SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 8
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ใบงานที่ ๑ กลุ่มของเราชื่อ………………………………………. 
รายวิชา ภาษาไทย ท ๓๑๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๓ โรงเรียนประชาบารุง 
คาชี้แจง 
๑. ให้นักเรียนรวมกลุ่มกันกลุ่มละ ๔-๕ คน 
๒. สมาชิกในกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่มและตาแหน่งต่างๆ ดังนี้ 
- หัวหน้า ชื่อ……………………….……………….ชั้น………เลขที่…… 
- รองหัวหน้า ชื่อ……………………………….……….ชั้น………เลขที่…… 
- เลขานุการ ชื่อ………………………………………..ชั้น………เลขที่…… 
- กรรมการ ชื่อ…………………….………………….ชั้น………เลขที่…… 
- กรรมการ ชื่อ………………………………..……….ชั้น………เลขที่…… 
- กรรมการ ชื่อ………………………………..……….ชั้น………เลขที่…… 
๓. ช่วยกันคิดชื่อกลุ่มของตนเองให้เหมาะสม สอดคล้องกับสมาชิกในกลุ่มและแสดงเอกลักษณ์ของกลุ่มตน โดยให้เลือก จากสานวนที่เห็นว่าเหมาะสม 
สมาชิกมติร่วมกันให้ตั้งชื่อกลุ่มว่า……………………………………………………………………….. 
๔. แนวปฏิบัติของสมาชิกในกลุ่มทุกคน 
- สมาชิกทุกคนมีสิทธิและหน้าที่ที่จะแสดงความคิดเห็นและจะยอมรับในความคิดเห็น 
ของกันและกัน 
- ทุกความคิดของสมาชิกไม่มีของใครผิดและจะได้รับการพิจารณาจากกลุ่ม 
- ความคิดที่แตกต่างๆ กันถือเป็นเรื่องธรรมดา 
- การขัดแย้งทางความคิดจะนาไปสู่การพัฒนาที่ขึ้น จะใช้เหตุผลเพื่อหาข้อยุติ 
- หัวหน้ากลุ่มมีสิทธิเด็ดขาดที่จะทาหน้าที่ควบคุมสมาชิกในกลุ่มและยุติข้อโต้แย้งต่างๆ 
- สมาชิกทุกคนมีหน้าที่ที่จะช่วยเหลือกันให้งานต่างๆ ที่ได้รับมอบหมายให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี จะไม่ เกี่ยงให้ใครคนใดคนหนึ่งทาอยู่เพียงคนเดียว 
- สมาชิกในกลุ่มทุกคน มีส่วนในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ให้คาปรึกษาและช่วยกันเพื่อให้แต่ ละเกิดการเรียนรู้ตามศักยภาพของแต่ละคน 
- และ…………………………………………………………………………… 
- ………………………………………………………………………………... 
- ………………………………………………………………………………... 
- สมาชิกทุกคนขอสัญญาว่าจะปฏิบัติตามแนวปฏิบัติข้างต้น
ใบงานที่ ๒ สรรสาระจากสานวนไทย 
รายวิชา ภาษาไทย ท ๓๑๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๓ โรงเรียนประชาบารุง 
กลุ่มที่…………ชื่อกลุ่ม…………………………..………………………………. 
คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ เรื่อง สานวนไทย แล้วตอบคาถามต่อไปนี้ 
๑.สานวนไทย หมายถึง……………………………………………………………………………………………................... 
………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 
๒.สานวนไทยมีลักษณะเด่นอย่างไร……………………………………………………………….…………………………. 
………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 
๓.สานวนไทยมีคุณค่าด้านใดบ้าง…………………………………………………………………………………………….. 
………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 
๔.สานวนไทยเกิดจากอะไรบ้าง…………………………………………………………………….…………………………. 
………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………….
ใบงานที่ ๓ ล่าสานวนจากบทความ 
รายวิชา ภาษาไทย ท๓๑๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๓ โรงเรียนประชาบารุง 
กลุ่มที่…………ชื่อกลุ่ม…………………………..………………………………. 
คาชี้แจง ให้นักเรียนฟังบทความ เรื่อง การเป็นคนดี แล้วระบุว่าในบทความนั้น มีสานวนอะไรบ้าง โดยเขียนสานวน เหล่านั้น ลงในใบงานนี้ 
.……………………………………………………………………………………………………………………… 
.……………………………………………………………………………………………………………………… 
.……………………………………………………………………………………………………………………… 
.……………………………………………………………………………………………………………………… 
.……………………………………………………………………………………………………………………… 
.……………………………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………………………… 
.……………………………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………………………… 
.……………………………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………………………… 
.……………………………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………………………… 
.……………………………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………………………… 
.……………………………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………………………… 
.……………………………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………………………… 
.……………………………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………………………
ใบงานที่ ๔ สานวนดีมีความหมาย 
รายวิชา ภาษาไทย ท๓๑๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๓ โรงเรียนประชาบารุง 
กลุ่มที่…………ชื่อกลุ่ม…………………………..………………………… 
คาชี้แจง ให้นักเรียนค้นหาความหมายของสานวนต่อไปนี้ 
๑.คนดีผีคุ้ม หมายถึง………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………………………. 
………………………………………………………………………………………………………………………. 
………………………………………………………………………………………………………………………. 
………………………………………………………………………………………………………………………. 
๒.ผ่อนสั้นผ่อนยาวหมายถึง…………………………………………………………………….…………………… 
……………………………………………………………………………………………………………………….. 
……………………………………………………………………………………………………………………….. 
……………………………………………………………………………………………………………………….. 
……………………………………………………………………………………………………………………….. 
๓.ชิงสุกก่อนห่าม หมายถึง…………………………………………………………………………………………... 
……………………………………………………………………………………………………………………….. 
……………………………………………………………………………………………………………………….. 
……………………………………………………………………………………………………………………….. 
……………………………………………………………………………………………………………………….. 
๔.ลางเนื้อชอบลางยา หมายถึง ……….…………………………………………………………………………….. 
……………………………………………………………………………………………………………………….. 
……………………………………………………………………………………………………………………….. 
……………………………………………………………………………………………………………………….. 
