่งที่จะมาต่อยอดการทำางานคุณภาพของพวกเรา Self
Health Care คือ เส้นทางที่ควรจะเดินไป “บรรลุฝันยมร�ช บรรลุโอก�ส
คนสุพรรณ”



26 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
เรื่องเล่าความดี

                         สายใยแห่งสายใจ
                                                      รสริน      วรรณจีรวิไลและคณะ


         สมัยเป็นวัยรุ่น คุณเคยคิดไหมว่าคุณอยากจะมีรถปิคอัพสัักคัน มีบ้านสักหลัง
มีเมียและลูกน่ารัก ๆ สักคน ทุกคนคงตอบว่าก็เคยซิ              อาณัติชายหนุ่มวัย 20 ปีที่
อนาคตกำาลังสดใส เป็นวัยมีพลังงาน และความมุ่งมั่นมากมาย มีความคิดที่จะทำาอะไร
ก็ได้อย่างไม่มีขีดจำากัด เมียสาวกำาลังท้อง มีการงานที่ภาคภูมิใจ อาณัติก็มีความคิดเช่น
นั้นเหมือนกัน
          แต่สำาหรับอาณัติในวันนี้สิ่งต่าง ๆ ที่เคยพูด เคยคิด เคยอยากทำา มันเป็นไปไม่
ได้เสียแล้ว โชคชะตาอันเลวร้ายมากระชากความหวังของเขาไปจนหมดสิ้น
          อะไร ทำาให้เขาเป็นเช่นนั้น แล้วเราในฐานะที่เป็นบุคลากรทางสาธารณสุข
สามารถช่วยอะไรเขาได้บ้าง แล้วถ้าเราเป็นอย่างเขาเราจะทนมีชีวิตอยู่ได้อย่างไร คำาถาม
ประโยคนี้มันวนเวียนอยู่ในใจเราตลอดที่อาณัติมาเป็นคนไข้ที่ตึกศัลยกรรมอุบัติเหตุชาย

         อ�ณัติ เข้ามารักษาในโรงพยาบาลวันที่ 24 พฤษภาคม 2552 ด้วยอุบัติเหตุ
ถูกไฟฟ้าแรงสูง ช็อตอย่างรุนแรง ขณะกำาลังช่วยบิดาซึ่งเป็นผู้รับเหมาก่อสร้างทาสีผนัง
ตึกอยู่ จากการที่ไฟช็อตทำาให้หม้อไฟระเบิดอย่างรุนแรงดันร่างอาณัติลอยขึ้นบนอากาศ
แล้วตกลงมาอย่างแรง ช่วงแรก ๆ เกือบหายใจไม่ออกมันแน่นหน้าอกไปหมด ต่อมาพ่อ
และเพื่อน ๆ ช่วยกันปฐมพยาบาลและนำาส่งโรงพยาบาลชุมชนสามชุก ก่อนที่จะส่งตัว
มาที่โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
         ทันที ที่เห็นอาณัติ เราถึงกับคิดในใจว่า เขารอดชีวิตมาได้อย่างไร และถ้าเขา
รอดเขาจะสามารถมีชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างไร เนื่องจากบาดแผลที่เห็นมันรุนแรงมาก
เป็นบาดแผลไหม้ระดับ 3 ที่บริเวณแขน 2 ข้างและขาขวา มีกลิ่นไหม้รุนแรง มือ 2 ข้าง
หงิกปลายเล็บจิกเข้าไปในเนื้อ แขนเกร็งงอเข้าหาลำาตัว ปลายเท้าขวาเป็นรอยไหม้เกรียม
แข็งด้าน แต่เขาไม่ร้องปวด มีแต่ คราบน้ำาตาที่ซึมออกมาเวลาไม่มีใครเห็น
                        ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี             27
เฟิร์น ภรรยาสาววัย 19 ปี ที่กำาลังตั้งครรภ์ได้ 7 เดือน เธอเล่าให้ฟังด้วย
สีหน้าเศร้า น้ำาตาคลออยู่ตลอดเวลาว่า เธอและอาณัติพบกันที่ตลาดร้อยปีสามชุก ซึ่ง
ต้องผ่านร้านที่เฟิร์นขายขนมจีบ ซาลาเปาอยู่ เมื่อมีความผูกพันกัน ก็เกิดเป็นความรัก
จนในที่สุดก็ตกลงใจมาสร้างครอบครัวด้วยกัน และในวันเกิดเหตุ เฟิร์นซึ่งบางครั้งก็ต้อง
ไปช่วยอาณัติทำางานแต่ในวันนั้นต้องทำาความสะอาดอยู่ที่บ้าน ขณะทำาความสะอาดอยู่นั้น
อยู่ ๆ รูปพระก็ตกลงมากับพื้น ซึ่งเฟิร์นก็คิดในใจว่ามันต้องเป็นลางบอกเหตุอะไรสักอย่าง
          แล้วมันก็เกิดขึ้นเมื่อมีคนแจ้งข่าวว่าอาณัติถูกไฟฟ้าแรงสูงช็อตอยู่โรงพยาบาล
เจ้าพระยายมราช เธอจึงรีบมาหาอาณัติด้วยความกังวลในใจคิดไปต่าง ๆ นา ๆ ตอนนั้น
เธอตั้งครรภ์ได้ 3 เดือน ได้แต่ภาวนาว่าอย่าให้อาณัติเป็นอะไรร้ายแรงเลย แต่ภาพที่
ปรากฏต่อหน้าก็คือภาพที่สามีสุดที่รักนอนอยู่บนเตียงโรงพยาบาล มีสายต่าง ๆ ระโยง
ระยางเต็มไปหมด ยิ่งเห็นแขน ขา ที่ไหม้เกรียมยิ่งทำาร้ายจิตใจเธอมาก แต่ในใจเธอ
คิดเพียงว่าขอให้อาณัติมีชีวิตอยู่ก็เพียงพอแล้ว เธอเฝ้าดูพยาบาลทำาแผลอาณัติอยู่อย่าง
เจ็บปวด แต่อาณัติไม่เคยปริปากร้องเลย ผ่านการทำาแผลไปทุกๆ วัน

             เธอก็เริ่มสังเกต ได้ว่าเนื้อที่สุกเริ่มมีกลิ่นเหม็นเน่า เนื้อบริเวณข้อมือและขาขวา
เหนือบริเวณที่ไหม้เริ่มแห้งและลีบลง จึงเริ่มทำาใจไว้บ้าง จนกระทั่งแพทย์ได้เรียกเธอ
และบิดาของอาณัติมาคุยถึงการจำาเป็นต้องตัดแขนขา เพื่อรักษาชีวิตอาณัติเอาไว้ ตอน
นั้นใจเธอแทบแตกสลายนึกไปต่าง ๆ นานา แต่ที่ทำาให้ทุกข์ใจมากที่สุดคือการที่จะต้อง
บอกกับอาณัติว่าจะเกิดอะไรขึ้น แต่ก็ได้พี่พยาบาลมาช่วยพูดปลอบและให้กำาลังใจอาณัติ
ในการที่จะต้องตัดสินใจครั้งสำาคัญที่สุดในชีวิต และอาณัติก็ทำาได้ดี เขาสามารถยอมรับ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น และการที่จะต้องเผชิญกับปัญหาที่จะตามมา โดยคิดเพียงว่าขอให้มีชีวิต
อยู่เพื่ออยู่ดูหน้าลูกที่กำาลังจะเกิดมา

        ในทีสดอาณัตกกลายเป็นชายหนุมพิการเพราะต้องตัดแขน 2 ข้างและขาขวาไป
            ุ่     ิ็             ่
ความเจ็บปวดและความปวดร้าวทำาให้อาณัตเศร้า ซึม เก็บตัว ไม่คอยพูดกับใคร
                                    ิ                     ่



28 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมniralai
 
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้าwatpadongyai
 
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยรายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยFreesia Gardenia
 
014วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวพุทธวิธี1
014วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวพุทธวิธี1014วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวพุทธวิธี1
014วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวพุทธวิธี1niralai
 
ใส่บาตรให้ได้บุญ
ใส่บาตรให้ได้บุญใส่บาตรให้ได้บุญ
ใส่บาตรให้ได้บุญPop Cscu
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงพัน พัน
 
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยโครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยEakkamol Dechudom
 

Was ist angesagt? (17)

คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
 
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยรายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
 
014วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวพุทธวิธี1
014วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวพุทธวิธี1014วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวพุทธวิธี1
014วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวพุทธวิธี1
 
Immortality Thama.Pps
Immortality Thama.PpsImmortality Thama.Pps
Immortality Thama.Pps
 
ใส่บาตรให้ได้บุญ
ใส่บาตรให้ได้บุญใส่บาตรให้ได้บุญ
ใส่บาตรให้ได้บุญ
 
8กีฬาสัมพันธภาพ
8กีฬาสัมพันธภาพ8กีฬาสัมพันธภาพ
8กีฬาสัมพันธภาพ
 
261011165736
261011165736261011165736
261011165736
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 
Dhammaratana journal 7
Dhammaratana journal 7 Dhammaratana journal 7
Dhammaratana journal 7
 
หนังสือธรรมะใกล้ตัว
หนังสือธรรมะใกล้ตัวหนังสือธรรมะใกล้ตัว
หนังสือธรรมะใกล้ตัว
 
Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010
Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010
Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6
 
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยโครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
 

Ähnlich wie จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓

หนังสือเกษียณอายุ ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์ ในส่วนคณะมนุษยศาสตร์ฯ
หนังสือเกษียณอายุ ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์ ในส่วนคณะมนุษยศาสตร์ฯหนังสือเกษียณอายุ ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์ ในส่วนคณะมนุษยศาสตร์ฯ
หนังสือเกษียณอายุ ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์ ในส่วนคณะมนุษยศาสตร์ฯNiran Kultanan
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรมธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรมnidkybynew
 
ธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรมธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรมnidkybynew
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยDMS Library
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยguestd1493f
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
เทวตาธรรม
เทวตาธรรมเทวตาธรรม
เทวตาธรรมKiat Chaloemkiat
 
เล่มที่ 5
เล่มที่ 5เล่มที่ 5
เล่มที่ 5disk1412
 
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรมสัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรมniralai
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13Tongsamut vorasan
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4taem
 

Ähnlich wie จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓ (20)

Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
หนังสือเกษียณอายุ ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์ ในส่วนคณะมนุษยศาสตร์ฯ
หนังสือเกษียณอายุ ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์ ในส่วนคณะมนุษยศาสตร์ฯหนังสือเกษียณอายุ ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์ ในส่วนคณะมนุษยศาสตร์ฯ
หนังสือเกษียณอายุ ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์ ในส่วนคณะมนุษยศาสตร์ฯ
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
 
ธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรมธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรม
 
ธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรมธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรม
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
เทวตาธรรม
เทวตาธรรมเทวตาธรรม
เทวตาธรรม
 
เล่มที่ 5
เล่มที่ 5เล่มที่ 5
เล่มที่ 5
 
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรมสัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
 
ทุกศาสนา
ทุกศาสนาทุกศาสนา
ทุกศาสนา
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4
 

Mehr von dentyomaraj

ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 Pค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 Pdentyomaraj
 
Competition brochure snake game 55
Competition brochure snake game 55Competition brochure snake game 55
Competition brochure snake game 55dentyomaraj
 
Kid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai languageKid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai languagedentyomaraj
 
Ortho price list 2012
Ortho price list 2012Ortho price list 2012
Ortho price list 2012dentyomaraj
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547dentyomaraj
 
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284dentyomaraj
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidasedentyomaraj
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น dentyomaraj
 
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in ThailandRational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailanddentyomaraj
 
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมาสามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมาdentyomaraj
 
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54dentyomaraj
 
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักวัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักdentyomaraj
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑dentyomaraj
 
Chaipattana tsunami
Chaipattana tsunamiChaipattana tsunami
Chaipattana tsunamidentyomaraj
 
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpub
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpubEndodontic or root canal treatment knowledge, panpub
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpubdentyomaraj
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัวdentyomaraj
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขdentyomaraj
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697dentyomaraj
 
โยคะหัวเราะ
โยคะหัวเราะโยคะหัวเราะ
โยคะหัวเราะdentyomaraj
 
การพูดที่อบอุ่น Warm Speech
การพูดที่อบอุ่น Warm Speechการพูดที่อบอุ่น Warm Speech
การพูดที่อบอุ่น Warm Speechdentyomaraj
 

Mehr von dentyomaraj (20)

ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 Pค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
 
Competition brochure snake game 55
Competition brochure snake game 55Competition brochure snake game 55
Competition brochure snake game 55
 
Kid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai languageKid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai language
 
Ortho price list 2012
Ortho price list 2012Ortho price list 2012
Ortho price list 2012
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
 
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
 
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in ThailandRational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
 
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมาสามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
 
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
 
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักวัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
 
Chaipattana tsunami
Chaipattana tsunamiChaipattana tsunami
Chaipattana tsunami
 
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpub
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpubEndodontic or root canal treatment knowledge, panpub
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpub
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
 
โยคะหัวเราะ
โยคะหัวเราะโยคะหัวเราะ
โยคะหัวเราะ
 
การพูดที่อบอุ่น Warm Speech
การพูดที่อบอุ่น Warm Speechการพูดที่อบอุ่น Warm Speech
การพูดที่อบอุ่น Warm Speech
 

จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓

  • 1. จุ ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 เดือน กันยายน - เดือน ธันวาคม 2553 ล สาร ชมรมจริ ย ธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี ISSN 1906-7860
  • 2. ชมรมจริยธรรมได้รบรางวัลผลงานดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ระดับเขต 4 ั เรื่อง ผลลัพธ์อันยิ่งใหญ่เหนือความคาดหวัง 2 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
  • 3. จุลสารชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านจริยธรรม หลักธรรม และแนวทางการ ปฏิบัติธรรมของทุกเชื้อชาติ ทุกศาสนา 2. เพื่อเป็นสื่อ ในการเผยแพร่ผลงาน และกิจกรรมของชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช 3. เพื่อให้สมาชิกชมรมและผู้สนใจมีความรู้ ความเข้าใจเพิ่มขึ้นในด้าน จริยธรรม หลักธรรม แนวการปฏิบัติธรรมและพิจารณานำามาปฏิบัติ เพื่อการพัฒนาจิตใจ สำานักงาน องค์กรแพทย์ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช โทรศัพท์ 0-3552-1555 ต่อ 7401 ที่ปรึกษา นายแพทย์ชัชรินทร์ ปิ่นสุวรรณ ผู้อำานวยการโรงพยาบาล แพทย์หญิงจงดี แจ้งศรีสุข นายแพทย์ธีรินทร์ รัตนพิชญชัย แพทย์หญิงไพลิน รัตนพิชญชัย ประธานชมรม แพทย์หญิงนลินี เดียววัฒนวิวัฒน์ บรรณาธิการ นายแพทยจิรภัทร กัลยาณพจน์พร กองบรรณาธิการ ทันตแพทย์หญิงอุไร บัวทอง พญ.วิไลพร สกุลพิพัฒน์ศิลป์ พญ.ธัญญกร นันทิยกุล เภสัชกรอุ่นเรือน เจริญสวัสดิ์ น.ส.จเกศบุญชู เกษมพิพัฒน์พงศ์ น.ส.วิราวรรณ เทพาวัฒนาสุข น.ส.กรพินทุ์ ปานวิเชียร นางฐิติมา บุญชื่น นางรุ่งนิภา จ่างทอง นางพยงค์ ชินบุตร นายวรวรรธ อุดมสิริคุณ นางอมรรัตน์ ลิมจิตสมบูรณ์ ้ ฝ่ายศิลป์ นางจงรักษ์ ระโหฐาน นางแววดาว บุญจิตธรรม ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี 3
  • 4. บรรณาธิการแถลง เรียนผูอานทุกท่านจุลสารชมรมจริยธรรม ้่ เล่มนี้ถือว่าเป็นเล่มที่ 3 แล้ว คณะบรรณาธิการเรา ได้รับข้อเสนอแนะจากผู้อ่านมากมาย จึงได้ช่วยกัน ระดมความคิดและปรับปรุงเนื้อหาให้เกิดประโยชน์ กับผู้อ่านมากที่สุดดังเช่นมีการเพิ่มเติมหัวข้อธรรม ต่าง ๆ ให้มีความหลากหลายมากขึ้น นอกจากนั้น ยังได้ปรับปรุงในส่วนของขนาดตัวหนังสือให้อ่านได้ ง่าย และเลือกชนิดกระดาษให้สบายตายิ่งขึ้น ในช่วงนี้เป็นช่วงส่งท้ายปีเก่า 2553 และต้อนรับปีใหม่ 2554 ทางคณะ บรรณาธิการก็หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจุลสารฉบับนี้ จะยังทำาหน้าที่เป็นสื่อนำาสิ่งดี ๆ ใน ชีวิต ไปให้กับผู้ที่มีโอกาสได้อ่าน และหากมีข้อเสนอแนะต่าง ๆ ก็ยินดีน้อมรับนำาไป ปรับปรุง แก้ไขให้เหมาะสมในโอกาสต่อไป นายแพทย์จิรภัทร กัลยาณพจน์พร 4 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
  • 5. สารจากประธานชมรม ในวาระดิ ถี ข้ึ น ปี ใ หม่ ดิ ฉั น ขอให้ ทุ ก ท่ า น “เปิดใจรับความสุข” ทุกวันนี้ความสุขมีอยู่รอบตัว เราแต่ที่เรามองไม่เห็นคือ ไม่เปิดใจรับความสุขด้วย ใจ ทุกท่านมีสุขภาพดี มีที่อยู่อาศัย กินอิ่ม นอน อุ่น มีครอบครัวที่อบอุ่น มีหน้าที่การงานดีที่จะทำา ประโยชน์ให้ตนเองและสังคม นั่นแหล่ะคือความสุข ที่มีอยู่รอบตัวเราแล้ว การที่เราไม่สามารถมองเห็น ความสุขหรือชื่นชมสิ่งพิเศษที่เรามีอยู่ เพราะใจเรา มัวจดจ่อแต่สิ่งที่เรายังไม่มี จึงไม่ค่อยเห็นคุณค่าของ สิ่งที่เรามี แม้ว่าสิ่งนั้นจะวิเศษเพียงใด คนจำานวนไม่น้อยทุกข์ เพราะจิตใจจดจ่ออยู่ กับความใฝ่ฝันหรือจุดมุ่งหมายที่พึงปรารถนา ความสำาเร็จที่ยังมาไม่ถึง ซึ่งจะเป็น แรงขับเคลื่อนทำาให้เกิดความพากเพียรพยายามต่อไป แต่อาจทำาให้เราละเลย สิ่ง ดีๆ ที่มีอยู่ ซึ่งให้ความสุขแก่เราทุกขณะ ดังนั้นควรเปิดใจรู้คุณค่าสิ่งดีๆรอบตัว เราเถิด จากหนังสือ เปิดใจรับความสุข พระอาจารย์ไพศาลวิสาโร ปีใหม่ขอให้ทุกท่านฝึกฝนตนเองให้ “ปล่อยวาง” เปิดใจด้วยการมีสติ ชื่นชม สิ่งที่มีและยินดีสิ่งที่ได้ไม่ปล่อยให้ความรัก โลภ โกรธ และหลงครอบงำาจิต เราจะ พบกับความโปร่งเบา มีความสุขสงบเย็นจากภายในใจของทุกท่านเทอญ สาธุ ด้วยความปรารถนาดี แพทย์หญิงนลินี เดียววัฒนวิวัฒน์ ประธานชมรมจริยธรรม ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี 5
  • 6. สารบัญ คนดีของชมรมจริยธรรม 7 ธรรมะกับสุขภาพ 10 จดหมายจากผู้อ่าน 13 ถาม-ตอบ 14 แนะนำาหนังสือน่าอ่าน 15 ธรรมะจากภาพยนตร์ 17 แนะนำาสถานที่ปฏิบัติธรรม 18 เรืองจากปก ่ 19 ข่าวประชาสัมพันธ์ 21 สารจากผู้อำานวยการโรงพยาบาล 23 เรื่องเล่าความดี 27 ธรรมะวันละคำา 31 กลอนธรรมและคำาคม 32 ธรรมขัน 33 นิทานชาดก 34 พระคุณแม่ 36 ปริศนาธรรม 38 กฎแห่งกรรม 40 6 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
  • 7. บุคคลน่ายกย่อง คนดีของรพ.เจ้าพระยายมราช พ.ศ. 2553 พญ.นลินี นายแพทย์เอลวิล เพชรปลูก “ทำ�ง�นวันนี้ให้ดีที่สุด” นายสมร เนียมอินทร์ ตำาแหน่งช่างไม้ ชั้น 3 แผนกช่าง รับผิดชอบต่อหน้าที่ มีมิตรไมตรี ต่อผู้ร่วมงาน “มีจริยธรรม คุณธรรม ประจำ�ใจ” นางมาลัย มณีอินทร์ ตำาแหน่งคนงาน หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรมชั้น 4 ทำ า ใจให้ รั ก งานก่ อ นเพื่ อ จะได้ มี ค วามสุ ข ในการทำ า งาน รับผิดชอบในหน้าที่ให้สมบูรณ์เสียสละเวลาส่วนตัวตาม โอกาส ทำางานเปรียบเสมือนบ้านของเราเอง “ซื่อสัตย์ ขยันอดทน มีน้ำ�ใจ พย�ย�มทำ�ง�นให้ดีที่สุด” (ถูกต้อง ทันเวล� เรียนรู้ง�นอยู่เสมอ) ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี 7
  • 8. นางสาวทิราวรรณ ไทยานันท์ พยาบาลวิชาชีพชำานาญการ แผนกผู้ป่วยนอก ทำาใจให้รักงานก่อนเพื่อจะได้มี ค ว า ม สุ ข ข ณ ะ ทำ า ง า น ตั้งใจทำางานสุดความสามารถทั้งสติปัญญา และกำาลังกาย ให้เต็มศักยภาพ รับผิดชอบงานในหน้าที่ให้สมบูรณ์ที่สุด เสียสละเวลาส่วนตัวตามโอกาส ช่วยเหลือเอื้อเฟื้อเพื่อน ร่วมงานตามสมควร นึกเสมอว่า “ทำางานที่มีดีกว่า ไม่มี งานทำา” และที่ทำางานเปรียบเสมือนบ้านหลังที่ 2 ของเรา “ขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด อดทน” นางดวงแข ลาภวิบูลย์สุข พยาบาลวิชาชีพชำานาญการ หอผู้ป่วย บจศ.1 ถ้าเราเกิดมาเป็นผู้ให้ อนิสงส์์ที่จะได้คือกลาย เป็นผู้รับ แต่ถ้าเกิดมาเพื่อจะเอาแต่ได้ แล้วใครจะให้ เมื่อมีแต่ ผู้ที่อยากจะรับ ไม่ว่าท่านจะให้หรือจะรับ วันสุดท้าย ของลมหายใจ คือนามธรรมที่จะนำาพาให้เป็นไป “จะมุ่งทำ�ในสิ่งที่ดีที่สุด เพื่อคนรอบข้�งมีคว�ม สุขก�ย สุขใจ คล�ยทุกข์” นางสาวอัมพร ปักษี จพง.ทันตสาธารณสุข หน่วยงาน ทันตกรรม ตอนเด็กๆ เคยโกรธแม่เพราะแม่ทำาไร่ มีผัก หรือผล ไม้ ก็จะเลือกที่ดีๆ ให้คนอื่น ส่วนของที่ไม่ดีมีตำาหนิ ก็จะเก็บไว้กินเองจนโตมาทำ างานมีหน้าที่รับผิดชอบ และคิดถึงตัวเองเมื่อตอนเด็ ก ว่ า อยากได้ กิ น ของดี ๆ จึ ง พยายามทำ า แต่ สิ่ ง ที่ ดี ที่ สุ ด ซึ่ ง คิ ด ว่ า น่ า จะเป็ น การ “ มี น้ำ � ใจทำ � ง�นเต็ ม คว�มส�ม�รถและก�รมี มนุษยสัมพันธ์กับคนทั่วไป” 8 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
