SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 125
Downloaden Sie, um offline zu lesen
INTERNET
INTERNET คืออะไร
• INTERNET เปนเครือขายคอมพิวเตอร
       ขนาดใหญ ที่เชื่อมโยงเครือขาย
       คอมพิวเตอร ทั่วโลกเขาดวยกัน
• คําเต็มของอินเทอรเน็ต : อินเทอรเน็ตเวิรกกิง (Internetworking)
• เรียกอีกอยางหนึ่งวา ไซเบอรสเปซ (Cyberspace)
อินเทอรเน็ต : อภิมหาเครือขาย
• อินเทอรเน็ต เปนอภิมหาเครือขายที่ยิ่งใหญมาก มี
  คอมพิวเตอรหลายลานเครื่องทั่วโลกเชื่อมตอระบบ ทําให
  คนในโลกทุกชาติทุกภาษาติดตอกันได สามารถสงขอมูล
  ขาวสารหลายรูปแบบทั้งขอความ ภาพ และเสียง
• การติดตอสื่อสารระหวางคอมพิวเตอร อาจจะติดตอ
  ผานสายโทรศัพท ไมโครเวฟ ดาวเทียม เคเบิลใตน้ํา
  หรือสายไฟเบอรออปติก
ประวัติความเปนมา
• ป 2512 กระทรวงกลาโหมสหรัฐใหทุน
  มหาวิทยาลัย ศึกษาวิธีการเชื่อมโยงคอมพิวเตอรเขา
  เปนเครือขาย เรียกวา อารปาเน็ต (ARPAnet)
• ป 2524 มหาวิทยาลัยทุกแหงในสหรัฐเชื่อมโยงเขาสู
  เครือขาย และเปลี่ยนชื่อมาเปน อินเทอรเน็ต
• ป 2532 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไดเชื่อมโยง
  เครือขายเพื่อสง อิเล็กทรอนิกสเมล กับประเทศ
  ออสเตรเลีย
อินเทอรเน็ตในประเทศไทย
          สําหรับภาคเอกชน ไดมีการกอตั้งบริษัทสําหรับ
ใหบริการอินเตอรเน็ตแกเอกชนและบุคคลทั่วไป ที่นิยมเรียกกัน
วา ISP (Internet Service Providers)




                                                      5
7 พฤศจิกายน 2554   6
เหตุผลสําคัญที่ทําใหอินเตอรเน็ตไดรับความนิยมแพรหลาย
   การสื่อสารบนอินเตอรเน็ต ไมจํากัดระบบปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร คอมพิวเตอร
    ที่ตางระบบปฏิบัติการกันก็สามารถติดตอ สื่อสารกันได เชน คอมพิวเตอรที่มี
    ระบบปฏิบัติการแบบ Windows 95 สามารถสื่อสารกับคอมพิวเตอรที่มีระบบปฏิบัติการ
    แบบ Macintosh ได
   อินเตอรเน็ตไมมีขอจํากัดในเรื่องของระยะทาง ไมวาจะอยูภายในอาคารเดียวกัน หรือหาง
    กันคนละทวีป ขอมูลก็สามารถสงผานถึง กันได
   อินเตอรเน็ตไมจํากัดรูปแบบของขอมูล ซึ่งมีไดทั้งขอมูลที่เปนขอความอยางเดียว หรืออาจ
    มีภาพประกอบ รวมไปถึงขอมูลชนิด มัลติมีเดีย คือมีทั้งภาพเคลื่อนไหวและมีเสียง
    ประกอบดวยได
การประยุกตใชงานบนอินเทอรเน็ต
•   E-mail
•   Telnet
•   FTP
•   www ,Gopher,Archie
•   Usenet
•   Chat
•   E-Commerce
•   Entertain
E-mail : Electronic Mail



• ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส หรือ E-mail
  (Electronic Mail) เปนการสงจดหมาย
  อิเล็กทรอนิกส ผานเครือขายอินเทอรเน็ต ตลอดจน
  สามารถ สงแฟมขอมูล หรือไฟลแนบกับ
  อีเมลไดดวย
Telnet
• เทลเน็ต (Telnet) การขอเขาระบบจากระยะไกล
• เปนบริการที่เราสามารถเขาไปใชงานในเครื่อง
  คอมพิวเตอรที่อยูไกลๆ ดวยตัวเอง
FTP
• การถายโอนขอมูล FTP (File Transfer Protocol)
• เปนบริการของอินเทอรเน็ต ที่เราสามารถคนหาและเรียกขอมูล
  จากแหลงตางๆ มาเก็บที่เครื่องเรา หรือสงไปที่เครื่องอื่น
  ทั้งขอมูลที่เปน ขอความ ภาพ และเสียง
www
• World Wide Web : www
• Gopher
• Archie
• เปนการใชเครือขายอินเทอรเน็ต
  ในการ สืบคนขอมูล คนหา
  ขาวสารที่มีอยูมากมาย แลวชวย
  จัดเรียงขอมูลขาวสารตามหัวขอ
  อยางมีระบบ เปนเมนู ทําใหเรา
  หาขอมูลไดงายและสะดวก
World Wide Web : www
• World Wide Web : www
• การบริการขอมูลที่เชื่อมตอดวย ไฮเปอรลิงก โดยมีโฮสตที่ทําหนาที่บริการ
  ขอมูลซึ่งเรียกวา เว็ปเซิรฟเวอร (Web Server ) การเรียกชื่อโฮสต ใชคํา
  นําหนาวา www เชน www.thaisakon.com
Usenet
• Usenet เปนการใหบริการแลกเปลี่ยนขาวสาร และแสดง
  ความคิดเห็นที่ผูใชอินเทอรเน็ตทั่วโลกพบปะกัน แสดง
  ความคิดเห็นของตน โดยมีการจัดการผูใชเปนกลุม
• เปนเวทีขนาดใหญ ใหทุกคน จากทุกมุมโลก
Chat
• Chat การสื่อสารดวยขอความ เปนการพูดคุยกัน
  ระหวางผูใชอินเทอรเน็ต โดยพิมพขอความโตตอบกัน
  ในเวลาเดียวกัน
E-Commerce
• E-Commerce : Electronic Commerce
• เปนการซื้อ-ขายสินคา และบริการบนอินเทอรเน็ต ปจจุบันมี
  บริษัทหลายหมื่นบริษัทใชอินเทอรเน็ตทําธุรกิจ และใหบริการ
  ลูกคา 24 ชั่วโมง
Entertain
• Entertain เปนบริการดานความบันเทิงในรูปแบบตางๆ
  เชน เกมส เพลง รายการโทรทัศน รายการวิทยุ เปนตน
  สามารถเลือกใชบริการ 24 ชั่วโมง
องคประกอบของระบบอินเทอรเน็ต

• Server
• Client
• ระบบสื่อสาร โทรคมนาคม
Server
 Server เปนคอมพิวเตอรทที่ทําหนาที่
ใหบริการดานตางๆ อาทิเชน เปน
  • Web Server
  • Mail Server
  • News server
  • FTP Server
  • ฯลฯ
Client

• Client เปนคอมพิวเตอรสวนบุคคล
 ที่ทําการเชื่อมตอตนเองไปยัง Server
 เพื่อขอใชบริการตางๆ จาก Server
ระบบสื่อสาร โทรคมนาคม
           • เปนเสนทางที่ใชในการ
             ติดตอสื่อสารระหวาง
             Client กับ Server และ
             Server กับ Server อื่น ใน
             เครือขายอินเทอรเน็ต
การเชื่อมตอเขาสูอินเทอรเน็ต
• การเชื่อมตอแบบสวนบุคคล
• การเชื่อมตอแบบ Cooperate dial-in
• การเชื่อมตอแบบ Cooperate lease line
การเชื่อมตอแบบสวนบุคคล
 อุปกรณที่จําเปน
• คูสายโทรศัพท
• Modem
• คอมพิวเตอร
• เปดบัญชีผูใชกับผูใหบริการอินเทอรเน็ต
รูปแบบการเชื่อมตอ
           องคการ
           โทรศัพท
รูปแบบการเชื่อมตอ
    กําหนด
   Username     องคการ
   Password     โทรศัพท
หมายเลขโทรศัพท
รูปแบบการเชื่อมตอ
       MODEM เปลี่ยนขอมูล
          ในรูปแบบดิกิตอล
                องค จ าร
            เปนโทรศัพท
                อนาล็อก
       สงไปตามสายโทรศัพท
MODEM เปลี่ยนขอมูล
                           ในรูปแบบอนาล็อก
รูปแบบการเชื่อมตอ             เปนดิจิตอล
                       สงไปยังเครื่องคอมพิวเตอร

            องคการ
            โทรศัพท
เชื่อมตอไปยัง
รูปแบบการเชื่อมตอ    เครือขายอินเทอรเน็ต



           องคการ
           โทรศัพท
ลักษณะการใชงาน
• ผูใชกําหนด Username และ Password
    
• กําหนดหมายเลขโทรศัพทของผูใหบริการอินเทอรเน็ต
• เริ่มการติดตอ
• เรียกโปรแกรมสําหรับใชบริการตางๆ บนอินเทอรเน็ต อาทิ
  เชน ถาตองการคนขอมูลจาก www ใหใชโปรแกรม IE /
  Nescape / Opera ถาตองการสนทนาบนเครือขาย ใช
  Internet Phone ฯลฯ
การเชื่อมตอแบบ Cooperate dial-in
• การเชื่อมตอแบบสวนบุคคล มีขอจํากัดคือ
  ใชไดครั้งละ 1 เครื่อง 1 ผูใช
• กรณีที่ตองการใหใชไดหลายๆ เครื่อง และ
  ประหยัดคาใชจาย สามารถทําไดโดยการใช
  การเชื่อมตอแบบ coperate dial-in
อุปกรณที่จําเปน
• คูสายโทรศัพท
• Modem
• คอมพิวเตอรที่ทําหนาที่เปน Server
• คอมพิวเตอรที่ใชงานตองตอกันเปนระบบ
  เครือขาย
• เปดบัญชีผูใชกับผูใหบริการอินเทอรเน็ต
รูปแบบการเชื่อมตอ

                องคการ
                โทรศัพท

         คอมพิวเตอรตองเปน
           ระบบเครือขาย
รูปแบบการเชื่อมตอ
   Server ทําหนาที่เปน
 ชองทางในการติดตอ
ผูใหบริการอินเทอรเน็ต
                           องคการ
                           โทรศัพท
รูปแบบการเชื่อมตอ
 MODEM เปลี่ยนขอมูล
    ในรูปแบบดิกิตอล
          องค จ าร
      เปนโทรศัอพท
          อนาล็ ก
 สงไปตามสายโทรศัพท
                       องคการ
                       โทรศัพท
MODEM เปลี่ยนขอมูล
รูปแบบการเชื่อมตอ           ในรูปแบบอนาล็อก
                                 เปนดิจิตอล
                         สงไปยังเครื่องคอมพิวเตอร

              องคการ
              โทรศัพท
เชื่อมตอไปยัง
รูปแบบการเชื่อมตอ       เครือขายอินเทอรเน็ต



              องคการ
              โทรศัพท
ลักษณะการใชงาน
• กําหนด Username และ Password
• กําหนดหมายเลขโทรศัพทของผูใหบริการอินเทอรเน็ต
• การกําหนดขางตนกระทําที่เครื่องที่เปน Server
• เริ่มการติดตอ
• การเรียกโปรแกรมสําหรับใชบริการตางๆ บนอินเทอรเน็ต สามารถ
  ทําไดที่เครื่องตางๆ ที่อยูในเครือขาย โดย Server จะเปน
  gateway นําผูใชในเครือขายออกไปยังอินเทอรเน็ต
การเชื่อมตอแบบ Cooperate lease line
• เหมาะสําหรับหนวยงานที่ตองการใหบริการ
  ทางดานอินเทอรเน็ต
• ตองการเชื่อมตอกับระบบตลอด 24 ชั่วโมง
• มีบุคลากรในหนวยงานที่ตองใชอินเทอรเน็ต
  ในเวลาเดียวกันเปนจํานวนมาก
อุปกรณที่จําเปน
• Lease line
• Modem
• Router
• คอมพิวเตอรที่ทําหนาที่เปน Server
• คอมพิวเตอรที่ใชงานตองตอกันเปนระบบ
  เครือขาย
รูปแบบการเชื่อมตอ



         คอมพิวเตอรตองเปน
           ระบบเครือขาย
รูปแบบการเชื่อมตอ
   Server ใหบริการตางๆ เชน
   Internet Server
   Web Server
   Mail Server
รูปแบบการเชืทํามตอ นอุปกรณ
       Router
              ่อ หนที่เป
          หาเสนทางบนเครือขาย
          อินเทอรเน็ต
MODEM เปลี่ยนขอมูล
             ในรูปแบบดิจิตอลการ
                        องค
รูปแบบการเชื่อมตอ
               เปนอนาล็โทรศัพท
                        อก
          สงไปตามสายโทรศัพท
รูปแบบการเชื่อมตอ ่อสาร
          วงจรเชาจากการสื
         ทศท. UCOM DATANET
MODEM เปลี่ยนขอมูล
                        ในรูปแบบอนาล็อก
รูปแบบการเชื่อมตอ          เปนดิจิตอล
                    สงไปยังเครื่องคอมพิวเตอร

          วงจรเชาจากการสื่อสาร
         ทศท. UCOM DATANET
รูปแบบการเชื่อมตอ   Router ทําหนที่เปนอุปกรณ
                     หาเสนทางบนเครือขาย
                     อินเทอรเน็ต
Internet
                     Server
รูปแบบการเชื่อมตอ   Web Server
                     Mail Server
ลักษณะการใชงาน
• การใชอินเทอรเน็ตในรูปแบบนี้ Server จะทําการ
  เชื่อมตออยูกับเครือขายตลอด 24 ชั่วโมง
• การเรียกโปรแกรมสําหรับใชบริการตางๆ บน
  อินเทอรเน็ต สามารถทําไดที่เครื่องตางๆ ที่อยูใน
  เครือขาย การนําผูใชทองไปในอินเทอรเน็ตจะเปน
  หนาที่ของ Router
ตัวอยางการติดตั้งระบบอินทราเน็ต
             HUB
                                       คูสายโทรศัพท
                                      Modem

                                     Windows
                                      wingate
                                      Teleport
                                   Download ขอมูล
Windows 95/98/2000/XP+Web server
ตัวอยางการติดตั้งระบบอินทราเน็ต
                   HUB
                                                 คูสายโทรศัพท
                                                Modem



                                      Linux
Windows 95/98/2000/XP+Web server ทําหนาที่เปน
                              Gateway+Proxy+Intranet
ตัวอยางการติดตั้งระบบอินทราเน็ต
                     HUB
                                            คูสายโทรศัพท
                                           Modem



    Linux
ทําหนาที่เปน   Windows 95/982000/XP+Web server
   Intranet
อ ิน เ ต อ ร เ น ็ต ย ุค ห น า
Web 1.0
•   E-mail
•   Chat room
•   Telnet
•   Net meeting
•   Webboard
•   IRC/ICQ
•   LMS
Web 2.0
•   Camfrog
•   YouTube
•   Wikis
•   Podcast
•   Weblog
•   Webcast
•   Webquest
•   LAMP ฯลฯ
Web 2.0
Web 2.0
Social Network คือ ?...