……………………………………………………………………………………………………………………….. 
๕.ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน หมายถึง …………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………………………….. 
……………………………………………………………………………………………………………………….. 
……………………………………………………………………………………………………………………….. 
………………………………………………………………………………………………………………………..
สื่อการเรียน บทความ เรื่อง การเป็นคนดี 
รายวิชา ภาษาไทย ท ๓๑๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๓ โรงเรียนประชาบารุง 
บทความ เรื่อง การเป็นคนดี 
สวัสดีทุกคน วันนี้เรามาพูดกันเรื่อง การเป็นคนดี ความดีเป็นสิ่งที่เราทุกคนควรกระทา มีคนกล่าวว่า คนดีผีคุ้ม ไปอยู่ที่ไหนใครๆ ก็รัก และยังมีสานวนบทหนึ่งว่า รักดีหามจั่ว รักชั่วหามเสา หมายความว่า คนที่ ประพฤติดี ขยันหมั่นเพียรย่อมได้ทางานที่ดี และสบายกว่าคนที่มีความประพฤติไม่ดีและเกียจคร้าน 
การที่เราจะเป็นคนดีได้ มีองค์ประกอบหลายอย่าง เช่น คบเพื่อนดี เพราะเพื่อนมีอิทธิพลต่อชีวิตเรามาก การเลือกคบเพื่อนจึงมีความสาคัญ ดั่งสุภาษิตที่ว่า คบคนพาลพาลพาไปหาผิด คบบัณฑิตบัณฑิตพาไปหาผล และต้องมีความมานะอดทนในการทางาน โดยยึดคติที่ว่า ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสาเร็จอยู่ที่นั่น ซึ่งต้อง รู้จักอดออม มีความซื่อตรงดังสานวนว่า ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน นอกจากนี้การเป็นคนดีนั้น ต้อง แสดงออกทั้งด้านความประพฤติ และวาจาด้วย ดังคากล่าวที่ว่า สาเนียงส่อภาษา วาจาส่อสกุล 
@@@@@@@@@@@@ 
หมายเหตุ เป็นบทความที่ให้นักเรียนฟัง แล้วระบุสานวนที่ปรากฏในบทความ 
ซึ่งสานวนก็คือ ข้อความที่ขีดเส้นใต้ มีทั้งหมด ๖ สานวน คือ 
๑.คนดีผีคุ้ม 
๒.รักดีหามจั่ว รักชั่วหามเสา 
๓.คบคนพาลพาลพาไปหาผิด คบบัณฑิตบัณฑิตพาไปหาผล 
๔.ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสาเร็จอยู่ที่นั่น 
๕.ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน 
๖.สาเนียงส่อภาษา วาจาส่อสกุล
ใบความรู้ เรื่อง สานวนไทย 
ความหมายของสานวนไทย 
สานวนไทย เป็นคารวมที่ใช้เรียก กลุ่มคาที่เรียบเรียงขึ้น เพื่อให้มีความเฉพาะโดยหวังมุ่งหมายให้ผู้รับสาร ตีความเข้า กับเรื่องราวที่ผู้ส่งสารต้องการ สานวนไทยประกอบด้วย 
๑.สานวน หมายถึง การใช้ถ้อยคาคมคาย ผูกเข้าเป็นประโยคหรือวลี เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบเปรียบเปรย สานวน มักจะมีที่มาแตกต่างๆ กันออกไป และสามารถนาไปใช้ในสถานการณ์ที่แตกต่างกันไป 
๒.สุภาษิต หมายถึง คากล่าวที่ดี มีคติควรฟัง เป็นไปในทางสั่งสอน ทั้งในแง่ให้ประพฤติปฏิบัติตามและให้ละเว้น ไม่ให้ประพฤติปฏิบัติ 
๓.คาพังเพย หมายถึง ถ้อยคาที่เป็นไปในการกล่าว เสียดสี ประชดประชัน แฝงความหมายเชิงติชม เป็นคติ เตือนใจ ซึ่งสะกิดใจให้คิดในบางครั้งบางคราว 
๔.คาอุปมาอุปไมย หมายถึง คากล่าวเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งกับสิ่งหนึ่ง เพื่อให้มีความหมายที่ครอบคลุมโดยไม่ต้อง อธิบายหรือกล่าวข้อความยาวๆ แต่กล่าวเป็นเพียงอุปมาเพียงสั้นๆ ก็สามารถให้ความหมายที่ชัดเจนเป็นรูปธรรมเข้าใจง่าย 
เมื่อพิจารณาความหมายของ “ สานวน , สุภาษิต , คาพังเพย , และ คาอุปมาอุปไมย” แล้วจะเห็นว่ามีลักษณะคล้ายกัน มาก จะแยกออกจากกันได้ยาก บางที่การแยกออกจากกันยิ่งทาให้สับสนมากขึ้น เพราะไม่รู้ว่าอะไรเป็นอะไร เมื่อเป็นเช่นนี้ จึงมีความคิดว่า น่าจะเรียกทั้งหมดรวมกันว่า “สานวนไทย” เพื่อให้ง่ายต่อการศึกษา 
แหล่งกาเนิดของสานวนไทย สานวนเป็นเรื่องสาคัญเรื่องหนึ่งของภาษาไทย เพราะเป็นคาพูดที่กลั่นกรองขึ้น เพื่อความสละสลวยของ ภาษาเป็นถ้อยคาที่คมคายกว่าคาพูดธรรมดา เป็นคาพูดที่รวมใจรวมความยาวๆให้สั้นลงได้ ก็จะทาให้ผู้ฟังสามารถเข้าใจ ง่ายๆ ฉะนั้นการศึกษาถ้อยคาประเภทนี้ไว้ เพื่อใช้ให้ถูกต้องเหมาะสมกับเนื้อเรื่องที่จะพูดจึงมีความจาเป็น สานวนที่เรา ใช้กันในภาษาไทยนั้น ถ้าเราพิจารณาดูจะเห็นว่ามีมูลเหตุที่เกิดแตกต่างกันซึ่ง พอสรุปได้ดังนี้ 
๑.) เกิดจากธรรมชาติ เช่นตื่นแต่ไก่โห่ลูกไม้หล่นไม่ไกลต้น ปลาหมอตายเพราะปาก แมลงเม่าบินเข้ากองไฟ 
๒.) เกิดจากการกระทา เช่น แกว่งเท้าหาเสี้ยน ปลูกเรือนคร่อมตอ พายเรือคนละที ชุบมือเปิบ ปากว่ามือถึง 
๓.) เกิดจากศาสนา เช่น ขนทรายเข้าวัด ตักบาตรถามพระ คว่าบาตร ผ้าเหลืองร้อน แพ้เป็นพระ ชนะเป็นมาร เป็นต้น ๔.) เกิดจาก นิยาย นิทาน ตานาน และ พงศวดาร เช่น ลูกทรพี ปากพระร่วง กระต่ายตื่นตูม เห็นกงจักรเป็นดอกบัว 
๕.) เกิดจากแบบแผนประเพณีและความเชื่อ เช่นผีซ้าด้าพลอย กงกากงเกวียน กระดูกร้องไห้ กรรมตามทัน 
๖.) เกิดจากอุบัติเหตุ เช่น ตกกระไดพลอยโจน ตกน้าไม่ไหลตกไฟไม่ไหม้ ดับไฟต้นลม เป็นต้น 
๗.) เกิดจากการละเล่นหรือกีฬา เช่น รุกฆาต ไม่ดูตาม้าตาเรือ เข้าตาจน ไก่รองบ่อน เป็นต้น 
๘.) เกิดจากความประพฤติ เช่น หาเช้ากินค่า กินข้าวร้อนนอนตื่นสาย ตาข้าวสารกรอกหม้อ เป็นต้น 
๙.) เกิดจากอวัยวะ เช่น เส้นใหญ่ ตาเหลือง ตีนแมว ปากบอน ตีนเท่าฝาหอย หัวหกก้นขวิด เป็นต้น 
ลักษณะของสานวน สานวนไทยไม่ว่าจะเป็นสานวนทั่วไป สุภาษิตหรือคาพังเพยล้วนมีความไพเราะสละสลวยอยู่ในตัว ถ้อยคาที่นามา เรียบเรียงเป็นสานวน มักใช้คาที่คล้องจองกัน ฟังดูเหมือนกับบทร้อยกรอง หรือบทเพลง เช่น การกินการอยู่ใครไม่สู้พ่อ การพ่ายการถ่อพ่อไม่สู้ใคร น้ามาปลากินมดน้าลดมดกินปลา เป็นต้น ธรรมชาติของภาษาไทย เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ หรือมี"ระดับเสียง" คือมีเสียงสูงเสียงต่า เป็นระดับเหมือน