  • 9. 3. อัตถจริยา คือ การประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ ผู้อื่น รวมทั้งการช่วย เหลือ ด้วยกาย และการแนะนำาด้วยวาจา 4. สมานัตตา คือ การวางตนให้เหมาะสมแก่ฐานะของตน การวางตนเสมอต้น เสมอปลายไม่ถือตัว “อัตต�หิ อัตโน น�โถ ตนแลเป็นที่พึ่งแห่งตน” นายดำารง ทัศน์ศรี ตำาแหน่ง ลูกจ้างประจำา พนักงาน รปภ. การครองตนยึดระเบียบวินัย กฎหมาย ของทางราชการ อย่างเคร่งครัด ยึดหลักธรรมศาสนาในการดำาเนินชีวิตการ ครองคนทำางานรับใช้ผู้บังคับบัญชาเต็มใจและเต็มความ สามารถมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนร่วมงานทุกคนการ ครองตนทำางานเพื่อความเสียสละไม่ท้อแท้ท้อถอยเมื่อเจอ อุปสรรคทำางานด้วยใจรักมีความสุขกับคนและการทำางาน “คว�มสำ�เร็จของท่�น คือง�นบริก�รของเร� เร�ทำ�เพื่อผู้อื่น แต่ไม่ให้ผู้อื่นทำ�เพื่อเร�” นายประทีป ศิลปะ ตำาแหน่ง ลูกจ้างประจำา คนสวน มีคุณธรรมในการดำาเนินชีวิตทำางานให้ดีตลอดไป ไม่เคย ขาดงานช่ ว ยเหลื อ เพื่ อ นร่ ว มงานและบุ ค คลทั่ ว ไปด้ ว ย อัธยาศัยที่ดี “เสียสละอุทิศตนเองให้กับท�งร�ชก�ร” ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี 9
  • 10. ธรรมะกับสุขภาพ คาถาลดความอ้วน ของพระพุทธเจ้า พญ.วิไลพร ปัญหาสำาหรับคนวัยทำางานที่พบบ่อยก็คือ ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากการทุ่มเททำางานจนขาด การดูแลรักษาร่างกายตามสมควร หนุมสาว ่ ออฟฟิศหลายคนเมืออายุมากขึน หน้าท้องทีเ่ คย ่ ้ แบนราบกลับป่องขึน สิงทีเ่ คยเรียกว่าท้องเปลียน ้ ่ ่ เป็นพุง ลำาแขนเล็กเรียวเพรียวงามกลับใหญ่ขนจน้ึ มีขนาดปานท่อนขา ไฟท้ายเคยตึงเต่งกลับขยายตัว ออกทุกทิศทางอย่างไม่หยุดยังเหมือนจักรวาล ตามทฤษฎีบกแบง ้ ๊ิ ก�รกินม�กอ้วนม�กย่อมส่งผลต่อชีวิต และอันทีจริงปัญหานีกไม่ได้เป็น ่ ้็ เรืองใหม่อะไรเลย เพราะนับแต่สมัยพุทธกาลปัญหาโรคอ้วนก็ได้มการบันทึกไว้แล้ว เคยมีคน ่ ี ทูลถามพระพุทธองค์ ซึงก็ได้พระราชทาน “คาถาลดความอ้วน” ไว้เสียด้วย ่ เรืองมีอยูวา วันหนึง พระเจ้าปเสนทิโกศล แห่งสาวัตถี แคว้นโกศล เข้าเฝ้าพระพุทธ ่ ่่ ่ องค์เพือสนทนาธรรม คุยกันไปคุยกันมาพระเจ้าปเสนฯ ได้ตรัสปรึกษาว่าตัวพระองค์เองเป็น ่ พวกช่างกิน เสวยจุบจิบทังวันไม่หยุดหย่อน จนร่างกายอ้วนใหญ่ รูสกอึดอัด เดินอุยอ้ายไม่ ้ ้ึ ้ คล่องแคล่ว เสด็จไหนนิดหน่อยก็เหนือยหอบ กลางวันก็งวงเหงาหาวนอน ออกว่าราชการ ่ ่ ไม่คอยไหว พระพุทธเจ้าจึงทรงเมตตาพระราชทานคาถา ่ (อันแปลว่าบทกลอนท่องบ่น ไม่ใช่หมายถึงคาถาอาคมแนวเดรัจฉานวิชา [ความรูทขวางการหลุดพ้น] อย่างทีเ่ รามักเข้าใจ) ้ ่ี บทหนึงแก่พระเจ้าปเสนฯ ความว่า ่ มะนุชัสสะ สะท� สตีมะโต มัตตัง ช�นะโต ลัทธะโภชะเน ตะนุกุสสะ ภะวันติ เวทะน� สะณิกัง ชีระติ อ�ยุ ป�ละยัง หลังจากได้คาถามา ก็ทรงดีพระทัยยิง ทุกครังเมือถึงเวลาเสวย พระเจ้าปเสนฯ จะ ่ ้ ่ ทรงให้มหาดเล็กคนหนึงยืนระวังอยูตรงข้างโต๊ะเสวย ่ ่ โดยทรงกำาชับว่าหากมหาดเล็กเห็น พระองค์เสวยจนอิมแล้ว แต่ยงไม่มททาทีจะหยุด ก็ให้ทองคาถาลดความอ้วนทีพระพุทธเจ้า ่ ั ีี่ ่ ่ ่ พระราชทานไว้ ออกมาให้ดงๆ เพือเตือนสติให้ทรงหยุดเสวย ั ่ 10 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
  • 11. ผลจากการปฏิบตตนตามคอร์สไดเอ็ตทีพระเจ้าปเสนฯ ทรงดีไซน์ขนนี้ ก็คอ พระองค์ ัิ ่ ้ึ ื ทรงสามารถลดปริมาณพระกระยาหารทีเ่ สวยต่อมือลงได้เรือยๆ จนกระทังในทีสดก็ทรงลด ้ ่ ่ ุ่ ความพระอ้วนลงไปได้หลายกิโล จะว่าไปแล้ว การทีพระเจ้าปเสนฯ ทรงลดน้าหนักได้นน ไม่ได้เป็นเพราะผลจาก ่ ำ ้ั อิทธิฤทธิความขลังของคาถาลดความอ้วนทีรบพระราชทานมาจากพระพุทธองค์หรอกครับ แต่ ์ ่ั การทีทรงสามารถระงับพระทัยให้ทรงหยุดเสวยได้เมือได้ยนมหาดเล็กท่องคาถาให้ฟง ่ ่ ิ ั ก็ เพราะทรงได้ฉกคิดตามเนือความในคาถาต่างหาก ุ ้ ผูอานก็คงอยากทราบแล้วใช่ไหมครับว่า คาถาลดความอ้วนของพระพุทธเจ้ามีเนือ ้่ ้ ความว่าอย่างไร ถ้างันก็ขอเฉลยเลยแล้วกันนะครับ คาถาข้างบนถอดความได้วา ้ ่ ....ผูมสติรตวตลอดเวลาขณะกินอาหาร จะมีโรคน้อย แก่ชา และอายุยน.... ้ ี ู้ ั ้ ื เป็นไงครับ ทีนกคงสว่างกระจ่างใจกันแล้วนะครับ ว่าทำาไมพระเจ้าปเสนฯ จึงลด ้ี ็ ความอ้วนได้สาเร็จ นันก็เพราะพระองค์ทรงฟังคาถาออกนันเอง ำ ่ ่ ทุกมือ ขณะกำ�ลังเสวยพระกระย�ห�รอย่�งเม�มัน ห�กเริ่มจะม�ก ้ จนเลยเถิด ก็จะมีเสียงมห�ดเล็กลอยเตือนขึ้นม� ทำ�นองว่�อย่�ทรงเหวย ม�กนะพะย่ะค่ะ ไม่งั้นจะทรงอ้วน สมองไม่แล่น ง่วงเหง�ห�วนอนทั้งวัน แล้วจะทรงว่�ร�ชก�รไม่ได้ผลดี จะว่าไปแล้ว อุปสรรคสำาคัญประการ หนึ่งของการเจริญภาวนาจนเกิดปัญญาถึงขั้นหลุด พ้น ไม่ตองกลับมาเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไป ซึงถือ ้ ่ เป็น “งาน” สำาคัญทีสดในมุมมองของชาวพุทธ ก็คอ ุ่ ื “ความง่วงเหงาหาวนอน” ทีจดเป็นหนึงใน ๕ ของ ่ั ่ ตัวถ่วงความเจริญของจิตใจ (นิวรณ์ ๕) อันประกอบ ด้วย ความพอใจในกาม ความผูกใจพยาบาท ความ ง่วงเหงาหาวนอนขณะภาวนา ความคิดฟุงซ่านรำาคาญ ้ หงุดหงิด และความลังเลสงสัยในประโยชน์ของการ ภาวนา ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี 11
  • 12. หัวใจสำ�คัญของคำ�สอนของพระพุทธเจ้�นั้น ดูจะหนีไม่พ้นก�ร ภ�วน�เจริญสติให้รู้อยู่ในปัจจุบันอย่�งไม่ประม�ท เพราะการมีสติถอว่ามี ื ประโยชน์ทงในทางธรรมและทางโลก ไม่วากิจการงานใด หากกระทำาไปโดยขาดสติกากับ ก็ ้ั ่ ำ อาจส่งผลเสียหายร้ายแรงต่องานทีตนรับผิดชอบ จนถึงต่อองค์กรทีตนทำางานอยูได้ เช่น การ ่ ่ ่ ขาดสติบนดาลโทสะจนทำาร้ายเพือนร่วมงาน หรือการขาดสติไม่รถงความละโมบทีเ่ กิดขึนในใจ ั ่ ู้ ึ ้ ตนจนถึงกับหลงไปยักยอกทรัพย์สนบริษทมาเป็นของตนความมีสติมคณในทีทกสถานในกาล ิ ั ีุ ่ ุ ทุกเมือ บุคคลผูมปญญาย่อมสามารถตักตวงประโยชน์จากความมีสติได้อย่างไม่จากัด ดังเช่น ่ ้ีั ำ พระเจ้าปเสนทิโกศลทีทรงลดความอ้วนได้กเ็ พราะทรงมีสติในบริโภคนันเอง สาวๆ ท่านใด ่ ่ สนใจจะนำาคาถานีไปประกอบการลดน้าหนักก็เชิญได้เลยนะครับ..... ้ ำ ทีมา ่ http://www.ocsc.go.th/ocsccms/frontweb/vie...ntID=CNT0004030 http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic....f=7&t=18548 Remember to always dream More importantly to make those derms Come true and never give up. “จงฝันอยู่เสมอ ที่สำ�คัญม�กไปกว่� นั ้ น คื อ ทำ � คว�มฝันให้เป็นคว�มจริง และอย่� ยอมแพ้ ” 12 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