         Social Network “เครือขายสังคม” หรือ “เครือขายมิตรภาพ” หรือ
กลุมสังคมออนไลน” คือ บริการผานเว็บไซตที่เปนจุดโยงระหวางบุคคลแต
ละคนที่มีเครือขายสังคมของตัวเองผานเน็ตเวิรคอินเทอรเน็ต รวมทั้งเชื่อมโยง
บริการตางๆ อยาง เมล เมสเซ็นเจอร เว็บบอรด บล็อก ฯลฯ เขาดวยกัน
จุ ด เ ริ่ ม ต น ข อ ง สั ง ค ม อ อ น ไ ล น เ กิ ด ขึ้ น จ า ก เ ว็ บ ไ ซ ต
classmates.com เมื่อป 1995 และเว็บไซต SixDegrees.com ในป 1997
ซึ่ง เป นเว็ บ ไซต ที่ จํา กั ด การใช ง านเฉพาะนั ก เรีย นที่ เรี ย นในโรงเรี ย น
เดีย วกั น เพื่ อสร า งประวั ติ ข อมู ล การสื่ อสาร และแลกเปลี่ย นขอมูล ที่
สนใจร วมกั น ระหว า งเพื่ อ นนั ก เรี ย นในลิ ส ต เ ท า นั้น ต อ มาในป 1999
เว็บไซต epinions.com ที่พัฒนาโดย Jonathan Bishop ก็ไดมีการเพิ่ม
ฟงกชั่นในสวนของการที่ผูใชสามารถควบคุมเนื้อหาและติดตอถึงกันได
1.Communicate (การสื่อสาร) มีการโตตอบกันผานทางเว็บได เชน
บล็อก ที่ผูใชสามารถสมัครสมาชิกและสรางเนื้อหาของตัวเองได มีคนเขา
มาอาน มาคอมเมนต นอกจากนี้หลายเว็บยังสามารถที่จะพูดคุยกันไดเลย
ฝากขอความไวใหกัน สรางกลุมที่สนใจเรื่องเดียวกัน
    2. Definition (คําจํากัดความ) ที่เห็นไดชัดในเว็บจะมี Tagging และ
Bookmark เสมอ ใหเราระบุคําที่ใชในเนื้อหา ในกรณีที่พบเจอเนื้อหาที่
นาสนใจ ก็สามารเก็บไวเพื่อกลับเขามาดูไดโดยการ Bookmark หนาเว็บนั้น
ไว
3.Networking (เครือขาย) - มีชุมชนออนไลน มีเว็บบอรดให
สมาชิกพูดคุยกัน รวมมือกันสรางสรรคอะไรใหมขึ้นมา การที่มีคนใน
เครือขายมากๆก็จะมีพลังมากขึ้น ทําใหคนในกลุมประสบความสําเร็จ
ไดเร็วขึ้น




   4.Sharing (แบงปน) - สิ่งที่ขาดไมไดเลยที่คนอยูรวมกันในสังคม ก็
คือ การแบงปน เอื้ออาทร ตอกันและกัน ซึ่งในโลกอินเตอรเน็ต สามารถ
แบงปนกันไดหลายอยาง เชน ขอมูล เอกสาร รูปภาพ วีดีโอ เพลง
Social Networking Sites มีทั้งหมดกี่ประเภท
1. Identity Network เผยแพรตัวตน hi5, myspaces, facebook




        เว็บไซตเหลานี้ใชสําหรับนําเสนอตัวตนและเผยแพรเรื่องราว
ของตนเองทางอินเตอรเน็ตครับ สามารถเขียน blog สรางอัลบั้มรูปของ
ตัวเอง สรางกลุมเพื่อน และสรางเครือขายขึ้นมาได
2. Creative Network เผยแพรผลงาน youtube, flickr, multiply


  3. Interested Network ความสนใจตรงกัน เชน digg, del.icio.us
  social book mark ก็ เปนหนึ่งในนี้



          del.icio.us เปน Online Bookmarking หรือ Social Bookmarking
โดยแทนที่เราจะ Bookmark เว็บที่เราชอบเก็บไวในเครื่องของเราคน
เดียว แตเอา Bookmark เก็บไวบนเว็บเพื่อแบงใหคนอื่นไดดู และเราก็จะ
ไดรูดวยวาเว็บไซตใดที่ไดรับความนิยมมาก เปนที่นาสนใจ
4. Collaboration Network     รวมกันทํางาน ตรงนี้ก็จะเปนพวก
    รวมกันพัฒนาซอฟตแวรหรือสวนตางๆของซอฟตแวร




        WikiPedia เปนสารานุกรมตอยอด ที่อนุญาตใหใครก็ไดเขามา
ชวยกันเขียน และแกไขบทความตางๆ ทําใหเกิดเปนสารานุกรมออนไลน
ขนาดใหญที่รวบรวมความรู ขาวสาร และเหตุการณตางๆ ยังมีภาษาไทย
 ปจจุบันใช Google Maps สรางแผนที่ของตัวเอง หรือแชรแผนที่ใหคน
 อื่นได จึงทําใหมีสถานที่สําคัญหรือสถานที่ตางๆ ถูกปกหมุดเอาไว
5. Gaming/Virtual Reality โลกเสมือน อันนี้คนไทยอาจไมคอย
  คุนเคย ตัวอยาง second life, DotA



 6. Peer to Peer (P2P)


        P2P เปนการเชื่อมตอกันระหวาง Client (เครื่องผูใช, เครื่อง
ลูกขาย) กับ Client โดยตรง โปรแกรม Skype จึงไดนําหลักการนี้มาใช
เปนโปรแกรมสนทนาผานอินเตอรเน็ต และก็มี BitTorrent เกิด
เว็บไซตแบบ Social Network ในโลกนี้ มีเว็บไซต Social Network ใดบางที่เปนยอดนิยม

1. MySpace.com               2. FaceBook.com              3. Orkut.com



4. Hi5.com
                      5. Vkontakte.ru              8. PerfSpot.com

                      6. Friendster.com            9. Bebo.com

                      7. SkyRock.com               10. Studivz.net
Web Development
อยากเปนเว็บมาสเตอรตองเตรียมตัวอยางไร
• ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับขั้นตอนและองคประกอบในการพัฒนา
  บริหารและดูแลเว็บไซต
• เพิ่มเติมความรูในเรื่องของเครื่องมือตางๆ ที่ใชในการพัฒนา
  เว็บไซต
• คนควาหาแนวคิดใหมๆ เทคนิควิธีการนําเสนอใหมๆ หรือ
  แนวโนมของการพัฒนาเว็บไซตในอนาคต
• เขาใจจุดเดนและจุดดอยของเทคโนโยลี ตลอดจนสามารถ
  ปรับใหเขากับสภาพที่เหมาะสมที่สุดได
ผูที่เกี่ยวของในการพัฒนาเว็บไซต
• Webmaster
• Web Site Developer
• System Administrator
• Content Editor
• Translator
นักพัฒนาเว็บไซตตองเรียนรูโปรแกรมอะไรบาง
กระบวนการในการพัฒนาเว็บไซต
1.   สํารวจปจจัยสําคัญ (Research)
2.   พัฒนาเนื้อหา (Site Content)
3.   พัฒนาโครงสรางเว็บไซต (Site Structure)
4.   ออกแบบและพัฒนาเว็บไซต (Visual Design)
5.   พัฒนาและดําเนินการ (Production and
     Operation)
การจัดระบบขอมูลในเว็บไซต
• วางแผน/กําหนดหัวขอ และเนื้อหาที่จะนําเสนอ
• สรางความสัมพันธของขอมูล แบบรากตนไม

                    Home Page

          ประวัติ    ผลงาน      งานอดิเรก
การจัดระบบขอมูลในเว็บไซต (ตอ)
• กําหนดชื่อไฟลของเอกสารเว็บ
               Index.htm

Page-1.htm     Page-2.htm    Page-3.htm
การจัดระบบขอมูลในเว็บไซต (ตอ)
• สรางโฟลเดอรเฉพาะสําหรับเอกสารเว็บแตละชุด/เรื่อง
• ในโฟลเดอรที่สราง สามารถสรางโฟลเดอรยอย เพื่อเก็บ
  ไฟลใหเปนระบบระเบียบได
การจัดระบบขอมูลในเว็บไซต (ตอ)
• จัดหาภาพ หรือสรางภาพที่เกี่ยวของกับเนื้อหา
   – สรางดวยโปรแกรมกราฟก เชน Adobe Photoshop
   – คัดเลือกจาก ClipArt For Web เชน CD-Rom รวมภาพสําหรับเว็บ
• ภาพที่เลือกใชงานทั้งหมด ตองเก็บไวในโฟลเดอรที่สรางไว
  กอนแลว
การจัดระบบขอมูลในเว็บไซต (ตอ)
• สรางเอกสารเว็บ โดยการลงรหัส HTML หรือใชโปรแกรมชวย
• ไฟลเอกสาร HTML ทุกไฟลจะตองบันทึกไวในโฟลเดอรที่สรางไว
  กอน รวมกับรูปภาพที่จัดเตรียมไวแลว
การจัดระบบขอมูลในเว็บไซต (ตอ)
• ตรวจสอบผล เอกสาร HTML ดวยเว็บเบราเซอร
• แกไขขอผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น เนื่องจากเว็บเบราเซอรแตละ
  คาย แตละรุน รูจักคําสั่ง HTML ไมเทากัน
• สงขอมูลขึ้นเครื่องแมขาย (Server)
• ตรวจสอบผลการเรียกดูจากเครื่องแมขาย
หลักเกณฑในการเลือกภาพ Graphic
•   ขนาดไฟลไมควรเกิน 80 กิโลไบต เพื่อความรวดเร็วในการ
    แสดงผล
•   ใชไฟลแบบ JPEG สําหรับรูปถาย หรือรูปที่มีสีเกิน 256 สี
•   ใชไฟลแบบ GIF สําหรับภาพวาดหรือภาพการตูนที่มีสีไม
    เกิน 256 สี
•   เลือกภาพที่มีความนาสนใจและดึงดูด เพื่อไมใหเสียเวลาที่
    เสียไปในการ Download
•   ภาพเปลาประโยชน
ไฟลภาพกราฟกที่นํามาใชในการทําเว็บ
• ไฟลฟอรแมต JPG, JPEG
• ไฟลฟอรแมต GIF
• ไฟลฟอรแมต PNG
ไฟลสกุล JPG (Joint Photographer’s Experts Group)
• จุดเดน
   – แสดงสีไดสูงสุด16.7 ลานสี (สนับสนุนสีไดถึง 24 bit)
   – สามารถกําหนดคาการบีบไฟลไดตามที่ตองการ
   – มีระบบแสดงผลแบบหยาบและคอยๆ ขยายไปสูละเอียดในระบบ
     Progressive
   – มีโปรแกรมสนับสนุนการสรางจํานวนมาก
   – เรียกดูไดกับ Graphics Browser ทุกตัว
   – ตั้งคาการบีบไฟลได (compress files)
• จุดดอย
   – ทําใหพื้นของรูปโปรงใสไมได
ไฟลสกุล GIF (Graphics Interlace File)
• จุดเดน
   – แสดงสีไดสูงสุด 256 สี
   – สามารถใชงานขามระบบ (Cross Platform) หมายความวา คอมพิวเตอรทุกระบบ ไม
       วาจะใช Windows, Unix ก็สามารถเรียกใชไฟลภาพสกุลนี้ได
   – มีขนาดไฟลต่ํา จากเทคโนโลยีการบีบอัดภาพ ทําใหสามารถสงไฟลภาพไดรวดเร็ว
   – สามารถทําพื้นของภาพใหเปนพื้นแบบโปรงใสได (Transparent)
   – มีระบบแสดงผลแบบหยาบและคอยๆ ขยายไปสูละเอียดในระบบ Interlace
   – มีโปรแกรมสนับสนุนการสรางจํานวนมาก
   – เรียกดูไดกับ Graphics Browser ทุกตัว
   – ความสามารถดานการนําเสนอแบบภาพเคลื่อนไหว (GIF Animation)
• จุดดอย
   – ไฟลชนิดนี้ก็มีจุดดอยในเรื่องของการแสดงสี ซึ่งแสดงไดเพียง 256 สี ทําให การ
       นําเสนอภาพถาย หรือภาพที่ตองการความคมชัดหรือภาพสดใส จะตองอาศัยฟอรแมต
       อื่น
ไฟลสกุล PNG (Portable Network Graphics)
• จุดเดน
    –   แสดงสีไดสูงสุด 16.7 ลานสี
    –   สนับสนุนสีไดถึงตามคา True color (16 bit, 32 bit หรือ 64 bit)
    –   สามารถกําหนดคาการบีบไฟลไดตามที่ตองการ
    –   มีระบบแสดงผลแบบหยาบและคอยๆ ขยายไปสูละเอียด (Interlace)
    –   สามารถทําพื้นโปรงใสได
• จุดดอย
    – หากกําหนดคาการบีบไฟลไวสูง จะใชเวลาในการคลายไฟลสูงตามไปดวย แตขนาด
      ของไฟลจะมีขนาดต่ํา
    – ไมสนับสนุนกับ Graphic Browser รุนเกา สนับสนุนเฉพาะ IE 4 และ Netscape 4
    – ความละเอียดของภาพและจํานวนสีขึ้นอยูกับ Video Card
    – โปรแกรมสนับสนุนในการสรางมีนอย
การแสดงภาษา
• เลือกฟอนตที่ตองการจากตัวเลือก Font โดยเอกสารภาษาไทยควรกําหนด
  ฟอนตเปน Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif หรือ Tahoma สําหรับ
  เอกสารภาษาอังกฤษ กําหนดเปน Arial
• ขนาดตัวอักษร สามารถกําหนดไดอิสระ และเมื่อกําหนดแลว ผูใช
  ปลายทางยังสามารถปรับเปลี่ยนไดอิสระ
• การพิมพขอความไมตองสนใจระยะกั้นหลัง เพราะโปรแกรมจะตัดคําให
  โดยอัตโนมัติ สําหรับเอกสารภาษาไทย ควรเวนวรรคใหกับประโยคเปน
  ระยะๆ อยาพิมพติดกัน
• การกดปุม <Enter> จะกระทําเมื่อตองการขึ้นบรรทัดใหม, เวนบรรทัด
  หรือจบพารากราฟ
• หากตองการขึ้นบรรทัดใหม กอนจบพารากราฟใหกดปุม <Shift><Enter>
การกําหนดชื่อไฟล และนามสกุลของไฟลเอกสารเว็บ
•   ควรใชตัวอักษร a - z หรือตัวเลข 0 - 9 หรือผสมกัน
•   ตัวอักษร a - z ควรเปนตัวพิมพเล็ก
•   หามตั้งชื่อไฟลเปนภาษาไทย
•   ชื่อไฟลแรกของเอกสารเว็บ มักจะใชชื่อ index หรือ default
แนวคิดในการออกแบบ
•   เรียนรูจากเว็บไซตตางๆ
•   ประยุกตรูปแบบจากสิ่งพิมพ
•   ใชแบบจําลองเปรียบเทียบ
•   ออกแบบอยางสรางสรรค
แนวทางในการสรางเว็บไซต

