SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 58
Downloaden Sie, um offline zu lesen
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
1 | P a g e
“7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง”                        
“The  7  Habits  of  Highly  Effective  People”
By Dr. Stephen R. Covey
คํานําผู้เขียน
คําถาม     อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง ยังสามารถนํามาปรับใช้ในยุคสมัยนีได้
หรือไม่?  
คําตอบ  ยิงความเปลียนแปลงมีขยายวงกว้างและมีความรุนแรงขึน  ปัญหาท้าทาย
สาหัสมากขึนอุปนิสัยทังเจ็ดก็ยิงมีความสําคัญเป็นเงาตามตัว
ขอยกตัวอย่างความขัดแย้งกันของปัญหาท้าทายต่างๆทีเราพบเห็นกันจนเป็นเรืองปกติ
ธรรมดา
 ความกลัวและการขาดความมันคง  กลัวตกงานไม่มีรายได้เลียงครอบครัว  ต้อง
พึงพาผู้อืนทังในทีทํางานและในครอบครัว
 “ต้องได้เดียวนี”  ความอยากได้อยากซือ  ลําหน้าความสามารถในการหาเงินทอง
ทรัพย์สินเข้าบ้านของเรา
 การตําหนิกล่าวโทษและความรู้สึกตกเป็นเหยือ  เมือไหร่ทีเจอกับปัญหาเราจะได้
เห็นการกล่าวโทษกันไปกันมา  เพราะว่าสังคมของเราติดกับการโวยวายเมือเรา
ตกเป็นเหยือ
 ความท้อแท้สินหวัง  การทียอมเชือว่าเราเป็นเหยือของสถานการณ์  ยอมรับการ
ถูกเย้ยหยันและความท้อแท้
 ขาดสมดุลของชีวิต  สมดุลของชีวิตจะมีได้ก็ต่อเมือบุคคลผู้นันมีสายตายาวไกล
สามารถมองเห็นลําดับความสําคัญของสิงต่างๆในชีวิต
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
2 | P a g e
 “ฉันได้ประโยชน์อะไรบ้าง”  ในสมัยทีคนทํางานด้วยการใช้ความรู้  เฉพาะคนที
ฝึกฝนการอยู่แบบพึงพาซึงกันและกันได้อย่างเชียวชาญเท่านันทีจะสามารถได้
ประโยชน์
 ความโหยหา  อยากให้ผู้อืนเข้าใจ  อยากให้ผู้อืนรับฟัง  ถ้าคุณรับฟังคนอืนด้วย
ความจริงใจ  เข้าอกเข้าใจก่อน  พวกเขาก็พร้อมจะรับฟังคุณเป็นการตอบแทน
 ความขัดแย้งและข้อแตกต่าง    คิดหาวิธีทีจะแก้ไขปัญหา  “แบบประนีประนอม”  
จะเป็นการเอือประโยชน์แก่ทังสองฝ่ายทีดีกว่า  
 ความเฉือยชาส่วนบุคคล  ทังทางกายภาพ  สติปัญญา  สังคม/อารมณ์  และจิต
วิญญาณ  เราจะได้เห็นภาพขัดแย้งของวัฒนธรรมกับวิถีการยึด  “หลักการ”  เป็น
จุดศูนย์กลางชีวิต
การเรียนแล้วไม่ทํา  ไม่ถือเป็นการเรียนรู้  
การรู้แล้วไม่ทํา  ไม่ถือว่ารู้จริง
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
3 | P a g e
จากภายในออกสู่ภายนอก
จรรยาบรรณคุณลักษณะกับจรรยาบรรณบุคลิกภาพ  
(Character Ethics and Personality Ethics)
ผมทุ่มเทให้กับการค้นคว้าสิงพิมพ์เกียวกับ  “ความสําเร็จ”  ในสหรัฐอเมริกานับตังแต่
ก่อตังประเทศในปี  1776  หนังสือเล่มนีเป็นผลรวมและเนือหาทีเป็นกุญแจสําคัญไขสู่
การใช้ชีวิตทีเรียกว่า  “การประสบความสําเร็จ”
การค้นคว้าของผมย้อนหลังไป  200 ปี  ความสําเร็จในช่วง  50 ปีหลังค่อนข้างจะผิวเผิน  
เพราะกล่าวถึงเพียงภาพลักษณ์  (Image/appearance) ทีมีใว้ให้สังคมได้เห็นเทคนิค
พิเศษและหนทางแก้ปัญหาด่วนทันใจ
ในช่วง  150 ปีหลังประกาศอิสรภาพสหรัฐอเมริกาพอจะเรียกได้ว่า  “จรรยาบรรณ
คุณลักษณะ”  (Character Ethics) คุณสมบัติเช่น  บูรณภาพ  (Integrity) ความนอบน้อม
ถ่อมตน  (Humble) การครองตนในกรอบศีลธรรม  (Moral) อดทนข่มกลัน (Patience) มุ
มานะทํางานหนัก  ชีวิตเรียบง่าย
จรรยาบรรณคุณลักษณะ (Character Ethics) สอนหลักการพืนฐานของการใช้ชีวิต
แบบทรงประสิทธิผล (Effective)
หลังสงครามโลกครังที  1 มุมมองความสําเร็จเปลียนมาเป็นสิงทีเราเรียกว่า  
“จรรยาบรรณบุคลิกภาพ”  (Personality Ethics) ความสําเร็จนันเป็นผลจากการฝึกฝน
บุคลิกภาพให้ปรากฏต่อสายตาสาธารณชนทัวไป  
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
4 | P a g e
ความยิงใหญ่ปฐมภูมิ  (Primary) และทุติยภูมิ (Secondary)
องค์ประกอบของจรรยาบรรณบุคลิกภาพ  (Personality Ethics)  เช่น  การปรับปรุง
บุคลิกภาพ  ทักษะการสือสาร  กลยุทธ์โน้มน้าวจิตใจเป็ นองค์ประกอบทีนําไปสู่
ความสําเร็จ  แต่ว่ามีความสําคัญอยู่ในระดับรองๆลงไป...มิใช่ระดับปฐมภูมิ  (Primary)
หากไม่มีความใว้วางใจซึงกันและกันก็จะไม่มีรากฐานของความสําเร็จทียังยืน  จะมีก็แต่
ความดีงามพืนฐานเท่านันทีสามารถจะให้ชีวิตแก่เทคนิคทีควรนําไปใช้งานจริง
อํานาจแห่งกรอบความคิด  (Paradigm)
ก่อนอืน  เราจําเป็ นต้อง  “เข้าใจ”  และ  “รู้วิธีทีจะปรับเปลียน”  “กรอบความคิด”  
(Paradigm) ของตัวเราเองก่อน...
กรอบความคิด  คือ  แผนทีทีเราเห็นผ่านจากมุมมองของเรา  “แผนทีไม่ใช่ดินแดนที
แท้จริงทังหมดทีเป็นอยู่”  แผนทีเป็นเพียงกรอบอ้างอิงของตัวเราเองเท่านัน
เราแต่ละคนมีแผนทีหลายแผ่นอยู่ในหัว  แบ่งได้เป็น  2 ประเภท  คือ  แผนทีตามวิถีทีเรา
เป็นอยู่หรือความเป็นจริง  และแผนทีวิถีทีเราควรจะเป็น/ทําตามหรือค่านิยม
การเปลียนทัศนคติ (Attitude) และพฤติกรรม (Behavior)  แทบจะไม่เกิดผลในระยะ
ยาวหากเราไม่ทบทวนกรอบความคิดพืนฐานของเราเองทีเป็นต้นกําเนิดของทัศนคติ
และพฤติกรรมเสียก่อน  เพือเป็นการแสดงให้เห็นว่ากรอบความคิดส่งผลกระทบสําคัญ
อย่างมากต่อวิธีทีเราสานสัมพันธ์กับผู้อืน
จุดยืนของเราอยู่ทีใหน  
ก็ขึนอยู่กับทีนังของเรา
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
5 | P a g e
การตีความสิงทีเห็น  สิงทีได้ยินขึนอยู่กับสถานการณ์ทีฝังอยู่ในใจของเราอยู่ก่อนแล้ว  
ดังนัน  ข้อเท็จจริงก็จะไม่มีความหมายแตกต่างไปจากการตีความของเรา  
สําหรับการเปิดใจให้  “รับการรับรู้ของผู้อืน”  หมายความว่า  เราจะได้เห็นภาพขนาดใหญ่
ขึน  จากมุมมองทีปลอดจากอารมณ์ความรู้สึกในการตัดสินผู้อืนมาเกียวข้องด้วย
พลังแห่งการเปลียนกรอบความคิด  (Paradigm Shift)
การเปลียนกรอบความคิด  (Paradigm Shift) จะทําให้เรามองโลกด้วยมุมมองใหม่  
ก่อให้เกิดการเปลียนแปลงทีมีพลังมหาศาล  
ในกรอบความคิดของเรา  การตัดสินต่างๆไม่ว่าจะถูกหรือจะผิดนันเป็นรากฐานมาจาก
ของทัศนคติของเรา  พฤติกรรมของเรา  และการสานสัมพันธ์กับผู้อืน
ในคํากล่าวของธอโร  “การตัดพุ่มใบไม้แห่งความชัวร้ายนับพันครัง  ไม่ดีเท่าการตัด
รากแก้วเพียงครังเดียว”  เราจะประสบความสําเร็จในชีวิตอย่างรวดเร็วอย่างก้าว
กระโดดได้เมือเราเลิกการตัดพุ่มใบทัศนคติและพฤติกรรม  แล้วหันมาทุ่มเทความ
พยายามทังหมดให้กับรากแก้ว...”กรอบความคิด  ซึงเป็นแหล่งกําเนิดของทัศนคติ
และพฤติกรรม”
กรอบความคิดทีมีจุดศูนย์กลางอยู่ที  “หลักการ”
คนเรามองชีวิตและความสัมพันธ์ในกรอบความคิดหรือแผนทีทีมีผลมาจาก
ประสบการณ์ในอดีตหรือการวางเงือนไขของสังคม  
แผนทีไม่ใช่  “ดินแดน”  เป็นเพียง  “ความจริงตามอัตวิสัย”  (Subjective)  [ฉะนัน  แผนที  
คือ  “ความจริงตามอัตวิสัย”]
สําหรับ  “ความเป็นจริงตามวัตถุวิสัย”  (Objective) หรือดินแดน  นันทําหน้าทีควบคุม
การเจริญเติบโตและความสุขของมนุษย์
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
6 | P a g e
“วิธีปฏิบัติ”  นันเป็นการจัดการสถานการณ์เฉพาะเจาะจงของหลักการ  และเป็นสัจธรรม
พืนฐานทีสามารถนําไปประยุกต์ใช้ได้ในทุกเรือง  
“หลักการ”  ปรับใช้ได้กับชีวิตแต่ละคน  ชีวิตครอบครัว  ชีวิตสมรส  องค์กรเอกชนและ
องค์กรสาธารณะทุกประเภท  เมือไหร่ทีเราปรับสัจธรรมให้กลายเป็นอุปนิสัย  อุปนิสัยนี
จะเป็นพลังในตัว  สามารถนําไปสร้างสรรค์วิธีปฏิบัติหลากหลายรูปแบบทีจะนําไปใช้ใน
สถานการณ์ต่างๆกันได้
ถ้าแผนทีหรือกรอบความคิดของเรายิงมีความใกล้เคียงกับหลักการหรือกฏธรรมชาติ
มากเท่าไหร่  แผนทีนันก็จะให้ความแม่นยํา  และนํามาใช้งานได้ประโยชน์มากขึนเท่านัน  
แผนทีถูกต้องเหมาะสม  จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อประสิทธิผลส่วนบุคคลและ
ประสิทธิผลระหว่างบุคคล  มากเกินกว่าความพยายามทังหมดทีทุ่มเทไปกับการ
เปลียนแปลงทัศนคติและพฤติกรรมนันๆ
หลักการแห่งการเจริญเติบโตและการเปลียนแปลง
จรรยาบรรณบุคลิคภาพ  (Personality Ethics) เป็นวิธีทีเย้ายวนใจคนหมู่มากเพราะ
เสนอวิธีให้ได้มาซึง  “ความรํารวยโดยไม่ต้องทํางานหนัก”  ทีมองเผินๆอาจคล้ายจะได้ผล
แต่ก็ยังเป็นแผนลวงตานันเอง
เห็นได้ชัดอยู่แล้วว่าเป็นไปไม่ได้ทีจะฝ่ าฝื น  ไม่รับรู้  หรือใช้ทางลัดเพือให้ได้มาซึง
ความสําเร็จ  เพราะจะทําให้พบแต่ความผิดหวังและความสับสนวุ่นวายใจในทีสุด
ถ้าคุณไม่เปิดโอกาสให้ครูทราบว่าฝีมือของคุณอยู่ในระดับใดโดยการตังคําถามหรือ
เปิดเผยความโง่เขลาในบางครัง  คุณจะไม่มีโอกาสเรียนรู้เรืองใหม่ๆ  ไม่มีโอกาสได้
เจริญเติบโต  การยอมรับความโง่เขลาของตนเองเป็นก้าวแรกทีจะมีโอกาสในการเรียนรู้
เพิมเติม
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
7 | P a g e
หากต้องการทีจะสานสัมพันธ์กับภรรยา  สามี  ลูก  เพือนหรือเพือนร่วมงาน  เราต้องรับฟัง  
“การรับฟัง”  นันต้องอาศัยความแข็งแกร่งทางอารมณ์  การรับฟังจําเป็นต้องมีความ
อดทนอดกลัน  มีจิตใจทีเปิดกว้าง  และความปราถนาจะทําความเข้าใจผู้พูด
เวลาใหนทีควรสังสอน  เวลาใหนทีไม่ควรสังสอน  ในขณะทีความสัมพันธ์กําลังตึงเครียด  
และบรรยากาศเปียมด้วยอารมณ์ต่างๆ  ความพยายามในการสังสอนอาจจะกลายเป็น
การออกความเห็น  ตัดสินและการผลักไสไม่ยอมรับในตัวผู้ทีกําลังพูดคุยด้วย  ในทาง
ตรงกันข้าม  ในเวลาทีความมีสัมพันธ์ราบรืน  การอภิปราย  ถกเถียง  หรือคุยกันเรือง
ค่านิยมต่างๆ  จะให้ผลกระทบมากกว่า
วิธีทีเรามองปัญหาคือปัญหา
กรอบความคิดจรรยาบรรณบุคคลิคภาพ  (Personality Ethics) ส่งผลกระทบต่อวิธีทีเรา
มองปัญหา
นักบริหารทีมองการณ์ไกล  จะไม่สนใจจิตวิทยาปลุกใจ  และการกระตุ้นจูงใจทีไม่มีสาระ
นักบริหารต้องการ  “แก่นหลัก”  ต้องการ  “กระบวนการ”  ต้องการกําจัดปัญหาเรือรังที
ซ่อนอยู่ภายใน  และมุ่งความตังใจและพลังงานส่วนมากไปยัง  “หลักการ”  ทีจะนําผลดี
ระยะยาวมาสู่องค์กร
ความคิดระดับใหม่
  “ปัญหาสําคัญๆทีเราเผชิญอยู่  ไม่อาจแก้ไขได้โดยใช้
ระดับความคิดเดิมในตอนทีเราสร้างปัญหานีขึนมา”
แอลเบิร์ต  ไอน์สไตน์
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
8 | P a g e
“ระดับความคิด”  คือ  เนือหาใน  7 อุปนิสัย สําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง  ยึดหลักการเป็น
แก่นหลัก  ทีอยู่บนรากฐานของคุณลักษณะการใช้วิถี  “จากภายในออกสู่ภายนอก”  
เพือให้มีประสิทธิผลระดับบุคคลและระหว่างบุคคลสูง
วิถีจากภายในออกสู่ภายนอก  ยืนยันชัดเจนว่า  “ชัยชนะส่วนตัว”  ต้องมาก่อน  “ชัยชนะ
ในสังคม”  การให้สัญญาและรักษาสัญญาต่อตัวเองมาก่อนการให้สัญญาและรักษา
สัญญาต่อผู้อืน
เรืองนีมีรากฐานมาจากกฏธรรมชาติทีควบคุมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของ
มนุษย์  การเจริญเติบโตหมุนวนสูงขึนไต่จาก  “การพึงผู้อืน”  มาเป็น  “การพึงตนเองอย่าง
มีความรับผิดชอบ”  จนไปถึง  “การพึงพาซึงกันและกันอย่างมีประสิทธิผลยิง”
อุปนิสัย  7 ประการ-ภาพรวม
โดยเกณฑ์พืนฐานทีสุด  คุณลักษณะของเรา  เป็นผลรวมของอุปนิสัยทีเรามีและเป็นอยู่
อุปนิสัยมีแรงดึงดูดมหาศาลมากเกินกว่าทีคนส่วนใหญ่รู้และยอมรับ  การเลิกนิสัยทีฝัง
รากลึกในตัวคนๆหนึงต้องใช้พลังงานมากกว่าการใช้ความตังใจเพียงน้อยนิด  และการ
“หว่านความคิด        เก็บเกียวการกระทํา
หว่านการกระทํา      เก็บเกียวอุปนิสัย
หว่านอุปนิสัย              เก็บเกียวคุณลักษณะ
หว่านคุณลักษณะ    เก็บเกียวชะตากรรมบันปลาย”
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
9 | P a g e
เปลียนแปลงเล็กๆน้อยๆในชีวิต  การพยายามดินให้หลุดจําเป็นต้องใช้พลังงานมหาศาล  
แต่เมือใหร่ทีสลัดหลุดได้แล้ว  เสรีภาพของเราจะข้ามเข้าสู่มิติใหม่ทีเดียว
คํานิยามอุปนิสัย
ความรู้เป็นกรอบความคิดในเชิงทฤษฏี  ต้องทําสิงใดบ้างและทําเพืออะไร  
ทักษะหมายถึง  จะต้องทําอย่างไร  (วิธีการทําทีเป็นขันตอนทีแน่นอน)
ส่วนความปราถนา  เป็นมูลเหตุจูงใจ  ความอยากทีจะทํา  
หากเราต้องการมีอุปนิสัยแบบใหนให้มาเป็นส่วนหนึงของชีวิต  จะต้องมีองค์ประกอบทัง
สามอย่างครบถ้วน
เมือต้องการเปลียนแปลงจะต้องได้รับแรงกระตุ้นและจูงใจด้วยเป้ าหมายทีสูงกว่า  ความ
เต็มใจทีจะเสียสละสิงทีต้องการในขณะนี  เพือให้ได้มาซึงสิงทีอยากได้ในอนาคต
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
10 | P a g e
กระบวนการนีทําให้เกิดความสุข  “วัตถุประสงค์และรูปแบบแห่งการดํารงอยู่”  ความสุข
สามารถนิยามได้บางส่วนว่าเป็น  “ผลพวงของความต้องการและความสามารถในการ
เสียสละสิงทีเราต้องการในขณะนี  เพือจะได้รับสิงทีอยากได้ในบันปลาย”
วงจรวุฒิภาวะ
อุปนิสัยทังเจ็ดมิใช่สูตรปลุกใจ  (Psych-up Formula) หรือวิธีการปฏิบัติการทีเป็น
ชุดคําสังแยกเป็นข้อๆ  การใช้ชีวิตให้สอดคล้องกับกฏธรรมชาติทีว่าด้วยการเจริญเติบโต  
จะค่อยๆงอกงามขึน  ผนึกและเรียงตัวกันเป็นเส้นทางทีจะพัฒนาประสิทธิภาพส่วน
บุคคล  และความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล  
อุปนิสัยทังเจ็ดจะผลักดันให้เราเดินทางไปในวงจรวุฒิภาวะ...จากการพึงผู้อืนไปยังการ
พึงตนเองจนบรรลุถึงการพึงพาซึงกันและกัน
ในวงจรวุฒิภาวะ  การพึงผู้อืนเป็นกรอบความคิด  “ท่าน”  เช่น  ท่านต้องดูแลฉัน  ท่านต้อง
ปกป้ องคุ้มครองฉัน  ถ้าท่านดูแลไม่ดีฉันจะติหนิท่าน
การพึงตนเอง  เป็นกรอบความคิด  “ฉัน”  เช่น  ฉันทําได้  ฉันเป็นผู้รับผิดชอบ  ฉันพึงพา
ตัวเองได้  ฉันเลือกได้
ส่วน  การพึงพาซึงกันและกัน  จะเป็นกรอบความคิด  “เรา”  เช่น  เราทําได้  เราร่วมมือกัน
ได้  เราผนึกฝีมือ  ผนึกความสามารถ  เพือสร้างผลงานทียิงใหญ่ร่วมกัน
กรอบความคิดสังคมในยุคปัจจุบันเชิดชูการเป็นอิสระส่วนตัวใว้สูง  เหมือนกับว่าการ
สือสาร  การทํางานเป็นทีม  และร่วมมือกันมีคุณค่าในระดับทีตํากว่า
ชีวิตโดยธรรมชาติแล้ว  ควรต้องมีการพึงพาซึงกันและกันอย่างสูงสุด
เมือไหร่ทีคนพึงพาซึงกันและกันยอมเปิดโอกาสทีจะแบ่งบันตนเองอย่างกว้างขวางซึง  
เปียมด้วยความหมายกับผู้อืน  นันจะทําให้คุณสามารถเข้าถึงขุมทรัพย์ทรัพยากรและ
ศักยภาพในตัวมนุษย์คนอืนๆอีกหลายคน
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
11 | P a g e
การพึงพาซึงกันและกันเป็นทางเลือกทีมีเพียงผู้ทีพึงตนเองเท่านันทีจะทําได้    ผู้ทียัง
พึงพิงผู้อืนอยู่ไม่มีสิทธิเลือก  เพราะไม่มีคุณลักษณะทีเพียงพอสําหรับการเลือก
อุปนิสัย  1, 2 และ  3  จะเน้นทีการเอาชนะตนเอง  ขับเคลือนจากการพึงผู้อืนไปยังการ
พึงตนเอง  ถือเป็น  “ชัยชนะส่วนตน”  ชัยชนะส่วนตนจะมาก่อนชัยชนะในสังคมเสมอ
เมือคุณพึงตนเองได้อย่างแท้จริง  คุณจะมีคุณลักษณะทีพร้อมจะสานสัมพันธ์กับผู้อืน
อย่างมีประสิทธิภาพ  เพือบรรลุสู่  “ชัยชนะในสังคม”  ในอุปนิสัยที  4, 5 และ  6
อุปนิสัยที  7 เป็นอุปนิสัยเพือการเติมเต็มและทําให้สมบูรณ์ใหม่อีกครัง  เป็นอุปนิสัยแห่ง
การพัฒนาอย่างต่อเนืองทีจะใต่วงหมุนขึนสูงไปเรือยๆ
นิยามประสิทธิผล  (Effectiveness)
อุปนิสัยทังเจ็ดเป็นอุปนิสัยแห่งประสิทธิผล  เพราะอยู่บนรากฐานของกรอบความคิด
ประสิทธิผล  สอดคล้องกับกฏธรรมชาติ  และหลักการทีเรียกว่า  “สมดุลแห่ง  P/PC”
ประสิทธิผลแท้จริงจะต้องมีองค์ประกอบ  2 อย่าง  คือ
1. P - Production ผลผลิตทีต้องการ  (ไข่ทองคํา)
2. PC - Production Capability สินทรัพย์หรือความสามารถในการผลิต  (ห่าน)
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
12 | P a g e
สินทรัพย์    3 ประเภท
สินทรัพย์แบ่งเป็น  3 ประเภท  คือ  ทางกายภาพ  ทางการเงิน  และมนุษย์
ในการหาผลกําไรระยะสัน  เรามักจะแลกกับการเบียดเบียนสินทรัพย์ทางกายภาพ  แต่
ถ้าเรารักษาสมดุล  P/PC  จะทําให้เห็นความแตกต่างอย่างเด่นชัดในการใช้งานสินทรัพย์
กายภาพอย่างมีประสิทธิผล
สินทรัพย์เชิงการเงินสําคัญทีสุดของเรา  คือความสามารถในการหารายได้  ถ้าเราไม่
ดูแลรักษา  PC  เราจะขีดข้อจํากัดให้กับทางเลือกของเราเองให้เหลือน้อยลง
หากเป็นเรืองมนุษย์  สมดุล  P/PC  ถือได้ว่าเป็นรากฐานทีเท่าเทียมกัน  แต่มีความสําคัญ
มากกว่า    เพราะมนุษย์เป็นผู้ควบคุมสินทรัพย์กายภาพและสินทรัพย์การเงิน
PC ระดับองค์กร
ในเวลาทีพนักงานไม่รักษาสมดุล  P/PC  ในการใช้งานสินทรัพย์ทางกายภาพขององค์กร  
แล้ว  นันจะเป็นการลดประสิทธิผลขององค์กร
สมดุล  P/PC  มีความสําคัญมาก  โดยเฉพาะอย่างยิงเมือปรับใช้กับสินทรัพย์มนุษย์ใน
องค์กร...คือ  ลูกค้าและพนักงาน
ตัวอย่าง  เช่น  เมือภัตตาคารทีมีชือจากซุปทีแสนอร่อยเปลียนมือ  เจ้าของคนใหม่เจือนํา
จนซุปจาง  ในเดือนต่อมาต้นทุนลดตําลง  ทําให้มีกําไรสูงขึนก็จริง  แต่ลูกค้าประจํา
หายไปหมด  เพราะความวางใจในคุณภาพไม่มีอีกแล้ว
หลายองค์กรทีเห็นความสําคัญของลูกค้า  จะใส่ใจดูแลผู้ทีจะดูแลลูกค้าโดยตรง  นันก็คือ  
พนักงาน  หลักการ  P/PC ก็คือ  “ต้องดูแลพนักงานให้เท่าเทียมกับวิธีทีคุณดูแล
ลูกค้าชันยอด”
หลักการ  P/PC จะดูแลพนักงานเหมือนพวกเขาเป็นอาสาสมัคร  เช่นเดียวกับการดูแล
ลูกค้าให้เหมือนกับอาสาสมัคร  เพราะนันเป็นตัวตนแท้จริง  พวกเขาอาสาทีจะนําสิงดี
ทีสุดมามอบให้...ทังด้านหัวใจและสมอง
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
13 | P a g e
การรักษาสมดุล  P/PC กับสุขอนามัยและความสุขสบายของท่าน  โดยมากจะเป็นการ
ตัดสินใจทีต้องใช้ดุลยพินิจทีไม่ใช่เรืองง่ายนัก  ซึงจะเป็นการเกลียสมดุลระหว่างผลลัพธ์
ระยะสันกับการดําเนินการราบรืนในระยะยาว  ■
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
14 | P a g e
อุปนิสัยที 1: โปรแอกทีฟ
หลักการแห่งวิสัยทัศน์ส่วนบุคคล  (Personal Vision)
“การรู้ตนเอง”    หรือความสามารถในการติดตามการใช้ความคิดของตนเอง  นีคือเหตุผล
ว่าทําไมเราจึงสามารถประเมินค่าและเรียนรู้จากประสบการณ์ของผู้อืนได้เท่าเทียมกับ
เรืองราวทีเราพบเจอด้วยตนเอง  นีคือ  สาเหตุว่าทําไมเราจึงสามารถทีจะสร้างอุปนิสัย
ใหม่และล้างนิสัยเก่าได้
  
วิธีทีเรา  “มองตัวเอง”  มองกรอบความคิดของตนเอง  เป็นพืนฐานของกรอบความคิดแห่ง
ประสิทธิผล
กระจกเงาสังคม
ถ้าภาพทีเรามองเห็นตัวเองเป็นภาพสะท้อนมาจากกระจกเงาสังคม  ภาพทีเห็นจะบิด
เบียวผิดสัดส่วน  เพราะภาพสะท้อนของกรอบความคิดเชิงสังคมถูกตัดสินโดยเงือนไข
และการวางเงือนไขของผู้อืน
ทําให้เราเข้าใจว่า  -  เราถูก  “กําหนด”  ใว้แล้ว
ตัวเรามิใช่ความรู้สึกของเรา
ตัวเรามิใช่อารมณ์ในใจ
ตัวเรามิได้เป็นแม้แต่ความคิด
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
15 | P a g e
ด้วยสภาพแวดล้อม  เราอาจกล่าวโทษว่า  โดนเจ้านายรังแก  คู่สมรสไม่เข้าใจ  
สถานการณ์ทางเศรษฐกิจคุกคาม  จะต้องมีใครสักคนหรืออะไรสักอย่างใน
สภาพแวดล้อมรอบตัวเราทีเป็นผู้รับผิดชอบต่อเรืองเลวร้ายทีเกิดขึนกับตัวเรา
ช่องว่างระหว่างสิงเร้ากับการตอบสนอง
ระหว่างสิงเร้ากับการตอบสนอง...มนุษย์มีอิสรภาพในการเลือก
อิสรภาพในการเลือก  คือ  อํานาจ  เป็นคุณสมบัติเฉพาะของมนุษย์  นอกจาก  การรู้
ตนเองแล้ว  มนุษย์มีจินตนาการ  ความสามารถทีจะพาตัวเราให้เข้าไปอยู่ในภาพวาดใน
ใจของเรา  หลุดออกจากความเป็นจริงทีเกิดขึนเบืองหน้าเรา  มนุษย์ยังมีมโนธรรม  การรู้
ลึกเข้าไปในใจ  แยกแยะความผิดชอบชัวดี  
หลักการทีจะควบคุมพฤติกรรม  และแนวทางทีจะปรับความคิดและการกระทําให้
สอดคล้องไปกับมโนธรรมนันนอกเหนืออํานาจอิทธิพลภายนอกจะยืนเข้ามาควบคุมได้
เพราะมนุษย์มีความประสงค์อิสระ  มีความสามารถทีจะทําการทุกอย่างบนรากฐานของ
การรู้ตนเองอย่างเป็นอิสระนอกเหนืออํานาจอิทธิพลภายนอก
นิยามโปรแอกทีฟ  (Proactive)
คนโปรแอกทีฟจะรู้ดีถึงความรับผิดชอบ  ต่อพฤติกรรมของตนทีแสดงออก  จะไม่มีการ
ป้ ายความผิดไปยังสภาวการณ์  เงือนไข  หรือการวางเงือนไข  
พฤติกรรมของคนโปรแอกทีฟ  เป็นผลมาจากการตัดสินใจ  การเลือกอย่างมีสติ  อยู่บน
รากฐานของค่านิยมในใจ  ไม่ใช่ผลจากเงือนไขทีอยู่บนรากฐานของอารมณ์และ
ความรู้สึก
การยินยอมให้เงือนไขต่างๆรอบตัวมาบงการชีวิต  จะทําให้เรากลายเป็นคนรีแอกทีฟ
คนโปรแอกทีฟจะขับเคลือนตัวเองด้วยค่านิยม  พวกเขาจะครุ่นคิด  พินิจพิเคราะห์เป็น
อย่างดี  เพือเลือก  และยึดค่านิยมใว้ในใจเพือนํามาปฏิบัติ
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
16 | P a g e
อย่างไรก็ตาม  คนโปรแอกทีฟยังอยู่ในอิทธิพลของสิงเร้าจากภายนอก  ไม่ว่าจะเป็นใน
เชิงกายภาพ  สังคม  หรือจิตวิทยา  แต่การตอบสนองต่อสิงเร้าต่างๆ  ไม่ว่าจะโดย
จิตสํานึกหรือจิตใต้สํานึก จะเป็นการตอบสนองด้วยทางเลือกทีอยู่บนรากฐานของ
ค่านิยม
ความเจ็บปวดไม่ได้อยู่ทีว่าเกิดเรืองใดต่อตัวเรา  แต่เกิดจากการตอบสนองของเราต่อ
เหตุการณ์นันทีทําให้เราเจ็บปวด  เรืองเลวร้ายทีเกิดขึนในชีวิต  จะหล่อหลอม
คุณลักษณะและบ่มพลังในตัวของเราให้เข้มข้นมากขึน  ให้อิสรภาพในการรับมือกับ
สภาวการณ์ยุ่งยากในอนาคตและเป็นแรงบันดาลใจให้แก่ผู้คนรอบข้างทีได้พบเห็นด้วย
วิกเตอร์  แฟรงเกิลชีให้เห็นว่ามีแก่นค่านิยม  3 อย่างในชีวิตมนุษย์  คือ  
 เชิงประสบการณ์  เรืองราวทีเกิดขึนจริงกับตัวเรา  
 เชิงสร้างสรรค์  เรืองทีเราสร้างขึนมาเพือทําให้เป็นจริง  
 เชิงทัศนคติ  การตอบสนองของเราต่อภาวะทุกข์ทรมาน  เช่น  ความเจ็บป่วย
เรือรัง  ภาวะทุกข์ทรมานมักจะทําให้คนเราเปลียนกรอบความคิด  เมือคิดได้แล้ว
กรอบอ้างอิงใหม่จะปรากฏออกมา  เพือให้นําไปใช้ต่อไป
สู่ภาวะโปรแอกทีฟ
ภาวะโปรแอกทีฟไม่ได้หมายความว่าจะต้องก้าวร้าว  แสดงอาการน่ารังเกียจ  หรือแผ่
อํานาจคุกคามผู้อืน  แต่หมายถึง  “การรู้ถึงความรับผิดชอบของเราทีจะสร้างสรรค์
ผลงาน”
“ไม่มีผู้ใดทําร้ายเราได้  หากเราไม่ให้ความยินยอม”
อีเลเนอร์  โรสเวลต์
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
17 | P a g e
คนทีได้ตําแหน่งงานดีๆสูงๆ  มักจะเป็นผู้ริเริมรับผิดชอบในเชิงรุก  (คนโปรแอกทีฟ)  คน
กลุ่มนีเสนอหนทางแก้ไขปัญหา  ไม่ทําตัวเป็นปัญหาเสียเอง  และคอยคว้าโอกาสในเชิง
รุกเพือทีจะได้ลงมือก่อน
การกระจายงานต่างๆให้ผู้อืนรับผิดชอบ  ไม่ได้มีความหมายในแง่ลบ  ในทางตรงกันข้าม  
จะเป็นการให้เกียรติกันเพราะแสดงให้เห็นความเชือใจ  ดังนันภาวะโปรแอกทีฟจึงเป็น
ส่วนหนึงของธรรมชาติมนุษย์
กระทําหรือถูกกระทํา
การสร้างสมดุล  P/PC เพือประสิทธิผลจําเป็นต้องอาศัยการริเริมในเชิงรุก  ในเวลาทีคุณ
ศึกษาอุปนิสัยหกประการแรก  คุณจะสังเกตได้ว่าทุกขันตอนเป็นการฝึก  “มัดกล้ามเนือ
โปรแอกทีฟ”  แต่ละอุปนิสัยจะวางบทบาทความรับผิดชอบ  ในทุกเรืองให้คุณได้ลงมือ
กระทํา
องค์กรธุรกิจ  กลุ่มทํางานเพือชุมชน  องค์กรทุกประเภทรวมทังครอบครัว...มีสิทธิจะใช้
ภาวะโปรแอกทีฟทังนัน  องค์กรใดๆทีไม่ตกอยู่ในอิทธิพลของสภาพแวดล้อม  ควรทีจะ
สามารถก้าวลําไปในเชิงรุกเพือทําให้ค่านิยมและเป้ าหมายทีมีร่วมกันของสมาชิกใน
กลุ่มเกิดผลสําเร็จ
รับฟังภาษาพูดของเรา
ภาษาพูด  เป็นตัวบ่งชีชัดเจนว่าเราเป็นคนโปรแอกทีฟหรือไม่  
ภาษาพูดของคนรีแอกทีฟ  จะบอกปัดปฏิเสธความรับผิดชอบโดยสินเชิง
เช่น  คนโปรแอกทีฟนําคําว่า  “รัก”  มาใช้ในฐานะคํา  “กิริยา”  ความรักเป็นสิงทีคุณลงมือ
กระทํา  เช่น  การเสียสละทีคุณทําเพือคนรัก  การสละตัวตนเพือคนรัก
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
18 | P a g e
ความรักเป็นค่านิยมทีสามารถจะทําให้เป็นจริง  จับต้องได้ผ่านการแสดงออก  คนโปร  
แอกทีฟสะกดอารมณ์ความรู้สึกใว้ภายใต้ค่านิยม...แล้วความรัก  ความรู้สึกดีๆนันจะ
หวนกลับมาให้สัมผัสได้อีกครังหนึง
ขอบเขตของความกังวล/ขอบเขตแห่งอิทธิพล
เมือไหร่ทีเรามองเห็นเรืองราวใน  “ขอบเขตแห่งความกังวล”  เราจะเห็นได้ชัดว่า  บางเรือง
อยู่นอกเหนือความควบคุมของเรา  (วงกลมสีเขียวทีอยู่ภายนอก)  แต่ก็มีหลายเรืองทีเรา
สามารถแก้ไขเปลียนแปลงได้  เราจับกลุ่มเรืองราวทีเราควบคุมได้มารวมในวงกลมอีกวง
ซ่อนอยู่ภายใน...หรือเรียกว่า  “ขอบเขตแห่งอิทธิพล”
คนโปรแอกทีฟจะมุ่งความสนใจไปทีขอบเขตแห่งอิทธิพล  ทุ่มเทไปยังเรืองราวทีแก้ไข
เปลียนแปลง  และควบคุมได้  ทําให้  “ขอบเขตแห่งอิทธิพล”  สีม่วง  ขยายขนาด
คนรีแอกทีฟจะจ้องไปยังขอบเขตแห่งความกังวล  มุ่งความสนใจไปทีสภาวการณ์ที
ตนเองไม่มีอํานาจควบคุมบังคับ  ทําให้  “ขอบเขตแห่งอิทธิพล”  นันหดเล็กลง
การสร้างพลังงานเชิงบวกต้อง...เปลียนแปลงทีตัวเรา  เรามีอํานาจในการแผ่อิทธิพล
ต่อเงือนไขต่างๆรอบตัวเรา
คนโปรแอกทีฟให้ความสําคัญใว้ทีการใช้อิทธิพลแต่ก็ยังมีขอบเขตแห่งความกังวล    
อย่างร้ายทีสุด  ขอบเขตแห่งความกังวลก็มีขนาดใหญ่เท่าเทียมกับขอบเขตแห่งอิทธิพล
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
19 | P a g e
ทางตรง  โดยอ้อม  หรือไม่อาจควบคุมได้
ปัญหาทีเราพบแบ่งออกเป็น  3 ประเภท  คือ  
 สามารถควบคุมได้โดยตรง  ปัญหาเกียวกับพฤติกรรมของเรา,  ปัญหาแก้ไขได้
โดยปรับเปลียนอุปนิสัย  ข้อนีเป็นชัยชนะส่วนตน
 สามารถควบคุมโดยอ้อม  ปัญหาเกียวเนืองกับพฤติกรรมของผู้อืน,  ปัญหานี
แก้ได้โดยเปลียนวิธีการใช้อิทธิพลทีปฏิบัติอยู่ในขณะนัน  ข้อนีเป็นชัยชนะใน
สังคม
 ไม่สามารถควบคุมได้  ปัญหาทีเราทําอะไรไม่ได้  เช่น  ความเป็นจริงของ
สถานการณ์  หรือเรืองทีกลายเป็นอดีตไปแล้ว
ขยายขอบเขตแห่งอิทธิพล
นักบริหารผู้หนึงเป็นคนโปรแอกทีฟ  เขาขับเคลือนตัวเองด้วยค่านิยม  ไม่ใช่ด้วยอารมณ์
ความรู้สึก  เขาชอบริเริมในเชิงรุก  ติดตามความคิดของท่านประธาน  (เจ้านาย)  ร่วมรับ
ความรู้สึกและอ่านสถานการณ์ต่างๆทีเกิดขึน  เขาไม่ได้มองข้ามจุดด้อยของท่าน
ประธาน  แต่แทนทีจะวิพากษ์วิจารณ์จุดด้อย  เขากลับคิดช่วยเหลือหรือชดเชยจุดด้อย
เหล่านัน  เขาจะพยายามเข้าไปเสริม  โดยทํางานร่วมกับลูกน้องในแผนกจนกระทังจุด
ด้อยของท่านประธานนันกลายเป็ นเรืองนอกประเด็นทีไม่มีผลกระทบและไม่มี
ความสําคัญ
นักบริหารผู้นีมุ่งเน้นไปทีขอบเขตแห่งอิทธิพลของตนเอง  เขาทํางานเกินความคาดหวัง  
โดยคาดหวังความต้องการของท่านประธานล่วงหน้า
คนโปรแอกทีฟ  ไม่ได้มีนิสัยก้าวร้าว  ไม่คุกคาม  พวกเขาเป็นคนฉลาดทีขับเคลือนด้วย
ค่านิยม  ทีพยายามอ่านทิศทางของโลกแห่งความเป็นจริง  และรู้ว่าภาพทีเห็นทียังขาดสิง
ใดไปบ้างทีจะทําให้ดีและมีความสมบูรณ์ยิงขึนไปอีก
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
20 | P a g e
ระหว่างคําว่า  “มี”  กับคําว่า  “เป็น”
ขอบเขตแห่งความกังวลสามารถจะถูกแสดงออกมาให้ได้ยินในภาษาพูดทีแสดงความ
ในใจ  สังเกตได้ว่าจะเห็นจากประโยคทีมีคําว่า  “ขอเพียง”  หรือ  “มี”  เช่น
“จะมีความสุขกว่านี  ขอเพียงผ่อนบ้านได้หมด”
“ขอเพียงมีเจ้านายทีไม่เป็นจอมเผด็จการ”
ขอบเขตแห่งอิทธิพลจะมีแต่คําว่า  “เป็น”  
การมองโลกแบบโปรแอกทีฟ  จะสร้างความเปลียนแปลง  “จากภายในออกสู่ภายนอก”  
ถ้าเราอยากให้เกิดผลลัพธ์ทีแตกต่าง  เราต้องเป็นคนทีต่างไปจากเดิมเพือให้เกิด
ผลกระทบเชิงบวกต่อสิงทีอยู่ภายนอก  เช่น...ฉันเป็นคนใช้ไหวพริบแก้ปัญหา  ฉันเป็นคน
ขยัน
เราสามารถควบคุมชีวิตและมีอิทธิพลต่อสภาวการณ์รอบข้างได้โดยให้ความสนใจไปยัง
ภาวะ  “เป็น”  หรือตัวตนของเรา
ถ้ามีปัญหาในชีวิตสมรส  และต้องการจะแก้ไขสถานการณ์อย่างจริงจัง  ควรจะทุ่มความ
สนใจไปยังเรืองราวทีควบคุมได้ด้วยตัวเอง  เช่น  หันมาแก้ไขข้อบกพร่องของตนเอง  
มุ่งเน้นปรับปรุงตัวให้เป็นคู่สมรสชันเลิศ  เป็นแหล่งความรักทีไม่มีเงือนไข  และการให้
กําลังใจสนับสนุน  ซึงก็หวังว่าภรรยาจะรู้สึกและตอบสนองในแนวทางเดียวกัน  แต่
ถึงแม้ว่าเธอจะตอบสนองหรือไม่ก็ตามที  
เส้นทางในเชิงบวกทีจะแผ่อิทธิพลต่อสถานการณ์ได้ก็คือ  การแก้ไขตนเอง...การ  
“เป็น”  ตัวเอง  วิถีโปรแอกทีฟดีทีสุดทีเราจะทําได้คือ  การครองตนเป็นคนมีความสุข...
ยิมจริงใจ  แล้วอยู่อย่างมีความสุข
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
21 | P a g e
อีกปลายหนึงของท่อนไม้
แม้เราจะมีอิสรภาพในการเลือกการกระทําของเรา  แต่เราไม่อาจเลือกผลทีตามมาจาก
การกระทํานันได้  พฤติกรรมของเราอยู่ภายใต้การควบคุมของหลักการ  
โดยทีการใช้ชีวิตแบบสอดคล้องกับหลักการ  จะก่อให้เกิดผลในเชิงบวก  การใช้ชีวิตฝ่า
ฝืนหลักการ  จะก่อให้เกิดผลในแง่ลบ
หากไม่ยอมรับทราบ  ไม่ยอมแก้ไข  ไม่ยอมเรียนรู้จากความผิดพลาด  ผลแง่ลบเหล่านีจะ
กลายเป็นความผิดพลาดทีสูงขึนไปอีกระดับหนึง  ผลแง่ลบนีจะส่งคนผู้นันให้จมลึกไปใน
ความผิดพลาดอืนๆยิงกว่าเดิม
ดังนัน  มันมีความสําคัญอย่างยิงทีจะยอมรับความผิดพลาด  หาทางแก้ไขโดยด่วน  
ความผิดพลาดนันจะได้ไม่เหลือพลังทีจะแผ่มารุกรานการกระทําก้าวต่อไปของเรา  
เพือทีเราจะได้เรียกพลังในตัวของเรากลับคืนมาอยู่ในสภาพเดิม
การให้และรักษาสัญญาผูกมัด
แก่นกลางของขอบเขตแห่งอิทธิพลคือ  “ความสามารถทีจะผูกมัดตนเองกับการให้
และรักษาคําสัญญานัน”  การผูกมัดทีเราให้ต่อตนเองและผู้อืนกับบูรณภาพ  
(Integrity) ต่อการผูกมัดนัน  เป็นองค์ประกอบสําคัญและเป็นการแสดงให้เห็นระดับ
ความเปนคนโปรแอกทีฟในตัวเรา
การให้และรักษาคําสัญญาผูกมัด  มีความสําคัญต่อการเจริญเติบโตในฐานะบุคคลคน
หนึงของเราอย่างมาก  เพราะเป็นองค์ประกอบสําคัญในการพัฒนาอุปนิสัยแห่ง
ประสิทธิผล  ความรู้  ทักษะ  และความปราถนา  ทุกๆปัจจัยอยู่ในมือของเราแล้วทีจะทํา
ให้เป็นไปในแนวทางทีเราต้องการ  เราเลือกได้
ภาวะโปรแอกทีฟ: บททดสอบ  30 วัน
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
22 | P a g e
ในเวลาทีคุณทําผิดพลาด  ให้ยอมรับอย่างไม่อิดออด  แล้วพยายามแก้ไข  และเรียนรู้จาก
ความผิดพลาดนันทันที  อย่าได้ไปติหนิติเตียนกล่าวโทษผู้อืน  ให้พยายามทุ่มพลังงานไป
ยังเรืองราวทีคุณควบคุมได้  โดยแก้ไขตนเอง...แก้ไขภาวะ  “เป็น”
ข้อเสนอแนะในการปรับใช้
1. ตลอดทังวัน  ฟังภาษาพูดของตน  และภาษาพูดของคนรอบข้าง  บ่อยครังแค่ใหนที
คุณใช้และได้ยินภาษารีแอกทีฟ  “ขอเพียงแค่”  หรือ  “ผมทําไม่ได้”  หรือ  “ผม
จําเป็นต้อง...”
2. ระบุประสบการณ์ทีคุณจะได้พบในอนาคตอันใกล้  หากพิจารณาจากประสบการณ์
ดังเดิม  คุณจะตอบสนองในแง่รีแอกทีฟ  นําเอาสถานการณ์นันมาพิจารณาใน
ขอบเขตแห่งอิทธิพล  คุณจะตอบสนองเชิงโปรแอกทีฟได้อย่างไร?  ใช้เวลาคิดและ
วาดภาพประสบการณ์นันให้ชัดเจนในใจ  วาดภาพตนเองตอบสนองในเชิงโปรแอก
ทีฟ  เตือนตนเองอีกครังว่ามีช่องว่างระหว่างสิงเร้ากับการตอบสนอง  ผูกมัดตนเองว่า
จะใช้อิสรภาพในการเลือก
3. เลือกปัญหาทีบ้านหรือทีทํางานทีทําให้คุณสับสนวุ่นวายใจ  แยกประเภทว่าเป็น
ปัญหาโดยตรง  โดยอ้อม  หรือไม่อยู่ในการควบคุม  ระบุขันตอนแรกทีคุณทําได้ใน
ขอบเขตแห่งอิทธิพลเพือแก้ปัญหา  แล้วปฏิบัติตามขันตอนนัน
4. ทดสอบภาวะโปรแอกทีฟ  30 วัน  จับตามองความเปลียนแปลงในขอบเขตแห่ง
อิทธิพล
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
23 | P a g e
อุปนิสัยที 2: เริมต้นด้วยจุดหมายในใจ
หลักการแห่งภาวะผู้นําส่วนบุคคล
จินตนาการว่า  นับไปอีกสามปีจากวันนี  คุณเดินทางไปยัง  งานศพของคุณ  ในงานพิธีจะ
มีผู้มากล่าวคําใว้อาลัยทังหมด  4 คน  คนแรกมาจากครอบครัวของคุณ  คนทีสองเป็น
เพือนสนิทของคุณ  คนทีสามเพือนร่วมงานของคุณ  และคนทีสีมาจากสถาบันศาสนา
หรือองค์กรในชุมชนทีคุณมีส่วนร่วมอยู่
คุณอยากจะให้ผู้กล่าวใว้อาลัยทังสี  พูดถึงคุณและชีวิตของคุณในแง่ใดบ้าง?  
คุณลักษณะใดในตัวคุณทีคุณอยากให้พวกเขาจําได้?  ผลงานหรือความสําเร็จใดทีคุณ
อยากให้พวกเขาจดจํา?
หมายความว่าอย่างไร  “เริมต้นด้วยจุดหมายในใจ”
การเริมต้นด้วยจุดหมายในใจ  หมายความถึงการเริมต้นด้วยความเข้าใจอย่างชัดเจนว่า  
ต้องการจะเดินไปยังจุดใด  จุดใดทีต้องการจะไปถึง  (จุด  B) ดังนัน  จึงจําเป็นจะต้อง
เข้าใจให้ดีก่อนว่าขณะนีคุณอยู่ทีใด  (จุด  A) เพือจะได้ก้าวทีละก้าว  มุ่งหน้าไปยัง
จุดหมายนัน  (จุด  B)  ในทิศทางทีเหมาะสม
หากคุณทําการทบทวนและเรียบเรียงเนือหาทีคุณต้องการจะให้ผู้กล่าวใว้อาลัยยกขึน
มาบรรยายในงานศพของคุณได้แล้ว...แสดงว่า  คุณค้นพบนิยามความสําเร็จของตนเอง
เข้าแล้ว  และก็อาจเป็นไปได้ว่าชือเสียงเกียรติยศ  เงินทองหรือสมบัติอืนใดทีเราดินรน
แสวงหามาตลอดชีวิต  ไม่ได้เป็นส่วนหนึงสิงทีเราต้องการทีจุดสุดท้ายของชีวิต
สรรพสิงสร้างสองครัง
บนหลักการทีว่า  “สรรพสิงสร้างสองครัง”  ครังแรกสุดสร้างขึนมาในใจ  และการสร้างครัง
ถัดมา  จะเป็นการก่อตัวเป็นรูปเป็นร่างจับต้องได้
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
24 | P a g e
ยกตัวอย่างการสร้างบ้าน  คุณจะวาดภาพในใจ  แล้วเขียนออกมาเป็นแบบแปลนบ้าน
กฏของช่างไม้ก็คือ  “วัดสองครัง  ตัดครังเดียว”
หลังจากนัน  คุณจึงเริมก่อสร้างบ้านจริงๆ  โดยใช้แปลนทีวาดใว้แล้วนันเป็นแบบ
ภาวะผู้นําและการบริหารจัดการ...การสร้างสองครัง
“ภาวะผู้นํามาก่อน  การบริหารจัดการมาเป็นอันดับสอง”
ไม่มีการบริหารจัดการทียอดเยียมใดทีจะชดเชยความล้มเหลวของภาวะผู้นําได้  แต่
ภาวะผู้นําหาได้ยากเพราะเราผูกติดอยู่ในกรอบความคิดว่าการบริหารจัดการต้องมา
ก่อนเป็นอันดับหนึง
เขียนบทชีวิตใหม่: สถาปนาตนเองเป็นผู้สร้าง
ภาวะโปรแอกทีฟจะอยู่บนรากฐานของคุณสมบัติเฉพาะมนุษย์เรือง  “การรู้ตนเอง”  อีก
สองเรืองคือ  “จินตนาการ”  และ  “มโนธรรม”
ไม่มีความจําเป็นใดๆทีจะใช้ชีวิตอยู่ใต้บัญชาของบทบาทชีวิตเก่า  เรามีสิทธิเลือกการ
ตอบสนองทีจะใช้จินตนาการ  ความคิดสร้างสรรค์  เขียนบทชีวิตใหม่ทีมีประสิทธิผล  
กลมกลืนไปกับค่านิยมลําลึกในตัวเรา  สอดคล้องกับหลักการทีทําให้ค่านิยมของเรา
เปียมความหมาย
คําปณิธานส่วนบุคคล
ในการเขียนคําปณิธานส่วนบุคคลหรือปรัชญาหรือหลักคําสอนประจําชีวิต  คุณควรจะ
มุ่งความสนใจไปทีสิงทีคุณต้องการจะเป็น  (คุณลักษณะ)  ต้องการจะทํา  (การสร้าง
ประโยชน์หรือความสําเร็จ)  และคุณลักษณะหรือหลักการทีเป็นพืนฐานของการเป็นอยู่
และการลงมือทําจริง
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
25 | P a g e
เมือไหร่ทีเราได้รับรู้ถึงปณิธาน  เราก็จะได้ทราบถึงแก่นของภาวะโปรแอกทีฟประจําตัว  
เราจะได้ทราบถึงวิสัยทัศน์และค่านิยมทีจะชีนําชีวิต  เราจะได้ทราบถึงทิศทางทีจะ
วางเป้ าหมายทังระยะสันและระยะยาว
ทีจุดศูนย์กลาง
จุดศูนย์กลางเป็นจุดกําเนิดของความมันคง  การชีแนะ  ปัญญา  และพลังอํานาจ  
เมือไหร่ทีมีองค์ประกอบทัง  4 ครบถ้วน  ทีมีความสอดคล้องกัน  จะทําให้เกิด
บุคลิกลักษณะทีมีความสง่างาม  มีคุณลักษณะทีมีความสมดุลและงดงามเต็มเปียมไป
ด้วยบูรณภาพ  (Integrity)
คนเราทุกคนมีจุดศูนย์กลาง  เพียงแต่เราเองอาจไม่รู้ตัวว่าจุดศูนย์กลางนันส่งผลกระทบ
ต่อทุกๆด้านในชีวิตของเรา  เช่น  หลักยึดเหนียวทางอารมณ์  ความนับถือตนเอง  รวมไป
ถึงมาตราฐาน หรือหลักการ หรือเกณฑ์วัด  ทีใช้ควบคุมการตัดสินใจ  และการกระทํา
ความสํานึกในสมดุลชีวิต  ดุลพินิจ  เป็นสายใยทีเหนียวรังชีวิตให้เป็นอันหนึงอันเดียวกัน  
เป็นพลังและเป็นแรงขับเคลือนทีทําให้ทํางานได้สําเร็จ
ระบุจุดศูนย์กลางของตัวเรา
วิธีทีดีทีสุดทีจะค้นหา  “จุดศูนย์กลาง”  ของตัวเรา  จะเป็นการมองไปทีองค์ประกอบ
พืนฐานทัง  4 ของชีวิต  ถ้าเราสามารถระบุแต่ละด้านได้  อาจทําให้เราสามารถมอง
ย้อนกลับไปหาแก่นกลางทีเป็นต้นนําของเรืองนันๆได้
การยึด  “หลักการ”  เป็นจุดศูนย์กลาง
การใช้ชีวิตโดยยึด  “หลักการ”  ทีถูกต้องเป็นจุดศูนย์กลาง  จะทําให้เราสามารถสร้าง
พืนฐานมีความมันคงในการใช้ชีวิต  ทําให้องค์ประกอบทัง 4 ของชีวิตมีพัฒนาการได้
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
26 | P a g e
เต็มที  ถ้าคุณมองผ่านกรอบความคิดของ  “หลักการ”  ทีถูกต้อง  คุณจะเห็นภาพที
แตกต่างไปจากการมองผ่านกรอบความคิดทียึดเรืองอืนๆ  เป็นจุดศูนย์กลาง  (เช่น  เงิน  
วาน  การครอบครอง  เป็นต้น)
จุดศูนย์กลาง ความมันคง การชีแนะ ปัญญา พลังอํานาจ
ห า ก คุ ณ ยึ ด  
“หลักการ”  เป็น
จุดศูนย์กลาง
ความมันคงอยู่บน
หลักการทีถูกต้อง  ไม่
เปลียนแปลง  แม้จะ
มี เ งื อ น ไ ข ห รื อ
ส ถ า น ก า ร ณ์
ภายนอก
คุณรู้ว่า  “หลักการ”  
ทีถูกต้องนันยืนยัน
ผลลัพธ์ทีซําแล้วซํา
เ ล่า ใ น ชี วิ ต ผ่า น
ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
ส่วนตัวของคุณ
“หลักการ”  ทีถูกต้อง
ช่วยให้คุณเข้ าใจ
พัฒ น า ก า ร ข อ ง
ชีแนะด้วยการให้
ทิศทางเพือให้เห็น
จุดหมายและวิธีทีจะ
ไปถึงเป้ าหมาย
ได้รับข้อมูลถูกต้อง
แม่นยํานําไปใช้ให้
เกิดผลเป็นลัพธ์ทีมี
ความหมาย
ในทุกสถานการณ์  
สามารถตัดสินใจ
เพือสรรหาทางเลือก
อืนด้วยสติในเชิงโป
ร แ อ ก ที ฟ    ก า ร
ตัดสินใจนันมาจาก
มโนธรรมทีเป็ นผล
ดุลพินิจส่งผลต่อผล
ทีจะเกิดขึนในระยะ
ยา ว   สะ ท้ อ น ถึ ง
สมดุลของความ
ชาญฉลาด  และ
ความเชือมันในใจ
คุณจะมองภาพที
แตกต่างและคิดต่าง
ไปจากโลกรีแอกทีฟ
ของคนส่วนใหญ่
คุณมองโลกในแง่
ทีว่าจะทําอะไรให้
โลกและผู้อืนได้บ้าง
คุ ณ ตี ค ว า ม
ประสบการณ์ทุก
คุณรู้ ตนเอง  รู้ ทัน
ผู้อืนและกระทําใน
เชิงโปรแอกทีฟ  ไม่
จํากัดด้วยทัศนคติ  
พฤติกรรม  หรือการ
กระทําของผู้อืน
มีความสามารถมาก
เกินทรัพยากรของ
ตน  พยายามทีจะเข้า
สู่การพึงพาซึงกัน
และกันในระดับที
สูงขึน
การตัดสินใจและ
การกระทําไม่ได้
ขั บ เ ค ลื อ น โ ด ย
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
27 | P a g e
ตนเอง  ให้อํานาจ
ความเชือมันทีจะ
เ รี ย น รู้ เ พิ ม เ ติ ม  
ดังนัน  ความรู้ความ
เข้าใจต่อเรืองต่างๆ
จะเพิมมากขึน
มาจากหลักการ เรื องในชีวิตเป็ น
โอกาสทีจะเรียนรู้
และสร้างผลงาน
ข้อจํากัดทางสถานะ
ก า ร เ งิ น ห รื อ
สภาวการณ์ปัจจุบัน  
คุ ณ พ อ ใ จ กั บ
อิสรภาพของการ
พึงพาซึงกันและกัน
ขยายมุมมองให้กว้างไกล
ในบางคราว  เราถูกดึงออกจากสภาพแวดล้อมของตรรกะของสมองซีกซ้าย  แล้วเข้าสู่
พืนทีของสมองซีกขวาโดยไม่ทันตังตัว
แต่ถ้าคุณเป็นคนโปรแอกทีฟ  คุณจะไม่รอจนกว่าสภาวการณ์หรือผู้อืนมาบังคับเพือ
ขยายมุมมองแล้วทําให้คุณตกตะลึง  
คุณสร้าง  คุณขยายมุมมองด้วยสติทีเต็มเปียม  ทีสร้างขึนมาด้วยตนเอง
เมือไหร่ทีคนเราหันมาสนใจอย่างเอาจริงเอาจังว่า  เรืองใหนมีความสําคัญทีสุดในชีวิต  
เรืองใหนทีอยากทํามากทีสุด  สถานะใดทีอยากจะเป็นมากทีสุด  เมือนันคุณค่าแท้จริงจะ
ปรากฏ  ซึงจะทําให้เกิดความรู้สึกท่วมท้น  เกิดความเคารพ  เกิดความนับถือจนแทบจะ
กลายเป็นเหมือนสิงศักดิสิทธิทีเดียว
ดร.  ชาร์ลส  การ์ฟิลด์  นักวิจัย  ยืนยันผลวิจัยทีสําคัญได้ข้อหนึงว่า  ยอดนักกีฬาระดับโลก
และยอดฝีมือในสาขาอืน  จะเป็นนักวาดภาพในใจ  มองเห็นภาพนัน  รับรู้ความรู้สึกจาก
ภาพนัน  สัมผัสประสบการณ์นัน  ก่อนจะลงมือกระทําจริง...ยอดฝี มือเริมต้นด้วย
จุดหมายในใจ
คําปณิธานขององค์กร
คําปณิธานจะต้องมาจากก้นบึงขององค์กรนันๆ  ทุกคนควรจะมีส่วนร่วม  มีสิทธิ  มีเสียง  
มิใช่จํากัดแต่เฉพาะผู้บริหารระดับบน  กระบวนการทีทําให้ทุกคนมีส่วนร่วมจะเป็น
กุญแจสําคัญไขสู่การนําไปปรับใช้จริงในชีวิตการทํางานของทุกๆคน
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
28 | P a g e
หนึงในปัญหาสําคัญในองค์กร  รวมทังครอบครัวก็คือ  ผู้คนในสังกัด  ในแผนก  ในฝ่ายไม่
รู้สึกผูกพันมากพอกับข้อกําหนดทีผู้อืนกําหนดขึนเพือนํามาใช้กับชีวิตของพวกเขา  เป็น
สาเหตุว่าทําไมพวกเขาไม่อยากจะรับรู้
ข้อเสนอแนะในการปรับใช้
1. ใช้เวลาส่วนหนึงเพือบันทึกความประทับใจทีคุณได้รับจากการวาดภาพการไปร่วม
พิธีศพของตนเอง  ใช้ตารางต่อไปนีเพือจัดระเบียบความคิด
กลุ่มคน คุณลักษณะ การทําประโยชน์ ผลสําเร็จ
ครอบครัว
เพือน
งาน
สถาบันศึกษา/บริการ
ชุมชน
2. ใช้เวลาชัวครู่เขียนบทบาทของคุณ  ตามทีคุณมองเห็น  คุณพอใจแล้วหรือยังกับภาพ
สะท้อนจากกระจกเงาของชีวิต?
3. หาเวลาอยู่ตามลําพัง  แยกตัวออกจากกิจกรรมในชีวิตประจําวัน  แล้วลองเริมเขียน
ปณิธานส่วนบุคคล
4. เก็บรวบรวมโน้ตสันๆ  คําคม  แนวคิดทีคุณจะนํามาใช้เป็นวัตถุดิบในการเขียน
ปณิธานส่วนบุคคล
5. ระบุโครงการทีคุณจะทําในอนาคตอันใกล้  นําหลักการการสร้างครังแรกในใจไปปรับ
ใช้  เขียนบันทึกผลลัพธ์ทีต้องการ  และขันตอนทีจะนําสู่ผลสําเร็จนัน
6. แบ่งปันอุปนิสัยที  2 กับสมาชิกในครอบครัวหรือกลุ่มเพือนร่วมงาน  เสนอแนะว่าควร
ร่วมมือร่วมใจกันเขียนคําปณิธานของครอบครัวหรือของกลุ่มงาน
ไม่มีส่วนร่วม  ไม่ผูกมัด
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
29 | P a g e
อุปนิสัยที 3: ทําสิงทีสําคัญก่อน
หลักการแห่งการบริหารจัดการส่วนบุคคล
อุปนิสัยที  3   เป็นการสร้างครังที  2  (การวาดภาพในใจ)...สร้างขึนมาเป็นผลงานทีจับ
ต้องได้  การทําให้บรรลุผล  การทําภาพวาดในใจให้ก่อตัวเป็นรูปเป็นร่าง
อุปนิสัยที  1 และอุปนิสัยที  2 เป็นสิงจําเป็นทีต้องมีก่อนจะมาถึงอุปนิสัยที  3  คุณไม่อาจ
ใช้ชีวิตโดยยึด  “หลักการ”  เป็นจุดศูนย์กลางได้หากไม่รู้และไม่ได้พัฒนาธรรมชาติความ
โปรแอกทีฟในตัวเสียก่อน
พลังอํานาจแห่งความประสงค์อิสระ
ความประสงค์อิสระ  จะทําให้การบริหารจัดการตนเองทรงประสิทธิผลเกิดขึนได้  เพราะ
มัน  คือความสามารถในการตัดสินใจ  การสรรหาทางเลือกและการลงมือกระทําตามการ
ตัดสินใจนัน...ความสามารถลงมือกระทํา  ไม่ใช่ถูกกระทํา
ระดับความความแข็งแกร่งทีเราจะพัฒนาความประสงค์อิสระในชีวิตประจําวันนัน  วัด
ได้จากบูรณาภาพส่วนบุคคล  (Integrity) ในตัวเราเอง  บูรณาภาพเป็นค่านิยมทีเราวาง
ใว้กํากับตัวเรา  มันคือความสามารถทีจะให้สัญญา,  รักษาสัญญาทีให้ใว้ต่อตนเอง,  
“การลงมือทํา  สมราคาคุย”  และการรักษาเกียรติศักดิต่อตนเอง
อี.เอ็ม.เกรย์  ใช้เวลาชัวชีวิตวิจัยเพือค้นหาคุณลักษณะข้อเดียวทีผู้ประสบความสําเร็จมี
ร่วมกัน  นันก็คือ...ทําสิงทีสําคัญก่อน
“ผู้คนทีประสบความสําเร็จมีนิสัยทีจะทําเรืองทีผู้ล้มเหลวไม่อยากทํา”  เขาตังข้อสังเกต  
“...แล้วก็ไม่ได้ทําเพราะชอบ  แต่ความไม่ชอบก็ยังเป็นรองความมุ่งมันสู่จุดหมาย”
การบริหารเวลาสียุค
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
30 | P a g e
แนวคิดทีดีทีสุดในการบริหารเวลา  สามารถสรุปได้สันๆเพียงประโยคเดียวคือ  จัด
ระเบียบและปฏิบัติการโดยคํานึงถึงลําดับความสําคัญ
มาดูภาพรวมของการบริหารเวลา  ในแต่ละยุคแต่ละรุ่น  –  คลืนลูกแรกจะเป็นเหมือน
บัญชีสําหหรับตรวจสอบและบันทึกกิจกรรม  รุ่นทีสองจะเป็นปฏิทินและสมุดนัดหมาย  
รุ่นทีสามเพิมเติมจากรุ่นทีสองด้วยการมีลําดับความสําคัญกํากับแต่ละกิจกรรม
แต่แทนทีจะไปมุ่งความสนใจไปทีสิงของและเวลา  ความคาดหวังของการบริหารเวลารุ่น
ทีสีมุ่งไปทีการรักษาและการสานสัมพันธ์ให้แน่นแฟ้ นยิงขึน...เพือการรักษาสมดุลของ  
P/PC นันเอง
ตารางเวลาพืนที  2
โดยปกติแล้วเราใช้เวลาของชีวิตใน  4 วิธี  มีปัจจัย  2 อย่างทีทําให้คําจํากัดความกิจกรรม
นันก็คือ  “ความเร่งด่วน”  กับ  “ความสําคัญ”  
เร่งด่วน  หมายความว่า  ต้องการความสนใจในทันใด  “เดียวนี!”
ในทางตรงข้าม  เรือง  “สําคัญ”  เกียวข้องกับผลลัพธ์ของกิจกรรม
7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief
31 | P a g e
ตารางเวลาพืนที  2  เป็นหัวใจการบริหารจัดการส่วนบุคคลทรงประสิทธิผล  ว่าเราจะ
รับมือกับเรืองไม่เร่งด่วน  แต่ว่า  มีความสําคัญ  มุ่งทํางานในการสานสัมพันธ์  เขียนคํา
ปณิธานส่วนบุคคล  วางแผนระยะยาว  เรืองราวหลากหลายทีเรารู้ว่าจําเป็นต้องทํา  แต่ดู
เหมือนว่าไม่ถึงเวลาทําเสียที  เพราะไม่เร่งด่วน  (เช่น  การออกกําลังกาย)
เทคนิกการบริหารเวลานันสามารถปรับใช้ได้จากหลักการเปอเรโต...ผลลัพธ์  80 %
ได้มาจากการทํากิจกรรมหรืองานเพียง  20 %
ต้องทําอย่างไรจึงจะสามารถพูดว่า  “ไม่”  ออกมาได้
คุณจะต้องปฏิเสธว่า  “ไม่”  ต่ออะไรสักอย่างอยู่เสมอ  หากไม่ได้ปฏิเสธต่อสิงทีเห็นได้ชัด  
ว่าเป็นเรืองเร่งด่วนในชีวิต  ก็จะเป็นการปฏิเสธเรืองทัวไปทีมีความสําคัญอืนๆ  แม้เรือง
ด่วนจะเป็นเรืองดีๆ  แต่เรืองดีๆก็จะทําให้คุณพลาดทีจะทํา  “สิงดีทีสุด”  และเบียดเบียน
เวลาทีคุณจะได้ทําประโยชน์  หรือสร้างผลงานอืนๆ
“ถ้าคุณต้องการให้งานเสร็จ  มอบให้คนยุ่งรับทําไป”
การให้ความสําคัญกับตารางเวลาพืนที  2   ถือเป็นวิธีคิดทีเติบโตมาจากการใช้จุด
ศูนย์กลาง  “หลักการ”  ความประสงค์อิสระเพียงอย่างเดียว  ไม่อาจช่วยให้กํากับวินัยใน
ตนเองได้อย่างมีประสิทธิผล
การบริหารจัดการมาทีหลังภาวะผู้นํา  คุณจะใช้เวลาอย่างไรก็ขึนอยู่กับว่าคุณมอง
เวลาอย่างไร  และมองเห็นลําดับความสําคัญของกิจกรรมต่างๆในแง่มุมใหน
“คนทรงประสิทธิผลไม่ได้พะวงอยู่กับปัญหา  แต่จะไขว่คว้าหา
โอกาส  ส่งอาหารเลียงโอกาส  ปล่อยให้ปัญหาอดอยากแห้งตาย”  
ปีเตอร์  ดรักเกอร์
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

พิษภัยของสุราต่อสุขภาพ
พิษภัยของสุราต่อสุขภาพพิษภัยของสุราต่อสุขภาพ
พิษภัยของสุราต่อสุขภาพWajana Khemawichanurat
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
คุณธรรมและจริยธรรม
คุณธรรมและจริยธรรมคุณธรรมและจริยธรรม
คุณธรรมและจริยธรรมAum Soodtaling
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sriSuradet Sriangkoon
 
การวิเคราะห์ SWOT
การวิเคราะห์ SWOTการวิเคราะห์ SWOT
การวิเคราะห์ SWOTHenry Shen
 
PPT คำราชาศัพท์
PPT คำราชาศัพท์PPT คำราชาศัพท์
PPT คำราชาศัพท์KruBowbaro
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยSumon Kananit
 
استراتيجيات فن الاقناع لأي مُخَاطَب
استراتيجيات فن الاقناع لأي مُخَاطَباستراتيجيات فن الاقناع لأي مُخَاطَب
استراتيجيات فن الاقناع لأي مُخَاطَبA. M. Wadi Qualitytcourse
 
Organizational management concepts posdcorb
Organizational management concepts posdcorbOrganizational management concepts posdcorb
Organizational management concepts posdcorbiamthesisTH
 
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมหน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมChalit Arm'k
 
แผนการงานป.2
แผนการงานป.2แผนการงานป.2
แผนการงานป.2wichaya2527
 
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุนโครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุนtumetr1
 
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2ทับทิม เจริญตา
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์chamaipornning
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningการวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningJirasap Kijakarnsangworn
 

Was ist angesagt? (20)

พิษภัยของสุราต่อสุขภาพ
พิษภัยของสุราต่อสุขภาพพิษภัยของสุราต่อสุขภาพ
พิษภัยของสุราต่อสุขภาพ
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
คุณธรรมและจริยธรรม
คุณธรรมและจริยธรรมคุณธรรมและจริยธรรม
คุณธรรมและจริยธรรม
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
 
การวิเคราะห์ SWOT
การวิเคราะห์ SWOTการวิเคราะห์ SWOT
การวิเคราะห์ SWOT
 
OJT Techniques
OJT TechniquesOJT Techniques
OJT Techniques
 
PPT คำราชาศัพท์
PPT คำราชาศัพท์PPT คำราชาศัพท์
PPT คำราชาศัพท์
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
 
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
 
استراتيجيات فن الاقناع لأي مُخَاطَب
استراتيجيات فن الاقناع لأي مُخَاطَباستراتيجيات فن الاقناع لأي مُخَاطَب
استراتيجيات فن الاقناع لأي مُخَاطَب
 
Organizational management concepts posdcorb
Organizational management concepts posdcorbOrganizational management concepts posdcorb
Organizational management concepts posdcorb
 
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมหน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
 
แผนการงานป.2
แผนการงานป.2แผนการงานป.2
แผนการงานป.2
 
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุนโครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
 
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
 
เทคนิคการนำเสนอด้วยวาจา
เทคนิคการนำเสนอด้วยวาจาเทคนิคการนำเสนอด้วยวาจา
เทคนิคการนำเสนอด้วยวาจา
 
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningการวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
 

Ähnlich wie เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง

Part 31
Part 31Part 31
Part 31Aaesah
 
พิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรมพิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรมSirirat Channok
 
Document king power
Document king powerDocument king power
Document king powerRatcha Khwan
 
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์Sansana Siritarm
 
JD (job description)
JD (job description)JD (job description)
JD (job description)Goal Maria
 
คิดอย่างฉลาด
คิดอย่างฉลาดคิดอย่างฉลาด
คิดอย่างฉลาดLuckyman Buddhism
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1Sarawut Messi Single
 

Ähnlich wie เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง (11)

The 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growthThe 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growth
 
Vision2
Vision2Vision2
Vision2
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31
 
ลองของ
ลองของลองของ
ลองของ
 
พิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรมพิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรม
 
Document king power
Document king powerDocument king power
Document king power
 
5 laws for nida
5 laws for nida5 laws for nida
5 laws for nida
 
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
 
JD (job description)
JD (job description)JD (job description)
JD (job description)
 
คิดอย่างฉลาด
คิดอย่างฉลาดคิดอย่างฉลาด
คิดอย่างฉลาด
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1
 

Mehr von Kriengsak Niratpattanasai

การโค้ชผู้บริหาร - นิด้า
การโค้ชผู้บริหาร - นิด้าการโค้ชผู้บริหาร - นิด้า
การโค้ชผู้บริหาร - นิด้าKriengsak Niratpattanasai
 
สรุปหนังสือ First break all the rules
สรุปหนังสือ First break all the rulesสรุปหนังสือ First break all the rules
สรุปหนังสือ First break all the rulesKriengsak Niratpattanasai
 
e-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ
e-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพe-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ
e-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพKriengsak Niratpattanasai
 

Mehr von Kriengsak Niratpattanasai (20)

Learning how to learn
Learning how to learnLearning how to learn
Learning how to learn
 
สลได์ CEO Forum
สลได์ CEO Forum สลได์ CEO Forum
สลได์ CEO Forum
 
The first 90 days thai summary
The first 90 days thai summaryThe first 90 days thai summary
The first 90 days thai summary
 
การโค้ชผู้บริหาร - นิด้า
การโค้ชผู้บริหาร - นิด้าการโค้ชผู้บริหาร - นิด้า
การโค้ชผู้บริหาร - นิด้า
 
Better Self-areness, Better Leadership
Better Self-areness, Better LeadershipBetter Self-areness, Better Leadership
Better Self-areness, Better Leadership
 
สรุปหนังสือ First break all the rules
สรุปหนังสือ First break all the rulesสรุปหนังสือ First break all the rules
สรุปหนังสือ First break all the rules
 
e-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ
e-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพe-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ
e-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ
 
Nida coaching 2014
Nida coaching 2014Nida coaching 2014
Nida coaching 2014
 
StrengthsFinder Slides for Champ 2014
StrengthsFinder Slides for Champ 2014  StrengthsFinder Slides for Champ 2014
StrengthsFinder Slides for Champ 2014
 
Prework coaching
Prework coachingPrework coaching
Prework coaching
 
coaching
coachingcoaching
coaching
 
Coaching feedback form
Coaching feedback form Coaching feedback form
Coaching feedback form
 
Homeroom 4 values
Homeroom 4 valuesHomeroom 4 values
Homeroom 4 values
 
Homeroom 4 values ho
Homeroom 4 values hoHomeroom 4 values ho
Homeroom 4 values ho
 
Homeroom 3 note
Homeroom 3 noteHomeroom 3 note
Homeroom 3 note
 
Slide homeroom 2 คนต้นแบบ
Slide homeroom 2 คนต้นแบบSlide homeroom 2 คนต้นแบบ
Slide homeroom 2 คนต้นแบบ
 
Homeroom 2 คนต้นแบบ
Homeroom 2 คนต้นแบบHomeroom 2 คนต้นแบบ
Homeroom 2 คนต้นแบบ
 
Ch amp handout text
Ch amp handout textCh amp handout text
Ch amp handout text
 
Ch amp day 2 am
Ch amp day 2 amCh amp day 2 am
Ch amp day 2 am
 
Ch amp day 1 pm
Ch amp day 1 pmCh amp day 1 pm
Ch amp day 1 pm
 

เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง

  • 1. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 1 | P a g e “7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง”                         “The  7  Habits  of  Highly  Effective  People” By Dr. Stephen R. Covey คํานําผู้เขียน คําถาม    อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง ยังสามารถนํามาปรับใช้ในยุคสมัยนีได้ หรือไม่?   คําตอบ  ยิงความเปลียนแปลงมีขยายวงกว้างและมีความรุนแรงขึน  ปัญหาท้าทาย สาหัสมากขึนอุปนิสัยทังเจ็ดก็ยิงมีความสําคัญเป็นเงาตามตัว ขอยกตัวอย่างความขัดแย้งกันของปัญหาท้าทายต่างๆทีเราพบเห็นกันจนเป็นเรืองปกติ ธรรมดา  ความกลัวและการขาดความมันคง  กลัวตกงานไม่มีรายได้เลียงครอบครัว  ต้อง พึงพาผู้อืนทังในทีทํางานและในครอบครัว  “ต้องได้เดียวนี”  ความอยากได้อยากซือ  ลําหน้าความสามารถในการหาเงินทอง ทรัพย์สินเข้าบ้านของเรา  การตําหนิกล่าวโทษและความรู้สึกตกเป็นเหยือ  เมือไหร่ทีเจอกับปัญหาเราจะได้ เห็นการกล่าวโทษกันไปกันมา  เพราะว่าสังคมของเราติดกับการโวยวายเมือเรา ตกเป็นเหยือ  ความท้อแท้สินหวัง  การทียอมเชือว่าเราเป็นเหยือของสถานการณ์  ยอมรับการ ถูกเย้ยหยันและความท้อแท้  ขาดสมดุลของชีวิต  สมดุลของชีวิตจะมีได้ก็ต่อเมือบุคคลผู้นันมีสายตายาวไกล สามารถมองเห็นลําดับความสําคัญของสิงต่างๆในชีวิต
  • 2. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 2 | P a g e  “ฉันได้ประโยชน์อะไรบ้าง”  ในสมัยทีคนทํางานด้วยการใช้ความรู้  เฉพาะคนที ฝึกฝนการอยู่แบบพึงพาซึงกันและกันได้อย่างเชียวชาญเท่านันทีจะสามารถได้ ประโยชน์  ความโหยหา  อยากให้ผู้อืนเข้าใจ  อยากให้ผู้อืนรับฟัง  ถ้าคุณรับฟังคนอืนด้วย ความจริงใจ  เข้าอกเข้าใจก่อน  พวกเขาก็พร้อมจะรับฟังคุณเป็นการตอบแทน  ความขัดแย้งและข้อแตกต่าง    คิดหาวิธีทีจะแก้ไขปัญหา  “แบบประนีประนอม”   จะเป็นการเอือประโยชน์แก่ทังสองฝ่ายทีดีกว่า    ความเฉือยชาส่วนบุคคล  ทังทางกายภาพ  สติปัญญา  สังคม/อารมณ์  และจิต วิญญาณ  เราจะได้เห็นภาพขัดแย้งของวัฒนธรรมกับวิถีการยึด  “หลักการ”  เป็น จุดศูนย์กลางชีวิต การเรียนแล้วไม่ทํา  ไม่ถือเป็นการเรียนรู้   การรู้แล้วไม่ทํา  ไม่ถือว่ารู้จริง
  • 3. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 3 | P a g e จากภายในออกสู่ภายนอก จรรยาบรรณคุณลักษณะกับจรรยาบรรณบุคลิกภาพ   (Character Ethics and Personality Ethics) ผมทุ่มเทให้กับการค้นคว้าสิงพิมพ์เกียวกับ  “ความสําเร็จ”  ในสหรัฐอเมริกานับตังแต่ ก่อตังประเทศในปี  1776  หนังสือเล่มนีเป็นผลรวมและเนือหาทีเป็นกุญแจสําคัญไขสู่ การใช้ชีวิตทีเรียกว่า  “การประสบความสําเร็จ” การค้นคว้าของผมย้อนหลังไป  200 ปี  ความสําเร็จในช่วง  50 ปีหลังค่อนข้างจะผิวเผิน   เพราะกล่าวถึงเพียงภาพลักษณ์  (Image/appearance) ทีมีใว้ให้สังคมได้เห็นเทคนิค พิเศษและหนทางแก้ปัญหาด่วนทันใจ ในช่วง  150 ปีหลังประกาศอิสรภาพสหรัฐอเมริกาพอจะเรียกได้ว่า  “จรรยาบรรณ คุณลักษณะ”  (Character Ethics) คุณสมบัติเช่น  บูรณภาพ  (Integrity) ความนอบน้อม ถ่อมตน  (Humble) การครองตนในกรอบศีลธรรม  (Moral) อดทนข่มกลัน (Patience) มุ มานะทํางานหนัก  ชีวิตเรียบง่าย จรรยาบรรณคุณลักษณะ (Character Ethics) สอนหลักการพืนฐานของการใช้ชีวิต แบบทรงประสิทธิผล (Effective) หลังสงครามโลกครังที  1 มุมมองความสําเร็จเปลียนมาเป็นสิงทีเราเรียกว่า   “จรรยาบรรณบุคลิกภาพ”  (Personality Ethics) ความสําเร็จนันเป็นผลจากการฝึกฝน บุคลิกภาพให้ปรากฏต่อสายตาสาธารณชนทัวไป  
  • 4. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 4 | P a g e ความยิงใหญ่ปฐมภูมิ  (Primary) และทุติยภูมิ (Secondary) องค์ประกอบของจรรยาบรรณบุคลิกภาพ  (Personality Ethics)  เช่น  การปรับปรุง บุคลิกภาพ  ทักษะการสือสาร  กลยุทธ์โน้มน้าวจิตใจเป็ นองค์ประกอบทีนําไปสู่ ความสําเร็จ  แต่ว่ามีความสําคัญอยู่ในระดับรองๆลงไป...มิใช่ระดับปฐมภูมิ  (Primary) หากไม่มีความใว้วางใจซึงกันและกันก็จะไม่มีรากฐานของความสําเร็จทียังยืน  จะมีก็แต่ ความดีงามพืนฐานเท่านันทีสามารถจะให้ชีวิตแก่เทคนิคทีควรนําไปใช้งานจริง อํานาจแห่งกรอบความคิด  (Paradigm) ก่อนอืน  เราจําเป็ นต้อง  “เข้าใจ”  และ  “รู้วิธีทีจะปรับเปลียน”  “กรอบความคิด”   (Paradigm) ของตัวเราเองก่อน... กรอบความคิด  คือ  แผนทีทีเราเห็นผ่านจากมุมมองของเรา  “แผนทีไม่ใช่ดินแดนที แท้จริงทังหมดทีเป็นอยู่”  แผนทีเป็นเพียงกรอบอ้างอิงของตัวเราเองเท่านัน เราแต่ละคนมีแผนทีหลายแผ่นอยู่ในหัว  แบ่งได้เป็น  2 ประเภท  คือ  แผนทีตามวิถีทีเรา เป็นอยู่หรือความเป็นจริง  และแผนทีวิถีทีเราควรจะเป็น/ทําตามหรือค่านิยม การเปลียนทัศนคติ (Attitude) และพฤติกรรม (Behavior)  แทบจะไม่เกิดผลในระยะ ยาวหากเราไม่ทบทวนกรอบความคิดพืนฐานของเราเองทีเป็นต้นกําเนิดของทัศนคติ และพฤติกรรมเสียก่อน  เพือเป็นการแสดงให้เห็นว่ากรอบความคิดส่งผลกระทบสําคัญ อย่างมากต่อวิธีทีเราสานสัมพันธ์กับผู้อืน จุดยืนของเราอยู่ทีใหน   ก็ขึนอยู่กับทีนังของเรา
  • 5. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 5 | P a g e การตีความสิงทีเห็น  สิงทีได้ยินขึนอยู่กับสถานการณ์ทีฝังอยู่ในใจของเราอยู่ก่อนแล้ว   ดังนัน  ข้อเท็จจริงก็จะไม่มีความหมายแตกต่างไปจากการตีความของเรา   สําหรับการเปิดใจให้  “รับการรับรู้ของผู้อืน”  หมายความว่า  เราจะได้เห็นภาพขนาดใหญ่ ขึน  จากมุมมองทีปลอดจากอารมณ์ความรู้สึกในการตัดสินผู้อืนมาเกียวข้องด้วย พลังแห่งการเปลียนกรอบความคิด  (Paradigm Shift) การเปลียนกรอบความคิด  (Paradigm Shift) จะทําให้เรามองโลกด้วยมุมมองใหม่   ก่อให้เกิดการเปลียนแปลงทีมีพลังมหาศาล   ในกรอบความคิดของเรา  การตัดสินต่างๆไม่ว่าจะถูกหรือจะผิดนันเป็นรากฐานมาจาก ของทัศนคติของเรา  พฤติกรรมของเรา  และการสานสัมพันธ์กับผู้อืน ในคํากล่าวของธอโร  “การตัดพุ่มใบไม้แห่งความชัวร้ายนับพันครัง  ไม่ดีเท่าการตัด รากแก้วเพียงครังเดียว”  เราจะประสบความสําเร็จในชีวิตอย่างรวดเร็วอย่างก้าว กระโดดได้เมือเราเลิกการตัดพุ่มใบทัศนคติและพฤติกรรม  แล้วหันมาทุ่มเทความ พยายามทังหมดให้กับรากแก้ว...”กรอบความคิด  ซึงเป็นแหล่งกําเนิดของทัศนคติ และพฤติกรรม” กรอบความคิดทีมีจุดศูนย์กลางอยู่ที  “หลักการ” คนเรามองชีวิตและความสัมพันธ์ในกรอบความคิดหรือแผนทีทีมีผลมาจาก ประสบการณ์ในอดีตหรือการวางเงือนไขของสังคม   แผนทีไม่ใช่  “ดินแดน”  เป็นเพียง  “ความจริงตามอัตวิสัย”  (Subjective)  [ฉะนัน  แผนที   คือ  “ความจริงตามอัตวิสัย”] สําหรับ  “ความเป็นจริงตามวัตถุวิสัย”  (Objective) หรือดินแดน  นันทําหน้าทีควบคุม การเจริญเติบโตและความสุขของมนุษย์
  • 6. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 6 | P a g e “วิธีปฏิบัติ”  นันเป็นการจัดการสถานการณ์เฉพาะเจาะจงของหลักการ  และเป็นสัจธรรม พืนฐานทีสามารถนําไปประยุกต์ใช้ได้ในทุกเรือง   “หลักการ”  ปรับใช้ได้กับชีวิตแต่ละคน  ชีวิตครอบครัว  ชีวิตสมรส  องค์กรเอกชนและ องค์กรสาธารณะทุกประเภท  เมือไหร่ทีเราปรับสัจธรรมให้กลายเป็นอุปนิสัย  อุปนิสัยนี จะเป็นพลังในตัว  สามารถนําไปสร้างสรรค์วิธีปฏิบัติหลากหลายรูปแบบทีจะนําไปใช้ใน สถานการณ์ต่างๆกันได้ ถ้าแผนทีหรือกรอบความคิดของเรายิงมีความใกล้เคียงกับหลักการหรือกฏธรรมชาติ มากเท่าไหร่  แผนทีนันก็จะให้ความแม่นยํา  และนํามาใช้งานได้ประโยชน์มากขึนเท่านัน   แผนทีถูกต้องเหมาะสม  จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อประสิทธิผลส่วนบุคคลและ ประสิทธิผลระหว่างบุคคล  มากเกินกว่าความพยายามทังหมดทีทุ่มเทไปกับการ เปลียนแปลงทัศนคติและพฤติกรรมนันๆ หลักการแห่งการเจริญเติบโตและการเปลียนแปลง จรรยาบรรณบุคลิคภาพ  (Personality Ethics) เป็นวิธีทีเย้ายวนใจคนหมู่มากเพราะ เสนอวิธีให้ได้มาซึง  “ความรํารวยโดยไม่ต้องทํางานหนัก”  ทีมองเผินๆอาจคล้ายจะได้ผล แต่ก็ยังเป็นแผนลวงตานันเอง เห็นได้ชัดอยู่แล้วว่าเป็นไปไม่ได้ทีจะฝ่ าฝื น  ไม่รับรู้  หรือใช้ทางลัดเพือให้ได้มาซึง ความสําเร็จ  เพราะจะทําให้พบแต่ความผิดหวังและความสับสนวุ่นวายใจในทีสุด ถ้าคุณไม่เปิดโอกาสให้ครูทราบว่าฝีมือของคุณอยู่ในระดับใดโดยการตังคําถามหรือ เปิดเผยความโง่เขลาในบางครัง  คุณจะไม่มีโอกาสเรียนรู้เรืองใหม่ๆ  ไม่มีโอกาสได้ เจริญเติบโต  การยอมรับความโง่เขลาของตนเองเป็นก้าวแรกทีจะมีโอกาสในการเรียนรู้ เพิมเติม
  • 7. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 7 | P a g e หากต้องการทีจะสานสัมพันธ์กับภรรยา  สามี  ลูก  เพือนหรือเพือนร่วมงาน  เราต้องรับฟัง   “การรับฟัง”  นันต้องอาศัยความแข็งแกร่งทางอารมณ์  การรับฟังจําเป็นต้องมีความ อดทนอดกลัน  มีจิตใจทีเปิดกว้าง  และความปราถนาจะทําความเข้าใจผู้พูด เวลาใหนทีควรสังสอน  เวลาใหนทีไม่ควรสังสอน  ในขณะทีความสัมพันธ์กําลังตึงเครียด   และบรรยากาศเปียมด้วยอารมณ์ต่างๆ  ความพยายามในการสังสอนอาจจะกลายเป็น การออกความเห็น  ตัดสินและการผลักไสไม่ยอมรับในตัวผู้ทีกําลังพูดคุยด้วย  ในทาง ตรงกันข้าม  ในเวลาทีความมีสัมพันธ์ราบรืน  การอภิปราย  ถกเถียง  หรือคุยกันเรือง ค่านิยมต่างๆ  จะให้ผลกระทบมากกว่า วิธีทีเรามองปัญหาคือปัญหา กรอบความคิดจรรยาบรรณบุคคลิคภาพ  (Personality Ethics) ส่งผลกระทบต่อวิธีทีเรา มองปัญหา นักบริหารทีมองการณ์ไกล  จะไม่สนใจจิตวิทยาปลุกใจ  และการกระตุ้นจูงใจทีไม่มีสาระ นักบริหารต้องการ  “แก่นหลัก”  ต้องการ  “กระบวนการ”  ต้องการกําจัดปัญหาเรือรังที ซ่อนอยู่ภายใน  และมุ่งความตังใจและพลังงานส่วนมากไปยัง  “หลักการ”  ทีจะนําผลดี ระยะยาวมาสู่องค์กร ความคิดระดับใหม่  “ปัญหาสําคัญๆทีเราเผชิญอยู่  ไม่อาจแก้ไขได้โดยใช้ ระดับความคิดเดิมในตอนทีเราสร้างปัญหานีขึนมา” แอลเบิร์ต  ไอน์สไตน์
  • 8. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 8 | P a g e “ระดับความคิด”  คือ  เนือหาใน  7 อุปนิสัย สําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง  ยึดหลักการเป็น แก่นหลัก  ทีอยู่บนรากฐานของคุณลักษณะการใช้วิถี  “จากภายในออกสู่ภายนอก”   เพือให้มีประสิทธิผลระดับบุคคลและระหว่างบุคคลสูง วิถีจากภายในออกสู่ภายนอก  ยืนยันชัดเจนว่า  “ชัยชนะส่วนตัว”  ต้องมาก่อน  “ชัยชนะ ในสังคม”  การให้สัญญาและรักษาสัญญาต่อตัวเองมาก่อนการให้สัญญาและรักษา สัญญาต่อผู้อืน เรืองนีมีรากฐานมาจากกฏธรรมชาติทีควบคุมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของ มนุษย์  การเจริญเติบโตหมุนวนสูงขึนไต่จาก  “การพึงผู้อืน”  มาเป็น  “การพึงตนเองอย่าง มีความรับผิดชอบ”  จนไปถึง  “การพึงพาซึงกันและกันอย่างมีประสิทธิผลยิง” อุปนิสัย  7 ประการ-ภาพรวม โดยเกณฑ์พืนฐานทีสุด  คุณลักษณะของเรา  เป็นผลรวมของอุปนิสัยทีเรามีและเป็นอยู่ อุปนิสัยมีแรงดึงดูดมหาศาลมากเกินกว่าทีคนส่วนใหญ่รู้และยอมรับ  การเลิกนิสัยทีฝัง รากลึกในตัวคนๆหนึงต้องใช้พลังงานมากกว่าการใช้ความตังใจเพียงน้อยนิด  และการ “หว่านความคิด        เก็บเกียวการกระทํา หว่านการกระทํา      เก็บเกียวอุปนิสัย หว่านอุปนิสัย              เก็บเกียวคุณลักษณะ หว่านคุณลักษณะ    เก็บเกียวชะตากรรมบันปลาย”
  • 9. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 9 | P a g e เปลียนแปลงเล็กๆน้อยๆในชีวิต  การพยายามดินให้หลุดจําเป็นต้องใช้พลังงานมหาศาล   แต่เมือใหร่ทีสลัดหลุดได้แล้ว  เสรีภาพของเราจะข้ามเข้าสู่มิติใหม่ทีเดียว คํานิยามอุปนิสัย ความรู้เป็นกรอบความคิดในเชิงทฤษฏี  ต้องทําสิงใดบ้างและทําเพืออะไร   ทักษะหมายถึง  จะต้องทําอย่างไร  (วิธีการทําทีเป็นขันตอนทีแน่นอน) ส่วนความปราถนา  เป็นมูลเหตุจูงใจ  ความอยากทีจะทํา   หากเราต้องการมีอุปนิสัยแบบใหนให้มาเป็นส่วนหนึงของชีวิต  จะต้องมีองค์ประกอบทัง สามอย่างครบถ้วน เมือต้องการเปลียนแปลงจะต้องได้รับแรงกระตุ้นและจูงใจด้วยเป้ าหมายทีสูงกว่า  ความ เต็มใจทีจะเสียสละสิงทีต้องการในขณะนี  เพือให้ได้มาซึงสิงทีอยากได้ในอนาคต
  • 10. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 10 | P a g e กระบวนการนีทําให้เกิดความสุข  “วัตถุประสงค์และรูปแบบแห่งการดํารงอยู่”  ความสุข สามารถนิยามได้บางส่วนว่าเป็น  “ผลพวงของความต้องการและความสามารถในการ เสียสละสิงทีเราต้องการในขณะนี  เพือจะได้รับสิงทีอยากได้ในบันปลาย” วงจรวุฒิภาวะ อุปนิสัยทังเจ็ดมิใช่สูตรปลุกใจ  (Psych-up Formula) หรือวิธีการปฏิบัติการทีเป็น ชุดคําสังแยกเป็นข้อๆ  การใช้ชีวิตให้สอดคล้องกับกฏธรรมชาติทีว่าด้วยการเจริญเติบโต   จะค่อยๆงอกงามขึน  ผนึกและเรียงตัวกันเป็นเส้นทางทีจะพัฒนาประสิทธิภาพส่วน บุคคล  และความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล   อุปนิสัยทังเจ็ดจะผลักดันให้เราเดินทางไปในวงจรวุฒิภาวะ...จากการพึงผู้อืนไปยังการ พึงตนเองจนบรรลุถึงการพึงพาซึงกันและกัน ในวงจรวุฒิภาวะ  การพึงผู้อืนเป็นกรอบความคิด  “ท่าน”  เช่น  ท่านต้องดูแลฉัน  ท่านต้อง ปกป้ องคุ้มครองฉัน  ถ้าท่านดูแลไม่ดีฉันจะติหนิท่าน การพึงตนเอง  เป็นกรอบความคิด  “ฉัน”  เช่น  ฉันทําได้  ฉันเป็นผู้รับผิดชอบ  ฉันพึงพา ตัวเองได้  ฉันเลือกได้ ส่วน  การพึงพาซึงกันและกัน  จะเป็นกรอบความคิด  “เรา”  เช่น  เราทําได้  เราร่วมมือกัน ได้  เราผนึกฝีมือ  ผนึกความสามารถ  เพือสร้างผลงานทียิงใหญ่ร่วมกัน กรอบความคิดสังคมในยุคปัจจุบันเชิดชูการเป็นอิสระส่วนตัวใว้สูง  เหมือนกับว่าการ สือสาร  การทํางานเป็นทีม  และร่วมมือกันมีคุณค่าในระดับทีตํากว่า ชีวิตโดยธรรมชาติแล้ว  ควรต้องมีการพึงพาซึงกันและกันอย่างสูงสุด เมือไหร่ทีคนพึงพาซึงกันและกันยอมเปิดโอกาสทีจะแบ่งบันตนเองอย่างกว้างขวางซึง   เปียมด้วยความหมายกับผู้อืน  นันจะทําให้คุณสามารถเข้าถึงขุมทรัพย์ทรัพยากรและ ศักยภาพในตัวมนุษย์คนอืนๆอีกหลายคน
  • 11. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 11 | P a g e การพึงพาซึงกันและกันเป็นทางเลือกทีมีเพียงผู้ทีพึงตนเองเท่านันทีจะทําได้    ผู้ทียัง พึงพิงผู้อืนอยู่ไม่มีสิทธิเลือก  เพราะไม่มีคุณลักษณะทีเพียงพอสําหรับการเลือก อุปนิสัย  1, 2 และ  3  จะเน้นทีการเอาชนะตนเอง  ขับเคลือนจากการพึงผู้อืนไปยังการ พึงตนเอง  ถือเป็น  “ชัยชนะส่วนตน”  ชัยชนะส่วนตนจะมาก่อนชัยชนะในสังคมเสมอ เมือคุณพึงตนเองได้อย่างแท้จริง  คุณจะมีคุณลักษณะทีพร้อมจะสานสัมพันธ์กับผู้อืน อย่างมีประสิทธิภาพ  เพือบรรลุสู่  “ชัยชนะในสังคม”  ในอุปนิสัยที  4, 5 และ  6 อุปนิสัยที  7 เป็นอุปนิสัยเพือการเติมเต็มและทําให้สมบูรณ์ใหม่อีกครัง  เป็นอุปนิสัยแห่ง การพัฒนาอย่างต่อเนืองทีจะใต่วงหมุนขึนสูงไปเรือยๆ นิยามประสิทธิผล  (Effectiveness) อุปนิสัยทังเจ็ดเป็นอุปนิสัยแห่งประสิทธิผล  เพราะอยู่บนรากฐานของกรอบความคิด ประสิทธิผล  สอดคล้องกับกฏธรรมชาติ  และหลักการทีเรียกว่า  “สมดุลแห่ง  P/PC” ประสิทธิผลแท้จริงจะต้องมีองค์ประกอบ  2 อย่าง  คือ 1. P - Production ผลผลิตทีต้องการ  (ไข่ทองคํา) 2. PC - Production Capability สินทรัพย์หรือความสามารถในการผลิต  (ห่าน)
  • 12. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 12 | P a g e สินทรัพย์    3 ประเภท สินทรัพย์แบ่งเป็น  3 ประเภท  คือ  ทางกายภาพ  ทางการเงิน  และมนุษย์ ในการหาผลกําไรระยะสัน  เรามักจะแลกกับการเบียดเบียนสินทรัพย์ทางกายภาพ  แต่ ถ้าเรารักษาสมดุล  P/PC  จะทําให้เห็นความแตกต่างอย่างเด่นชัดในการใช้งานสินทรัพย์ กายภาพอย่างมีประสิทธิผล สินทรัพย์เชิงการเงินสําคัญทีสุดของเรา  คือความสามารถในการหารายได้  ถ้าเราไม่ ดูแลรักษา  PC  เราจะขีดข้อจํากัดให้กับทางเลือกของเราเองให้เหลือน้อยลง หากเป็นเรืองมนุษย์  สมดุล  P/PC  ถือได้ว่าเป็นรากฐานทีเท่าเทียมกัน  แต่มีความสําคัญ มากกว่า    เพราะมนุษย์เป็นผู้ควบคุมสินทรัพย์กายภาพและสินทรัพย์การเงิน PC ระดับองค์กร ในเวลาทีพนักงานไม่รักษาสมดุล  P/PC  ในการใช้งานสินทรัพย์ทางกายภาพขององค์กร   แล้ว  นันจะเป็นการลดประสิทธิผลขององค์กร สมดุล  P/PC  มีความสําคัญมาก  โดยเฉพาะอย่างยิงเมือปรับใช้กับสินทรัพย์มนุษย์ใน องค์กร...คือ  ลูกค้าและพนักงาน ตัวอย่าง  เช่น  เมือภัตตาคารทีมีชือจากซุปทีแสนอร่อยเปลียนมือ  เจ้าของคนใหม่เจือนํา จนซุปจาง  ในเดือนต่อมาต้นทุนลดตําลง  ทําให้มีกําไรสูงขึนก็จริง  แต่ลูกค้าประจํา หายไปหมด  เพราะความวางใจในคุณภาพไม่มีอีกแล้ว หลายองค์กรทีเห็นความสําคัญของลูกค้า  จะใส่ใจดูแลผู้ทีจะดูแลลูกค้าโดยตรง  นันก็คือ   พนักงาน  หลักการ  P/PC ก็คือ  “ต้องดูแลพนักงานให้เท่าเทียมกับวิธีทีคุณดูแล ลูกค้าชันยอด” หลักการ  P/PC จะดูแลพนักงานเหมือนพวกเขาเป็นอาสาสมัคร  เช่นเดียวกับการดูแล ลูกค้าให้เหมือนกับอาสาสมัคร  เพราะนันเป็นตัวตนแท้จริง  พวกเขาอาสาทีจะนําสิงดี ทีสุดมามอบให้...ทังด้านหัวใจและสมอง
  • 13. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 13 | P a g e การรักษาสมดุล  P/PC กับสุขอนามัยและความสุขสบายของท่าน  โดยมากจะเป็นการ ตัดสินใจทีต้องใช้ดุลยพินิจทีไม่ใช่เรืองง่ายนัก  ซึงจะเป็นการเกลียสมดุลระหว่างผลลัพธ์ ระยะสันกับการดําเนินการราบรืนในระยะยาว  ■
  • 14. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 14 | P a g e อุปนิสัยที 1: โปรแอกทีฟ หลักการแห่งวิสัยทัศน์ส่วนบุคคล  (Personal Vision) “การรู้ตนเอง”    หรือความสามารถในการติดตามการใช้ความคิดของตนเอง  นีคือเหตุผล ว่าทําไมเราจึงสามารถประเมินค่าและเรียนรู้จากประสบการณ์ของผู้อืนได้เท่าเทียมกับ เรืองราวทีเราพบเจอด้วยตนเอง  นีคือ  สาเหตุว่าทําไมเราจึงสามารถทีจะสร้างอุปนิสัย ใหม่และล้างนิสัยเก่าได้   วิธีทีเรา  “มองตัวเอง”  มองกรอบความคิดของตนเอง  เป็นพืนฐานของกรอบความคิดแห่ง ประสิทธิผล กระจกเงาสังคม ถ้าภาพทีเรามองเห็นตัวเองเป็นภาพสะท้อนมาจากกระจกเงาสังคม  ภาพทีเห็นจะบิด เบียวผิดสัดส่วน  เพราะภาพสะท้อนของกรอบความคิดเชิงสังคมถูกตัดสินโดยเงือนไข และการวางเงือนไขของผู้อืน ทําให้เราเข้าใจว่า  -  เราถูก  “กําหนด”  ใว้แล้ว ตัวเรามิใช่ความรู้สึกของเรา ตัวเรามิใช่อารมณ์ในใจ ตัวเรามิได้เป็นแม้แต่ความคิด
  • 15. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 15 | P a g e ด้วยสภาพแวดล้อม  เราอาจกล่าวโทษว่า  โดนเจ้านายรังแก  คู่สมรสไม่เข้าใจ   สถานการณ์ทางเศรษฐกิจคุกคาม  จะต้องมีใครสักคนหรืออะไรสักอย่างใน สภาพแวดล้อมรอบตัวเราทีเป็นผู้รับผิดชอบต่อเรืองเลวร้ายทีเกิดขึนกับตัวเรา ช่องว่างระหว่างสิงเร้ากับการตอบสนอง ระหว่างสิงเร้ากับการตอบสนอง...มนุษย์มีอิสรภาพในการเลือก อิสรภาพในการเลือก  คือ  อํานาจ  เป็นคุณสมบัติเฉพาะของมนุษย์  นอกจาก  การรู้ ตนเองแล้ว  มนุษย์มีจินตนาการ  ความสามารถทีจะพาตัวเราให้เข้าไปอยู่ในภาพวาดใน ใจของเรา  หลุดออกจากความเป็นจริงทีเกิดขึนเบืองหน้าเรา  มนุษย์ยังมีมโนธรรม  การรู้ ลึกเข้าไปในใจ  แยกแยะความผิดชอบชัวดี   หลักการทีจะควบคุมพฤติกรรม  และแนวทางทีจะปรับความคิดและการกระทําให้ สอดคล้องไปกับมโนธรรมนันนอกเหนืออํานาจอิทธิพลภายนอกจะยืนเข้ามาควบคุมได้ เพราะมนุษย์มีความประสงค์อิสระ  มีความสามารถทีจะทําการทุกอย่างบนรากฐานของ การรู้ตนเองอย่างเป็นอิสระนอกเหนืออํานาจอิทธิพลภายนอก นิยามโปรแอกทีฟ  (Proactive) คนโปรแอกทีฟจะรู้ดีถึงความรับผิดชอบ  ต่อพฤติกรรมของตนทีแสดงออก  จะไม่มีการ ป้ ายความผิดไปยังสภาวการณ์  เงือนไข  หรือการวางเงือนไข   พฤติกรรมของคนโปรแอกทีฟ  เป็นผลมาจากการตัดสินใจ  การเลือกอย่างมีสติ  อยู่บน รากฐานของค่านิยมในใจ  ไม่ใช่ผลจากเงือนไขทีอยู่บนรากฐานของอารมณ์และ ความรู้สึก การยินยอมให้เงือนไขต่างๆรอบตัวมาบงการชีวิต  จะทําให้เรากลายเป็นคนรีแอกทีฟ คนโปรแอกทีฟจะขับเคลือนตัวเองด้วยค่านิยม  พวกเขาจะครุ่นคิด  พินิจพิเคราะห์เป็น อย่างดี  เพือเลือก  และยึดค่านิยมใว้ในใจเพือนํามาปฏิบัติ
  • 16. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 16 | P a g e อย่างไรก็ตาม  คนโปรแอกทีฟยังอยู่ในอิทธิพลของสิงเร้าจากภายนอก  ไม่ว่าจะเป็นใน เชิงกายภาพ  สังคม  หรือจิตวิทยา  แต่การตอบสนองต่อสิงเร้าต่างๆ  ไม่ว่าจะโดย จิตสํานึกหรือจิตใต้สํานึก จะเป็นการตอบสนองด้วยทางเลือกทีอยู่บนรากฐานของ ค่านิยม ความเจ็บปวดไม่ได้อยู่ทีว่าเกิดเรืองใดต่อตัวเรา  แต่เกิดจากการตอบสนองของเราต่อ เหตุการณ์นันทีทําให้เราเจ็บปวด  เรืองเลวร้ายทีเกิดขึนในชีวิต  จะหล่อหลอม คุณลักษณะและบ่มพลังในตัวของเราให้เข้มข้นมากขึน  ให้อิสรภาพในการรับมือกับ สภาวการณ์ยุ่งยากในอนาคตและเป็นแรงบันดาลใจให้แก่ผู้คนรอบข้างทีได้พบเห็นด้วย วิกเตอร์  แฟรงเกิลชีให้เห็นว่ามีแก่นค่านิยม  3 อย่างในชีวิตมนุษย์  คือ    เชิงประสบการณ์  เรืองราวทีเกิดขึนจริงกับตัวเรา    เชิงสร้างสรรค์  เรืองทีเราสร้างขึนมาเพือทําให้เป็นจริง    เชิงทัศนคติ  การตอบสนองของเราต่อภาวะทุกข์ทรมาน  เช่น  ความเจ็บป่วย เรือรัง  ภาวะทุกข์ทรมานมักจะทําให้คนเราเปลียนกรอบความคิด  เมือคิดได้แล้ว กรอบอ้างอิงใหม่จะปรากฏออกมา  เพือให้นําไปใช้ต่อไป สู่ภาวะโปรแอกทีฟ ภาวะโปรแอกทีฟไม่ได้หมายความว่าจะต้องก้าวร้าว  แสดงอาการน่ารังเกียจ  หรือแผ่ อํานาจคุกคามผู้อืน  แต่หมายถึง  “การรู้ถึงความรับผิดชอบของเราทีจะสร้างสรรค์ ผลงาน” “ไม่มีผู้ใดทําร้ายเราได้  หากเราไม่ให้ความยินยอม” อีเลเนอร์  โรสเวลต์
  • 17. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 17 | P a g e คนทีได้ตําแหน่งงานดีๆสูงๆ  มักจะเป็นผู้ริเริมรับผิดชอบในเชิงรุก  (คนโปรแอกทีฟ)  คน กลุ่มนีเสนอหนทางแก้ไขปัญหา  ไม่ทําตัวเป็นปัญหาเสียเอง  และคอยคว้าโอกาสในเชิง รุกเพือทีจะได้ลงมือก่อน การกระจายงานต่างๆให้ผู้อืนรับผิดชอบ  ไม่ได้มีความหมายในแง่ลบ  ในทางตรงกันข้าม   จะเป็นการให้เกียรติกันเพราะแสดงให้เห็นความเชือใจ  ดังนันภาวะโปรแอกทีฟจึงเป็น ส่วนหนึงของธรรมชาติมนุษย์ กระทําหรือถูกกระทํา การสร้างสมดุล  P/PC เพือประสิทธิผลจําเป็นต้องอาศัยการริเริมในเชิงรุก  ในเวลาทีคุณ ศึกษาอุปนิสัยหกประการแรก  คุณจะสังเกตได้ว่าทุกขันตอนเป็นการฝึก  “มัดกล้ามเนือ โปรแอกทีฟ”  แต่ละอุปนิสัยจะวางบทบาทความรับผิดชอบ  ในทุกเรืองให้คุณได้ลงมือ กระทํา องค์กรธุรกิจ  กลุ่มทํางานเพือชุมชน  องค์กรทุกประเภทรวมทังครอบครัว...มีสิทธิจะใช้ ภาวะโปรแอกทีฟทังนัน  องค์กรใดๆทีไม่ตกอยู่ในอิทธิพลของสภาพแวดล้อม  ควรทีจะ สามารถก้าวลําไปในเชิงรุกเพือทําให้ค่านิยมและเป้ าหมายทีมีร่วมกันของสมาชิกใน กลุ่มเกิดผลสําเร็จ รับฟังภาษาพูดของเรา ภาษาพูด  เป็นตัวบ่งชีชัดเจนว่าเราเป็นคนโปรแอกทีฟหรือไม่   ภาษาพูดของคนรีแอกทีฟ  จะบอกปัดปฏิเสธความรับผิดชอบโดยสินเชิง เช่น  คนโปรแอกทีฟนําคําว่า  “รัก”  มาใช้ในฐานะคํา  “กิริยา”  ความรักเป็นสิงทีคุณลงมือ กระทํา  เช่น  การเสียสละทีคุณทําเพือคนรัก  การสละตัวตนเพือคนรัก
  • 18. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 18 | P a g e ความรักเป็นค่านิยมทีสามารถจะทําให้เป็นจริง  จับต้องได้ผ่านการแสดงออก  คนโปร   แอกทีฟสะกดอารมณ์ความรู้สึกใว้ภายใต้ค่านิยม...แล้วความรัก  ความรู้สึกดีๆนันจะ หวนกลับมาให้สัมผัสได้อีกครังหนึง ขอบเขตของความกังวล/ขอบเขตแห่งอิทธิพล เมือไหร่ทีเรามองเห็นเรืองราวใน  “ขอบเขตแห่งความกังวล”  เราจะเห็นได้ชัดว่า  บางเรือง อยู่นอกเหนือความควบคุมของเรา  (วงกลมสีเขียวทีอยู่ภายนอก)  แต่ก็มีหลายเรืองทีเรา สามารถแก้ไขเปลียนแปลงได้  เราจับกลุ่มเรืองราวทีเราควบคุมได้มารวมในวงกลมอีกวง ซ่อนอยู่ภายใน...หรือเรียกว่า  “ขอบเขตแห่งอิทธิพล” คนโปรแอกทีฟจะมุ่งความสนใจไปทีขอบเขตแห่งอิทธิพล  ทุ่มเทไปยังเรืองราวทีแก้ไข เปลียนแปลง  และควบคุมได้  ทําให้  “ขอบเขตแห่งอิทธิพล”  สีม่วง  ขยายขนาด คนรีแอกทีฟจะจ้องไปยังขอบเขตแห่งความกังวล  มุ่งความสนใจไปทีสภาวการณ์ที ตนเองไม่มีอํานาจควบคุมบังคับ  ทําให้  “ขอบเขตแห่งอิทธิพล”  นันหดเล็กลง การสร้างพลังงานเชิงบวกต้อง...เปลียนแปลงทีตัวเรา  เรามีอํานาจในการแผ่อิทธิพล ต่อเงือนไขต่างๆรอบตัวเรา คนโปรแอกทีฟให้ความสําคัญใว้ทีการใช้อิทธิพลแต่ก็ยังมีขอบเขตแห่งความกังวล     อย่างร้ายทีสุด  ขอบเขตแห่งความกังวลก็มีขนาดใหญ่เท่าเทียมกับขอบเขตแห่งอิทธิพล
  • 19. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 19 | P a g e ทางตรง  โดยอ้อม  หรือไม่อาจควบคุมได้ ปัญหาทีเราพบแบ่งออกเป็น  3 ประเภท  คือ    สามารถควบคุมได้โดยตรง  ปัญหาเกียวกับพฤติกรรมของเรา,  ปัญหาแก้ไขได้ โดยปรับเปลียนอุปนิสัย  ข้อนีเป็นชัยชนะส่วนตน  สามารถควบคุมโดยอ้อม  ปัญหาเกียวเนืองกับพฤติกรรมของผู้อืน,  ปัญหานี แก้ได้โดยเปลียนวิธีการใช้อิทธิพลทีปฏิบัติอยู่ในขณะนัน  ข้อนีเป็นชัยชนะใน สังคม  ไม่สามารถควบคุมได้  ปัญหาทีเราทําอะไรไม่ได้  เช่น  ความเป็นจริงของ สถานการณ์  หรือเรืองทีกลายเป็นอดีตไปแล้ว ขยายขอบเขตแห่งอิทธิพล นักบริหารผู้หนึงเป็นคนโปรแอกทีฟ  เขาขับเคลือนตัวเองด้วยค่านิยม  ไม่ใช่ด้วยอารมณ์ ความรู้สึก  เขาชอบริเริมในเชิงรุก  ติดตามความคิดของท่านประธาน  (เจ้านาย)  ร่วมรับ ความรู้สึกและอ่านสถานการณ์ต่างๆทีเกิดขึน  เขาไม่ได้มองข้ามจุดด้อยของท่าน ประธาน  แต่แทนทีจะวิพากษ์วิจารณ์จุดด้อย  เขากลับคิดช่วยเหลือหรือชดเชยจุดด้อย เหล่านัน  เขาจะพยายามเข้าไปเสริม  โดยทํางานร่วมกับลูกน้องในแผนกจนกระทังจุด ด้อยของท่านประธานนันกลายเป็ นเรืองนอกประเด็นทีไม่มีผลกระทบและไม่มี ความสําคัญ นักบริหารผู้นีมุ่งเน้นไปทีขอบเขตแห่งอิทธิพลของตนเอง  เขาทํางานเกินความคาดหวัง   โดยคาดหวังความต้องการของท่านประธานล่วงหน้า คนโปรแอกทีฟ  ไม่ได้มีนิสัยก้าวร้าว  ไม่คุกคาม  พวกเขาเป็นคนฉลาดทีขับเคลือนด้วย ค่านิยม  ทีพยายามอ่านทิศทางของโลกแห่งความเป็นจริง  และรู้ว่าภาพทีเห็นทียังขาดสิง ใดไปบ้างทีจะทําให้ดีและมีความสมบูรณ์ยิงขึนไปอีก
  • 20. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 20 | P a g e ระหว่างคําว่า  “มี”  กับคําว่า  “เป็น” ขอบเขตแห่งความกังวลสามารถจะถูกแสดงออกมาให้ได้ยินในภาษาพูดทีแสดงความ ในใจ  สังเกตได้ว่าจะเห็นจากประโยคทีมีคําว่า  “ขอเพียง”  หรือ  “มี”  เช่น “จะมีความสุขกว่านี  ขอเพียงผ่อนบ้านได้หมด” “ขอเพียงมีเจ้านายทีไม่เป็นจอมเผด็จการ” ขอบเขตแห่งอิทธิพลจะมีแต่คําว่า  “เป็น”   การมองโลกแบบโปรแอกทีฟ  จะสร้างความเปลียนแปลง  “จากภายในออกสู่ภายนอก”   ถ้าเราอยากให้เกิดผลลัพธ์ทีแตกต่าง  เราต้องเป็นคนทีต่างไปจากเดิมเพือให้เกิด ผลกระทบเชิงบวกต่อสิงทีอยู่ภายนอก  เช่น...ฉันเป็นคนใช้ไหวพริบแก้ปัญหา  ฉันเป็นคน ขยัน เราสามารถควบคุมชีวิตและมีอิทธิพลต่อสภาวการณ์รอบข้างได้โดยให้ความสนใจไปยัง ภาวะ  “เป็น”  หรือตัวตนของเรา ถ้ามีปัญหาในชีวิตสมรส  และต้องการจะแก้ไขสถานการณ์อย่างจริงจัง  ควรจะทุ่มความ สนใจไปยังเรืองราวทีควบคุมได้ด้วยตัวเอง  เช่น  หันมาแก้ไขข้อบกพร่องของตนเอง   มุ่งเน้นปรับปรุงตัวให้เป็นคู่สมรสชันเลิศ  เป็นแหล่งความรักทีไม่มีเงือนไข  และการให้ กําลังใจสนับสนุน  ซึงก็หวังว่าภรรยาจะรู้สึกและตอบสนองในแนวทางเดียวกัน  แต่ ถึงแม้ว่าเธอจะตอบสนองหรือไม่ก็ตามที   เส้นทางในเชิงบวกทีจะแผ่อิทธิพลต่อสถานการณ์ได้ก็คือ  การแก้ไขตนเอง...การ   “เป็น”  ตัวเอง  วิถีโปรแอกทีฟดีทีสุดทีเราจะทําได้คือ  การครองตนเป็นคนมีความสุข... ยิมจริงใจ  แล้วอยู่อย่างมีความสุข
  • 21. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 21 | P a g e อีกปลายหนึงของท่อนไม้ แม้เราจะมีอิสรภาพในการเลือกการกระทําของเรา  แต่เราไม่อาจเลือกผลทีตามมาจาก การกระทํานันได้  พฤติกรรมของเราอยู่ภายใต้การควบคุมของหลักการ   โดยทีการใช้ชีวิตแบบสอดคล้องกับหลักการ  จะก่อให้เกิดผลในเชิงบวก  การใช้ชีวิตฝ่า ฝืนหลักการ  จะก่อให้เกิดผลในแง่ลบ หากไม่ยอมรับทราบ  ไม่ยอมแก้ไข  ไม่ยอมเรียนรู้จากความผิดพลาด  ผลแง่ลบเหล่านีจะ กลายเป็นความผิดพลาดทีสูงขึนไปอีกระดับหนึง  ผลแง่ลบนีจะส่งคนผู้นันให้จมลึกไปใน ความผิดพลาดอืนๆยิงกว่าเดิม ดังนัน  มันมีความสําคัญอย่างยิงทีจะยอมรับความผิดพลาด  หาทางแก้ไขโดยด่วน   ความผิดพลาดนันจะได้ไม่เหลือพลังทีจะแผ่มารุกรานการกระทําก้าวต่อไปของเรา   เพือทีเราจะได้เรียกพลังในตัวของเรากลับคืนมาอยู่ในสภาพเดิม การให้และรักษาสัญญาผูกมัด แก่นกลางของขอบเขตแห่งอิทธิพลคือ  “ความสามารถทีจะผูกมัดตนเองกับการให้ และรักษาคําสัญญานัน”  การผูกมัดทีเราให้ต่อตนเองและผู้อืนกับบูรณภาพ   (Integrity) ต่อการผูกมัดนัน  เป็นองค์ประกอบสําคัญและเป็นการแสดงให้เห็นระดับ ความเปนคนโปรแอกทีฟในตัวเรา การให้และรักษาคําสัญญาผูกมัด  มีความสําคัญต่อการเจริญเติบโตในฐานะบุคคลคน หนึงของเราอย่างมาก  เพราะเป็นองค์ประกอบสําคัญในการพัฒนาอุปนิสัยแห่ง ประสิทธิผล  ความรู้  ทักษะ  และความปราถนา  ทุกๆปัจจัยอยู่ในมือของเราแล้วทีจะทํา ให้เป็นไปในแนวทางทีเราต้องการ  เราเลือกได้ ภาวะโปรแอกทีฟ: บททดสอบ  30 วัน
  • 22. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 22 | P a g e ในเวลาทีคุณทําผิดพลาด  ให้ยอมรับอย่างไม่อิดออด  แล้วพยายามแก้ไข  และเรียนรู้จาก ความผิดพลาดนันทันที  อย่าได้ไปติหนิติเตียนกล่าวโทษผู้อืน  ให้พยายามทุ่มพลังงานไป ยังเรืองราวทีคุณควบคุมได้  โดยแก้ไขตนเอง...แก้ไขภาวะ  “เป็น” ข้อเสนอแนะในการปรับใช้ 1. ตลอดทังวัน  ฟังภาษาพูดของตน  และภาษาพูดของคนรอบข้าง  บ่อยครังแค่ใหนที คุณใช้และได้ยินภาษารีแอกทีฟ  “ขอเพียงแค่”  หรือ  “ผมทําไม่ได้”  หรือ  “ผม จําเป็นต้อง...” 2. ระบุประสบการณ์ทีคุณจะได้พบในอนาคตอันใกล้  หากพิจารณาจากประสบการณ์ ดังเดิม  คุณจะตอบสนองในแง่รีแอกทีฟ  นําเอาสถานการณ์นันมาพิจารณาใน ขอบเขตแห่งอิทธิพล  คุณจะตอบสนองเชิงโปรแอกทีฟได้อย่างไร?  ใช้เวลาคิดและ วาดภาพประสบการณ์นันให้ชัดเจนในใจ  วาดภาพตนเองตอบสนองในเชิงโปรแอก ทีฟ  เตือนตนเองอีกครังว่ามีช่องว่างระหว่างสิงเร้ากับการตอบสนอง  ผูกมัดตนเองว่า จะใช้อิสรภาพในการเลือก 3. เลือกปัญหาทีบ้านหรือทีทํางานทีทําให้คุณสับสนวุ่นวายใจ  แยกประเภทว่าเป็น ปัญหาโดยตรง  โดยอ้อม  หรือไม่อยู่ในการควบคุม  ระบุขันตอนแรกทีคุณทําได้ใน ขอบเขตแห่งอิทธิพลเพือแก้ปัญหา  แล้วปฏิบัติตามขันตอนนัน 4. ทดสอบภาวะโปรแอกทีฟ  30 วัน  จับตามองความเปลียนแปลงในขอบเขตแห่ง อิทธิพล
  • 23. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 23 | P a g e อุปนิสัยที 2: เริมต้นด้วยจุดหมายในใจ หลักการแห่งภาวะผู้นําส่วนบุคคล จินตนาการว่า  นับไปอีกสามปีจากวันนี  คุณเดินทางไปยัง  งานศพของคุณ  ในงานพิธีจะ มีผู้มากล่าวคําใว้อาลัยทังหมด  4 คน  คนแรกมาจากครอบครัวของคุณ  คนทีสองเป็น เพือนสนิทของคุณ  คนทีสามเพือนร่วมงานของคุณ  และคนทีสีมาจากสถาบันศาสนา หรือองค์กรในชุมชนทีคุณมีส่วนร่วมอยู่ คุณอยากจะให้ผู้กล่าวใว้อาลัยทังสี  พูดถึงคุณและชีวิตของคุณในแง่ใดบ้าง?   คุณลักษณะใดในตัวคุณทีคุณอยากให้พวกเขาจําได้?  ผลงานหรือความสําเร็จใดทีคุณ อยากให้พวกเขาจดจํา? หมายความว่าอย่างไร  “เริมต้นด้วยจุดหมายในใจ” การเริมต้นด้วยจุดหมายในใจ  หมายความถึงการเริมต้นด้วยความเข้าใจอย่างชัดเจนว่า   ต้องการจะเดินไปยังจุดใด  จุดใดทีต้องการจะไปถึง  (จุด  B) ดังนัน  จึงจําเป็นจะต้อง เข้าใจให้ดีก่อนว่าขณะนีคุณอยู่ทีใด  (จุด  A) เพือจะได้ก้าวทีละก้าว  มุ่งหน้าไปยัง จุดหมายนัน  (จุด  B)  ในทิศทางทีเหมาะสม หากคุณทําการทบทวนและเรียบเรียงเนือหาทีคุณต้องการจะให้ผู้กล่าวใว้อาลัยยกขึน มาบรรยายในงานศพของคุณได้แล้ว...แสดงว่า  คุณค้นพบนิยามความสําเร็จของตนเอง เข้าแล้ว  และก็อาจเป็นไปได้ว่าชือเสียงเกียรติยศ  เงินทองหรือสมบัติอืนใดทีเราดินรน แสวงหามาตลอดชีวิต  ไม่ได้เป็นส่วนหนึงสิงทีเราต้องการทีจุดสุดท้ายของชีวิต สรรพสิงสร้างสองครัง บนหลักการทีว่า  “สรรพสิงสร้างสองครัง”  ครังแรกสุดสร้างขึนมาในใจ  และการสร้างครัง ถัดมา  จะเป็นการก่อตัวเป็นรูปเป็นร่างจับต้องได้
  • 24. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 24 | P a g e ยกตัวอย่างการสร้างบ้าน  คุณจะวาดภาพในใจ  แล้วเขียนออกมาเป็นแบบแปลนบ้าน กฏของช่างไม้ก็คือ  “วัดสองครัง  ตัดครังเดียว” หลังจากนัน  คุณจึงเริมก่อสร้างบ้านจริงๆ  โดยใช้แปลนทีวาดใว้แล้วนันเป็นแบบ ภาวะผู้นําและการบริหารจัดการ...การสร้างสองครัง “ภาวะผู้นํามาก่อน  การบริหารจัดการมาเป็นอันดับสอง” ไม่มีการบริหารจัดการทียอดเยียมใดทีจะชดเชยความล้มเหลวของภาวะผู้นําได้  แต่ ภาวะผู้นําหาได้ยากเพราะเราผูกติดอยู่ในกรอบความคิดว่าการบริหารจัดการต้องมา ก่อนเป็นอันดับหนึง เขียนบทชีวิตใหม่: สถาปนาตนเองเป็นผู้สร้าง ภาวะโปรแอกทีฟจะอยู่บนรากฐานของคุณสมบัติเฉพาะมนุษย์เรือง  “การรู้ตนเอง”  อีก สองเรืองคือ  “จินตนาการ”  และ  “มโนธรรม” ไม่มีความจําเป็นใดๆทีจะใช้ชีวิตอยู่ใต้บัญชาของบทบาทชีวิตเก่า  เรามีสิทธิเลือกการ ตอบสนองทีจะใช้จินตนาการ  ความคิดสร้างสรรค์  เขียนบทชีวิตใหม่ทีมีประสิทธิผล   กลมกลืนไปกับค่านิยมลําลึกในตัวเรา  สอดคล้องกับหลักการทีทําให้ค่านิยมของเรา เปียมความหมาย คําปณิธานส่วนบุคคล ในการเขียนคําปณิธานส่วนบุคคลหรือปรัชญาหรือหลักคําสอนประจําชีวิต  คุณควรจะ มุ่งความสนใจไปทีสิงทีคุณต้องการจะเป็น  (คุณลักษณะ)  ต้องการจะทํา  (การสร้าง ประโยชน์หรือความสําเร็จ)  และคุณลักษณะหรือหลักการทีเป็นพืนฐานของการเป็นอยู่ และการลงมือทําจริง
  • 25. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 25 | P a g e เมือไหร่ทีเราได้รับรู้ถึงปณิธาน  เราก็จะได้ทราบถึงแก่นของภาวะโปรแอกทีฟประจําตัว   เราจะได้ทราบถึงวิสัยทัศน์และค่านิยมทีจะชีนําชีวิต  เราจะได้ทราบถึงทิศทางทีจะ วางเป้ าหมายทังระยะสันและระยะยาว ทีจุดศูนย์กลาง จุดศูนย์กลางเป็นจุดกําเนิดของความมันคง  การชีแนะ  ปัญญา  และพลังอํานาจ   เมือไหร่ทีมีองค์ประกอบทัง  4 ครบถ้วน  ทีมีความสอดคล้องกัน  จะทําให้เกิด บุคลิกลักษณะทีมีความสง่างาม  มีคุณลักษณะทีมีความสมดุลและงดงามเต็มเปียมไป ด้วยบูรณภาพ  (Integrity) คนเราทุกคนมีจุดศูนย์กลาง  เพียงแต่เราเองอาจไม่รู้ตัวว่าจุดศูนย์กลางนันส่งผลกระทบ ต่อทุกๆด้านในชีวิตของเรา  เช่น  หลักยึดเหนียวทางอารมณ์  ความนับถือตนเอง  รวมไป ถึงมาตราฐาน หรือหลักการ หรือเกณฑ์วัด  ทีใช้ควบคุมการตัดสินใจ  และการกระทํา ความสํานึกในสมดุลชีวิต  ดุลพินิจ  เป็นสายใยทีเหนียวรังชีวิตให้เป็นอันหนึงอันเดียวกัน   เป็นพลังและเป็นแรงขับเคลือนทีทําให้ทํางานได้สําเร็จ ระบุจุดศูนย์กลางของตัวเรา วิธีทีดีทีสุดทีจะค้นหา  “จุดศูนย์กลาง”  ของตัวเรา  จะเป็นการมองไปทีองค์ประกอบ พืนฐานทัง  4 ของชีวิต  ถ้าเราสามารถระบุแต่ละด้านได้  อาจทําให้เราสามารถมอง ย้อนกลับไปหาแก่นกลางทีเป็นต้นนําของเรืองนันๆได้ การยึด  “หลักการ”  เป็นจุดศูนย์กลาง การใช้ชีวิตโดยยึด  “หลักการ”  ทีถูกต้องเป็นจุดศูนย์กลาง  จะทําให้เราสามารถสร้าง พืนฐานมีความมันคงในการใช้ชีวิต  ทําให้องค์ประกอบทัง 4 ของชีวิตมีพัฒนาการได้
  • 26. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 26 | P a g e เต็มที  ถ้าคุณมองผ่านกรอบความคิดของ  “หลักการ”  ทีถูกต้อง  คุณจะเห็นภาพที แตกต่างไปจากการมองผ่านกรอบความคิดทียึดเรืองอืนๆ  เป็นจุดศูนย์กลาง  (เช่น  เงิน   วาน  การครอบครอง  เป็นต้น) จุดศูนย์กลาง ความมันคง การชีแนะ ปัญญา พลังอํานาจ ห า ก คุ ณ ยึ ด   “หลักการ”  เป็น จุดศูนย์กลาง ความมันคงอยู่บน หลักการทีถูกต้อง  ไม่ เปลียนแปลง  แม้จะ มี เ งื อ น ไ ข ห รื อ ส ถ า น ก า ร ณ์ ภายนอก คุณรู้ว่า  “หลักการ”   ทีถูกต้องนันยืนยัน ผลลัพธ์ทีซําแล้วซํา เ ล่า ใ น ชี วิ ต ผ่า น ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ส่วนตัวของคุณ “หลักการ”  ทีถูกต้อง ช่วยให้คุณเข้ าใจ พัฒ น า ก า ร ข อ ง ชีแนะด้วยการให้ ทิศทางเพือให้เห็น จุดหมายและวิธีทีจะ ไปถึงเป้ าหมาย ได้รับข้อมูลถูกต้อง แม่นยํานําไปใช้ให้ เกิดผลเป็นลัพธ์ทีมี ความหมาย ในทุกสถานการณ์   สามารถตัดสินใจ เพือสรรหาทางเลือก อืนด้วยสติในเชิงโป ร แ อ ก ที ฟ   ก า ร ตัดสินใจนันมาจาก มโนธรรมทีเป็ นผล ดุลพินิจส่งผลต่อผล ทีจะเกิดขึนในระยะ ยา ว  สะ ท้ อ น ถึ ง สมดุลของความ ชาญฉลาด  และ ความเชือมันในใจ คุณจะมองภาพที แตกต่างและคิดต่าง ไปจากโลกรีแอกทีฟ ของคนส่วนใหญ่ คุณมองโลกในแง่ ทีว่าจะทําอะไรให้ โลกและผู้อืนได้บ้าง คุ ณ ตี ค ว า ม ประสบการณ์ทุก คุณรู้ ตนเอง  รู้ ทัน ผู้อืนและกระทําใน เชิงโปรแอกทีฟ  ไม่ จํากัดด้วยทัศนคติ   พฤติกรรม  หรือการ กระทําของผู้อืน มีความสามารถมาก เกินทรัพยากรของ ตน  พยายามทีจะเข้า สู่การพึงพาซึงกัน และกันในระดับที สูงขึน การตัดสินใจและ การกระทําไม่ได้ ขั บ เ ค ลื อ น โ ด ย
  • 27. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 27 | P a g e ตนเอง  ให้อํานาจ ความเชือมันทีจะ เ รี ย น รู้ เ พิ ม เ ติ ม   ดังนัน  ความรู้ความ เข้าใจต่อเรืองต่างๆ จะเพิมมากขึน มาจากหลักการ เรื องในชีวิตเป็ น โอกาสทีจะเรียนรู้ และสร้างผลงาน ข้อจํากัดทางสถานะ ก า ร เ งิ น ห รื อ สภาวการณ์ปัจจุบัน   คุ ณ พ อ ใ จ กั บ อิสรภาพของการ พึงพาซึงกันและกัน ขยายมุมมองให้กว้างไกล ในบางคราว  เราถูกดึงออกจากสภาพแวดล้อมของตรรกะของสมองซีกซ้าย  แล้วเข้าสู่ พืนทีของสมองซีกขวาโดยไม่ทันตังตัว แต่ถ้าคุณเป็นคนโปรแอกทีฟ  คุณจะไม่รอจนกว่าสภาวการณ์หรือผู้อืนมาบังคับเพือ ขยายมุมมองแล้วทําให้คุณตกตะลึง   คุณสร้าง  คุณขยายมุมมองด้วยสติทีเต็มเปียม  ทีสร้างขึนมาด้วยตนเอง เมือไหร่ทีคนเราหันมาสนใจอย่างเอาจริงเอาจังว่า  เรืองใหนมีความสําคัญทีสุดในชีวิต   เรืองใหนทีอยากทํามากทีสุด  สถานะใดทีอยากจะเป็นมากทีสุด  เมือนันคุณค่าแท้จริงจะ ปรากฏ  ซึงจะทําให้เกิดความรู้สึกท่วมท้น  เกิดความเคารพ  เกิดความนับถือจนแทบจะ กลายเป็นเหมือนสิงศักดิสิทธิทีเดียว ดร.  ชาร์ลส  การ์ฟิลด์  นักวิจัย  ยืนยันผลวิจัยทีสําคัญได้ข้อหนึงว่า  ยอดนักกีฬาระดับโลก และยอดฝีมือในสาขาอืน  จะเป็นนักวาดภาพในใจ  มองเห็นภาพนัน  รับรู้ความรู้สึกจาก ภาพนัน  สัมผัสประสบการณ์นัน  ก่อนจะลงมือกระทําจริง...ยอดฝี มือเริมต้นด้วย จุดหมายในใจ คําปณิธานขององค์กร คําปณิธานจะต้องมาจากก้นบึงขององค์กรนันๆ  ทุกคนควรจะมีส่วนร่วม  มีสิทธิ  มีเสียง   มิใช่จํากัดแต่เฉพาะผู้บริหารระดับบน  กระบวนการทีทําให้ทุกคนมีส่วนร่วมจะเป็น กุญแจสําคัญไขสู่การนําไปปรับใช้จริงในชีวิตการทํางานของทุกๆคน
  • 28. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 28 | P a g e หนึงในปัญหาสําคัญในองค์กร  รวมทังครอบครัวก็คือ  ผู้คนในสังกัด  ในแผนก  ในฝ่ายไม่ รู้สึกผูกพันมากพอกับข้อกําหนดทีผู้อืนกําหนดขึนเพือนํามาใช้กับชีวิตของพวกเขา  เป็น สาเหตุว่าทําไมพวกเขาไม่อยากจะรับรู้ ข้อเสนอแนะในการปรับใช้ 1. ใช้เวลาส่วนหนึงเพือบันทึกความประทับใจทีคุณได้รับจากการวาดภาพการไปร่วม พิธีศพของตนเอง  ใช้ตารางต่อไปนีเพือจัดระเบียบความคิด กลุ่มคน คุณลักษณะ การทําประโยชน์ ผลสําเร็จ ครอบครัว เพือน งาน สถาบันศึกษา/บริการ ชุมชน 2. ใช้เวลาชัวครู่เขียนบทบาทของคุณ  ตามทีคุณมองเห็น  คุณพอใจแล้วหรือยังกับภาพ สะท้อนจากกระจกเงาของชีวิต? 3. หาเวลาอยู่ตามลําพัง  แยกตัวออกจากกิจกรรมในชีวิตประจําวัน  แล้วลองเริมเขียน ปณิธานส่วนบุคคล 4. เก็บรวบรวมโน้ตสันๆ  คําคม  แนวคิดทีคุณจะนํามาใช้เป็นวัตถุดิบในการเขียน ปณิธานส่วนบุคคล 5. ระบุโครงการทีคุณจะทําในอนาคตอันใกล้  นําหลักการการสร้างครังแรกในใจไปปรับ ใช้  เขียนบันทึกผลลัพธ์ทีต้องการ  และขันตอนทีจะนําสู่ผลสําเร็จนัน 6. แบ่งปันอุปนิสัยที  2 กับสมาชิกในครอบครัวหรือกลุ่มเพือนร่วมงาน  เสนอแนะว่าควร ร่วมมือร่วมใจกันเขียนคําปณิธานของครอบครัวหรือของกลุ่มงาน ไม่มีส่วนร่วม  ไม่ผูกมัด
  • 29. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 29 | P a g e อุปนิสัยที 3: ทําสิงทีสําคัญก่อน หลักการแห่งการบริหารจัดการส่วนบุคคล อุปนิสัยที  3  เป็นการสร้างครังที  2  (การวาดภาพในใจ)...สร้างขึนมาเป็นผลงานทีจับ ต้องได้  การทําให้บรรลุผล  การทําภาพวาดในใจให้ก่อตัวเป็นรูปเป็นร่าง อุปนิสัยที  1 และอุปนิสัยที  2 เป็นสิงจําเป็นทีต้องมีก่อนจะมาถึงอุปนิสัยที  3  คุณไม่อาจ ใช้ชีวิตโดยยึด  “หลักการ”  เป็นจุดศูนย์กลางได้หากไม่รู้และไม่ได้พัฒนาธรรมชาติความ โปรแอกทีฟในตัวเสียก่อน พลังอํานาจแห่งความประสงค์อิสระ ความประสงค์อิสระ  จะทําให้การบริหารจัดการตนเองทรงประสิทธิผลเกิดขึนได้  เพราะ มัน  คือความสามารถในการตัดสินใจ  การสรรหาทางเลือกและการลงมือกระทําตามการ ตัดสินใจนัน...ความสามารถลงมือกระทํา  ไม่ใช่ถูกกระทํา ระดับความความแข็งแกร่งทีเราจะพัฒนาความประสงค์อิสระในชีวิตประจําวันนัน  วัด ได้จากบูรณาภาพส่วนบุคคล  (Integrity) ในตัวเราเอง  บูรณาภาพเป็นค่านิยมทีเราวาง ใว้กํากับตัวเรา  มันคือความสามารถทีจะให้สัญญา,  รักษาสัญญาทีให้ใว้ต่อตนเอง,   “การลงมือทํา  สมราคาคุย”  และการรักษาเกียรติศักดิต่อตนเอง อี.เอ็ม.เกรย์  ใช้เวลาชัวชีวิตวิจัยเพือค้นหาคุณลักษณะข้อเดียวทีผู้ประสบความสําเร็จมี ร่วมกัน  นันก็คือ...ทําสิงทีสําคัญก่อน “ผู้คนทีประสบความสําเร็จมีนิสัยทีจะทําเรืองทีผู้ล้มเหลวไม่อยากทํา”  เขาตังข้อสังเกต   “...แล้วก็ไม่ได้ทําเพราะชอบ  แต่ความไม่ชอบก็ยังเป็นรองความมุ่งมันสู่จุดหมาย” การบริหารเวลาสียุค
  • 30. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 30 | P a g e แนวคิดทีดีทีสุดในการบริหารเวลา  สามารถสรุปได้สันๆเพียงประโยคเดียวคือ  จัด ระเบียบและปฏิบัติการโดยคํานึงถึงลําดับความสําคัญ มาดูภาพรวมของการบริหารเวลา  ในแต่ละยุคแต่ละรุ่น  –  คลืนลูกแรกจะเป็นเหมือน บัญชีสําหหรับตรวจสอบและบันทึกกิจกรรม  รุ่นทีสองจะเป็นปฏิทินและสมุดนัดหมาย   รุ่นทีสามเพิมเติมจากรุ่นทีสองด้วยการมีลําดับความสําคัญกํากับแต่ละกิจกรรม แต่แทนทีจะไปมุ่งความสนใจไปทีสิงของและเวลา  ความคาดหวังของการบริหารเวลารุ่น ทีสีมุ่งไปทีการรักษาและการสานสัมพันธ์ให้แน่นแฟ้ นยิงขึน...เพือการรักษาสมดุลของ   P/PC นันเอง ตารางเวลาพืนที  2 โดยปกติแล้วเราใช้เวลาของชีวิตใน  4 วิธี  มีปัจจัย  2 อย่างทีทําให้คําจํากัดความกิจกรรม นันก็คือ  “ความเร่งด่วน”  กับ  “ความสําคัญ”   เร่งด่วน  หมายความว่า  ต้องการความสนใจในทันใด  “เดียวนี!” ในทางตรงข้าม  เรือง  “สําคัญ”  เกียวข้องกับผลลัพธ์ของกิจกรรม
  • 31. 7 อุปนิสัยสําหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิง Book Brief 31 | P a g e ตารางเวลาพืนที  2  เป็นหัวใจการบริหารจัดการส่วนบุคคลทรงประสิทธิผล  ว่าเราจะ รับมือกับเรืองไม่เร่งด่วน  แต่ว่า  มีความสําคัญ  มุ่งทํางานในการสานสัมพันธ์  เขียนคํา ปณิธานส่วนบุคคล  วางแผนระยะยาว  เรืองราวหลากหลายทีเรารู้ว่าจําเป็นต้องทํา  แต่ดู เหมือนว่าไม่ถึงเวลาทําเสียที  เพราะไม่เร่งด่วน  (เช่น  การออกกําลังกาย) เทคนิกการบริหารเวลานันสามารถปรับใช้ได้จากหลักการเปอเรโต...ผลลัพธ์  80 % ได้มาจากการทํากิจกรรมหรืองานเพียง  20 % ต้องทําอย่างไรจึงจะสามารถพูดว่า  “ไม่”  ออกมาได้ คุณจะต้องปฏิเสธว่า  “ไม่”  ต่ออะไรสักอย่างอยู่เสมอ  หากไม่ได้ปฏิเสธต่อสิงทีเห็นได้ชัด   ว่าเป็นเรืองเร่งด่วนในชีวิต  ก็จะเป็นการปฏิเสธเรืองทัวไปทีมีความสําคัญอืนๆ  แม้เรือง ด่วนจะเป็นเรืองดีๆ  แต่เรืองดีๆก็จะทําให้คุณพลาดทีจะทํา  “สิงดีทีสุด”  และเบียดเบียน เวลาทีคุณจะได้ทําประโยชน์  หรือสร้างผลงานอืนๆ “ถ้าคุณต้องการให้งานเสร็จ  มอบให้คนยุ่งรับทําไป” การให้ความสําคัญกับตารางเวลาพืนที  2  ถือเป็นวิธีคิดทีเติบโตมาจากการใช้จุด ศูนย์กลาง  “หลักการ”  ความประสงค์อิสระเพียงอย่างเดียว  ไม่อาจช่วยให้กํากับวินัยใน ตนเองได้อย่างมีประสิทธิผล การบริหารจัดการมาทีหลังภาวะผู้นํา  คุณจะใช้เวลาอย่างไรก็ขึนอยู่กับว่าคุณมอง เวลาอย่างไร  และมองเห็นลําดับความสําคัญของกิจกรรมต่างๆในแง่มุมใหน “คนทรงประสิทธิผลไม่ได้พะวงอยู่กับปัญหา  แต่จะไขว่คว้าหา โอกาส  ส่งอาหารเลียงโอกาส  ปล่อยให้ปัญหาอดอยากแห้งตาย”   ปีเตอร์  ดรักเกอร์