  • 13. จดหมายจากผู้อ่าน ความประทับใจ ไพรัตน์ ศรีเรือง 22 ตุลาคม 2553 ได้ไปไถ่ของออกมาจากโรงรับจำานำา ราคา 120,000 บาท แล้ว ลืมวางทิงไว้ ดิฉนเสียใจมากทำางานหนัก ขายของเหนือยเพือจะมีเอาไว้ใส่ เขียว ๆ แดง ๆ กับ ้ ั ่ ่ เขามัง เสียใจมากนอนไม่หลับหลายวัน นังคิด นอนคิด หลับตาเห็นแต่ของ ทำางานก็ไม่เป็นสุข ่ ่ ฐานะลูกจ้างชัวคราว เงินทองก็นอย กว่าจะมีเก็บกับเขาได้แต่เวลาทีของหายมันแว๊บเดียวเอง ่ ้ ่ ลูก ๆ ก็พยายามปลอบใจไม่ตองเสียใจ สมบัตนอกกายนะแม่ แม่อาจจะมีเคราะห์กได้นะ แม่ ้ ิ ็ สะเดาะเคราะห์ไปนะ แล้ววันหนึงก็มหนังสือส่งมาทีบาน มาในนามชือของนางไพรัตน์ ศรีเรือง เอ๊ะใครส่ง ่ ี ่้ ่ อะไรมามีเรืองอะไรในหนังสือเล่มนีบาง มันเป็นหนังสือของ “ชมรมจริยธรรม” โรงพยาบาล ่ ้้ เจ้าพระยายมราช ก็เปิดอ่านดู ยิงอ่านก็รสกได้วาหนังสือเล่มนีมคณค่า อ่านทุกหน้า ทุกตอน ่ ู้ ึ ่ ้ีุ แล้วความร้อนลุมในใจของเรามันเย็นลง ใจของเราสงบลง สมบัตเิ ป็นของนอกกาย เราจะ ่ ไม่ยดเหนียวมันเอาไว้ ขอเพียงได้มชวตอยู่ ยังทำาความดีได้อกมากมาย ยกมือไหว้เจ้าคุณยม ึ ่ ีีิ ี ลูกจะเป็นคนดีของพ่อนะคะ จะพูดดีกบคนไข้ จะปฏิบตตวดีกบผูปวยทุกคนค่ะ ั ัิั ั ้่ ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี 13
  • 14. ถามตอบ หลักการนั่งสมาธิง่ายๆ พญ.ธัญญกร ถาม....จะมีหลักปฏิบัติอย่างไร ให้นั่งสมาธิได้ง่ายขึ้นเจ้าคะ ตอบ.... คำาถามนี้เข้าใจว่าคงจะมาจากการนั่งสมาธิแล้วจิตใจไม่สงบ 1.พย�ย�มใช้ชีวิตให้เรียบง่�ย อะไรที่พอจะตัดออกได้ก็ให้ตัดออกไปเสีย โดยเฉพาะภารกิจทั้งหลายที่ทำาให้เกิดความกังวลใจ 2.รักษ�ศีลให้ดี ดำารงชีวิตอยู่ในหลักศีลธรรมทั้งต่อหน้าและลับหลังผู้อื่น 3.ระมัดระวังอ�รมณ์ ที่เกิดในชีวิตประจำาวันไม่ให้เกิดความหวั่นไหวเมื่อ กระทบอารมณ์ หรือเมื่อกระทบอารมณ์แล้วก็ให้รีบจัดการให้เรียบร้อย แก้ปัญหาให้เสร็จ แล้วปล่อยวางเสีย ไม่ปล่อยให้อารมณ์ตกค้างอยู่ในใจ เมื่อมีเวลาว่างก็พยายามจับลม บ่อยๆหรือใช้ลมหายใจเป็นกัลยาณมิตร 4.พย�ย�มนั่งสม�ธิอย่�งสม่ำ�เสมอ ประมาณ 20 นาที หรือครึ่ง ชั่วโมงวันละ 2-3 ครั้ง การนั่งสมาธิอย่างสม่ำาเสมอนั้น แม้จิตจะสงบหรือไม่สงบก็ไม่เป็นไร ให้เรา พยายามดูที่จิต โดยทำาใจกลางๆแล้วเจริญสติ อย่ายินดียินร้ายกับความสงบหรือไม่สงบ ถ้าเกิดความไม่สงบให้มองเป็นธรรมะ ที่เกิดขึ้นมาแล้วไม่นานก็จะดับไปเอง ถ้าเราเกิด ยินดีก็จะหลงไปตามอารมณ์นั้น แล้วคิดปรุงแต่งไปเรื่อยๆ แต่ถ้ายินร้าย ก็จะเกิดความไม่ พอใจในตัวเอง เกิดความเดือดร้อนขึ้นในใจอีก โดยสรุปแล้วก็อยู่ที่การ “ คิดดี พูดดี ทำาดี “ นั่นเอง ถ้ารักษาใจให้เป็นปกติใน ชีวิตประจำาวันได้แล้ว ก็จะช่วยให้นั่งสมาธิได้ง่ายขึ้น โดย พระอาจารย์มิตซูโอะ คเวสโก จงอย่าได้รู้สึกสงสารตัวเอง ถ้าเกิดมีใครได้พบความสำาเร็จ หรือได้รับมรดกเงินล้าน อย่าเสียเวลาไปกับความรู้สึกแย่ ๆ ด้วยเหตุมันไม่ใช่ของคุณ ที่มา..การฝึกจิตและบ่มเพาะความเมตตา เซอเกียม ตรุงปะ 14 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
  • 15. แนะนำาหนังสือน่าอ่าน อยู่อย่างไรให้ชีวิตสวัสดี ภกญ.อุนเรือน ่ เป็นหนังสือที่บริษัทสถาพรบุคส์ จำากัด จัดพิมพ์ โดยรวบรวมปาฐกถาธรรมของพระ พรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ) เพื่อเผย แพร่กิตติคุณและคำาสอนของท่าน พระพรหม มังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ) ได้สมัญญา นามจากท่านพุทธทาสภิกขุว่าเป็น “ภิกขุแม่ทัพ โลก” ผู้เผยแพร่หลักธรรมแห่งพระพุทธศาสนา ในแนวทางที่ถูกต้อง สอนพุทธบริษัทเพื่อ เปลี่ยนแปลงชีวิตในทางที่ดีมีความสุข ท่านได้วางรากฐานอันมันคงในอุดมการณ์เผยแผ่ธรรมะในปี 2492 ณ พุทธสถาน ่ เชียงใหม่ วัดอุโมงค์ (สวนพุทธธรรม) ปี 2503 ได้ขยายมาวางรากฐานแห่งการเผยแผ่ และปฏิบัติที่วัดชลประทานรังสฤษฏ์ นนทบุรี และ ปี 2537 ที่วัดปัญญานันทาราม ปทุมธานี ท่านมีปณิธานว่า “ข้าพเจ้ามอบกายใจถวายเป็นพลีแก่พระองค์ และยินดีทำางาน ตามรอยพระองค์เสมอไป เพื่อให้สัจธรรมของพระองค์ได้เข้าถึงใจของหมู่สัตว์ผู้มีโมหะ ครอบงำาและเข้าใจทางเดินออกจากโมหะนั้นเสีย” หนังสือเล่มนี้แบ่งเป็น 5 ส่วน ดังนี้ 1. ท่องเที่ยวในก�ยนคร สอนให้รวาตัวเราคืออะไร ประกอบขึนด้วยอะไรบ้าง ส่วนประกอบนันมีหน้าที่ ู้ ่ ้ ้ อย่างไร เราได้มาอย่างไร เอามาใช้ประโยชน์แก่ตนเองและแก่คนอืนอย่างไร ร่างกาย ่ นี้ถ้าใช้ให้เป็นมันก็เป็นคุณค่า เป็นประโยชน์ ถ้าใช้ไม่เป็นก็เกิดทุกข์เกิดโทษ ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี 15
  • 16. 2. ก�รประพฤติธรรม กล่าวถึงการประพฤติธรรมง่ายๆ ในครอบครัว และการประพฤติธรรมระหว่าง นายจ้างกับลูกจ้าง ยึดหลักความเสียสละ การให้ การคิดดี และการเอาชนะกันด้วยความดี 3. ประโยชน์ของธรรมะ ธรรมะคือเครื่องมือสำาคัญของชีวิต เครื่องทุ่นแรงของจิตใจ ให้ตื่นรู้กับชีวิต คิด ก้าวหน้า ท่านยังสอนถึงการขัดเกลาเด็กๆ ให้รู้จักคุณค่าแห่งชีวิต ให้เขาได้คิดว่าเกิดมา ทำาไม อยู่เพื่ออะไร สิ่งที่ควรจะประพฤติปฏิบัติคืออะไร เมื่อเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่จะเป็นคน ดีมีปัญญา รักษาวงศ์สกุลไว้ได้ 4. สวัสดิวิธี ชีวิตช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ กล่าวถึงการแก้ปัญหาในชีวิตประจำาวัน คำาสอนของพระพุทธเจ้าที่บัญญัติไว้ มากมายนั้น ถ้าพูด ย่อๆ สั้นๆ ก็อยู่ที่เรื่องเหตุผลของชีวิตนี่เอง เป็นเรื่องที่ทำาให้เราเข้าใจ ชีวิตถูกต้อง เข้าใจเหตุของสิ่งนั้นถูกต้อง และจะแก้ไขสิ่งนั้นโดยวิธีใด แล้วเราก็แก้ไขโดย วิธีนั้น ปัญหาชีวิตก็จะลดน้อยลงไป “วัตถุเป็นแต่เพียงสิ่งรับใช้ ไม่ใช่สิ่งที่เราจะเอามาเป็น นายแก่ชีวิตเรา การวัดกันด้วยวัตถุนี่แหละ คือการก้าวไปที่ผิดพลาด” 5. ภ�วน�ช่วยเสริมเพิ่มกำ�ลังจิต ท่านอธิบายถึงการภาวนาว่า ภาวนารวมถึงการอบรมบ่มตัวเองให้เจริญงอกงาม ด้วยสติปัญญาจุดหมายของการเจริญภาวนาอยู่ที่ทำาให้จิตใจเราสงบ ให้จิตเราตั้งมั่นอ่อน โยน เหมาะที่จะใช้งาน หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือที่น่าอ่านอีกเล่มหนึ่ง เพราะเป็นคำาสอนตามหลักพุทธ ศาสนาที่เข้าใจง่าย นำาไปปฏิบัติได้ และมีเป้าหมายอยู่ที่ทำาให้ทุกคนได้ประพฤติธรรมอัน เป็นพื้นฐานที่ทำาให้เป็นผู้อยู่อย่างผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน 16 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