เสียงดนตรี ดังนั้นเมื่อเวลาพูด คนที่มาจาก ภาษาที่ไม่มีระดับเสียง เขาจึงฟังภาษาของเราว่าคล้ายกับภาษาเสียงดนตรี คือมี เสียงสูง เสียงต่าหลายระดับ ซึ่งแตกต่างจากภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาอังกฤษ เป็นต้น ในภาษาอังกฤษ เขาไม่มีวรรณยุกต์บอก ระดับเสียงสูงเสียงต่า เขาจึงใช้การเน้นพยางค์ในคา หรือเน้นคาในประโยคเพื่อให้เกิดความเข้าใจ ฝรั่งใช้การพูดของเขา เช่นนั้น ดังนั้นเวลาที่เราจะพูดภาษาอังกฤษ เราจาเป็นต้องเลิกนึกถึงเสียงสูงเสียงต่า แล้วคิดถึงแต่การเน้นคาเน้นพยางค์ แทน จึงจะพูดกับเขารู้เรื่อง 
การพูดภาษาไทยนั้น ไม่ได้ใช้คาคล้องจองเพื่อความไพเราะเพราะพริ้งอยู่เฉพาะเพียงสานวนเท่านั้น แม้ในการพูดจา ปรกติธรรมดาทั่วไป คนไทยสมัยก่อนก็มักจะใช้คาคล้องจองโดยการเติมสร้อยคาเข้าไป เช่น เมื่อต้องการพูดคาว่า "บ้าน" ก็ พูดว่า บ้านช่อง หรือ บ้านช่องห้องหอ ฯลฯ ลักษณะการพูดแบบนี้เป็นการพูดปกติวิสัยของคนทั่วไป แต่ในปัจจุบัน ลักษณะ การพูดแบบนี้ได้ลดน้อยลงและสูญหายไปเกือบหมดแล้ว ยังอาจพบได้บ้างตามหมู่บ้านในชนบท ซึ่งน่าเสียดายเป็นอย่างยิ่ง สมัยก่อนเมื่อได้ฟังคนเฒ่าคนแก่นั่งคุยกัน ทาให้รู้สึกว่าฟังไม่น่าเบื่อ ไม่ใช่เพราะว่าคนแก่เหล่านั้นพูดเสียงอ่อนเสียงหวาน แต่ ท่านพูดกันด้วยถ้อยคาสานวนแบบไทยๆ ฟังรื่นหูกว่าภาษาใดๆในโลกนี้ หากพวกเราช่วยกันอนุรักษ์เอาไว้ให้อยู่ยืนยาวไปได้ ก็เสมือนหนึ่งเราได้ช่วยกันรักษาเอกลักษณ์ความเป็นไทย ซึ่งเป็นส่วนสาคัญเอาไว้ได้นั้นเอง ชาติไทยเราก็คงจะไม่ถูกกลืนโดย วัฒนธรรมของต่างชาติเป็นแน่ คุณค่าของสานวน ๑.) เป็นเครื่องอบรมสั่งสอนและชี้แนะให้เป็นคนดี - ในด้านความรัก : คนเดียวหัวหาย สองคนเพื่อนตาย, น้าพึ่งเสือพึ่งป่า - ในด้านการศึกษาอบรม : ฝนทั่งให้เป็นเข็ม, สิบรู้ไม่เท่าชานาญ - ในการพูดจา : พูดดีเป็นศรีแก่ตัว พูดชั่วอัปราชัย ,พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตาลึงทอง ๒.) สานวนไทยช่วยสะท้อนให้เห็นความคิด ความเชื่อในสังคมไทย - ความเคารพนอบน้อมผู้ใหญ่ เช่น เดินตามผู้ใหญ่หมาไม่กัด - ความเชื่อเกี่ยวกับเรื่อกรรม เช่น ทาดีได้ดี ทาชั่วได้ชั่ว - ความเชื่อเกี่ยวกับการปกครอง เช่น บ้านเมืองมีขื่อมีแป - ความเชื่อเกี่ยวกับเกียรติยศชื่อเสียง เช่น ชาติเสือต้องไว้ลาย ชาติชายต้องไว้ชื่อ ๓.) สะท้อนให้เห็นถึงภาวะความเป็นอยู่ - เกี่ยวกับเศรษฐกิจและการครองชีพ เช่น เสียน้อยเสียยาก เสียมากเสียง่าย - เกี่ยวกับการทามาหากิน เช่น น้าขึ้นให้รีบตัก ๔.) ชี้ให้เห็นว่าคนไทยรักธรรมชาติเกี่ยวพันกันอย่างแยกไม่ออก จึงได้นาเอาลักษณะธรรมชาติสัตว์ ต้นไม้ ฯลฯ มาตั้งเป็น สุภาษิต คาพังเพย และสานวนต่างๆ 
๕.) การศึกษาสานวนต่างๆ ช่วยทาให้เราใช้ภาษาได้ถูกต้องและสละสลวย ไม่ต้องใช้คาพูดที่เยิ่นเย้อยืดยาว แต่สามารถ เรียกร้องความสนใจจากผู้อ่านได้มาก นอกจากนั้นการศึกษาสุภาษิต คาพังเพย และสานวนของภาคต่างๆ ทาให้เราได้เรียนรู้ ภาษาถิ่นไปด้วยในตัว 
๖.) การเรียนรู้เรื่องสุภาษิต คาพังเพย และสานวนต่างๆ เป็นการสืบต่อวัฒนธรรมของชาติเอาไว้มิให้สูญหาย และเกิดความ ภูมิใจที่บรรพชนได้คิดสร้างสิ่งเหล่านี้ไว้แก่เรา @@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@
สื่อการเรียน นิทานสุภาษิต เรื่อง คดในข้องอในกระดูก 
รายวิชา ภาษาไทย ท ๓๑๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๓ โรงเรียนประชาบารุง 
คดในข้องอในกระดูก 
ครั้งหนึ่งนานมาแล้ว มีกระทาชายหนุ่มสองนายคบหาเป็นเพื่อนสนิทกันมาเนิ่นนานกาลเวลา อายุอานามไล่เลียง เคียงกันคนละยี่สิบกว่าๆ รูปร่างสูงต่าพอๆ กันอีกด้วย หน้าตาพอไปวัดตอนสายๆ ได้ 
ทั้งสองมีชื่อว่านายมิตรกับนายซื่อ คนหลังนั้นมีนิสัยสมชื่อเพราะซื่อจนเซ่อไว้วางใจเพื่อนทุกอย่าง ส่วนนายมิตร นั้น มีความเป็นมิตรเฉพาะชื่อและต่อหน้าเท่านั้น แต่เบื้องหลังเป็นคนมีเล่ห์เหลี่ยม ขี้โกงมะโรงมะเส็งอย่างไม่เอาไหนเลย ที่เดียว แต่ทั้งสองก็คบกันได้ เพราะนายซื่อไม่เคยระแวงเพื่อน 
นายมิตรนั้นเต็มใจคบกับนายซื่อ เพราะเอาเปรียบได้ทุกทางโดยที่นายซื่อไม่เคยใส่ใจ ปล่อยให้นายมิตรโกงเอาๆ แต่ ฝ่ายเดียว 
วันหนึ่งทั้งสองเข้าป่าหาสมุนไพรด้วยกัน มีย่ามไปคนละใบอันว่านายซื่อนั้นเก่งทางคัดหาสมุนไพร ว่าอันไหน รักษาโรคอะไรบ้าง ส่วนนายมิตรไม่มีความรู้เรื่องสมุนไพรเลย คอยแต่ทาและเก็บตามนายซื่อ 
“สมุนไพรอย่างนี้รักษาไข้ป่าได้ชะงัดนัก บ้านเรามีคนเป็นไข้ป่ามาก ช่วยกันค้นหาสมุนไพรชนิดนี้เถอะ จะได้เอา ไปขายพวกชาวบ้านได้” นายซื่อบอกนายมิตร 
นายซื่อก้มหน้าก้มตาขุด นายมิตรก็จะแอบล้วงสมุนไพรจากย่ามของเพื่อน มาใส่ยามของตน นายซื่อใส่ไปสองชิ้นก็ หยิบมาใส่ยามตัวเสียชิ้นหนึ่ง ถ้านายซื่อใส่ย่ามของตัวเองสามชิ้น นายมิตรก็จะล้วงออกมาใส่ยามตนเสียสองชิ้น ไม่ช้ายาม ของนายมิตรก็เต็มก่อน แล้วไปนั่งรอนายซื่อเก็บจนเต็มย่าม จึงชวนกันกลับ 
มีชาวบ้านหลายคนพากันมาซื้อสมุนไพรหรือว่านรักษาไข้ป่า จากนายมิตรและนายซื่อ นายมิตรนั้นขายอยู่หัว หมู่บ้าน ส่วนนายซื่ออยู่ท้ายโด่งขายได้น้อยกว่า นายมิตรจึงขายสมุนไพรได้หมดก่อนแถมยังอวดอ้างว่าเป็นสมุนไพรหรือ ว่านดีกว่าของนายซื่อ ชาวบ้านหลงเชื่อ เพราะรู้กันว่าทั้งสองคนเป็นเพื่อนสนิทและรักกันมาก 
เมื่อนายมิตรขายสมุนไพรหมดแล้ว ความโลภยังมีในสันดานจึงไปขอยืมสมุนไพรนายซื่อมาขาย อ้างว่าจะนาไปช่วย ขายให้ นายซื่อเป็นคนรักเพื่อนจึงไม่หวาดระแวงแต่อย่างใดให้ไปแต่โดยดี นายมิตรขายได้หมดในเวลาอันรวดเร็วแล้วนา เงินไปให้นายซื่อ นายซื่อเห็นว่าเงินขาดไปมากจึงสอบถามดุ แต่นายมิตรก็ยืนยันว่าขายได้เท่านั้นจริงๆ นายซื่อก็ไม่ว่าอะไร 
ความจริงนายซื่อรู้ว่านายมิตรยักยอกเงินเอาไว้เสียส่วนหนึ่ง 
นายซื่อเมื่อรู้ว่าเพื่อนไม่ซื่อ จึงพยายามปลีกตัวออกห่าง ไม่อยากคบหาสมาคมด้วย เมื่อนายมิตรมาชวนเข้าป่าไปหา ว่านสมุนไพรอีกก็ปฏิเสธไม่ยอมไป เพราะความโลภอยากได้เงิน นายมิตรจึงต้องไปคนเดียว ด้วยความที่ไม่มีความรู้เรื่องว่าน สมุนไพร นายมิตรลองกินว่านสมุนไพรพิษเข้า จนถึงแก่ความตายอยู่ในป่านั่นเอง 
ความเป็นคนคดในข้องอในกระดูก ของนายมิตรผลกรรมได้ตอบสนองเขาแล้วในที่สุด.

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษแบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษสมใจ จันสุกสี
 
๒.๓ แนวข้อสอบสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวี
๒.๓ แนวข้อสอบสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวี๒.๓ แนวข้อสอบสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวี
๒.๓ แนวข้อสอบสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
คำควบกล้ำ
คำควบกล้ำคำควบกล้ำ
คำควบกล้ำAunop Nop
 
Ep open house2012-english skills competition
Ep open house2012-english skills competitionEp open house2012-english skills competition
Ep open house2012-english skills competitionPaksorn Runlert
 
เล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareเล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareNumuk
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)Petsa Petsa
 
Writing Lesson Plan
Writing Lesson PlanWriting Lesson Plan
Writing Lesson Plannam2534
 
ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนParichart Ampon
 
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
ชุดฝึกอ่านเร็ว สำหรับนักเรียนสอนพิเศษ2
ชุดฝึกอ่านเร็ว สำหรับนักเรียนสอนพิเศษ2ชุดฝึกอ่านเร็ว สำหรับนักเรียนสอนพิเศษ2
ชุดฝึกอ่านเร็ว สำหรับนักเรียนสอนพิเศษ2โรงเรียน บ้านคูสระ
 
แบบฝึกเขียน Clothes
แบบฝึกเขียน  Clothesแบบฝึกเขียน  Clothes
แบบฝึกเขียน Clothesjomthab
 
ชุดฝึกอ่านเร็วสำหรับนักเรียน
ชุดฝึกอ่านเร็วสำหรับนักเรียนชุดฝึกอ่านเร็วสำหรับนักเรียน
ชุดฝึกอ่านเร็วสำหรับนักเรียนPhongsit Akabut
 
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียนใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียนtassanee chaicharoen
 
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
การใช้คำสำหรับพระสงฆ์
การใช้คำสำหรับพระสงฆ์การใช้คำสำหรับพระสงฆ์
การใช้คำสำหรับพระสงฆ์พัน พัน
 

Was ist angesagt? (20)

แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๒
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๒แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๒
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๒
 
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษแบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
 
๒.๓ แนวข้อสอบสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวี
๒.๓ แนวข้อสอบสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวี๒.๓ แนวข้อสอบสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวี
๒.๓ แนวข้อสอบสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวี
 
คำควบกล้ำ
คำควบกล้ำคำควบกล้ำ
คำควบกล้ำ
 
Ep open house2012-english skills competition
Ep open house2012-english skills competitionEp open house2012-english skills competition
Ep open house2012-english skills competition
 
เล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareเล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshare
 
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
 
Thai005
Thai005Thai005
Thai005
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
 
Writing Lesson Plan
Writing Lesson PlanWriting Lesson Plan
Writing Lesson Plan
 
Ppp+มิ้น+..
Ppp+มิ้น+..Ppp+มิ้น+..
Ppp+มิ้น+..
 
ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอน
 
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
 
ชุดฝึกอ่านเร็ว สำหรับนักเรียนสอนพิเศษ2
ชุดฝึกอ่านเร็ว สำหรับนักเรียนสอนพิเศษ2ชุดฝึกอ่านเร็ว สำหรับนักเรียนสอนพิเศษ2
ชุดฝึกอ่านเร็ว สำหรับนักเรียนสอนพิเศษ2
 
แบบฝึกเขียน Clothes
แบบฝึกเขียน  Clothesแบบฝึกเขียน  Clothes
แบบฝึกเขียน Clothes
 
ชุดฝึกอ่านเร็วสำหรับนักเรียน
ชุดฝึกอ่านเร็วสำหรับนักเรียนชุดฝึกอ่านเร็วสำหรับนักเรียน
ชุดฝึกอ่านเร็วสำหรับนักเรียน
 
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียนใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
 
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
การใช้คำสำหรับพระสงฆ์
การใช้คำสำหรับพระสงฆ์การใช้คำสำหรับพระสงฆ์
การใช้คำสำหรับพระสงฆ์
 
3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator
 

Ähnlich wie ใบความรู้เรื่องสำนวนไทย

Reading lesson plan
Reading lesson planReading lesson plan
Reading lesson planBelinda Bow
 
ข้อมูลส่วนตัว
ข้อมูลส่วนตัวข้อมูลส่วนตัว
ข้อมูลส่วนตัว0869481400
 
ข้อมูลส่วนตัว
ข้อมูลส่วนตัวข้อมูลส่วนตัว
ข้อมูลส่วนตัว0869481400
 
ข้อมูลส่วนตัว
ข้อมูลส่วนตัวข้อมูลส่วนตัว
ข้อมูลส่วนตัว0869481400
 
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่jintanasuti
 
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่jintanasuti
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
Turakarn report
Turakarn reportTurakarn report
Turakarn reportKruKaiNui
 
การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖
การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖
การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖Jaturapad Pratoom
 
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนคู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนKrooIndy Csaru
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาSophinyaDara
 

Ähnlich wie ใบความรู้เรื่องสำนวนไทย (20)

Reading lesson plan
Reading lesson planReading lesson plan
Reading lesson plan
 
ข้อมูลส่วนตัว
ข้อมูลส่วนตัวข้อมูลส่วนตัว
ข้อมูลส่วนตัว
 
ข้อมูลส่วนตัว
ข้อมูลส่วนตัวข้อมูลส่วนตัว
ข้อมูลส่วนตัว
 
ข้อมูลส่วนตัว
ข้อมูลส่วนตัวข้อมูลส่วนตัว
ข้อมูลส่วนตัว
 
เจาะลึกอาชีพแพทย์
เจาะลึกอาชีพแพทย์เจาะลึกอาชีพแพทย์
เจาะลึกอาชีพแพทย์
 
015
015015
015
 
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
 
Charter1
Charter1Charter1
Charter1
 
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
at1
at1at1
at1
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Turakarn report
Turakarn reportTurakarn report
Turakarn report
 
การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖
การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖
การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖
 
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนคู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
ธัญชนก
ธัญชนกธัญชนก
ธัญชนก
 
แผนที่3
แผนที่3แผนที่3
แผนที่3
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 

ใบความรู้เรื่องสำนวนไทย

  • 1. ใบงานที่ ๑ กลุ่มของเราชื่อ………………………………………. รายวิชา ภาษาไทย ท ๓๑๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๓ โรงเรียนประชาบารุง คาชี้แจง ๑. ให้นักเรียนรวมกลุ่มกันกลุ่มละ ๔-๕ คน ๒. สมาชิกในกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่มและตาแหน่งต่างๆ ดังนี้ - หัวหน้า ชื่อ……………………….……………….ชั้น………เลขที่…… - รองหัวหน้า ชื่อ……………………………….……….ชั้น………เลขที่…… - เลขานุการ ชื่อ………………………………………..ชั้น………เลขที่…… - กรรมการ ชื่อ…………………….………………….ชั้น………เลขที่…… - กรรมการ ชื่อ………………………………..……….ชั้น………เลขที่…… - กรรมการ ชื่อ………………………………..……….ชั้น………เลขที่…… ๓. ช่วยกันคิดชื่อกลุ่มของตนเองให้เหมาะสม สอดคล้องกับสมาชิกในกลุ่มและแสดงเอกลักษณ์ของกลุ่มตน โดยให้เลือก จากสานวนที่เห็นว่าเหมาะสม สมาชิกมติร่วมกันให้ตั้งชื่อกลุ่มว่า……………………………………………………………………….. ๔. แนวปฏิบัติของสมาชิกในกลุ่มทุกคน - สมาชิกทุกคนมีสิทธิและหน้าที่ที่จะแสดงความคิดเห็นและจะยอมรับในความคิดเห็น ของกันและกัน - ทุกความคิดของสมาชิกไม่มีของใครผิดและจะได้รับการพิจารณาจากกลุ่ม - ความคิดที่แตกต่างๆ กันถือเป็นเรื่องธรรมดา - การขัดแย้งทางความคิดจะนาไปสู่การพัฒนาที่ขึ้น จะใช้เหตุผลเพื่อหาข้อยุติ - หัวหน้ากลุ่มมีสิทธิเด็ดขาดที่จะทาหน้าที่ควบคุมสมาชิกในกลุ่มและยุติข้อโต้แย้งต่างๆ - สมาชิกทุกคนมีหน้าที่ที่จะช่วยเหลือกันให้งานต่างๆ ที่ได้รับมอบหมายให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี จะไม่ เกี่ยงให้ใครคนใดคนหนึ่งทาอยู่เพียงคนเดียว - สมาชิกในกลุ่มทุกคน มีส่วนในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ให้คาปรึกษาและช่วยกันเพื่อให้แต่ ละเกิดการเรียนรู้ตามศักยภาพของแต่ละคน - และ…………………………………………………………………………… - ………………………………………………………………………………... - ………………………………………………………………………………... - สมาชิกทุกคนขอสัญญาว่าจะปฏิบัติตามแนวปฏิบัติข้างต้น
  • 2. ใบงานที่ ๒ สรรสาระจากสานวนไทย รายวิชา ภาษาไทย ท ๓๑๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๓ โรงเรียนประชาบารุง กลุ่มที่…………ชื่อกลุ่ม…………………………..………………………………. คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ เรื่อง สานวนไทย แล้วตอบคาถามต่อไปนี้ ๑.สานวนไทย หมายถึง……………………………………………………………………………………………................... ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒.สานวนไทยมีลักษณะเด่นอย่างไร……………………………………………………………….…………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓.สานวนไทยมีคุณค่าด้านใดบ้าง…………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔.สานวนไทยเกิดจากอะไรบ้าง…………………………………………………………………….…………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………….
  • 3. ใบงานที่ ๓ ล่าสานวนจากบทความ รายวิชา ภาษาไทย ท๓๑๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๓ โรงเรียนประชาบารุง กลุ่มที่…………ชื่อกลุ่ม…………………………..………………………………. คาชี้แจง ให้นักเรียนฟังบทความ เรื่อง การเป็นคนดี แล้วระบุว่าในบทความนั้น มีสานวนอะไรบ้าง โดยเขียนสานวน เหล่านั้น ลงในใบงานนี้ .……………………………………………………………………………………………………………………… .……………………………………………………………………………………………………………………… .……………………………………………………………………………………………………………………… .……………………………………………………………………………………………………………………… .……………………………………………………………………………………………………………………… .……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… .……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… .……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… .……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… .……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… .……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… .……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… .……………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………
  • 4. ใบงานที่ ๔ สานวนดีมีความหมาย รายวิชา ภาษาไทย ท๓๑๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๓ โรงเรียนประชาบารุง กลุ่มที่…………ชื่อกลุ่ม…………………………..………………………… คาชี้แจง ให้นักเรียนค้นหาความหมายของสานวนต่อไปนี้ ๑.คนดีผีคุ้ม หมายถึง………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………. ๒.ผ่อนสั้นผ่อนยาวหมายถึง…………………………………………………………………….…………………… ……………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………….. ๓.ชิงสุกก่อนห่าม หมายถึง…………………………………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………….. ๔.ลางเนื้อชอบลางยา หมายถึง ……….…………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………….. ๕.ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน หมายถึง …………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………..
  • 5. สื่อการเรียน บทความ เรื่อง การเป็นคนดี รายวิชา ภาษาไทย ท ๓๑๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๓ โรงเรียนประชาบารุง บทความ เรื่อง การเป็นคนดี สวัสดีทุกคน วันนี้เรามาพูดกันเรื่อง การเป็นคนดี ความดีเป็นสิ่งที่เราทุกคนควรกระทา มีคนกล่าวว่า คนดีผีคุ้ม ไปอยู่ที่ไหนใครๆ ก็รัก และยังมีสานวนบทหนึ่งว่า รักดีหามจั่ว รักชั่วหามเสา หมายความว่า คนที่ ประพฤติดี ขยันหมั่นเพียรย่อมได้ทางานที่ดี และสบายกว่าคนที่มีความประพฤติไม่ดีและเกียจคร้าน การที่เราจะเป็นคนดีได้ มีองค์ประกอบหลายอย่าง เช่น คบเพื่อนดี เพราะเพื่อนมีอิทธิพลต่อชีวิตเรามาก การเลือกคบเพื่อนจึงมีความสาคัญ ดั่งสุภาษิตที่ว่า คบคนพาลพาลพาไปหาผิด คบบัณฑิตบัณฑิตพาไปหาผล และต้องมีความมานะอดทนในการทางาน โดยยึดคติที่ว่า ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสาเร็จอยู่ที่นั่น ซึ่งต้อง รู้จักอดออม มีความซื่อตรงดังสานวนว่า ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน นอกจากนี้การเป็นคนดีนั้น ต้อง แสดงออกทั้งด้านความประพฤติ และวาจาด้วย ดังคากล่าวที่ว่า สาเนียงส่อภาษา วาจาส่อสกุล @@@@@@@@@@@@ หมายเหตุ เป็นบทความที่ให้นักเรียนฟัง แล้วระบุสานวนที่ปรากฏในบทความ ซึ่งสานวนก็คือ ข้อความที่ขีดเส้นใต้ มีทั้งหมด ๖ สานวน คือ ๑.คนดีผีคุ้ม ๒.รักดีหามจั่ว รักชั่วหามเสา ๓.คบคนพาลพาลพาไปหาผิด คบบัณฑิตบัณฑิตพาไปหาผล ๔.ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสาเร็จอยู่ที่นั่น ๕.ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน ๖.สาเนียงส่อภาษา วาจาส่อสกุล
  • 6. ใบความรู้ เรื่อง สานวนไทย ความหมายของสานวนไทย สานวนไทย เป็นคารวมที่ใช้เรียก กลุ่มคาที่เรียบเรียงขึ้น เพื่อให้มีความเฉพาะโดยหวังมุ่งหมายให้ผู้รับสาร ตีความเข้า กับเรื่องราวที่ผู้ส่งสารต้องการ สานวนไทยประกอบด้วย ๑.สานวน หมายถึง การใช้ถ้อยคาคมคาย ผูกเข้าเป็นประโยคหรือวลี เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบเปรียบเปรย สานวน มักจะมีที่มาแตกต่างๆ กันออกไป และสามารถนาไปใช้ในสถานการณ์ที่แตกต่างกันไป ๒.สุภาษิต หมายถึง คากล่าวที่ดี มีคติควรฟัง เป็นไปในทางสั่งสอน ทั้งในแง่ให้ประพฤติปฏิบัติตามและให้ละเว้น ไม่ให้ประพฤติปฏิบัติ ๓.คาพังเพย หมายถึง ถ้อยคาที่เป็นไปในการกล่าว เสียดสี ประชดประชัน แฝงความหมายเชิงติชม เป็นคติ เตือนใจ ซึ่งสะกิดใจให้คิดในบางครั้งบางคราว ๔.คาอุปมาอุปไมย หมายถึง คากล่าวเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งกับสิ่งหนึ่ง เพื่อให้มีความหมายที่ครอบคลุมโดยไม่ต้อง อธิบายหรือกล่าวข้อความยาวๆ แต่กล่าวเป็นเพียงอุปมาเพียงสั้นๆ ก็สามารถให้ความหมายที่ชัดเจนเป็นรูปธรรมเข้าใจง่าย เมื่อพิจารณาความหมายของ “ สานวน , สุภาษิต , คาพังเพย , และ คาอุปมาอุปไมย” แล้วจะเห็นว่ามีลักษณะคล้ายกัน มาก จะแยกออกจากกันได้ยาก บางที่การแยกออกจากกันยิ่งทาให้สับสนมากขึ้น เพราะไม่รู้ว่าอะไรเป็นอะไร เมื่อเป็นเช่นนี้ จึงมีความคิดว่า น่าจะเรียกทั้งหมดรวมกันว่า “สานวนไทย” เพื่อให้ง่ายต่อการศึกษา แหล่งกาเนิดของสานวนไทย สานวนเป็นเรื่องสาคัญเรื่องหนึ่งของภาษาไทย เพราะเป็นคาพูดที่กลั่นกรองขึ้น เพื่อความสละสลวยของ ภาษาเป็นถ้อยคาที่คมคายกว่าคาพูดธรรมดา เป็นคาพูดที่รวมใจรวมความยาวๆให้สั้นลงได้ ก็จะทาให้ผู้ฟังสามารถเข้าใจ ง่ายๆ ฉะนั้นการศึกษาถ้อยคาประเภทนี้ไว้ เพื่อใช้ให้ถูกต้องเหมาะสมกับเนื้อเรื่องที่จะพูดจึงมีความจาเป็น สานวนที่เรา ใช้กันในภาษาไทยนั้น ถ้าเราพิจารณาดูจะเห็นว่ามีมูลเหตุที่เกิดแตกต่างกันซึ่ง พอสรุปได้ดังนี้ ๑.) เกิดจากธรรมชาติ เช่นตื่นแต่ไก่โห่ลูกไม้หล่นไม่ไกลต้น ปลาหมอตายเพราะปาก แมลงเม่าบินเข้ากองไฟ ๒.) เกิดจากการกระทา เช่น แกว่งเท้าหาเสี้ยน ปลูกเรือนคร่อมตอ พายเรือคนละที ชุบมือเปิบ ปากว่ามือถึง ๓.) เกิดจากศาสนา เช่น ขนทรายเข้าวัด ตักบาตรถามพระ คว่าบาตร ผ้าเหลืองร้อน แพ้เป็นพระ ชนะเป็นมาร เป็นต้น ๔.) เกิดจาก นิยาย นิทาน ตานาน และ พงศวดาร เช่น ลูกทรพี ปากพระร่วง กระต่ายตื่นตูม เห็นกงจักรเป็นดอกบัว ๕.) เกิดจากแบบแผนประเพณีและความเชื่อ เช่นผีซ้าด้าพลอย กงกากงเกวียน กระดูกร้องไห้ กรรมตามทัน ๖.) เกิดจากอุบัติเหตุ เช่น ตกกระไดพลอยโจน ตกน้าไม่ไหลตกไฟไม่ไหม้ ดับไฟต้นลม เป็นต้น ๗.) เกิดจากการละเล่นหรือกีฬา เช่น รุกฆาต ไม่ดูตาม้าตาเรือ เข้าตาจน ไก่รองบ่อน เป็นต้น ๘.) เกิดจากความประพฤติ เช่น หาเช้ากินค่า กินข้าวร้อนนอนตื่นสาย ตาข้าวสารกรอกหม้อ เป็นต้น ๙.) เกิดจากอวัยวะ เช่น เส้นใหญ่ ตาเหลือง ตีนแมว ปากบอน ตีนเท่าฝาหอย หัวหกก้นขวิด เป็นต้น ลักษณะของสานวน สานวนไทยไม่ว่าจะเป็นสานวนทั่วไป สุภาษิตหรือคาพังเพยล้วนมีความไพเราะสละสลวยอยู่ในตัว ถ้อยคาที่นามา เรียบเรียงเป็นสานวน มักใช้คาที่คล้องจองกัน ฟังดูเหมือนกับบทร้อยกรอง หรือบทเพลง เช่น การกินการอยู่ใครไม่สู้พ่อ การพ่ายการถ่อพ่อไม่สู้ใคร น้ามาปลากินมดน้าลดมดกินปลา เป็นต้น ธรรมชาติของภาษาไทย เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ หรือมี"ระดับเสียง" คือมีเสียงสูงเสียงต่า เป็นระดับเหมือน
  • 7. เสียงดนตรี ดังนั้นเมื่อเวลาพูด คนที่มาจาก ภาษาที่ไม่มีระดับเสียง เขาจึงฟังภาษาของเราว่าคล้ายกับภาษาเสียงดนตรี คือมี เสียงสูง เสียงต่าหลายระดับ ซึ่งแตกต่างจากภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาอังกฤษ เป็นต้น ในภาษาอังกฤษ เขาไม่มีวรรณยุกต์บอก ระดับเสียงสูงเสียงต่า เขาจึงใช้การเน้นพยางค์ในคา หรือเน้นคาในประโยคเพื่อให้เกิดความเข้าใจ ฝรั่งใช้การพูดของเขา เช่นนั้น ดังนั้นเวลาที่เราจะพูดภาษาอังกฤษ เราจาเป็นต้องเลิกนึกถึงเสียงสูงเสียงต่า แล้วคิดถึงแต่การเน้นคาเน้นพยางค์ แทน จึงจะพูดกับเขารู้เรื่อง การพูดภาษาไทยนั้น ไม่ได้ใช้คาคล้องจองเพื่อความไพเราะเพราะพริ้งอยู่เฉพาะเพียงสานวนเท่านั้น แม้ในการพูดจา ปรกติธรรมดาทั่วไป คนไทยสมัยก่อนก็มักจะใช้คาคล้องจองโดยการเติมสร้อยคาเข้าไป เช่น เมื่อต้องการพูดคาว่า "บ้าน" ก็ พูดว่า บ้านช่อง หรือ บ้านช่องห้องหอ ฯลฯ ลักษณะการพูดแบบนี้เป็นการพูดปกติวิสัยของคนทั่วไป แต่ในปัจจุบัน ลักษณะ การพูดแบบนี้ได้ลดน้อยลงและสูญหายไปเกือบหมดแล้ว ยังอาจพบได้บ้างตามหมู่บ้านในชนบท ซึ่งน่าเสียดายเป็นอย่างยิ่ง สมัยก่อนเมื่อได้ฟังคนเฒ่าคนแก่นั่งคุยกัน ทาให้รู้สึกว่าฟังไม่น่าเบื่อ ไม่ใช่เพราะว่าคนแก่เหล่านั้นพูดเสียงอ่อนเสียงหวาน แต่ ท่านพูดกันด้วยถ้อยคาสานวนแบบไทยๆ ฟังรื่นหูกว่าภาษาใดๆในโลกนี้ หากพวกเราช่วยกันอนุรักษ์เอาไว้ให้อยู่ยืนยาวไปได้ ก็เสมือนหนึ่งเราได้ช่วยกันรักษาเอกลักษณ์ความเป็นไทย ซึ่งเป็นส่วนสาคัญเอาไว้ได้นั้นเอง ชาติไทยเราก็คงจะไม่ถูกกลืนโดย วัฒนธรรมของต่างชาติเป็นแน่ คุณค่าของสานวน ๑.) เป็นเครื่องอบรมสั่งสอนและชี้แนะให้เป็นคนดี - ในด้านความรัก : คนเดียวหัวหาย สองคนเพื่อนตาย, น้าพึ่งเสือพึ่งป่า - ในด้านการศึกษาอบรม : ฝนทั่งให้เป็นเข็ม, สิบรู้ไม่เท่าชานาญ - ในการพูดจา : พูดดีเป็นศรีแก่ตัว พูดชั่วอัปราชัย ,พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตาลึงทอง ๒.) สานวนไทยช่วยสะท้อนให้เห็นความคิด ความเชื่อในสังคมไทย - ความเคารพนอบน้อมผู้ใหญ่ เช่น เดินตามผู้ใหญ่หมาไม่กัด - ความเชื่อเกี่ยวกับเรื่อกรรม เช่น ทาดีได้ดี ทาชั่วได้ชั่ว - ความเชื่อเกี่ยวกับการปกครอง เช่น บ้านเมืองมีขื่อมีแป - ความเชื่อเกี่ยวกับเกียรติยศชื่อเสียง เช่น ชาติเสือต้องไว้ลาย ชาติชายต้องไว้ชื่อ ๓.) สะท้อนให้เห็นถึงภาวะความเป็นอยู่ - เกี่ยวกับเศรษฐกิจและการครองชีพ เช่น เสียน้อยเสียยาก เสียมากเสียง่าย - เกี่ยวกับการทามาหากิน เช่น น้าขึ้นให้รีบตัก ๔.) ชี้ให้เห็นว่าคนไทยรักธรรมชาติเกี่ยวพันกันอย่างแยกไม่ออก จึงได้นาเอาลักษณะธรรมชาติสัตว์ ต้นไม้ ฯลฯ มาตั้งเป็น สุภาษิต คาพังเพย และสานวนต่างๆ ๕.) การศึกษาสานวนต่างๆ ช่วยทาให้เราใช้ภาษาได้ถูกต้องและสละสลวย ไม่ต้องใช้คาพูดที่เยิ่นเย้อยืดยาว แต่สามารถ เรียกร้องความสนใจจากผู้อ่านได้มาก นอกจากนั้นการศึกษาสุภาษิต คาพังเพย และสานวนของภาคต่างๆ ทาให้เราได้เรียนรู้ ภาษาถิ่นไปด้วยในตัว ๖.) การเรียนรู้เรื่องสุภาษิต คาพังเพย และสานวนต่างๆ เป็นการสืบต่อวัฒนธรรมของชาติเอาไว้มิให้สูญหาย และเกิดความ ภูมิใจที่บรรพชนได้คิดสร้างสิ่งเหล่านี้ไว้แก่เรา @@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@
  • 8. สื่อการเรียน นิทานสุภาษิต เรื่อง คดในข้องอในกระดูก รายวิชา ภาษาไทย ท ๓๑๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๓ โรงเรียนประชาบารุง คดในข้องอในกระดูก ครั้งหนึ่งนานมาแล้ว มีกระทาชายหนุ่มสองนายคบหาเป็นเพื่อนสนิทกันมาเนิ่นนานกาลเวลา อายุอานามไล่เลียง เคียงกันคนละยี่สิบกว่าๆ รูปร่างสูงต่าพอๆ กันอีกด้วย หน้าตาพอไปวัดตอนสายๆ ได้ ทั้งสองมีชื่อว่านายมิตรกับนายซื่อ คนหลังนั้นมีนิสัยสมชื่อเพราะซื่อจนเซ่อไว้วางใจเพื่อนทุกอย่าง ส่วนนายมิตร นั้น มีความเป็นมิตรเฉพาะชื่อและต่อหน้าเท่านั้น แต่เบื้องหลังเป็นคนมีเล่ห์เหลี่ยม ขี้โกงมะโรงมะเส็งอย่างไม่เอาไหนเลย ที่เดียว แต่ทั้งสองก็คบกันได้ เพราะนายซื่อไม่เคยระแวงเพื่อน นายมิตรนั้นเต็มใจคบกับนายซื่อ เพราะเอาเปรียบได้ทุกทางโดยที่นายซื่อไม่เคยใส่ใจ ปล่อยให้นายมิตรโกงเอาๆ แต่ ฝ่ายเดียว วันหนึ่งทั้งสองเข้าป่าหาสมุนไพรด้วยกัน มีย่ามไปคนละใบอันว่านายซื่อนั้นเก่งทางคัดหาสมุนไพร ว่าอันไหน รักษาโรคอะไรบ้าง ส่วนนายมิตรไม่มีความรู้เรื่องสมุนไพรเลย คอยแต่ทาและเก็บตามนายซื่อ “สมุนไพรอย่างนี้รักษาไข้ป่าได้ชะงัดนัก บ้านเรามีคนเป็นไข้ป่ามาก ช่วยกันค้นหาสมุนไพรชนิดนี้เถอะ จะได้เอา ไปขายพวกชาวบ้านได้” นายซื่อบอกนายมิตร นายซื่อก้มหน้าก้มตาขุด นายมิตรก็จะแอบล้วงสมุนไพรจากย่ามของเพื่อน มาใส่ยามของตน นายซื่อใส่ไปสองชิ้นก็ หยิบมาใส่ยามตัวเสียชิ้นหนึ่ง ถ้านายซื่อใส่ย่ามของตัวเองสามชิ้น นายมิตรก็จะล้วงออกมาใส่ยามตนเสียสองชิ้น ไม่ช้ายาม ของนายมิตรก็เต็มก่อน แล้วไปนั่งรอนายซื่อเก็บจนเต็มย่าม จึงชวนกันกลับ มีชาวบ้านหลายคนพากันมาซื้อสมุนไพรหรือว่านรักษาไข้ป่า จากนายมิตรและนายซื่อ นายมิตรนั้นขายอยู่หัว หมู่บ้าน ส่วนนายซื่ออยู่ท้ายโด่งขายได้น้อยกว่า นายมิตรจึงขายสมุนไพรได้หมดก่อนแถมยังอวดอ้างว่าเป็นสมุนไพรหรือ ว่านดีกว่าของนายซื่อ ชาวบ้านหลงเชื่อ เพราะรู้กันว่าทั้งสองคนเป็นเพื่อนสนิทและรักกันมาก เมื่อนายมิตรขายสมุนไพรหมดแล้ว ความโลภยังมีในสันดานจึงไปขอยืมสมุนไพรนายซื่อมาขาย อ้างว่าจะนาไปช่วย ขายให้ นายซื่อเป็นคนรักเพื่อนจึงไม่หวาดระแวงแต่อย่างใดให้ไปแต่โดยดี นายมิตรขายได้หมดในเวลาอันรวดเร็วแล้วนา เงินไปให้นายซื่อ นายซื่อเห็นว่าเงินขาดไปมากจึงสอบถามดุ แต่นายมิตรก็ยืนยันว่าขายได้เท่านั้นจริงๆ นายซื่อก็ไม่ว่าอะไร ความจริงนายซื่อรู้ว่านายมิตรยักยอกเงินเอาไว้เสียส่วนหนึ่ง นายซื่อเมื่อรู้ว่าเพื่อนไม่ซื่อ จึงพยายามปลีกตัวออกห่าง ไม่อยากคบหาสมาคมด้วย เมื่อนายมิตรมาชวนเข้าป่าไปหา ว่านสมุนไพรอีกก็ปฏิเสธไม่ยอมไป เพราะความโลภอยากได้เงิน นายมิตรจึงต้องไปคนเดียว ด้วยความที่ไม่มีความรู้เรื่องว่าน สมุนไพร นายมิตรลองกินว่านสมุนไพรพิษเข้า จนถึงแก่ความตายอยู่ในป่านั่นเอง ความเป็นคนคดในข้องอในกระดูก ของนายมิตรผลกรรมได้ตอบสนองเขาแล้วในที่สุด.