     13 ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต

     การจัดโครงสรางของเว็บไซต
     ระบบเนวิแกชั่น
     การจัดแบงเนื้อที่ในหนาเว็บ
     สีบอกความหมายอะไรบาง
13 ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต
Phase 1: สํารวจปจจัยที่สําคัญ (Research)
                                                            1. เปาหมายหลักของเว็บไซต
    1.รูจักตัวเอง - กําหนดเปาหมายและสํารวจความพรอม
                                                            2. ความตองการของผูใช
    2.เรียนรูผูใช – ระบุกลุมผูใชและศึกษาความตองการ
                                                            3. กลยุทธในการแขงขัน
    3.ศึกษาคูแขง - สํารวจการแขงขันและเรียนรูคูแขง

Phase 2: พัฒนาเนื้อหา (Site Content)                        1. แนวทางในการออกแบบเว็บไซต
    4.สรางกลยุทธการออกแบบ                                  2. ขอบเขตเนื้อหาการใชงาน
    5.หาขอสรุปขอบเขตของเนื้อหา                             3. ขอมูลที่ถูกจัดอยางเปนระบบ

Phase 3: พัฒนาโครงสรางเว็บไซต (Site Structure)
                                                            1. แผนผังโครงสรางขอมูล
    6.จัดระบบขอมูล
                                                            2. แนวทางการทองเว็บ
    7.จัดทําโครงสรางขอมูล
                                                            3. ระบบเนวิเกชัน
    8.พัฒนาระบบเนวิเกชัน
                                                            1. ลักษณะหนาตาของเว็บไซต
Phase 4: ออกแบบและพัฒนาหนาเว็บ (Visual design)             2. เว็บเพจตนแบบที่จะใชในการพัฒนา
    9.ออกแบบและพัฒนาหนาตาเว็บ                              3. รูปแบบโครงสรางเว็บไซต
   10.พัฒนาตนแบบและขอกําหนดสุดทาย                        4. ขอกําหนดในการพัฒนาเว็บไซต
Phase 5: พัฒนาและดําเนินการ (Production and Operation)      1. เว็บไซตที่สมบูรณ
   11.ลงมือพัฒนาเว็บเพจ                                     2. เปดตัวเว็บไซตและทําใหเปนที่รูจัก
   12.เปดตัวเว็บไซต                                       3. แนวทางในการดูแลและพัฒนาตอไป
   13.ดูแลและพัฒนาตอเนื่อง
จัดโครงสรางเว็บไซต (Site MAP)
จัดโครงสรางเว็บไซต (Site MAP)
         หนา A

                                    แบบที่1 ตองคลิ๊ก 6 เพื่อเขาดูขอมูลหนา B
                                    แบบที่ 2 คลิ๊กเพียง 2 ครั้งเนื่องจาก
                                           โครงสรางขอมูลไมลึกมาก


                       หนา B

                                หนา A



                  หนา B
จัดโครงสรางเว็บไซต (Site MAP)
ระบบเนวิเกชัน
เปนการวางการเคลื่อนที่ภายในไซต (Site Flow)
เพื่อใหมองเห็นภาพการเชื่อโยงแตละหนาเพจไดชัดเจน

                องคกร                               ฝายวิจัย



 ฝายวิจัย    ฝายบริการ   ฝายถายทอด
                                                     นักวิจัย    ผลงานวิจัย



 นักวิจัย     ผลงานวิจัย                            กําลัง         พรอม
                                                                              จดสิทธิบัตร
                                                 ดําเนินการ       ถายทอด
ขั้นตอนการออกแบบ
จัดแบงพื้นที่ในหนาเว็บ (Page Layout)
...รูปแบบการแบงหนาเพจทั่วไปที่พบเห็นบอย 3 รูปแบบ...
Flash Header



                                         ------------------------------------------
                                     ----------------------------------------------
                                     ---------------------------------------------                           Picture                            Picture
      Picture
                                      ---------------------------------------------
                                      --------------------------------------------
                                      --------------------------------------------
                                      --------------------------------------------                    ----------------------------       ----------------------------
                                      --------------------------------------------                --------------------------------   --------------------------------
                                      ---------------------------------------------               --------------------------------   --------------------------------
                                                                                                  --------------------------------   --------------------------------


    ----------------------------                                                                      ----------------------------       ----------------------------
--------------------------------                                                                  --------------------------------   --------------------------------
--------------------------------                                                                  --------------------------------   --------------------------------
--------------------------------                                                                  --------------------------------   --------------------------------

1 --- ----------------------------                    1 --- ----------------------------
                                                                                                      ----------------------------       ----------------------------
2 --------------------------------                    2 --------------------------------
                                                                                                  --------------------------------   --------------------------------
3 --------------------------------                    3 --------------------------------
                                                                                                  --------------------------------   --------------------------------
4 --------------------------------                    4 --------------------------------
                                                                                                  --------------------------------   --------------------------------
5 --------------------------------                    5 --------------------------------



                                                                                             Footer
สีบอกความหมายอะไรบาง
   สีน้ําเงิน
              ความหมายในทางดี : ความซื่อสัตย ความมั่นคงปลอดภัย ความสะอาด ความเปน
   ระเบียบ ความหวง มีน้ําใจ ความมีคุณธรรม ความฉลาดรอบรู ความสะอาด ความสงบ ความ
   กลมกลืน ความเปนหนึ่ง ความเชื่อมั่น
                ความหมายในทางไมดี : ความหดหู ซึมเศรา เสียใจ ความโมโห
   สีแดง
               ความหมายในทางดี : พลัง อํานาจ ความรัก ความอบอุน ความจริง กําลังใจ อาการขวย
   เขิน ความแข็งขัน การแขงขัน การเสียสละ ความกลาหาญความเร็ว ความตื่นเตน ความสนุกสนาน

              ความหมายในทางไมดี : ความโมโห ความกาวราว ความอันตราย ความละอาย ความ
   รุนแรง ความผิดพลาด

   สีเขียว
   ความหมายในทางดี : ธรรมชาติ สุขภาพ ความยินดี การมีโชคดี การเริ่มตนใหม ความปลอดภัย การ
   รักษาความอบอุน ความแข็งแรง ความหวัง ความสมบูรณ ความกระฉับกระเฉง ความเปน อมตะ
   ความภักดี
   ความหมายในทางไมดี : อิจฉา ริษยา โชคราย ขาดประสบการณ ความเบื่อหนาย
สีบอกความหมายอะไรบาง (ตอ1)
   สีเหลือง / สีสม
   ความหมายในทางดี : ความสดใส รางเริง การโมงโลกในแงดี ความหวง ความอบอุน ความร่ํารวย ความสงา
   งาม ธรรมะ ปรัชญา ความสุขความคิดฝน
   ความหมายในทางไมดี : ความไมซื่อสตย การทรยศ ความขลาดกลัว ความอิจฉา ความเจ็บปวย การ
   หลอกลวง ความไมแนนอน

   สีน้ําตาล
   ความหมายในทางดี : ความเรียบงาย ความสะดวกสบาย ความทนทาน ความมั่นคง ความเชื่อถือได ความมี
   เกียรติ ความเจริญเติบโตเต็มที่
   ความหมายในทางไมดี : ความเปรอะเปอน อากรซึมเศรา หดหู สลดใจ


   สีเทา
   ความหมายในทางดี : ความสภาพ ความสงบเสงี่ยม ความเปนไปได ความมนคง ความไววางใจ วามฉลาด
   ความสุขุม ความมีเกียรติ
   ความหมายในทางไมดี : ความเศราโศก ความนาเบื่อ
สีบอกความหมายอะไรบาง (ตอ2)
   สีขาว
   ความหมายในทางดี : ความบริสุทธิ์ ความไรเรียงสา ความรัก ความฉลาด ความสงบเสงี่ยม ความเรียบงาย
   ความสะอาด การปราศจากเชื้อโรค ความเคารพนับถือ ความนอบนอมถอมตน ความเที่ยงตรง ความดี
   ความหมายในทางไมดี : ความออนแอ การเจ็บปวย ความตาย ความเศราโศก

   สีดํา
   ความหมายในทางดี : อํานาจ ความฉลาด ความเปนเลิศ ความสุขุม ความรอบครอบ ความตั้งใจ ความมนคง
   ความเปนทางการ
   ความหมายในทางไมดี : ความซับซอน การหลอกลวง ความลบความกลัว การปกปด ความนากลัว ความชั่ว
   ราย ความทุกข ความหดหู ความหมดหวง ความเศราโศก ความโกรธ ความลึกลับ
การออกแบบเว็บไซตที่ดี
รูจักกับการออกแบบเว็บไซต
      การออกแบบเว็บไซตนั้นไมไดหมายถึงลักษณะหนาตาของเว็บไซต
เพียงอยางเดียว แตเกี่ยวของตั้งแตการเริ่มตนกําหนดเปาหมายของ
เว็บไซต ระบุกลุมผูใช การจัดระบบขอมูล การสรางระบบเนวิเกชัน การ
ออกแบบหนาเว็บ รวมไปถึงการใชกราฟก การเลือกใชสี และการ
จัดรูปแบบตัวอักษร นอกจากนั้นยังตองคํานึงถึงความแตกตางของ
สื่อกลางในการแสดงผลเว็บไซตดวย

                                                รูปตัวอยางเวบไซด
                                                http://www.officemate.co.th
                                                เปนเว็บที่ออกแบบสวยงามนาใช
                                                และมีสีสันสวยงาม
สื่อกลางในการแสดงผลเว็บไซตไดแก ชนิดและรุนของบราวเซอร
ขนาดของหนาจอมอนิเตอร ความละเอียดของสีในระบบ รวมไปถึง
Plug-in ชนิดตาง ๆ ที่ผูใชมีอยู เพื่อใหผูใชเกิดความสะดวกและความ
พอใจที่จะทองไปในเว็บไซตนั้น ดังนั้นทุกสิ่งทุกอยางในเว็บไซตทั้งที่คุณ
มองเห็นและมองไมเห็นลวนเปนผลมาจากกระบวนการออกแบบเว็บไซต
ทั้งสิ้น



                                                          รูปตัวอยางเวบไซด http://www.raycity.in.th
                                                          เปนเว็บที่ออกแบบสีสัน
                                                          สวยงามเราใจ
เว็บไซตที่ดูสวยงามหรือมีลูกเลนมากมายนั้น อาจจะไมนับเปนการ
ออกแบบที่ดีก็ได ถาความสวยงามและลูกเลนเหลานั้นไมเหมาะสมกับ
ลักษณของเว็บไซต ดวยเหตุนี้จึงเปนเรื่องยากที่จะระบุวาการออกแบบ
เว็บไซตที่ดีนั้นเปนอยางไร เนื่องจากไมมีหลักเกณฑแนนอนที่จะใชไดกับ
ทุกเว็บไซต




                                                   รูปตัวอยางเวบไซด
                                                   http://www.shoppingplace.net/
                                                   เปนเว็บที่ออกแบบเรียบงายและเปน
                                                   ระเบียบสวยงาม
แนวทางการออกแบบบางอยางที่เหมาะสมกับเว็บไซตหนึ่ง อาจจะ
ไมเหมาะกับอีกเว็บไซตหนึ่งก็ได ทําใหแนวทางในการออกแบบของแตละ
เว็บไซตนั้นแตกตางกันไปตามเปาหมายและลักษณะของเว็บไซตนั้น
เว็บไซตบางแหงอาจตองการความสนุกสนาน บันเทิง ขณะที่เว็บอื่นกลับ
ตองการความถูกตอง นาเชื่อถือเปนหลัก



                                              รูปตัวอยางเวบไซด http://www.cgd.go.th/
                                              เปนเว็บที่สวยงามและนาเชื่อถือ
ดังนั้นอาจสรุปไดวาการออกแบบที่ดีก็คือ การออกแบบให
เหมาะสมกับเปาหมายและลักษณะของเว็บไซต โดยคํานึงถึง
ความสะดวกในการใชงานของผูใชเปนหลัก




                    รูปตัวอยางเวบไซดhttp://www.siamfreestyle.com/
              เปนเว็บที่ออกแบบเรียบงายและสะดวกตอการเรียกใช
ออกแบบใหตรงกับเปาหมาย และลักษณะของเว็บไซต

       เว็บไซตแตละประเภทตางมีเปาหมายและลักษณะที่แตกตาง
  กัน ตัวอยางเชน เว็บไซตที่เปน Search Engine ซึ่งเปนแหลง
  รวมที่อยูของเว็บไซตตาง ๆ ทําหนาที่เปนประตูไปสูเว็บไซตอื่น ๆ
  เว็บไซตประเภทนี้มีเปาหมายที่จะใหขอมูลที่ผูใชตองการอยาง
  รวดเร็ว และจะมีผูเขามาใชบริการคนหาขอมูลเปนจํานวนมากใน
  แตละวัน
ดังนั้นสิ่งที่สําคัญในการออกแบบเว็บไซตประเภทนี้ก็คือ
สามารถแสดงหนาเว็บอยางรวดเร็ว เมื่อผูใชเปดเขามาและมี
ระบบสืบคนขอมูลที่มีประสิทธิภาพ เพื่อใหไดผลลัพธที่รวดเร็ว




                    รูปตัวอยางเวบไซด http://www.google.co.th/
                   เปนเว็บที่สามารถคนหาขอมูลไดรวดเร็ว
สําหรับเว็บเพื่อความบันเทิงหรือเกี่ยวของกับศิลปะนั้น ผูใชมัก
คาดหวังที่จะไดพบกับสิ่งที่นาตื่นเตน เรื่องราวที่สนุกสนาน
เพลิดเพลิน หรืออาจจะไดเรียนรูสาระบางอยางบาง ความสําคัญใน
การออกแบบเว็บไซตเหลานี้จึงมีมากพอกับเนื้อหาภายในเว็บไซต



                                              รูปตัวอยางเวบไซด
                                              http://www.talesrunner.in.th
                                              เปนเว็บที่ดูสนุกสนาน
สวนเว็บทั่วไปที่ใหบริการขอมูล ซึ่งไมไดมีเปาหมายที่จะให
ความบันเทิง ควรจะมีการจัดขอมูลอยางเปนระบบและมีรูปแบบ
ที่เขาใจงาย เพื่อทําใหสามารถเขาถึงขอมูลที่ตองการไดอยาง
รวดเร็ว




                       รูปตัวอยางเวบไซด http://www.jobsiam.com/
                   เปนเว็บที่จัดสรรขอมูลเปนระบบ เขาถึงไดงาย
รูปแสดงตัวอยางเว็บไซตของ Adobe
            สวนเว็บไซตขององคกรธุรกิจที่มีเปาหมายเพื่อขายสินคาหรือบริการนั้น      ยิ่ง
จําเปนตองใหความสําคัญกับการออกแบบเว็บไซตเปนอยางมาก เพราะผูใชหรือลูกคาของ
คุณจะตัดสินใจซื้อสินคาหรือบริการ โดยดูจากสิ่งที่พบเห็นในเว็บไซต          ซึ่งลักษณะการ
ออกแบบของเว็บไซตก็จะสะทอนถึงภาพลักษณของธุรกิจนั้น จึงทําใหเว็บไซตที่ไดรับการ
ออกแบบมาอยางดีสามารถสรางความนาเชื่อถือและดึงดูดความสนใจของผูใชไดมากกวา
เว็บไซตอื่น
องคประกอบของการออกแบบเว็บไซตอยางมีประสิทธิภาพ
       องคประกอบตอไปนี้ถือเปนพื้นฐานที่สําคัญของเว็บไซตที่ไดรับการ
ออกแบบมาอยางมีประสิทธิภาพ
1. ความเรียบงาย (Simplicity)
       หลักที่สําคัญของความเรียบงาย คือ การสื่อสารเนื้อหาถึงผูใชโดยจํากัด
องคประกอบ เสริมที่เกี่ยวของกับการนําเสนอใหเหลือเฉพาะสิ่งที่จําเปน
เทานั้น
 รูปตัวอยางเวบไซด
 http://www.fourfan.com/
 เปนเว็บที่ออกแบบเรียบงาย
2. ความสม่ําเสมอ (Consistency)
      ใชรูปแบบเดียวกันตลอดทั้งเว็บไซต เนื่องจากผูใชจะรูสึกกับ
เว็บไซตวาเปนเสมือนสถานที่จริง ถาลักษณะของแตละหนาในเว็บไซต
เดียวกันนั้นแตกตางกันมาก ผูใชก็จะเกิดความสับสนและไมแนใจวา
กําลังอยูในเว็บเดิมหรือไม ดังนั้นรูปแบบของหนา สไตลของกราฟก
ระบบเนวิเกชัน และโทนสีที่ใชควรจะมีความคลายคลึงกันตลอดทั้ง
เว็บไซต
3. ความเปนเอกลักษณ (Identity)
    การออกแบบตองคํานึงถึงลักษณะขององคกร เนื่องจากรูปแบบ
ของเว็บไซตสามารถสะทอนถึงเอกลักษณ และลักษณะขององคกรนั้น
ได




                     รูปตัวอยางเวบไซด http://www.gsb.or.th
              เปนเว็บที่ออกแบบสีสันเปนเอกลักษณของตนเอง
4. เนื้อหาที่มีประโยชน (Useful Content)
     เนื้อหาถือเปนสิ่งที่สําคัญที่สุดในเว็บไซต ดังนั้นในเว็บไซตควร
จัดเตรียมเนื้อหาและขอมูล ที่ผูใชตองการใหถูกตองและสมบูรณ โดยมี
การปรับปรุงและเพิ่มเติมใหทันตอเหตุการณอยูเสมอ เนื้อหาที่สําคัญที่สุด
คือ เนื้อหาที่สรางขึ้นมาเองโดยทีมงานของคุณและไมซ้ํากับเว็บอื่น เพราะ
จะเปนสิ่งที่ดึงดูดผูใชใหเขามาในเว็บไซตอยูเสมอ
                                              รูปตัวอยางเวบไซด
                                              http://www.samunpri.com
                                              เปนเว็บที่ออกแบบเรียบงายและ
                                              เปนระเบียบสวยงาม
5. ระบบเนวิเกชันที่ใชงานงาย (User-Friendly Navigation)
    ระบบเนวิเกชันเปนองคประกอบที่สําคัญมากของเว็บไซต จะตอง
ออกแบบใหผูใชเขาใจไดงายและใชงานสะดวก โดยใชกราฟกที่สื่อ
ความหมายรวมกับคําอธิบายที่ชัดเจน รวมทั้งมีรูปแบบและลําดับของ
รายการที่สม่ําเสมอ
6. มีลักษณะที่นาสนใจ (Visual Appeal)
     เปนเรื่องยากที่จะตัดสินวาลักษณะหนาตาของเว็บไซตนาสนใจ
หรือไม เพราะเกี่ยวของกับความชอบของแตละบุคคลอยางไรก็ตาม
หนาตาของเว็บไซตจะมีความสัมพันธกับคุณภาพขององคประกอบตาง ๆ
7. การใชงานอยางไมจํากัด (Compatibility)
      ควรออกแบบเว็บไซตใหผูใชสวนใหญเขาถึงไดมากที่สุด
โดยไมมีการบังคับใหผูใชตองติดตั้งโปรแกรมใด ๆ เพิ่มเติม หรือ
ตองเลือกใชบราวเซอรชนิดใดชนิดหนึ่งจึงจะสามารถเขาถึง
เนื้อหาได สามารถแสดงผลไดในทุกระบบปฏิบัติการและที่ความ
ละเอียดหนาจอตางกันอยางไมมีปญหา
8. คุณภาพในการออกแบบ (Design Stability)
     ถาตองการใหผูใชรูสึกวาเว็บไซตที่มีคุณภาพ ถูกตอง และเชื่อถือได
ก็ควรใหความสําคัญกับการออกแบบเว็บไซตอยางมาก
9. ระบบการใชงานที่ถูกตอง (Functional Stability)
    ระบบการทํางานตาง ๆ ในเว็บไซตจะตองมีความแนนอน และทํา
หนาที่ไดอยางถูกตอง



                                         รูปตัวอยางเวบไซด
                                         http://www.settrade.com
                                         เปนเว็บที่มีระบบใหขอมูลที่ถูกตอง
ความผิดพลาดในการออกแบบเว็บไซต
•   ใชโครงสรางหนาเว็บเปนระบบเฟรม
•   ใชเทคโนโลยีขั้นสูงโดยไมจําเปน
•   ใชตัวหนังสือหรือภาพเคลื่อนไหวตลอดเวลา
•   มีที่อยูเว็บไซตที่ซับซอน (URL) ยากตอการจดจําและพิมพ
•   ไมมีการแสดงชื่อและที่อยูของเว็บไซตในหนาเว็บเพจ
•   มีความยาวของหนามากเกินไป
•   ขาดระบบเนวิเกชันที่มีประสิทธิภาพ
•   ใชสีของลิงคไมเหมาะสม
•   ขอมูลเกาไมมีการปรับปรุงใหทันสมัย
•   เว็บเพจแสดงผลชา
กําหนดกลุมผูใชเปาหมาย
         การทําเว็บไซตจําเปนตองรูกลุมผูใชเปาหมายที่จะเขามาใช
  บริการในเว็บไซตอยางชัดเจน เพื่อที่จะตอบสนองความตองการของ
  ผูใชไดอยางถูกตอง
         สิ่งที่ผูใชตองการจากเว็บไซต
                      1. ขอมูลและการใชงานที่เปนประโยชน
                      2. การตอบสนองตอผูใช
                      3. ความบันเทิง
                      4. ของฟรี
ขอมูลหลักที่ควรมีอยูในเว็บไซต
1. ขอมูลเกี่ยวกับบริษัท (About the company)
2. รายละเอียดผลิตภัณฑ (Product information)
3. ขาวความคืบหนาและขาวจากสื่อมวลชน (News/Press
  releases)
4. คําถามยอดนิยม (Frequently asked questions)
5. ขอมูลในการติดตอ (Contact information)
Internet 54

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตTrepet Parungnantakul
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตguest31bfdc
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตEkkaphum Sunggudthong
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตTrepet Parungnantakul
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404Wanz Buranakanonda
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตTrepet Parungnantakul
 
ผ ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ต
ผ  ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ตผ  ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ต
ผ ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ตJamnisa Nymph
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตgasnaja
 
วิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
วิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตวิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
วิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตcnkgrace14
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตpeamrcp
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตThanakorn Poomisit
 
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตChampswagen
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาวความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาวMilkSick
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1Toey_Wanatsanan
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตThanakorn Poomisit
 
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตChampswagen
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตNamlekdum
 

Was ist angesagt? (19)

ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
ผ ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ต
ผ  ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ตผ  ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ต
ผ ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
วิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
วิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตวิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
วิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
 
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาวความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาว
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
 
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
 

Andere mochten auch

Vocabulary describing people
Vocabulary describing peopleVocabulary describing people
Vocabulary describing peoplejolehidy6
 
Harvesting HathiTrust Documents: A New Model for Online Access
Harvesting HathiTrust Documents: A New Model for Online  AccessHarvesting HathiTrust Documents: A New Model for Online  Access
Harvesting HathiTrust Documents: A New Model for Online AccessChristopher Brown
 
Hướng dẫn lập trình với SCSF phần I (smart client software factory)
Hướng dẫn lập trình với SCSF phần I (smart client software factory)Hướng dẫn lập trình với SCSF phần I (smart client software factory)
Hướng dẫn lập trình với SCSF phần I (smart client software factory)Minh Tri Lam
 
Андрей Войнов, Барьер. «Голь на выдумки хитра» или нестандартные акции в рекл...
Андрей Войнов, Барьер. «Голь на выдумки хитра» или нестандартные акции в рекл...Андрей Войнов, Барьер. «Голь на выдумки хитра» или нестандартные акции в рекл...
Андрей Войнов, Барьер. «Голь на выдумки хитра» или нестандартные акции в рекл...Dentsu Aegis Network Ukraine
 
We media murdoch and emprie
We media murdoch and emprieWe media murdoch and emprie
We media murdoch and emprietdcjackson
 
People First Ottawa Annual General Meeting 2012
People First Ottawa Annual General Meeting 2012People First Ottawa Annual General Meeting 2012
People First Ottawa Annual General Meeting 2012LiveWorkPlay
 
Introduction to-sciences-of-the-quran
Introduction to-sciences-of-the-quranIntroduction to-sciences-of-the-quran
Introduction to-sciences-of-the-quranIslam4mankind Rachidm
 
The Latest Developments in Computer Crime Law
The Latest Developments in Computer Crime LawThe Latest Developments in Computer Crime Law
The Latest Developments in Computer Crime LawSource Conference
 
Workshop recuperación 8tavos
Workshop recuperación 8tavosWorkshop recuperación 8tavos
Workshop recuperación 8tavosjolehidy6
 
West Cork Leader Presentation
West Cork Leader PresentationWest Cork Leader Presentation
West Cork Leader Presentationdoran_justin
 
YÊU THƯƠNG hay SỬ DỤNG
YÊU THƯƠNG hay SỬ DỤNGYÊU THƯƠNG hay SỬ DỤNG
YÊU THƯƠNG hay SỬ DỤNGhotinhtam2005
 
Save The Essay!
Save The Essay!Save The Essay!
Save The Essay!TomDunn39
 
2012 Hispanic Allocation Impact on Revenue Growth Study Series: Part III
2012 Hispanic Allocation Impact on Revenue Growth Study Series: Part III2012 Hispanic Allocation Impact on Revenue Growth Study Series: Part III
2012 Hispanic Allocation Impact on Revenue Growth Study Series: Part IIIAHAA: The Voice of Hispanic Marketing
 
Social Media Recommendations for WeVideo
Social Media Recommendations for WeVideoSocial Media Recommendations for WeVideo
Social Media Recommendations for WeVideoLayla Sabourian
 

Andere mochten auch (20)

Variable Annuities
Variable AnnuitiesVariable Annuities
Variable Annuities
 
Vocabulary describing people
Vocabulary describing peopleVocabulary describing people
Vocabulary describing people
 
Harvesting HathiTrust Documents: A New Model for Online Access
Harvesting HathiTrust Documents: A New Model for Online  AccessHarvesting HathiTrust Documents: A New Model for Online  Access
Harvesting HathiTrust Documents: A New Model for Online Access
 
Samukelephen56
Samukelephen56Samukelephen56
Samukelephen56
 
Hướng dẫn lập trình với SCSF phần I (smart client software factory)
Hướng dẫn lập trình với SCSF phần I (smart client software factory)Hướng dẫn lập trình với SCSF phần I (smart client software factory)
Hướng dẫn lập trình với SCSF phần I (smart client software factory)
 
Андрей Войнов, Барьер. «Голь на выдумки хитра» или нестандартные акции в рекл...
Андрей Войнов, Барьер. «Голь на выдумки хитра» или нестандартные акции в рекл...Андрей Войнов, Барьер. «Голь на выдумки хитра» или нестандартные акции в рекл...
Андрей Войнов, Барьер. «Голь на выдумки хитра» или нестандартные акции в рекл...
 
We media murdoch and emprie
We media murdoch and emprieWe media murdoch and emprie
We media murdoch and emprie
 
People First Ottawa Annual General Meeting 2012
People First Ottawa Annual General Meeting 2012People First Ottawa Annual General Meeting 2012
People First Ottawa Annual General Meeting 2012
 
Gothic mirror cases
Gothic mirror casesGothic mirror cases
Gothic mirror cases
 
Sram
SramSram
Sram
 
Introduction to-sciences-of-the-quran
Introduction to-sciences-of-the-quranIntroduction to-sciences-of-the-quran
Introduction to-sciences-of-the-quran
 
Social media for retail overview 2013
Social media for retail overview 2013Social media for retail overview 2013
Social media for retail overview 2013
 
Just one-message
Just one-messageJust one-message
Just one-message
 
The Latest Developments in Computer Crime Law
The Latest Developments in Computer Crime LawThe Latest Developments in Computer Crime Law
The Latest Developments in Computer Crime Law
 
Workshop recuperación 8tavos
Workshop recuperación 8tavosWorkshop recuperación 8tavos
Workshop recuperación 8tavos
 
West Cork Leader Presentation
West Cork Leader PresentationWest Cork Leader Presentation
West Cork Leader Presentation
 
YÊU THƯƠNG hay SỬ DỤNG
YÊU THƯƠNG hay SỬ DỤNGYÊU THƯƠNG hay SỬ DỤNG
YÊU THƯƠNG hay SỬ DỤNG
 
Save The Essay!
Save The Essay!Save The Essay!
Save The Essay!
 
2012 Hispanic Allocation Impact on Revenue Growth Study Series: Part III
2012 Hispanic Allocation Impact on Revenue Growth Study Series: Part III2012 Hispanic Allocation Impact on Revenue Growth Study Series: Part III
2012 Hispanic Allocation Impact on Revenue Growth Study Series: Part III
 
Social Media Recommendations for WeVideo
Social Media Recommendations for WeVideoSocial Media Recommendations for WeVideo
Social Media Recommendations for WeVideo
 

Ähnlich wie Internet 54

อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตอินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตkhwan_thananda
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตอินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตNattaporn Bunmak
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตอินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตkhwan_thananda
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตอินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตNattaporn Bunmak
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตguest31bfdc
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตguest31bfdc
 
เทอม 1 คาบ 7บทบาทของการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 7บทบาทของการสื่อสารเทอม 1 คาบ 7บทบาทของการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 7บทบาทของการสื่อสารMrpopovic Popovic
 
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ตteaw-sirinapa
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต!
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต!การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต!
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต!Cookie Bomber
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการSiriwan Udomtragulwong
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทWannipa Wongwaew
 
รายงานการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต2
รายงานการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต2รายงานการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต2
รายงานการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต2guest9588e7f
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)runjaun
 
Tu153 บทที่ 8 2/2560
Tu153 บทที่ 8 2/2560Tu153 บทที่ 8 2/2560
Tu153 บทที่ 8 2/2560Kasidit Chanchio
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..runjaun
 
ระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตWanphen Wirojcharoenwong
 

Ähnlich wie Internet 54 (20)

Internet
InternetInternet
Internet
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตอินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตอินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตอินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตอินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
เทอม 1 คาบ 7บทบาทของการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 7บทบาทของการสื่อสารเทอม 1 คาบ 7บทบาทของการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 7บทบาทของการสื่อสาร
 
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต!
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต!การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต!
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต!
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
 
รายงานการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต2
รายงานการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต2รายงานการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต2
รายงานการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต2
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
 
Tu153 บทที่ 8 2/2560
Tu153 บทที่ 8 2/2560Tu153 บทที่ 8 2/2560
Tu153 บทที่ 8 2/2560
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
 
Lan 01
Lan 01Lan 01
Lan 01
 
Lan 01
Lan 01Lan 01
Lan 01
 
ระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ต
 

Internet 54

  • 2. INTERNET คืออะไร • INTERNET เปนเครือขายคอมพิวเตอร ขนาดใหญ ที่เชื่อมโยงเครือขาย คอมพิวเตอร ทั่วโลกเขาดวยกัน • คําเต็มของอินเทอรเน็ต : อินเทอรเน็ตเวิรกกิง (Internetworking) • เรียกอีกอยางหนึ่งวา ไซเบอรสเปซ (Cyberspace)
  • 3. อินเทอรเน็ต : อภิมหาเครือขาย • อินเทอรเน็ต เปนอภิมหาเครือขายที่ยิ่งใหญมาก มี คอมพิวเตอรหลายลานเครื่องทั่วโลกเชื่อมตอระบบ ทําให คนในโลกทุกชาติทุกภาษาติดตอกันได สามารถสงขอมูล ขาวสารหลายรูปแบบทั้งขอความ ภาพ และเสียง • การติดตอสื่อสารระหวางคอมพิวเตอร อาจจะติดตอ ผานสายโทรศัพท ไมโครเวฟ ดาวเทียม เคเบิลใตน้ํา หรือสายไฟเบอรออปติก
  • 4. ประวัติความเปนมา • ป 2512 กระทรวงกลาโหมสหรัฐใหทุน มหาวิทยาลัย ศึกษาวิธีการเชื่อมโยงคอมพิวเตอรเขา เปนเครือขาย เรียกวา อารปาเน็ต (ARPAnet) • ป 2524 มหาวิทยาลัยทุกแหงในสหรัฐเชื่อมโยงเขาสู เครือขาย และเปลี่ยนชื่อมาเปน อินเทอรเน็ต • ป 2532 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไดเชื่อมโยง เครือขายเพื่อสง อิเล็กทรอนิกสเมล กับประเทศ ออสเตรเลีย
  • 5. อินเทอรเน็ตในประเทศไทย สําหรับภาคเอกชน ไดมีการกอตั้งบริษัทสําหรับ ใหบริการอินเตอรเน็ตแกเอกชนและบุคคลทั่วไป ที่นิยมเรียกกัน วา ISP (Internet Service Providers) 5
  • 7. เหตุผลสําคัญที่ทําใหอินเตอรเน็ตไดรับความนิยมแพรหลาย  การสื่อสารบนอินเตอรเน็ต ไมจํากัดระบบปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร คอมพิวเตอร ที่ตางระบบปฏิบัติการกันก็สามารถติดตอ สื่อสารกันได เชน คอมพิวเตอรที่มี ระบบปฏิบัติการแบบ Windows 95 สามารถสื่อสารกับคอมพิวเตอรที่มีระบบปฏิบัติการ แบบ Macintosh ได  อินเตอรเน็ตไมมีขอจํากัดในเรื่องของระยะทาง ไมวาจะอยูภายในอาคารเดียวกัน หรือหาง กันคนละทวีป ขอมูลก็สามารถสงผานถึง กันได  อินเตอรเน็ตไมจํากัดรูปแบบของขอมูล ซึ่งมีไดทั้งขอมูลที่เปนขอความอยางเดียว หรืออาจ มีภาพประกอบ รวมไปถึงขอมูลชนิด มัลติมีเดีย คือมีทั้งภาพเคลื่อนไหวและมีเสียง ประกอบดวยได
  • 8. การประยุกตใชงานบนอินเทอรเน็ต • E-mail • Telnet • FTP • www ,Gopher,Archie • Usenet • Chat • E-Commerce • Entertain
  • 9. E-mail : Electronic Mail • ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส หรือ E-mail (Electronic Mail) เปนการสงจดหมาย อิเล็กทรอนิกส ผานเครือขายอินเทอรเน็ต ตลอดจน สามารถ สงแฟมขอมูล หรือไฟลแนบกับ อีเมลไดดวย
  • 10. Telnet • เทลเน็ต (Telnet) การขอเขาระบบจากระยะไกล • เปนบริการที่เราสามารถเขาไปใชงานในเครื่อง คอมพิวเตอรที่อยูไกลๆ ดวยตัวเอง
  • 11. FTP • การถายโอนขอมูล FTP (File Transfer Protocol) • เปนบริการของอินเทอรเน็ต ที่เราสามารถคนหาและเรียกขอมูล จากแหลงตางๆ มาเก็บที่เครื่องเรา หรือสงไปที่เครื่องอื่น ทั้งขอมูลที่เปน ขอความ ภาพ และเสียง
  • 12. www • World Wide Web : www • Gopher • Archie • เปนการใชเครือขายอินเทอรเน็ต ในการ สืบคนขอมูล คนหา ขาวสารที่มีอยูมากมาย แลวชวย จัดเรียงขอมูลขาวสารตามหัวขอ อยางมีระบบ เปนเมนู ทําใหเรา หาขอมูลไดงายและสะดวก
  • 13. World Wide Web : www • World Wide Web : www • การบริการขอมูลที่เชื่อมตอดวย ไฮเปอรลิงก โดยมีโฮสตที่ทําหนาที่บริการ ขอมูลซึ่งเรียกวา เว็ปเซิรฟเวอร (Web Server ) การเรียกชื่อโฮสต ใชคํา นําหนาวา www เชน www.thaisakon.com
  • 14. Usenet • Usenet เปนการใหบริการแลกเปลี่ยนขาวสาร และแสดง ความคิดเห็นที่ผูใชอินเทอรเน็ตทั่วโลกพบปะกัน แสดง ความคิดเห็นของตน โดยมีการจัดการผูใชเปนกลุม • เปนเวทีขนาดใหญ ใหทุกคน จากทุกมุมโลก
  • 15. Chat • Chat การสื่อสารดวยขอความ เปนการพูดคุยกัน ระหวางผูใชอินเทอรเน็ต โดยพิมพขอความโตตอบกัน ในเวลาเดียวกัน
  • 16. E-Commerce • E-Commerce : Electronic Commerce • เปนการซื้อ-ขายสินคา และบริการบนอินเทอรเน็ต ปจจุบันมี บริษัทหลายหมื่นบริษัทใชอินเทอรเน็ตทําธุรกิจ และใหบริการ ลูกคา 24 ชั่วโมง
  • 17. Entertain • Entertain เปนบริการดานความบันเทิงในรูปแบบตางๆ เชน เกมส เพลง รายการโทรทัศน รายการวิทยุ เปนตน สามารถเลือกใชบริการ 24 ชั่วโมง
  • 19. Server Server เปนคอมพิวเตอรทที่ทําหนาที่ ใหบริการดานตางๆ อาทิเชน เปน • Web Server • Mail Server • News server • FTP Server • ฯลฯ
  • 20. Client • Client เปนคอมพิวเตอรสวนบุคคล ที่ทําการเชื่อมตอตนเองไปยัง Server เพื่อขอใชบริการตางๆ จาก Server
  • 21. ระบบสื่อสาร โทรคมนาคม • เปนเสนทางที่ใชในการ ติดตอสื่อสารระหวาง Client กับ Server และ Server กับ Server อื่น ใน เครือขายอินเทอรเน็ต
  • 23. การเชื่อมตอแบบสวนบุคคล อุปกรณที่จําเปน • คูสายโทรศัพท • Modem • คอมพิวเตอร • เปดบัญชีผูใชกับผูใหบริการอินเทอรเน็ต
  • 24. รูปแบบการเชื่อมตอ องคการ โทรศัพท
  • 25. รูปแบบการเชื่อมตอ กําหนด Username องคการ Password โทรศัพท หมายเลขโทรศัพท
  • 26. รูปแบบการเชื่อมตอ MODEM เปลี่ยนขอมูล ในรูปแบบดิกิตอล องค จ าร เปนโทรศัพท อนาล็อก สงไปตามสายโทรศัพท
  • 27. MODEM เปลี่ยนขอมูล ในรูปแบบอนาล็อก รูปแบบการเชื่อมตอ เปนดิจิตอล สงไปยังเครื่องคอมพิวเตอร องคการ โทรศัพท
  • 28. เชื่อมตอไปยัง รูปแบบการเชื่อมตอ เครือขายอินเทอรเน็ต องคการ โทรศัพท
  • 29. ลักษณะการใชงาน • ผูใชกําหนด Username และ Password  • กําหนดหมายเลขโทรศัพทของผูใหบริการอินเทอรเน็ต • เริ่มการติดตอ • เรียกโปรแกรมสําหรับใชบริการตางๆ บนอินเทอรเน็ต อาทิ เชน ถาตองการคนขอมูลจาก www ใหใชโปรแกรม IE / Nescape / Opera ถาตองการสนทนาบนเครือขาย ใช Internet Phone ฯลฯ
  • 30. การเชื่อมตอแบบ Cooperate dial-in • การเชื่อมตอแบบสวนบุคคล มีขอจํากัดคือ ใชไดครั้งละ 1 เครื่อง 1 ผูใช • กรณีที่ตองการใหใชไดหลายๆ เครื่อง และ ประหยัดคาใชจาย สามารถทําไดโดยการใช การเชื่อมตอแบบ coperate dial-in
  • 31. อุปกรณที่จําเปน • คูสายโทรศัพท • Modem • คอมพิวเตอรที่ทําหนาที่เปน Server • คอมพิวเตอรที่ใชงานตองตอกันเปนระบบ เครือขาย • เปดบัญชีผูใชกับผูใหบริการอินเทอรเน็ต
  • 32. รูปแบบการเชื่อมตอ องคการ โทรศัพท คอมพิวเตอรตองเปน ระบบเครือขาย
  • 33. รูปแบบการเชื่อมตอ Server ทําหนาที่เปน ชองทางในการติดตอ ผูใหบริการอินเทอรเน็ต องคการ โทรศัพท
  • 34. รูปแบบการเชื่อมตอ MODEM เปลี่ยนขอมูล ในรูปแบบดิกิตอล องค จ าร เปนโทรศัอพท อนาล็ ก สงไปตามสายโทรศัพท องคการ โทรศัพท
  • 35. MODEM เปลี่ยนขอมูล รูปแบบการเชื่อมตอ ในรูปแบบอนาล็อก เปนดิจิตอล สงไปยังเครื่องคอมพิวเตอร องคการ โทรศัพท
  • 36. เชื่อมตอไปยัง รูปแบบการเชื่อมตอ เครือขายอินเทอรเน็ต องคการ โทรศัพท
  • 37. ลักษณะการใชงาน • กําหนด Username และ Password • กําหนดหมายเลขโทรศัพทของผูใหบริการอินเทอรเน็ต • การกําหนดขางตนกระทําที่เครื่องที่เปน Server • เริ่มการติดตอ • การเรียกโปรแกรมสําหรับใชบริการตางๆ บนอินเทอรเน็ต สามารถ ทําไดที่เครื่องตางๆ ที่อยูในเครือขาย โดย Server จะเปน gateway นําผูใชในเครือขายออกไปยังอินเทอรเน็ต
  • 38. การเชื่อมตอแบบ Cooperate lease line • เหมาะสําหรับหนวยงานที่ตองการใหบริการ ทางดานอินเทอรเน็ต • ตองการเชื่อมตอกับระบบตลอด 24 ชั่วโมง • มีบุคลากรในหนวยงานที่ตองใชอินเทอรเน็ต ในเวลาเดียวกันเปนจํานวนมาก
  • 39. อุปกรณที่จําเปน • Lease line • Modem • Router • คอมพิวเตอรที่ทําหนาที่เปน Server • คอมพิวเตอรที่ใชงานตองตอกันเปนระบบ เครือขาย
  • 40. รูปแบบการเชื่อมตอ คอมพิวเตอรตองเปน ระบบเครือขาย
  • 41. รูปแบบการเชื่อมตอ Server ใหบริการตางๆ เชน Internet Server Web Server Mail Server
  • 42. รูปแบบการเชืทํามตอ นอุปกรณ Router ่อ หนที่เป หาเสนทางบนเครือขาย อินเทอรเน็ต
  • 43. MODEM เปลี่ยนขอมูล ในรูปแบบดิจิตอลการ องค รูปแบบการเชื่อมตอ เปนอนาล็โทรศัพท อก สงไปตามสายโทรศัพท
  • 44. รูปแบบการเชื่อมตอ ่อสาร วงจรเชาจากการสื ทศท. UCOM DATANET
  • 45. MODEM เปลี่ยนขอมูล ในรูปแบบอนาล็อก รูปแบบการเชื่อมตอ เปนดิจิตอล สงไปยังเครื่องคอมพิวเตอร วงจรเชาจากการสื่อสาร ทศท. UCOM DATANET
  • 46. รูปแบบการเชื่อมตอ Router ทําหนที่เปนอุปกรณ หาเสนทางบนเครือขาย อินเทอรเน็ต
  • 47. Internet Server รูปแบบการเชื่อมตอ Web Server Mail Server
  • 48. ลักษณะการใชงาน • การใชอินเทอรเน็ตในรูปแบบนี้ Server จะทําการ เชื่อมตออยูกับเครือขายตลอด 24 ชั่วโมง • การเรียกโปรแกรมสําหรับใชบริการตางๆ บน อินเทอรเน็ต สามารถทําไดที่เครื่องตางๆ ที่อยูใน เครือขาย การนําผูใชทองไปในอินเทอรเน็ตจะเปน หนาที่ของ Router
  • 49. ตัวอยางการติดตั้งระบบอินทราเน็ต HUB คูสายโทรศัพท Modem Windows wingate Teleport Download ขอมูล Windows 95/98/2000/XP+Web server
  • 50. ตัวอยางการติดตั้งระบบอินทราเน็ต HUB คูสายโทรศัพท Modem Linux Windows 95/98/2000/XP+Web server ทําหนาที่เปน Gateway+Proxy+Intranet
  • 51. ตัวอยางการติดตั้งระบบอินทราเน็ต HUB คูสายโทรศัพท Modem Linux ทําหนาที่เปน Windows 95/982000/XP+Web server Intranet
  • 52. อ ิน เ ต อ ร เ น ็ต ย ุค ห น า
  • 53. Web 1.0 • E-mail • Chat room • Telnet • Net meeting • Webboard • IRC/ICQ • LMS
  • 54. Web 2.0 • Camfrog • YouTube • Wikis • Podcast • Weblog • Webcast • Webquest • LAMP ฯลฯ
  • 57. Social Network คือ ?... Social Network “เครือขายสังคม” หรือ “เครือขายมิตรภาพ” หรือ กลุมสังคมออนไลน” คือ บริการผานเว็บไซตที่เปนจุดโยงระหวางบุคคลแต ละคนที่มีเครือขายสังคมของตัวเองผานเน็ตเวิรคอินเทอรเน็ต รวมทั้งเชื่อมโยง บริการตางๆ อยาง เมล เมสเซ็นเจอร เว็บบอรด บล็อก ฯลฯ เขาดวยกัน
  • 58. จุ ด เ ริ่ ม ต น ข อ ง สั ง ค ม อ อ น ไ ล น เ กิ ด ขึ้ น จ า ก เ ว็ บ ไ ซ ต classmates.com เมื่อป 1995 และเว็บไซต SixDegrees.com ในป 1997 ซึ่ง เป นเว็ บ ไซต ที่ จํา กั ด การใช ง านเฉพาะนั ก เรีย นที่ เรี ย นในโรงเรี ย น เดีย วกั น เพื่ อสร า งประวั ติ ข อมู ล การสื่ อสาร และแลกเปลี่ย นขอมูล ที่ สนใจร วมกั น ระหว า งเพื่ อ นนั ก เรี ย นในลิ ส ต เ ท า นั้น ต อ มาในป 1999 เว็บไซต epinions.com ที่พัฒนาโดย Jonathan Bishop ก็ไดมีการเพิ่ม ฟงกชั่นในสวนของการที่ผูใชสามารถควบคุมเนื้อหาและติดตอถึงกันได
  • 59. 1.Communicate (การสื่อสาร) มีการโตตอบกันผานทางเว็บได เชน บล็อก ที่ผูใชสามารถสมัครสมาชิกและสรางเนื้อหาของตัวเองได มีคนเขา มาอาน มาคอมเมนต นอกจากนี้หลายเว็บยังสามารถที่จะพูดคุยกันไดเลย ฝากขอความไวใหกัน สรางกลุมที่สนใจเรื่องเดียวกัน 2. Definition (คําจํากัดความ) ที่เห็นไดชัดในเว็บจะมี Tagging และ Bookmark เสมอ ใหเราระบุคําที่ใชในเนื้อหา ในกรณีที่พบเจอเนื้อหาที่ นาสนใจ ก็สามารเก็บไวเพื่อกลับเขามาดูไดโดยการ Bookmark หนาเว็บนั้น ไว
  • 60. 3.Networking (เครือขาย) - มีชุมชนออนไลน มีเว็บบอรดให สมาชิกพูดคุยกัน รวมมือกันสรางสรรคอะไรใหมขึ้นมา การที่มีคนใน เครือขายมากๆก็จะมีพลังมากขึ้น ทําใหคนในกลุมประสบความสําเร็จ ไดเร็วขึ้น 4.Sharing (แบงปน) - สิ่งที่ขาดไมไดเลยที่คนอยูรวมกันในสังคม ก็ คือ การแบงปน เอื้ออาทร ตอกันและกัน ซึ่งในโลกอินเตอรเน็ต สามารถ แบงปนกันไดหลายอยาง เชน ขอมูล เอกสาร รูปภาพ วีดีโอ เพลง
  • 61.
  • 62. Social Networking Sites มีทั้งหมดกี่ประเภท 1. Identity Network เผยแพรตัวตน hi5, myspaces, facebook เว็บไซตเหลานี้ใชสําหรับนําเสนอตัวตนและเผยแพรเรื่องราว ของตนเองทางอินเตอรเน็ตครับ สามารถเขียน blog สรางอัลบั้มรูปของ ตัวเอง สรางกลุมเพื่อน และสรางเครือขายขึ้นมาได
  • 63. 2. Creative Network เผยแพรผลงาน youtube, flickr, multiply 3. Interested Network ความสนใจตรงกัน เชน digg, del.icio.us social book mark ก็ เปนหนึ่งในนี้ del.icio.us เปน Online Bookmarking หรือ Social Bookmarking โดยแทนที่เราจะ Bookmark เว็บที่เราชอบเก็บไวในเครื่องของเราคน เดียว แตเอา Bookmark เก็บไวบนเว็บเพื่อแบงใหคนอื่นไดดู และเราก็จะ ไดรูดวยวาเว็บไซตใดที่ไดรับความนิยมมาก เปนที่นาสนใจ
  • 64. 4. Collaboration Network รวมกันทํางาน ตรงนี้ก็จะเปนพวก รวมกันพัฒนาซอฟตแวรหรือสวนตางๆของซอฟตแวร WikiPedia เปนสารานุกรมตอยอด ที่อนุญาตใหใครก็ไดเขามา ชวยกันเขียน และแกไขบทความตางๆ ทําใหเกิดเปนสารานุกรมออนไลน ขนาดใหญที่รวบรวมความรู ขาวสาร และเหตุการณตางๆ ยังมีภาษาไทย ปจจุบันใช Google Maps สรางแผนที่ของตัวเอง หรือแชรแผนที่ใหคน อื่นได จึงทําใหมีสถานที่สําคัญหรือสถานที่ตางๆ ถูกปกหมุดเอาไว
  • 65. 5. Gaming/Virtual Reality โลกเสมือน อันนี้คนไทยอาจไมคอย คุนเคย ตัวอยาง second life, DotA 6. Peer to Peer (P2P) P2P เปนการเชื่อมตอกันระหวาง Client (เครื่องผูใช, เครื่อง ลูกขาย) กับ Client โดยตรง โปรแกรม Skype จึงไดนําหลักการนี้มาใช เปนโปรแกรมสนทนาผานอินเตอรเน็ต และก็มี BitTorrent เกิด
  • 66.
  • 67. เว็บไซตแบบ Social Network ในโลกนี้ มีเว็บไซต Social Network ใดบางที่เปนยอดนิยม 1. MySpace.com 2. FaceBook.com 3. Orkut.com 4. Hi5.com 5. Vkontakte.ru 8. PerfSpot.com 6. Friendster.com 9. Bebo.com 7. SkyRock.com 10. Studivz.net
  • 69. อยากเปนเว็บมาสเตอรตองเตรียมตัวอยางไร • ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับขั้นตอนและองคประกอบในการพัฒนา บริหารและดูแลเว็บไซต • เพิ่มเติมความรูในเรื่องของเครื่องมือตางๆ ที่ใชในการพัฒนา เว็บไซต • คนควาหาแนวคิดใหมๆ เทคนิควิธีการนําเสนอใหมๆ หรือ แนวโนมของการพัฒนาเว็บไซตในอนาคต • เขาใจจุดเดนและจุดดอยของเทคโนโยลี ตลอดจนสามารถ ปรับใหเขากับสภาพที่เหมาะสมที่สุดได
  • 72. กระบวนการในการพัฒนาเว็บไซต 1. สํารวจปจจัยสําคัญ (Research) 2. พัฒนาเนื้อหา (Site Content) 3. พัฒนาโครงสรางเว็บไซต (Site Structure) 4. ออกแบบและพัฒนาเว็บไซต (Visual Design) 5. พัฒนาและดําเนินการ (Production and Operation)
  • 73. การจัดระบบขอมูลในเว็บไซต • วางแผน/กําหนดหัวขอ และเนื้อหาที่จะนําเสนอ • สรางความสัมพันธของขอมูล แบบรากตนไม Home Page ประวัติ ผลงาน งานอดิเรก
  • 75. การจัดระบบขอมูลในเว็บไซต (ตอ) • สรางโฟลเดอรเฉพาะสําหรับเอกสารเว็บแตละชุด/เรื่อง • ในโฟลเดอรที่สราง สามารถสรางโฟลเดอรยอย เพื่อเก็บ ไฟลใหเปนระบบระเบียบได
  • 76. การจัดระบบขอมูลในเว็บไซต (ตอ) • จัดหาภาพ หรือสรางภาพที่เกี่ยวของกับเนื้อหา – สรางดวยโปรแกรมกราฟก เชน Adobe Photoshop – คัดเลือกจาก ClipArt For Web เชน CD-Rom รวมภาพสําหรับเว็บ • ภาพที่เลือกใชงานทั้งหมด ตองเก็บไวในโฟลเดอรที่สรางไว กอนแลว
  • 77. การจัดระบบขอมูลในเว็บไซต (ตอ) • สรางเอกสารเว็บ โดยการลงรหัส HTML หรือใชโปรแกรมชวย • ไฟลเอกสาร HTML ทุกไฟลจะตองบันทึกไวในโฟลเดอรที่สรางไว กอน รวมกับรูปภาพที่จัดเตรียมไวแลว
  • 78. การจัดระบบขอมูลในเว็บไซต (ตอ) • ตรวจสอบผล เอกสาร HTML ดวยเว็บเบราเซอร • แกไขขอผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น เนื่องจากเว็บเบราเซอรแตละ คาย แตละรุน รูจักคําสั่ง HTML ไมเทากัน • สงขอมูลขึ้นเครื่องแมขาย (Server) • ตรวจสอบผลการเรียกดูจากเครื่องแมขาย
  • 79. หลักเกณฑในการเลือกภาพ Graphic • ขนาดไฟลไมควรเกิน 80 กิโลไบต เพื่อความรวดเร็วในการ แสดงผล • ใชไฟลแบบ JPEG สําหรับรูปถาย หรือรูปที่มีสีเกิน 256 สี • ใชไฟลแบบ GIF สําหรับภาพวาดหรือภาพการตูนที่มีสีไม เกิน 256 สี • เลือกภาพที่มีความนาสนใจและดึงดูด เพื่อไมใหเสียเวลาที่ เสียไปในการ Download • ภาพเปลาประโยชน
  • 81. ไฟลสกุล JPG (Joint Photographer’s Experts Group) • จุดเดน – แสดงสีไดสูงสุด16.7 ลานสี (สนับสนุนสีไดถึง 24 bit) – สามารถกําหนดคาการบีบไฟลไดตามที่ตองการ – มีระบบแสดงผลแบบหยาบและคอยๆ ขยายไปสูละเอียดในระบบ Progressive – มีโปรแกรมสนับสนุนการสรางจํานวนมาก – เรียกดูไดกับ Graphics Browser ทุกตัว – ตั้งคาการบีบไฟลได (compress files) • จุดดอย – ทําใหพื้นของรูปโปรงใสไมได
  • 82. ไฟลสกุล GIF (Graphics Interlace File) • จุดเดน – แสดงสีไดสูงสุด 256 สี – สามารถใชงานขามระบบ (Cross Platform) หมายความวา คอมพิวเตอรทุกระบบ ไม วาจะใช Windows, Unix ก็สามารถเรียกใชไฟลภาพสกุลนี้ได – มีขนาดไฟลต่ํา จากเทคโนโลยีการบีบอัดภาพ ทําใหสามารถสงไฟลภาพไดรวดเร็ว – สามารถทําพื้นของภาพใหเปนพื้นแบบโปรงใสได (Transparent) – มีระบบแสดงผลแบบหยาบและคอยๆ ขยายไปสูละเอียดในระบบ Interlace – มีโปรแกรมสนับสนุนการสรางจํานวนมาก – เรียกดูไดกับ Graphics Browser ทุกตัว – ความสามารถดานการนําเสนอแบบภาพเคลื่อนไหว (GIF Animation) • จุดดอย – ไฟลชนิดนี้ก็มีจุดดอยในเรื่องของการแสดงสี ซึ่งแสดงไดเพียง 256 สี ทําให การ นําเสนอภาพถาย หรือภาพที่ตองการความคมชัดหรือภาพสดใส จะตองอาศัยฟอรแมต อื่น
  • 83. ไฟลสกุล PNG (Portable Network Graphics) • จุดเดน – แสดงสีไดสูงสุด 16.7 ลานสี – สนับสนุนสีไดถึงตามคา True color (16 bit, 32 bit หรือ 64 bit) – สามารถกําหนดคาการบีบไฟลไดตามที่ตองการ – มีระบบแสดงผลแบบหยาบและคอยๆ ขยายไปสูละเอียด (Interlace) – สามารถทําพื้นโปรงใสได • จุดดอย – หากกําหนดคาการบีบไฟลไวสูง จะใชเวลาในการคลายไฟลสูงตามไปดวย แตขนาด ของไฟลจะมีขนาดต่ํา – ไมสนับสนุนกับ Graphic Browser รุนเกา สนับสนุนเฉพาะ IE 4 และ Netscape 4 – ความละเอียดของภาพและจํานวนสีขึ้นอยูกับ Video Card – โปรแกรมสนับสนุนในการสรางมีนอย
  • 84. การแสดงภาษา • เลือกฟอนตที่ตองการจากตัวเลือก Font โดยเอกสารภาษาไทยควรกําหนด ฟอนตเปน Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif หรือ Tahoma สําหรับ เอกสารภาษาอังกฤษ กําหนดเปน Arial • ขนาดตัวอักษร สามารถกําหนดไดอิสระ และเมื่อกําหนดแลว ผูใช ปลายทางยังสามารถปรับเปลี่ยนไดอิสระ • การพิมพขอความไมตองสนใจระยะกั้นหลัง เพราะโปรแกรมจะตัดคําให โดยอัตโนมัติ สําหรับเอกสารภาษาไทย ควรเวนวรรคใหกับประโยคเปน ระยะๆ อยาพิมพติดกัน • การกดปุม <Enter> จะกระทําเมื่อตองการขึ้นบรรทัดใหม, เวนบรรทัด หรือจบพารากราฟ • หากตองการขึ้นบรรทัดใหม กอนจบพารากราฟใหกดปุม <Shift><Enter>
  • 85. การกําหนดชื่อไฟล และนามสกุลของไฟลเอกสารเว็บ • ควรใชตัวอักษร a - z หรือตัวเลข 0 - 9 หรือผสมกัน • ตัวอักษร a - z ควรเปนตัวพิมพเล็ก • หามตั้งชื่อไฟลเปนภาษาไทย • ชื่อไฟลแรกของเอกสารเว็บ มักจะใชชื่อ index หรือ default
  • 86. แนวคิดในการออกแบบ • เรียนรูจากเว็บไซตตางๆ • ประยุกตรูปแบบจากสิ่งพิมพ • ใชแบบจําลองเปรียบเทียบ • ออกแบบอยางสรางสรรค
  • 87. แนวทางในการสรางเว็บไซต 13 ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต การจัดโครงสรางของเว็บไซต ระบบเนวิแกชั่น การจัดแบงเนื้อที่ในหนาเว็บ สีบอกความหมายอะไรบาง
  • 88. 13 ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต Phase 1: สํารวจปจจัยที่สําคัญ (Research) 1. เปาหมายหลักของเว็บไซต 1.รูจักตัวเอง - กําหนดเปาหมายและสํารวจความพรอม 2. ความตองการของผูใช 2.เรียนรูผูใช – ระบุกลุมผูใชและศึกษาความตองการ 3. กลยุทธในการแขงขัน 3.ศึกษาคูแขง - สํารวจการแขงขันและเรียนรูคูแขง Phase 2: พัฒนาเนื้อหา (Site Content) 1. แนวทางในการออกแบบเว็บไซต 4.สรางกลยุทธการออกแบบ 2. ขอบเขตเนื้อหาการใชงาน 5.หาขอสรุปขอบเขตของเนื้อหา 3. ขอมูลที่ถูกจัดอยางเปนระบบ Phase 3: พัฒนาโครงสรางเว็บไซต (Site Structure) 1. แผนผังโครงสรางขอมูล 6.จัดระบบขอมูล 2. แนวทางการทองเว็บ 7.จัดทําโครงสรางขอมูล 3. ระบบเนวิเกชัน 8.พัฒนาระบบเนวิเกชัน 1. ลักษณะหนาตาของเว็บไซต Phase 4: ออกแบบและพัฒนาหนาเว็บ (Visual design) 2. เว็บเพจตนแบบที่จะใชในการพัฒนา 9.ออกแบบและพัฒนาหนาตาเว็บ 3. รูปแบบโครงสรางเว็บไซต 10.พัฒนาตนแบบและขอกําหนดสุดทาย 4. ขอกําหนดในการพัฒนาเว็บไซต Phase 5: พัฒนาและดําเนินการ (Production and Operation) 1. เว็บไซตที่สมบูรณ 11.ลงมือพัฒนาเว็บเพจ 2. เปดตัวเว็บไซตและทําใหเปนที่รูจัก 12.เปดตัวเว็บไซต 3. แนวทางในการดูแลและพัฒนาตอไป 13.ดูแลและพัฒนาตอเนื่อง
  • 90. จัดโครงสรางเว็บไซต (Site MAP) หนา A แบบที่1 ตองคลิ๊ก 6 เพื่อเขาดูขอมูลหนา B แบบที่ 2 คลิ๊กเพียง 2 ครั้งเนื่องจาก โครงสรางขอมูลไมลึกมาก หนา B หนา A หนา B
  • 92. ระบบเนวิเกชัน เปนการวางการเคลื่อนที่ภายในไซต (Site Flow) เพื่อใหมองเห็นภาพการเชื่อโยงแตละหนาเพจไดชัดเจน องคกร ฝายวิจัย ฝายวิจัย ฝายบริการ ฝายถายทอด นักวิจัย ผลงานวิจัย นักวิจัย ผลงานวิจัย กําลัง พรอม จดสิทธิบัตร ดําเนินการ ถายทอด
  • 95.
  • 96. Flash Header ------------------------------------------ ---------------------------------------------- --------------------------------------------- Picture Picture Picture --------------------------------------------- -------------------------------------------- -------------------------------------------- -------------------------------------------- ---------------------------- ---------------------------- -------------------------------------------- -------------------------------- -------------------------------- --------------------------------------------- -------------------------------- -------------------------------- -------------------------------- -------------------------------- ---------------------------- ---------------------------- ---------------------------- -------------------------------- -------------------------------- -------------------------------- -------------------------------- -------------------------------- -------------------------------- -------------------------------- -------------------------------- -------------------------------- 1 --- ---------------------------- 1 --- ---------------------------- ---------------------------- ---------------------------- 2 -------------------------------- 2 -------------------------------- -------------------------------- -------------------------------- 3 -------------------------------- 3 -------------------------------- -------------------------------- -------------------------------- 4 -------------------------------- 4 -------------------------------- -------------------------------- -------------------------------- 5 -------------------------------- 5 -------------------------------- Footer
  • 97.
  • 98. สีบอกความหมายอะไรบาง สีน้ําเงิน ความหมายในทางดี : ความซื่อสัตย ความมั่นคงปลอดภัย ความสะอาด ความเปน ระเบียบ ความหวง มีน้ําใจ ความมีคุณธรรม ความฉลาดรอบรู ความสะอาด ความสงบ ความ กลมกลืน ความเปนหนึ่ง ความเชื่อมั่น ความหมายในทางไมดี : ความหดหู ซึมเศรา เสียใจ ความโมโห สีแดง ความหมายในทางดี : พลัง อํานาจ ความรัก ความอบอุน ความจริง กําลังใจ อาการขวย เขิน ความแข็งขัน การแขงขัน การเสียสละ ความกลาหาญความเร็ว ความตื่นเตน ความสนุกสนาน ความหมายในทางไมดี : ความโมโห ความกาวราว ความอันตราย ความละอาย ความ รุนแรง ความผิดพลาด สีเขียว ความหมายในทางดี : ธรรมชาติ สุขภาพ ความยินดี การมีโชคดี การเริ่มตนใหม ความปลอดภัย การ รักษาความอบอุน ความแข็งแรง ความหวัง ความสมบูรณ ความกระฉับกระเฉง ความเปน อมตะ ความภักดี ความหมายในทางไมดี : อิจฉา ริษยา โชคราย ขาดประสบการณ ความเบื่อหนาย
  • 99. สีบอกความหมายอะไรบาง (ตอ1) สีเหลือง / สีสม ความหมายในทางดี : ความสดใส รางเริง การโมงโลกในแงดี ความหวง ความอบอุน ความร่ํารวย ความสงา งาม ธรรมะ ปรัชญา ความสุขความคิดฝน ความหมายในทางไมดี : ความไมซื่อสตย การทรยศ ความขลาดกลัว ความอิจฉา ความเจ็บปวย การ หลอกลวง ความไมแนนอน สีน้ําตาล ความหมายในทางดี : ความเรียบงาย ความสะดวกสบาย ความทนทาน ความมั่นคง ความเชื่อถือได ความมี เกียรติ ความเจริญเติบโตเต็มที่ ความหมายในทางไมดี : ความเปรอะเปอน อากรซึมเศรา หดหู สลดใจ สีเทา ความหมายในทางดี : ความสภาพ ความสงบเสงี่ยม ความเปนไปได ความมนคง ความไววางใจ วามฉลาด ความสุขุม ความมีเกียรติ ความหมายในทางไมดี : ความเศราโศก ความนาเบื่อ
  • 100. สีบอกความหมายอะไรบาง (ตอ2) สีขาว ความหมายในทางดี : ความบริสุทธิ์ ความไรเรียงสา ความรัก ความฉลาด ความสงบเสงี่ยม ความเรียบงาย ความสะอาด การปราศจากเชื้อโรค ความเคารพนับถือ ความนอบนอมถอมตน ความเที่ยงตรง ความดี ความหมายในทางไมดี : ความออนแอ การเจ็บปวย ความตาย ความเศราโศก สีดํา ความหมายในทางดี : อํานาจ ความฉลาด ความเปนเลิศ ความสุขุม ความรอบครอบ ความตั้งใจ ความมนคง ความเปนทางการ ความหมายในทางไมดี : ความซับซอน การหลอกลวง ความลบความกลัว การปกปด ความนากลัว ความชั่ว ราย ความทุกข ความหดหู ความหมดหวง ความเศราโศก ความโกรธ ความลึกลับ
  • 102. รูจักกับการออกแบบเว็บไซต การออกแบบเว็บไซตนั้นไมไดหมายถึงลักษณะหนาตาของเว็บไซต เพียงอยางเดียว แตเกี่ยวของตั้งแตการเริ่มตนกําหนดเปาหมายของ เว็บไซต ระบุกลุมผูใช การจัดระบบขอมูล การสรางระบบเนวิเกชัน การ ออกแบบหนาเว็บ รวมไปถึงการใชกราฟก การเลือกใชสี และการ จัดรูปแบบตัวอักษร นอกจากนั้นยังตองคํานึงถึงความแตกตางของ สื่อกลางในการแสดงผลเว็บไซตดวย รูปตัวอยางเวบไซด http://www.officemate.co.th เปนเว็บที่ออกแบบสวยงามนาใช และมีสีสันสวยงาม
  • 103. สื่อกลางในการแสดงผลเว็บไซตไดแก ชนิดและรุนของบราวเซอร ขนาดของหนาจอมอนิเตอร ความละเอียดของสีในระบบ รวมไปถึง Plug-in ชนิดตาง ๆ ที่ผูใชมีอยู เพื่อใหผูใชเกิดความสะดวกและความ พอใจที่จะทองไปในเว็บไซตนั้น ดังนั้นทุกสิ่งทุกอยางในเว็บไซตทั้งที่คุณ มองเห็นและมองไมเห็นลวนเปนผลมาจากกระบวนการออกแบบเว็บไซต ทั้งสิ้น รูปตัวอยางเวบไซด http://www.raycity.in.th เปนเว็บที่ออกแบบสีสัน สวยงามเราใจ
  • 104. เว็บไซตที่ดูสวยงามหรือมีลูกเลนมากมายนั้น อาจจะไมนับเปนการ ออกแบบที่ดีก็ได ถาความสวยงามและลูกเลนเหลานั้นไมเหมาะสมกับ ลักษณของเว็บไซต ดวยเหตุนี้จึงเปนเรื่องยากที่จะระบุวาการออกแบบ เว็บไซตที่ดีนั้นเปนอยางไร เนื่องจากไมมีหลักเกณฑแนนอนที่จะใชไดกับ ทุกเว็บไซต รูปตัวอยางเวบไซด http://www.shoppingplace.net/ เปนเว็บที่ออกแบบเรียบงายและเปน ระเบียบสวยงาม
  • 105. แนวทางการออกแบบบางอยางที่เหมาะสมกับเว็บไซตหนึ่ง อาจจะ ไมเหมาะกับอีกเว็บไซตหนึ่งก็ได ทําใหแนวทางในการออกแบบของแตละ เว็บไซตนั้นแตกตางกันไปตามเปาหมายและลักษณะของเว็บไซตนั้น เว็บไซตบางแหงอาจตองการความสนุกสนาน บันเทิง ขณะที่เว็บอื่นกลับ ตองการความถูกตอง นาเชื่อถือเปนหลัก รูปตัวอยางเวบไซด http://www.cgd.go.th/ เปนเว็บที่สวยงามและนาเชื่อถือ
  • 107. ออกแบบใหตรงกับเปาหมาย และลักษณะของเว็บไซต เว็บไซตแตละประเภทตางมีเปาหมายและลักษณะที่แตกตาง กัน ตัวอยางเชน เว็บไซตที่เปน Search Engine ซึ่งเปนแหลง รวมที่อยูของเว็บไซตตาง ๆ ทําหนาที่เปนประตูไปสูเว็บไซตอื่น ๆ เว็บไซตประเภทนี้มีเปาหมายที่จะใหขอมูลที่ผูใชตองการอยาง รวดเร็ว และจะมีผูเขามาใชบริการคนหาขอมูลเปนจํานวนมากใน แตละวัน
  • 109. สําหรับเว็บเพื่อความบันเทิงหรือเกี่ยวของกับศิลปะนั้น ผูใชมัก คาดหวังที่จะไดพบกับสิ่งที่นาตื่นเตน เรื่องราวที่สนุกสนาน เพลิดเพลิน หรืออาจจะไดเรียนรูสาระบางอยางบาง ความสําคัญใน การออกแบบเว็บไซตเหลานี้จึงมีมากพอกับเนื้อหาภายในเว็บไซต รูปตัวอยางเวบไซด http://www.talesrunner.in.th เปนเว็บที่ดูสนุกสนาน
  • 110. สวนเว็บทั่วไปที่ใหบริการขอมูล ซึ่งไมไดมีเปาหมายที่จะให ความบันเทิง ควรจะมีการจัดขอมูลอยางเปนระบบและมีรูปแบบ ที่เขาใจงาย เพื่อทําใหสามารถเขาถึงขอมูลที่ตองการไดอยาง รวดเร็ว รูปตัวอยางเวบไซด http://www.jobsiam.com/ เปนเว็บที่จัดสรรขอมูลเปนระบบ เขาถึงไดงาย
  • 111. รูปแสดงตัวอยางเว็บไซตของ Adobe สวนเว็บไซตขององคกรธุรกิจที่มีเปาหมายเพื่อขายสินคาหรือบริการนั้น ยิ่ง จําเปนตองใหความสําคัญกับการออกแบบเว็บไซตเปนอยางมาก เพราะผูใชหรือลูกคาของ คุณจะตัดสินใจซื้อสินคาหรือบริการ โดยดูจากสิ่งที่พบเห็นในเว็บไซต ซึ่งลักษณะการ ออกแบบของเว็บไซตก็จะสะทอนถึงภาพลักษณของธุรกิจนั้น จึงทําใหเว็บไซตที่ไดรับการ ออกแบบมาอยางดีสามารถสรางความนาเชื่อถือและดึงดูดความสนใจของผูใชไดมากกวา เว็บไซตอื่น
  • 112. องคประกอบของการออกแบบเว็บไซตอยางมีประสิทธิภาพ องคประกอบตอไปนี้ถือเปนพื้นฐานที่สําคัญของเว็บไซตที่ไดรับการ ออกแบบมาอยางมีประสิทธิภาพ 1. ความเรียบงาย (Simplicity) หลักที่สําคัญของความเรียบงาย คือ การสื่อสารเนื้อหาถึงผูใชโดยจํากัด องคประกอบ เสริมที่เกี่ยวของกับการนําเสนอใหเหลือเฉพาะสิ่งที่จําเปน เทานั้น รูปตัวอยางเวบไซด http://www.fourfan.com/ เปนเว็บที่ออกแบบเรียบงาย
  • 113. 2. ความสม่ําเสมอ (Consistency) ใชรูปแบบเดียวกันตลอดทั้งเว็บไซต เนื่องจากผูใชจะรูสึกกับ เว็บไซตวาเปนเสมือนสถานที่จริง ถาลักษณะของแตละหนาในเว็บไซต เดียวกันนั้นแตกตางกันมาก ผูใชก็จะเกิดความสับสนและไมแนใจวา กําลังอยูในเว็บเดิมหรือไม ดังนั้นรูปแบบของหนา สไตลของกราฟก ระบบเนวิเกชัน และโทนสีที่ใชควรจะมีความคลายคลึงกันตลอดทั้ง เว็บไซต
  • 114. 3. ความเปนเอกลักษณ (Identity) การออกแบบตองคํานึงถึงลักษณะขององคกร เนื่องจากรูปแบบ ของเว็บไซตสามารถสะทอนถึงเอกลักษณ และลักษณะขององคกรนั้น ได รูปตัวอยางเวบไซด http://www.gsb.or.th เปนเว็บที่ออกแบบสีสันเปนเอกลักษณของตนเอง
  • 115. 4. เนื้อหาที่มีประโยชน (Useful Content) เนื้อหาถือเปนสิ่งที่สําคัญที่สุดในเว็บไซต ดังนั้นในเว็บไซตควร จัดเตรียมเนื้อหาและขอมูล ที่ผูใชตองการใหถูกตองและสมบูรณ โดยมี การปรับปรุงและเพิ่มเติมใหทันตอเหตุการณอยูเสมอ เนื้อหาที่สําคัญที่สุด คือ เนื้อหาที่สรางขึ้นมาเองโดยทีมงานของคุณและไมซ้ํากับเว็บอื่น เพราะ จะเปนสิ่งที่ดึงดูดผูใชใหเขามาในเว็บไซตอยูเสมอ รูปตัวอยางเวบไซด http://www.samunpri.com เปนเว็บที่ออกแบบเรียบงายและ เปนระเบียบสวยงาม
  • 116. 5. ระบบเนวิเกชันที่ใชงานงาย (User-Friendly Navigation) ระบบเนวิเกชันเปนองคประกอบที่สําคัญมากของเว็บไซต จะตอง ออกแบบใหผูใชเขาใจไดงายและใชงานสะดวก โดยใชกราฟกที่สื่อ ความหมายรวมกับคําอธิบายที่ชัดเจน รวมทั้งมีรูปแบบและลําดับของ รายการที่สม่ําเสมอ
  • 117. 6. มีลักษณะที่นาสนใจ (Visual Appeal) เปนเรื่องยากที่จะตัดสินวาลักษณะหนาตาของเว็บไซตนาสนใจ หรือไม เพราะเกี่ยวของกับความชอบของแตละบุคคลอยางไรก็ตาม หนาตาของเว็บไซตจะมีความสัมพันธกับคุณภาพขององคประกอบตาง ๆ
  • 118. 7. การใชงานอยางไมจํากัด (Compatibility) ควรออกแบบเว็บไซตใหผูใชสวนใหญเขาถึงไดมากที่สุด โดยไมมีการบังคับใหผูใชตองติดตั้งโปรแกรมใด ๆ เพิ่มเติม หรือ ตองเลือกใชบราวเซอรชนิดใดชนิดหนึ่งจึงจะสามารถเขาถึง เนื้อหาได สามารถแสดงผลไดในทุกระบบปฏิบัติการและที่ความ ละเอียดหนาจอตางกันอยางไมมีปญหา
  • 119. 8. คุณภาพในการออกแบบ (Design Stability) ถาตองการใหผูใชรูสึกวาเว็บไซตที่มีคุณภาพ ถูกตอง และเชื่อถือได ก็ควรใหความสําคัญกับการออกแบบเว็บไซตอยางมาก
  • 120. 9. ระบบการใชงานที่ถูกตอง (Functional Stability) ระบบการทํางานตาง ๆ ในเว็บไซตจะตองมีความแนนอน และทํา หนาที่ไดอยางถูกตอง รูปตัวอยางเวบไซด http://www.settrade.com เปนเว็บที่มีระบบใหขอมูลที่ถูกตอง
  • 121. ความผิดพลาดในการออกแบบเว็บไซต • ใชโครงสรางหนาเว็บเปนระบบเฟรม • ใชเทคโนโลยีขั้นสูงโดยไมจําเปน • ใชตัวหนังสือหรือภาพเคลื่อนไหวตลอดเวลา • มีที่อยูเว็บไซตที่ซับซอน (URL) ยากตอการจดจําและพิมพ • ไมมีการแสดงชื่อและที่อยูของเว็บไซตในหนาเว็บเพจ
  • 122. มีความยาวของหนามากเกินไป • ขาดระบบเนวิเกชันที่มีประสิทธิภาพ • ใชสีของลิงคไมเหมาะสม • ขอมูลเกาไมมีการปรับปรุงใหทันสมัย • เว็บเพจแสดงผลชา
  • 123. กําหนดกลุมผูใชเปาหมาย การทําเว็บไซตจําเปนตองรูกลุมผูใชเปาหมายที่จะเขามาใช บริการในเว็บไซตอยางชัดเจน เพื่อที่จะตอบสนองความตองการของ ผูใชไดอยางถูกตอง สิ่งที่ผูใชตองการจากเว็บไซต 1. ขอมูลและการใชงานที่เปนประโยชน 2. การตอบสนองตอผูใช 3. ความบันเทิง 4. ของฟรี
  • 124. ขอมูลหลักที่ควรมีอยูในเว็บไซต 1. ขอมูลเกี่ยวกับบริษัท (About the company) 2. รายละเอียดผลิตภัณฑ (Product information) 3. ขาวความคืบหนาและขาวจากสื่อมวลชน (News/Press releases) 4. คําถามยอดนิยม (Frequently asked questions) 5. ขอมูลในการติดตอ (Contact information)