  • 17. ธรรมมะจากภาพยนตร์ กังฟู แพนด้า รุงนิภา ่ วิธีคิด มีความสำาคัญมาก สำาหรับชีวิต แพ้ หรือชนะ อยู่ที่กำาลังใจ แท้ที่จริง กำาลังใจก็คือวิธีคิด โดยเฉพาะ วิธีคิดอย่างมีสติ ภาพยนตร์การ์ตูน เรื่อง กังฟูแพนด้าเป็นภาพยนตร์เรื่องหนึ่ง ที่เหมาะสำาหรับดูกับเด็กๆ ดูกันไป สอนกันไป สนุกด้วย อบอุ่นด้วย เป็นเรื่องราวของ เจ้าโป แพนด้าน้อยหัวใจนักสู้ที่ชื่นชอบวิชากังฟูเป็นชีวิตจิตใจ เรื่องราวไม่คาดฝันเกิดขึ้นเมื่อ เจ้าโป ได้รับตำาแหน่ง “นักรบมังกร ” สุดเท่ห์ ที่ใครๆ ก็ต้องทึ่งและอิจฉาแต่เบื้องหลัง ใครจะรู้บ้างว่า เจ้าโป ต้องใช้ความพยายาม อดทน พากเพียรสักเพียงใด ในการฝึกฝนวิทยายุทธ์ เพื่อครอบครอง “คัมภีร์มังกร ” สิ่งเดียว ที่ เจ้าโป มีคือกำาลังใจ แม้รางวัลแห่งความสำาเร็จได้ถูกประทานมาให้ เจ้าโป สมดั่งปรารถนา เจ้า โป ก็ต้องมาผจญกับ “ เสือดาวไต้ลุง ” ลูกศิษย์คิดล้างครูของอาจารย์ เจ้าโป ที่ พยายามทำาทุกวิถีทางที่จะล้มล้างอาจารย์ตัวเอง เพื่อความเป็นใหญ่ เจ้าโป ต้องผนึก กำาลัง รวมทีม สมานความสามัคคีกับบรรดาลูกศิษย์ของอาจารย์เพื่อวางแผนรับมือกับ “ เสือดาวไต้ลุง ” วิธีคิด พลังสามัคคีของ เจ้าโป กังฟูแพนด้าที่จะสามารถที่ฟันฝ่าเอาชนะ ความ เห็นแก่ตัว ความพยาบาทของ “ เสือดาวไต้ลุง ” ได้อย่างไร ต้องดูกันครับ ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี 17
  • 18. แนะนำาสถานที่ปฏิบัตธรรม ิ วัดสุนันทวนาราม วิราวรรณ จุลสารของชมรมจริยธรรม ฉบับนี้ขอแนะนำา สถานที่ปฏิบัติธรรมที่อยู่ใกล้เคียง กับจังหวัดสุพรรณบุรี ค่ะ วัดสุนันทวน�ร�ม วัดนี้เป็นวัดสาขาของวัดหนองป่าพง ลำาดับที่ ๑๑๗ ซึ่งมี พระอาจารย์มิตซูโอะ คเวสโก เป็นเจ้าอาวาส ท่านเป็นศิษย์รุ่นแรกของหลวงพ่อชา (พระ โพธิญาณเถร) ครูบาอาจารย์ที่ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ สถานที่ของวัดแห่งนี้กว้างขวางมาก มี เนื้อที่ถึง ๑,๕๐๐ไร่ ถือได้ว่าเป็นสถานที่สัปปายะเหมาะสำาหรับการประพฤติปฏิบัติธรรม มีเสนาสนะที่กลมกลืนกับธรรมชาติ และเป็นวัดที่ช่วยอนุรักษ์ป่าไม้,สัตว์ป่าได้เป็นอย่างดี อีกทั้งท่านเจ้าอาวาสมีเมตตาจิตสูงมาก สถ�นที่ตั้ง บ้านท่าเตียน ตำาบลไทรโยค อำาเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี ก�รเดินท�ง ทางเข้าวัดอยู่ ก.ม.๙๐ ของทางหลวง ๓๒๓ ช่วงไทรโยค- ทองผาภูมิ จากตัวเมืองกาญจนบุรี ถึงน้าตกไทรโยคน้อยประมาณ ๑๑๐ ก.ม. จากน้าตกไทรโยค ำ ำ น้อยถึงปากทางเข้าวัด ๔๗ ก.ม. และจากปากทางเข้าวัดถึงศาลาต้อนรับประมาณ ๓ ก.ม. มีก�รอบรมปฏิบัติภ�วน� “อ�น�ป�นสติ” ให้แก่ประชาชน ทั่วไป และจัดต่อเนื่องมาเป็นประจำา ปีละ ๙ ครั้งๆละ ๕ - ๙ วัน นอกจากนี้ยัง ให้การอบรมและนำาปฏิบัติธรรมเป็นหมู่คณะตามคำาขอของสถาบันต่างๆ ตลอดมา มีห้องพักปฏิบัติธรรม ๗๔ ห้อง อาคารนอน ๑๐ หลัง ซึ่งแบ่งเป็นที่พัก สำาหรับอุบาสิกา ๘ หลังและสำาหรับอุบาสก ๒ หลัง ทั้งหมดนี้สามารถรองรับผู้ปฏิบัติธรรม ได้ถึง ๘๗๐ คน ก�รปฏิบัติธรรมและกิจวัตรประจำ�วัน เริ่มตั้งแต่เวลา๐๓.๐๐-๒๑.๐๐ น. ขอแนะนำาคร่าว ๆ เพียงเท่านี้นะคะ เนื่องจากเนื้อที่มีจำากัด ผู้สนใจ ต้องการไปปฏิบัติธรรมที่วัดสุนันทวนารามสามารถ Download รายละเอียดได้ที่ http://www.watsunan.org/ 18 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
  • 19. เรื่องจากปก ประวัติ หลวงพ่อโต วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร พยงค์ วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร หรือ วัดหลวงพ่อโต เป็นวัดเก่าแก่สันนิษฐาน ว่ามีอายุราว 1200 ปี อยู่ริมถนนมาลัยแมน ตั้งอยู่เลขที่ 249 หมู่ที่ 2 ต.รั้ว ใหญ่ อ.เมืองสุพรรณบุรี จ.สุพรรณบุรี เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร อยู่ทางฝั่งด้านทิศตะวันตกของแม่น้ำาสุพรรณ หรือแม่น้ำาท่าจีน ซึ่งอยู่ห่างจากวัด ประมาณ 2 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 82 ไร่ 2 งาน 16 ตารางวา โดยเมื่อวันที่ 16 กุ ม ภาพั น ธ์ 2 514ได้ ถู ก เวนคื น ให้ กั บ การรถไฟแห่ ง ประเทศไทยเป็ น เนื้ อ ที่ ดิ น ตาม สัญญา1 ไร่ 2 งาน 60 ตารางวา จึงมีเนื้อที่คงเหลือเพียง 80 ไร่ 3 งาน 56 ตารางวา แรกตั้งเป็นวัดเมื่อไรไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด แต่จากการสันนิษฐานโบราณวัตถุ สำาคัญของวัด คือ พระปางปาลิไลยก์ ซึ่งชาวบ้านทั่วไปเรียกว่า หลวงพ่อโต ประมาณอายุ อย่างต่ำาสุด สร้างก่อนสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ( ก่อน พ.ศ. 1893 ) อย่าง สูงสุดยุคทวารวดีตอนต้น (พ.ศ.1200) มีอายุจนถึงทุกวันนี้ ระหว่าง 650 -1300 ปีใน พงศาวดารเหนือกล่าวว่า พระเจ้ากาเตทรงให้มอญน้อย มาบูรณะวัดป่าเลไลยก์ ภายหลัง ปี พ.ศ. 1724 เล็กน้อย เป็นวัดเก่าแก่หน้าบันของวิหารวัดป่าเลไลยก์มีพระราชลัญจกร ประจำาพระองค์ เครื่องหมายพระมหามงกุฎอยู่ระหว่างฉัตรคู่ปรากฏ บอกให้ทราบว่า พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จธุดงค์มาพบสมัยยังทรงผนวชอยู่ เมื่อ เสด็ จ ขึ ้ น ครองราชย์ แ ล้วจึงทรงมาปฏิสังขรณ์ ที่วัดแห่งนี้ประชาชนนิยมมานมัสการ หลวงพ่อโต ซึ่งประดิษฐานอยู่ในวิหารสูงเด่นเห็นแต่ไกล เป็นพระพุทธรูปปางป่าเลไลยก์ ศิลปะสมัยอู่ทองสุพรรณภูมิเพราะพระหนุ(คาง) เป็นเหลี่ยม ความเป็นจริงแล้วคางเป็น เหลี่ยมนี่ส่อเค้าให้เห็นว่าได้รับอิทธิพลถ่ายทอดมาจากศิลปะทวารวดี หลวงพ่อโตเป็นพระก่ออิฐถือปูนขนาดใหญ่มากมีลักษณะประทับนั่งห้อยพระบาท พระหัตถ์ซายวางคว่าบนพระชานุ พระหัตถ์ขวาวางหงายบนพระชานุอกข้างหนึงในท่าทรงรับ ้ ำ ี ่ ของถวาย องค์พระสูง 23.47 เมตร เทียบเท่าตึก 8 ชัน รอบองค์ 11.20 เมตร ้ ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี 19
  • 20. มีนักปราชญ์หลายท่านว่า หลวงพ่อโตเดิมคงเป็นพระพุทธรูปปางปฐมเทศนา สร้างไว้กลางแจ้งเหมือนพระพนัญเชิงในสมัยแรกๆ เพราะมักจะพบว่า พระพุทธรูปขนาด ใหญ่ที่สร้างในสมัยก่อนอยุธยา และอยุธยาตอนต้น ส่วนมากชอบสร้างไว้กลางแจ้งเพื่อ ให้สามารถมองเห็นได้แต่ไกล ภายในองค์พระพุทธรูปนี้บรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่ได้มา จากพระมหาเถรไลยลายจำานวน 36 องค์ หลวงพ่อโตเป็นที่เคารพนับถือของประชาชน ในจังหวัดสุพรรณบุรีและจังหวัดใกล้เคียง มีงานเทศกาลสมโภชและนมัสการหลวงพ่อวัด ป่าเลไลยก์ ปีละ 2 ครั้ง คือ ในวันขึ้น 5-6-7-8-9 ค่ำา เดือน 5 และเดือน 12 ทางจันทรคติทุกปี ตรงข้ามวิหารวัดมีร้านขายสินค้าที่ระลึกพื้นเมืองหลายร้านให้แวะเลือก ซื้อ ด้านหลังวัดมี “คุ้มขุนช้าง” ซึ่งสร้างเป็นเรือนไทยไม้สักหลังใหญ่กว้างขวาง ตามบท พรรณนาเรือนของขุนช้างในวรรณคดี เรื่องขุนช้างขุนแผน ขึ้นไปบนเรือนจะเห็นฉากภาพ วาดตัวละครขุนช้างสำาหรับให้นักท่องเที่ยวถ่ายรูปเป็นที่ระลึก บนเรือนแต่ละห้องมีภาพ บรรยายเล่าเรื่องขุนช้างขุนแผน มีตู้จัดแสดงภาชนะเครื่องใช้ไม้สอยต่างๆไม่ว่าจะเป็นฉาก กั้นหรือถ้วยโถโอชามเก่าแก่แบบต่างๆ ที่มา จากหนังสือพุทธมามกมนต์ ฉบับวัดป่าเลไลยก์วรวิหาร 20 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
  • 21. แจ้งข่าว ประชาสัมพันธ์ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช ฐิตมา ิ ชมรมจริยธรรมโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช ได้ขับเคลื่อนในรูปแบบสหสาขา มากขึ้น ผลงานของชมรมเป็นแหล่งศึกษาดูงานให้กับโรงพยาบาลอื่นๆตลอดที่ผ่านมา ทั้งนี้ก็ได้รับความร่วมมือร่วมใจของบุคลากรหลายๆฝ่าย และได้รับคำาชื่นชมจากบุคคล ภายในและภายนอก ในการมีส่วนร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสร้างความเข้มแข็ง ระดับเครือข่าย จากรางวัลที่เราได้รับในปีงบประมาณ 2553 เรื่องสมาธิบำาบัดในระบบ สุขภาพ ในระดับดีเยี่ยม และรางวัลดีเด่นระดับเขต 4 เรื่องผลลัพธ์อันยิ่งใหญ่เหนือความ คาดหวัง โครงการพัฒนาต้นแบบเพื่อลดอัตราการเกิดเยื่อบุช่องท้องอักเสบในผู้ป่วยล้าง ไตทางช่องท้องแบบบูรณาการ กิจกรรมล่าสุดได้ร่วมส่งเสริมให้คนรักสุขภาพ ได้รับประทานอาหารที่มี ประโยชน์ (so good) ในงานทอดผ้าป่าโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช นั่นคือครัว แมคโครไบโอติกส์ (Macrobiotic)ของคุณสุภาพร เพื่อสุขภาพร่างกายแข็งแรง และ มีสุขภาพที่ดี ในปีงบประมาณ 2554 ได้มีโครงการ/กิจกรรมต่อเนื่องมาและมีกิจกรรมที่น่า สนใจอยู่หลายๆโครงการดังนี้ โครงการ End of life ร่วมกับ PCT อายุรกรรม โครงการ SKT สมาธิบำาบัด โครงการพัฒนาพฤติกรรมบริการ ร่วมกับกลุ่มการพยาบาล โครงการคัดเลือกคนดีในหน่วยงาน โครงการปฏิบัติธรรมและธรรมะสัญจร โครงการธรรมะบรรยาย ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี 21
  • 22. โครงการหนังสือจุลสารชมรมจริยธรรม โครงการเพื่อนช่วยเพื่อนมะเร็งเต้านม กิจกรรมตักบาตรเนื่องในวันสำาคัญ กิจกรรมพับใบเตย(งานประดิษฐ์ต่างๆ)ที่ OPD ร่วมกับชมรมผู้สูงอายุ กิจกรรมเล่าความดี ร่วมกับศูนย์พัฒนาคุณภาพ กิจกรรมทำาบุญเดือนเกิด ร่วมกับกลุ่มการพยาบาล กิจกรรมเสียงตามสาย เสียงหวานๆนี้เป็นเสียงของพญ.ธัญญกร นันทิยกุล กิจกรรมเผยแพร่ธรรมะในลิฟต์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.เป็นโรงพยาบาลแบบอย่างด้านการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม 2.บุคคลากรได้รับการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และเป็นส่วนสำาคัญในการ สร้างสังคมที่ดีงาม 3.บุคลากรปฏิบัติงานด้วยหัวใจแห่งความเป็นมนุษย์ 4.บุคลากรมีความสุขในการทำางาน โอกาสนี้ขอเชิญบุคลากรทุกท่านท่ีสนใจเข้าร่วมกิจกรรมของชมรมจริยธรรมและ ร่วมใจในการทำากิจกรรมร่วมกันสมัครเป็นสมาชิกชมรมจริยธรรมได้ทคณฐิตมาเลขาชมรมฯ ่ี ุ ิ 22 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
  • 23. สารจากผู้อำานวยการ “บรรลุฝันยมราช บรรลุโอกาสคนสุพรรณ” นายแพทย์ชัชรินทร์ ปิ่นสุวรรณ ปี 48 ต้นมกราคม ผมได้ย้ายมาทำางานที่ รพ.เจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี ผม ไม่เคยมาที่สุพรรณ แต่ก่อนมาปฏิบัติงานจริง ผมได้มีโอกาสไปงานพิธีบวงสรวงสมเด็จ พระนเรศวรมหาราช ที่อำาเภอดอนเจดีย์ และพิธีวางพวงมาลาเจ้าพระยายมราชที่โรง พยาบาล (ซึ่งถือเป็นวันโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช) ในวันที่ 20 มกราคม ของทุกปี เป้าหมายอันดับแรกที่ต้องมาทำาที่นี่ คือ การขาดแคลนแพทย์.... !? เพราะกำาลังมีแพทย์ลา ออกกั น เรื่ อ ยๆปี ที่ ผ่ า นมาออก ไปแล้ว 10 กว่าคน โดยเฉพาะ ศัลยแพทย์ทั่วไป เหลือเพียง 2 คนเอง วิ สั ญ ญี แ พ ท ย์ ไ ม่ มี รั ง สี แ พ ท ย์ มี เ พี ย ง ค น เ ดี ย ว เป็นต้น เป็นภาระงานที่หนักมากของแพทย์ที่เหลืออยู่เพียง40 กว่าคน จากกรอบเดิมที่ ต้องมี 80 คน ไม่มีศัลยแพทย์ทั่วไปอยู่เวรในบางวัน เจ้าหน้าที่กำาลังอยู่ในภาวะขวัญเสีย แล้วประชาชนคนสุพรรณจะเป็นเช่นไร ผมระลึกถึงคำาพูดของอดีตปลัดฯ ท่านหนึ่งเสมอว่า “ผู้อำ�นวยก�รเป็นตัวแทนของกระทรวง ผู้อำ�นวยก�รเป็นตัวแทน ของผู้ป่วย ผู้ม�ใช้บริก�ร ผู้อำ�นวยก�รเป็นตัวแทนของเจ้�หน้�ที่ทุกคน สิ่งสำ�คัญที่จะส�ม�รถพัฒน�โรงพย�บ�ลให้เจริญต่อไปนั้น ขึ้นอยู่กับ คว�มรัก คว�มส�มัคคีของคนในโรงพย�บ�ลทุกคน” ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี 23
  • 24. ผมจำามาปฏิบัติตั้งแต่ผมเริ่มเป็นผู้อำานวยการโรงพยาบาลจังหวัดใหม่ๆ เมื่อปี 2540 ที่กาฬสินธุ์ ผมยังคิดว่าเครือข่าย สสจ. รพศ. รพท. สสอ. สอ.และ อสม. ยังเป็น กำาลังสำาคัญในการทำางานร่วมกันแบบเข้าใจ ใจถึงใจกัน และเครือข่ายภาคท้องถิ่น ภาค ประชาชน หรือภาครัฐส่วนอื่นๆ ทั้งหมด ผมตั้งเป้าหมายสิ่งต้องทำาตามลำาดับที่สุพรรณบุรี คือ อันดับแรก.. แก้ไขปัญหาการขาดแคลนแพทย์ทุกสาขา โดยเฉพาะศัลยแพทย์ ทั่วไป วิสัญญีแพทย์ รังสีแพทย์ เพื่อสร้างศรัทธากลับคืนมาโดยเร็ว โรงพยาบาล จะต้องให้ประชาชนมีความมั่นใจได้ในทุกเรื่อง ที่สอง.. แก้ไขปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ คือ ไข้หวัดนก (กำาลังระบาดในปีนั้น โดยเฉพาะสุพรรณบุรีมีคนตาย) ไข้เลือดออก (เจ้าประจำา) สาม.. การทำางานคุณภาพ HA & HPH แต่ขอให้ประยุกต์ใช้สำาหรับสุพรรณ ตามบริบท ขณะนั้น ไม่ได้หวังให้ผ่านการรับรอง แต่หวังว่าจะได้ใช้ประโยชน์ในการทำางาน บริหาร (ซึงได้ใช้มาตลอดในการทำางานเป็นผูอานวยการโรงพยาบาลจังหวัดของผมมาตลอด) ่ ้ำ และสุดท้าย..การสร้างขวัญกำาลังใจให้กับเจ้าหน้าที่ทุกคนในโรงพยาบาล เพราะ คิดว่า ถ้าประชาชนจะได้รับการบริการที่ดีจากเรา บุคลากรของเราจะต้องมีขวัญกำาลังที่ดี ระดับหนึ่งเสียก่อน 24 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
  • 25. ก�รทำ�ง�นเป็นทีมได้เริ่มขึ้นที่ยมร�ช มันเป็นง�นที่ค่อนข้�งย�ก แต่ด้วยในใจ ลึกๆ ของทุกคน ที่มีคว�มรักม�กม�ยต่อโรงพย�บ�ล แต่ยัง ไม่ถูกปล่อยออกม�อย่�งเต็มที่เท่�นั้นเอง ผู้บริห�รคงเป็นผู้ประส�นง�น ผู้สนับสนุน และคอยให้กำ�ลังใจ เท่�นั้น ผู้ลงมือปฏิบัตินั้นเป็นเจ้�หน้�ที่ทุกคน ที่ต้องร่วมมือร่วมใจกัน “เด็กสุพรรณ กลับบ้�นเกิด” สื่อสารให้แพทย์คนสุพรรณสาขาต่างๆ กลับ มาทำางานที่ยมราช ได้ผลดีเกินคาด “โรงพยาบาลบ้านท่าน โรงพยาบาลพวกเรา” เจ้า หน้าที่เกือบทั้งโรงพยาบาลเป็นคนสุพรรณ (ทั้งแพทย์, พยาบาล) “ยมร�ช รวมใจ” พวกเราขอรับใช้พี่น้องคนสุพรรณ คนบ้านเดียวกัน ดูทุกอย่างมันช่างราบรื่นดีเหลือเกิน จนเวลาผ่านไปไม่รู้เนื้อรู้ตัว เพียง 3 ปีเศษ ปัญหาต่างๆ ก็ได้รับการแก้ไขตามลำาดับ ทั้ง 4 ข้อ ที่พวกเราภูมิใจที่สุดก็คือการนำางาน คุณภาพ HA & HPH มาประยุกต์ใช้ใน โรงพยาบาลและเครือข่ายของเรา ทุกอย่างเป็นการร่วมมือของพวกเราทุกคนในองค์กรแท้ ๆ เลย... วิกฤตกล�ยเป็นโอก�สโดยแท้จริง นี่เป็นประสบการณ์อันหนึ่งที่ทุกคนใน “ยมราช” ได้รับ พวกเรามีผลการทำางานคุณภาพเกิดขึ้นมากมาย ขณะที่ขาดศัลยแพทย์ เราก็เกิดการดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านม มะเร็งลำาไส้ใหญ่ แบบครบวงจร การดูแลผู้ป่วยที่ได้ รับบาดเจ็บที่ศีรษะเป็นระบบเครือข่ายที่มีคุณภาพ และอีกหลายๆ อย่างที่เกิดขึ้น ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี 25
  • 26. เมื่อโรงพยาบาลของเราน่าอยู่ ได้เอาหัวใจออกมาทำางานร่วมกัน แน่นอน... ผู้ ที่จะได้รับประโยชน์จากสิ่งเหล่านี้ก็คือ ประชาชนคนสุพรรณ หรือผู้มาใช้บริการที่ยมราช และเครือข่ายของเรา เราจะเดินไป และได้เริ่มแล้ว... เรายังเชื่อเสมอว่า ศักยภาพของการทำางานเป็นทีมสหสาขาวิชาชีพ แพทย์ที่ มีความรู้เฉพาะทาง (รู้ทางที่สิ้นสุดของโรค) อาจจะเป็นคำาตอบที่ย้อนกลับมาดูว่า หาก ผู้ป่วยเหล่านี้ไม่ป่วยดีกว่าแน่ ทำาอย่างไรจะไม่ต้องป่วย มาแออัดกันที่โรงพยาบาล เรา กำาลังมีแนวร่วม แนวคิดเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ การทำางานร่วมกับภาคประชาชนและท้องถิ่นเป็นสิ่งจำาเป็นอย่างยิ่งในวิธีคิดที่จะ เกิดขึ้น การมีน้ำาใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กันกับชุมชน(คนบ้านเดียวกัน) การขยายแนวร่วม วิธี คิดอันเดียวกันไม่ว่าจะแพทย์ รพศ. รพท. รพช. กับสหสาขาวิชาชีพ คงเกิดขึ้นได้อย่าง ยืดหยุ่นและยั่งยืน SHA ก็เป็นแนวทางหนึ่งที่จะมาต่อยอดการทำางานคุณภาพของพวกเรา Self Health Care คือ เส้นทางที่ควรจะเดินไป “บรรลุฝันยมร�ช บรรลุโอก�ส คนสุพรรณ” 26 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี
  • 27. เรื่องเล่าความดี สายใยแห่งสายใจ รสริน วรรณจีรวิไลและคณะ สมัยเป็นวัยรุ่น คุณเคยคิดไหมว่าคุณอยากจะมีรถปิคอัพสัักคัน มีบ้านสักหลัง มีเมียและลูกน่ารัก ๆ สักคน ทุกคนคงตอบว่าก็เคยซิ อาณัติชายหนุ่มวัย 20 ปีที่ อนาคตกำาลังสดใส เป็นวัยมีพลังงาน และความมุ่งมั่นมากมาย มีความคิดที่จะทำาอะไร ก็ได้อย่างไม่มีขีดจำากัด เมียสาวกำาลังท้อง มีการงานที่ภาคภูมิใจ อาณัติก็มีความคิดเช่น นั้นเหมือนกัน แต่สำาหรับอาณัติในวันนี้สิ่งต่าง ๆ ที่เคยพูด เคยคิด เคยอยากทำา มันเป็นไปไม่ ได้เสียแล้ว โชคชะตาอันเลวร้ายมากระชากความหวังของเขาไปจนหมดสิ้น อะไร ทำาให้เขาเป็นเช่นนั้น แล้วเราในฐานะที่เป็นบุคลากรทางสาธารณสุข สามารถช่วยอะไรเขาได้บ้าง แล้วถ้าเราเป็นอย่างเขาเราจะทนมีชีวิตอยู่ได้อย่างไร คำาถาม ประโยคนี้มันวนเวียนอยู่ในใจเราตลอดที่อาณัติมาเป็นคนไข้ที่ตึกศัลยกรรมอุบัติเหตุชาย อ�ณัติ เข้ามารักษาในโรงพยาบาลวันที่ 24 พฤษภาคม 2552 ด้วยอุบัติเหตุ ถูกไฟฟ้าแรงสูง ช็อตอย่างรุนแรง ขณะกำาลังช่วยบิดาซึ่งเป็นผู้รับเหมาก่อสร้างทาสีผนัง ตึกอยู่ จากการที่ไฟช็อตทำาให้หม้อไฟระเบิดอย่างรุนแรงดันร่างอาณัติลอยขึ้นบนอากาศ แล้วตกลงมาอย่างแรง ช่วงแรก ๆ เกือบหายใจไม่ออกมันแน่นหน้าอกไปหมด ต่อมาพ่อ และเพื่อน ๆ ช่วยกันปฐมพยาบาลและนำาส่งโรงพยาบาลชุมชนสามชุก ก่อนที่จะส่งตัว มาที่โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช ทันที ที่เห็นอาณัติ เราถึงกับคิดในใจว่า เขารอดชีวิตมาได้อย่างไร และถ้าเขา รอดเขาจะสามารถมีชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างไร เนื่องจากบาดแผลที่เห็นมันรุนแรงมาก เป็นบาดแผลไหม้ระดับ 3 ที่บริเวณแขน 2 ข้างและขาขวา มีกลิ่นไหม้รุนแรง มือ 2 ข้าง หงิกปลายเล็บจิกเข้าไปในเนื้อ แขนเกร็งงอเข้าหาลำาตัว ปลายเท้าขวาเป็นรอยไหม้เกรียม แข็งด้าน แต่เขาไม่ร้องปวด มีแต่ คราบน้ำาตาที่ซึมออกมาเวลาไม่มีใครเห็น ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี 27
  • 28. เฟิร์น ภรรยาสาววัย 19 ปี ที่กำาลังตั้งครรภ์ได้ 7 เดือน เธอเล่าให้ฟังด้วย สีหน้าเศร้า น้ำาตาคลออยู่ตลอดเวลาว่า เธอและอาณัติพบกันที่ตลาดร้อยปีสามชุก ซึ่ง ต้องผ่านร้านที่เฟิร์นขายขนมจีบ ซาลาเปาอยู่ เมื่อมีความผูกพันกัน ก็เกิดเป็นความรัก จนในที่สุดก็ตกลงใจมาสร้างครอบครัวด้วยกัน และในวันเกิดเหตุ เฟิร์นซึ่งบางครั้งก็ต้อง ไปช่วยอาณัติทำางานแต่ในวันนั้นต้องทำาความสะอาดอยู่ที่บ้าน ขณะทำาความสะอาดอยู่นั้น อยู่ ๆ รูปพระก็ตกลงมากับพื้น ซึ่งเฟิร์นก็คิดในใจว่ามันต้องเป็นลางบอกเหตุอะไรสักอย่าง แล้วมันก็เกิดขึ้นเมื่อมีคนแจ้งข่าวว่าอาณัติถูกไฟฟ้าแรงสูงช็อตอยู่โรงพยาบาล เจ้าพระยายมราช เธอจึงรีบมาหาอาณัติด้วยความกังวลในใจคิดไปต่าง ๆ นา ๆ ตอนนั้น เธอตั้งครรภ์ได้ 3 เดือน ได้แต่ภาวนาว่าอย่าให้อาณัติเป็นอะไรร้ายแรงเลย แต่ภาพที่ ปรากฏต่อหน้าก็คือภาพที่สามีสุดที่รักนอนอยู่บนเตียงโรงพยาบาล มีสายต่าง ๆ ระโยง ระยางเต็มไปหมด ยิ่งเห็นแขน ขา ที่ไหม้เกรียมยิ่งทำาร้ายจิตใจเธอมาก แต่ในใจเธอ คิดเพียงว่าขอให้อาณัติมีชีวิตอยู่ก็เพียงพอแล้ว เธอเฝ้าดูพยาบาลทำาแผลอาณัติอยู่อย่าง เจ็บปวด แต่อาณัติไม่เคยปริปากร้องเลย ผ่านการทำาแผลไปทุกๆ วัน เธอก็เริ่มสังเกต ได้ว่าเนื้อที่สุกเริ่มมีกลิ่นเหม็นเน่า เนื้อบริเวณข้อมือและขาขวา เหนือบริเวณที่ไหม้เริ่มแห้งและลีบลง จึงเริ่มทำาใจไว้บ้าง จนกระทั่งแพทย์ได้เรียกเธอ และบิดาของอาณัติมาคุยถึงการจำาเป็นต้องตัดแขนขา เพื่อรักษาชีวิตอาณัติเอาไว้ ตอน นั้นใจเธอแทบแตกสลายนึกไปต่าง ๆ นานา แต่ที่ทำาให้ทุกข์ใจมากที่สุดคือการที่จะต้อง บอกกับอาณัติว่าจะเกิดอะไรขึ้น แต่ก็ได้พี่พยาบาลมาช่วยพูดปลอบและให้กำาลังใจอาณัติ ในการที่จะต้องตัดสินใจครั้งสำาคัญที่สุดในชีวิต และอาณัติก็ทำาได้ดี เขาสามารถยอมรับ สิ่งที่จะเกิดขึ้น และการที่จะต้องเผชิญกับปัญหาที่จะตามมา โดยคิดเพียงว่าขอให้มีชีวิต อยู่เพื่ออยู่ดูหน้าลูกที่กำาลังจะเกิดมา ในทีสดอาณัตกกลายเป็นชายหนุมพิการเพราะต้องตัดแขน 2 ข้างและขาขวาไป ุ่ ิ็ ่ ความเจ็บปวดและความปวดร้าวทำาให้อาณัตเศร้า ซึม เก็บตัว ไม่คอยพูดกับใคร ิ ่ 28 ชมรมจริยธรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี