SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2556
ชื่อโครงงาน แบบสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการที่เด็กสายศิลปสามารถสอบแพทย์ได้

ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นางสาว ชุติกาญจน์ โสธนไพศาล เลขที่ 11 ชั้น 6ห้อง 6
2. นาย สรายุทธ ภู่พลหิรัญ เลขที่ 12 ชั้น 6 ห้อง 6

ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์

ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556

โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2

ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาว ชุติกาญจน์ โสธนไพศาล เลขที่ 11
นาย สรายุทธ ภู่พลหิรัญ เลขที่ 12
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) แบบสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการที่เด็กสายศิลปสามารถสอบแพทย์ได้
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Poll about which children can investigate the medical arts
ประเภทโครงงาน แบบสารวจ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นางสาว ชุติกาญจน์ โสธนไพศาล เลขที่ 11 ชั้น 6ห้อง 6
2. นาย สรายุทธ ภู่พลหิรัญ เลขที่ 12 ชั้น 6 ห้อง 6
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 2 เดือน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันนั้นสังคมไทยของเรามีการแข่งขันที่สูงขึ้นไม่ว่าจะเป็นส่วนไหนของสังคมก็ตาม เช่น สังคมของการ
ทางาน ทั้งในการหางาน มีงานแล้วก็ต้องแก่งแย่งกับผู้อื่นในสายงานของตนเอง แต่ก่อนหน้านั้นก่อนที่จะทางานนั้น
ต้องมีการศึกษาเล่าเรียนระดับอุดมศึกษา แต่ก่อนที่นั้นก็ตั้งเรียนในระดับมัธยมศึกษาแล้วในระหว่างที่เรียนนั้นก็ต้องมี
การเลือกสายที่ต้องการจะเรียนซึ่งในระดับมัธยมศึกษานั้นมีสองสายนั้นคือสายศิลป์และสายวิทย์ซึ่งก็มีแนวทางการ
เรียนแตกต่างกันออกไปซึ่งสารศิลป์นั้นก็จะเรียนในระดับสูงกว่าเดิมจากการเรียนช่วงมัธยม 1-3 แต่ไม่ได้เจาะลึกใน
วิชาวิทยาศาสตร์ แต่จะเจาะลึกในวิชาภาษาแทน ส่วนสายวิทย์นั้นก็จะเจาะลึกในวิชาของวิทย์ศาสตร์มากขึ้นแต่จะไม่
เน้นวิชาภาษามากเท่าไรจึงทาห้ารเรียนต่อเข้าไปในระดับอุดมศึกษานั้นจะแตกต่างกันออกไปตามที่สายที่ตนเรียนมา
แต่อยู่มาวันหนึ่งก็มีข่าวทีออกมาว่า กสพท ก็ได้ออกมาประกาศว่าเด็กสายศิลปนั้นสามารถที่จะสอบแพทย์ได้ทาให้มี
การถกเถียงกันว่าควรหรือไม่อย่างไร
วัตถุประสงค์
ทาการสารวจข้อมูลที่ กสพท นั้นอนุญาตให้สายศิลปนั้นสามารถสอบแพทย์ได้นั้นคุณเห็นด้วยหรือไม่
ขอบเขตโครงงาน
สารวจกลุ่มคนอายุระหว่าง 15-19 ปีที่ยังศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาอยู่
3

หลักการและทฤษฎี
หลักการทาแบบสอบถาม
1. คนอื่นอ่านคาถามแล้วเข้าใจไหม
2. ที่เข้าใจนั้นเหมือนกับที่เราต้องการให้เข้าใจไหม
3. คนอื่นอ่านคาตอบแล้วเข้าใจตรงตามที่เราอยากให้เข้าใจไหม
4. จับเวลาดูแล้วนานไม่เกิน 10 นาทีหรือเปล่า (แบบสอบถามที่นานกว่านั้นก็ทาได้ แต่ต้องอาศัยประสบการณ์ในการ
พูดคุยกับผู้ตอบแบบสอบถาม ซึ่งนักศึกษาปริญญาตรีอาจจะยังไม่มีประสบการณ์มากพอ จึงควรเริ่มจากแบบสอบถาม
ประเภทไม่เกิน 10 นาที)
5. ยาวไม่เกิน 5 หน้า (ยาวกว่านั้นก็ได้ แต่ต้องอาศัยประสบการณ์ในการพูดคุย เช่น แบบสอบถาม 124 หน้า สาหรับ
การสร้าง Social Accounting Matrix หรือ SAM ของหมู่บ้านท่องเที่ยว ใช้เวลาประมาณครึ่งวันถึงหนึ่งวัน ต้องจ่าย
ค่าเสียเวลาให้ผู้ตอบแบบสอบถามด้วย และต้องสร้างความไว้วางใจระหว่างผู้ตอบแบบสอบถามกับนักวิจัยไม่น้อยกว่า
1 เดือนก่อนเก็บข้อมูล )
6. มีข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบหรือยัง ไม่จาเป็นต้องได้ชื่อผู้ตอบแบบสอบถาม
7. เนื้อหาครอบคลุมข้อมูลที่เราต้องการหรือไม่
8. รู้หรือไม่ว่าจะต้องใช้แบบจาลองอะไรในการวิเคราะห์ข้อมูล
9. ให้ตีสเกลไปทิศทางเดียวกันทั้งหมด คือ ถ้าทางซ้ายเป็นค่าน้อย ทางขวาเป็นค่ามาก ก็ต้องให้เป็นทิศทางเดียวกัน
ทั้งแบบสอบถาม เพื่อผู้ตอบแบบสอบถามจะได้เข้าใจง่ายไม่งง (บางคนชอบวางกับดักให้ผู้ตอบแบบสอบถามต้อง
ตั้งใจมาก ๆ แต่ผมว่ามันไม่สะดวกสาหรับคนตอบ ผมเคยตอบแบบสอบถามที่มีกับดักเยอะ ๆ แล้วรู้สึกเหนื่อยมากที่
ต้องมานั่งคิดว่าข้างไหนมากข้างไหนน้อย)
10. การเลือกสเกลว่าจะใช้กี่ช่องขึ้นอยู่กับสองเรื่อง
หนึ่ง แบบจาลองที่จะวิเคราะห์ต้องการตัวเลขละเอียดแค่ไหน (เช่น แบบจาลองผลต่างของ Utility ชอบใช้สเกล
11 ช่อง แบบจาลอง Structural Equation Model ก็ชอบใช้ประมาณ 10 ช่องขึ้นไป แบบจาลองที่ให้เลือกว่าจะ
เอาไม่เอาก็ใช้สองช่อง)
สอง อนุญาตให้ผู้ตอบเลือกคาตอบแบบกลาง ๆ ไหม (เลือกใช้แบบสเกลที่เป็นเลขคี่) หรือต้องการให้เลือกข้างไป
เลยว่ามากหรือน้อย (เลือกใช้สเกลที่เป็นเลขคู่)
11. ให้ระวังเรื่องการเรียงตัวเลือกที่ต่างกันมีผลต่อคาตอบ เพราะผู้ตอบแบบสอบถามจะเลือกตอบข้อแรก ๆ มากกว่า
ข้อหลัง ให้ลองเรื่องที่สาคัญมากแทรกไว้ตรงข้อกลาง ๆ ประกบหัวท้ายด้วยเรื่องที่สาคัญน้อยกว่า เพราะหากผู้ตอบ
อ่านคาตอบอย่างถี่ถ้วนแล้วก็จะเลือกสิ่งที่สาคัญมากกว่าอยู่ดี
12. ตัวเลือกแต่ละข้อมีน้าหนักใกล้เคียงกันไหม มีโอกาสที่ผู้ตอบจะเลือกพอ ๆ กันไหม จนทาให้เดาไม่ได้ว่าสัดส่วน
ของคาตอบจะออกข้อไหนมากกว่ากันอย่างชัดเจน ซึ่งรอให้งานวิจัยมาตอบคาถามนี้ (ถ้าเดาได้อยู่แล้วก็ไม่ใช่งานวิจัย
ที่ดี ดั่งที่ไอน์สไตน์กล่าวว่า ถ้ารู้คาตอบอยู่แล้วจะเรียกว่างานวิจัยได้อย่างไร) ทั้งนี้ บางข้ออาจจะแยกย่อยเกินไปจน
ไม่มีใครตอบ ในขณะที่บางข้อเป็นเรื่องทั่วไปซึ่งคนมีโอกาสตอบมากกว่า เช่น ท่านมาเที่ยวเมืองไทยเพราะเหตุใด
(1) ประเทศไทยเป็นประเทศที่สวยงามและผู้คนอัธยาศัยดี (2) ชอบอาหารไทย (3) ชอบราไทย (4) ชอบหมี
แพนด้า แบบนี้เมื่อตอบออกมาแล้วบอกได้ว่าสัดส่วนจะค่อนไปที่ข้อ (1) มากที่สุดโดยอัตโนมัติ ดังนั้นจะเห็นได้ว่า
เมื่อนาคะแนนมาเรียงลาดับกันแล้วข้อ (1) ก็ต้องชนะอย่างท่วมท้นแน่นอน แต่ไม่ได้ทาให้เรามีความรู้เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับ
4

สาเหตุของการมาเที่ยวเมืองไทยเท่าใดนัก หากทาเช่นนี้ก็เหมือนกับทาให้งานวิจัยนั้นผ่าน ๆ ไป ไม่ได้ตั้งใจจะเอา
ผลการวิจัยมาปรับปรุงเรื่องอะไรให้ดีขึ้น
13. ไม่ควรตั้งคาถามแบบ Leading question คือ คาถามที่นาไปสู่คาตอบอย่างที่เราต้องการ เพราะเราจะไม่ได้
เรียนรู้อะไรใหม่เลย และเหมือนกับการหลอกให้คนตอบตอบอย่างนั้นอยู่แล้ว เหมือนกับว่านักวิจัยมีจุดมุ่งหมาย
เพื่อที่จะใช้ผลการวิจัยนั้นยืนยันความคิดของตัวเองมากกว่าที่จะทดสอบความคิดของตัวเอง ยกตัวอย่างเช่น ท่านคิด
ว่าเรื่องใดเป็นสาเหตุที่ทาให้ท่านไม่อยากกลับมาเที่ยวเมืองไทยอีก (1) การชุมนุมทางการเมือง (2) การก่อ
วินาศกรรม (3) ความไม่ยุติธรรมสังคมโดยมีสองมาตรฐาน (4) การกลั่นแกล้งทางการเมือง คาถามเหล่านี้จะ
เห็นว่านักวิจัยมุ่งใช้คาตอบเพื่อผลทางการเมือง สังเกตได้ตั้งแต่คาถามว่า สาเหตุที่ไม่กลับมาเที่ยว คือ เน้นคาว่าไม่
ซึ่งเป็นเรื่องไม่ดี แล้วโยงเข้ากับทางเลือกที่มีแต่เรื่องการเมืองล้วน ๆ โดยไม่มีเรื่องอื่นเลย นั่นก็คือต้องการบอกว่า
เรื่องการเมืองส่งผลไม่ดีต่อการท่องเที่ยว ไม่ว่าจะด้วยสาเหตุไหนในสี่ข้อนี้ แล้วนาผลการวิจัยไปขยายผลทาง
การเมืองต่อไป ทั้ง ๆ ที่คนอาจจะไม่อยากกลับมาเมืองไทยเพราะเรื่องอื่น ๆ เช่น สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ ก็อาจจะเป็นได้
แต่ไม่มตัวเลือกให้เลือก
ี
14. มีตัวเลขกากับสายตาสาหรับให้ง่ายต่อการกรอกข้อมูลลงคอมพิวเตอร์
15. มีช่องให้กรอกเลขที่แบบสอบถาม วันที่เก็บแบบสอบถาม และชื่อผู้เก็บแบบสอบถาม
16. มีคาถามปลายเปิดสั้น ๆ ที่ผู้ตอบต้องเขียนด้วยลายมือของตัวเองด้วย เพื่อความโปร่งใสในการตรวจสอบว่า
นักศึกษาได้นาไปให้ผู้อื่นกรอก มิใช่กรอกเอง
17. มีคาถามที่สัมพันธ์กันเองในตัว เพื่อตรวจสอบความมีสติสัมปชัญญะและตรรกะของผู้ตอบแบบสอบถาม
18. ทดสอบและปรับปรุงไม่น้อยกว่า 1 ครั้งก่อนลงมือเก็บข้อมูลจริง แต่ไม่จาเป็นต้องใช้จานวนตัวอย่างมาก
เพียงแต่ให้พอสาหรับการเช็คว่าผู้ตอบเข้าใจทุกอย่างไม่ผิดไปจากที่เราเข้าใจ และคาตอบออกมาได้น้าได้เนื้อตามที่เรา
ต้องการ
19. เมื่อได้ข้อมูลมาแล้วอาจจะต้องทิ้งแบบสอบถามที่ใช้ไม่ได้ไปบางส่วนและเก็บเพิ่ม แบบสอบถามที่ใช้ไม่ได้ เช่น ทา
ไม่เสร็จ ทาเสร็จแต่ไม่ครบ ทาครบแต่ดูเหมือนจะไม่เข้าใจ ตอบมั่วไร้สติไร้ตรรกะ ผู้ตอบไม่ได้อยู่ในกลุ่มตัวอย่าง
แบบสอบถามที่อ่านไม่ออกหรือมีเครื่องหมายที่กากวม และแบบสอบถามที่น่าสงสัยว่านักวิจัยจะกรอกเอง
20. ในหน้าแรกต้องมีชื่อโครงการ ชื่อผู้รับผิดชอบ หน่วยงานที่สังกัด และวัตถุประสงค์หลักของการวิจัย เพื่อให้ผู้อ่าน
ได้ทราบว่าเราเป็นใครมาจากไหน และตัดสินใจว่าจะทาให้หรือไม่
21. ตัวหนังสือใช้แบบเป็นทางการ ภาษาทางการ และมีช่องว่างระหว่างข้อให้พอเหมาะ ไม่บีบกันแน่นเกินไปเพราะ
จะทาให้ผู้ตอบอึดอัด
22. ในหน้าสุดท้ายต้องมีคาขอบคุณเสมอ
5

วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.

ศึกษาการข่าวเกี่ยวกับที่สายศิลปสามารถสอบแพทย์ได้
ออกแบบแบบสารวจ
จัดทาแบบสารวจ
ตรวจสอบแบบสารวจ
แก้ไขและเพิ่มเติมให้สมบูรณ์
ลงมือสารวจ
รายงานผลการดาเนินงาน
จัดทาเอกสาร

เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. แบบสารวจ
2. ปากกา
งบประมาณ
ไม่เกิน 1000 บาท

ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
1
2
3
4
5
6
7
8

ขั้นตอน
1 2 3
คิดหัวข้อโครงงาน
ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
จัดทาโครงร่างงาน
ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
ปรับปรุงทดสอบ
การทาเอกสารรายงาน
ประเมินผลงาน
นาเสนอโครงงาน

/
/
/
/
/
/
/
/

/
/
/
/
/
/
/
/

/
/
/
/
/
/
/
/

สัปดาห์ที่
ผู้รับผิดชอบ
1 1
1 1 1 1 1
4 5 6 7 8 9
12
0 1
3 4 5 6 7
/
/
/
/
/
/
/
/
6

ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ได้ทราบว่าคนส่วนใหญ่เห็นด้วยหรือไม่
สถานที่ดาเนินการ
กลุ่มคนในเมืองเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1) คณิตศาสตร์
2) ภาษาไทย
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
1) http://www.siamsurvey.com/th/web_page/survey_criteria
2) http://www.dek-d.com/admission/33285/
3) http://www.dek-d.com/admission/29279/

More Related Content

What's hot

แบบนำเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
แบบนำเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์แบบนำเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
แบบนำเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
Thanakorn Intrarat
 
มะพร้าวลดน้ำหนัก
มะพร้าวลดน้ำหนักมะพร้าวลดน้ำหนัก
มะพร้าวลดน้ำหนัก
Wi Nit
 
งานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันงานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟัน
OporfunJubJub
 

What's hot (20)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
 
Thiraphat60305
Thiraphat60305Thiraphat60305
Thiraphat60305
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
แบบนำเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
แบบนำเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์แบบนำเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
แบบนำเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
 
มะพร้าวลดน้ำหนัก
มะพร้าวลดน้ำหนักมะพร้าวลดน้ำหนัก
มะพร้าวลดน้ำหนัก
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Natnicha 2561-project
Natnicha 2561-projectNatnicha 2561-project
Natnicha 2561-project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
607_07
607_07607_07
607_07
 
2562 final-project 07
2562 final-project 072562 final-project 07
2562 final-project 07
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
 
2562 final-project -1-23
2562 final-project -1-232562 final-project -1-23
2562 final-project -1-23
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันงานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟัน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to โครงร่างโครงงาคอม

ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Kansiri Sai-ud
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
Ploy Gntnd
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Manasara Sempiapt
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกแบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
Sendai' Toktak
 
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
Chonlada Baicha
 
ขยะรีไซเคิลล
ขยะรีไซเคิลลขยะรีไซเคิลล
ขยะรีไซเคิลล
Napassawan Pichai
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์
Sendai' Toktak
 

Similar to โครงร่างโครงงาคอม (20)

ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
 
โครงร่างโครงงานพฤติกรรมสุนัข
โครงร่างโครงงานพฤติกรรมสุนัขโครงร่างโครงงานพฤติกรรมสุนัข
โครงร่างโครงงานพฤติกรรมสุนัข
 
โครงงานคอม13 605
โครงงานคอม13 605โครงงานคอม13 605
โครงงานคอม13 605
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project -13-610
2562 final-project -13-6102562 final-project -13-610
2562 final-project -13-610
 
ที่มาเเละความสำคัญ
ที่มาเเละความสำคัญที่มาเเละความสำคัญ
ที่มาเเละความสำคัญ
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกแบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
 
งานคอม โครงงาน
งานคอม โครงงานงานคอม โครงงาน
งานคอม โครงงาน
 
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
 
Get rich by social
Get rich by socialGet rich by social
Get rich by social
 
ขยะรีไซเคิลล
ขยะรีไซเคิลลขยะรีไซเคิลล
ขยะรีไซเคิลล
 
2558 project -2 (2)
2558 project -2 (2)2558 project -2 (2)
2558 project -2 (2)
 
1
11
1
 
09_2560 project
09_2560 project09_2560 project
09_2560 project
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์
 

More from Chutikarn Sothanapaisan

More from Chutikarn Sothanapaisan (20)

โครงงานคอม
โครงงานคอม โครงงานคอม
โครงงานคอม
 
O-Net'53 วิทยาศาสตร์
O-Net'53 วิทยาศาสตร์O-Net'53 วิทยาศาสตร์
O-Net'53 วิทยาศาสตร์
 
เฉลย O-Net'54 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
เฉลย O-Net'54 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06เฉลย O-Net'54 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
เฉลย O-Net'54 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
 
O-Net'54 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
O-Net'54 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06O-Net'54 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
O-Net'54 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
 
O-Net'53 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
O-Net'53 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06O-Net'53 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
O-Net'53 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
 
O-Net'52 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
O-Net'52 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06O-Net'52 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
O-Net'52 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
 
O-Net'51 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
O-Net'51 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06O-Net'51 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
O-Net'51 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
Docu3000029045
Docu3000029045Docu3000029045
Docu3000029045
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Pat7.5
Pat7.5Pat7.5
Pat7.5
 
Pat7.4
Pat7.4Pat7.4
Pat7.4
 
Pat7.3
Pat7.3Pat7.3
Pat7.3
 
Pat7.2
Pat7.2Pat7.2
Pat7.2
 
Pat7.1
Pat7.1Pat7.1
Pat7.1
 
Pat6
Pat6Pat6
Pat6
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Pat4
Pat4Pat4
Pat4
 
Pat3
Pat3Pat3
Pat3
 
Pat2
Pat2Pat2
Pat2
 

โครงร่างโครงงาคอม

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2556 ชื่อโครงงาน แบบสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการที่เด็กสายศิลปสามารถสอบแพทย์ได้ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาว ชุติกาญจน์ โสธนไพศาล เลขที่ 11 ชั้น 6ห้อง 6 2. นาย สรายุทธ ภู่พลหิรัญ เลขที่ 12 ชั้น 6 ห้อง 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นางสาว ชุติกาญจน์ โสธนไพศาล เลขที่ 11 นาย สรายุทธ ภู่พลหิรัญ เลขที่ 12 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) แบบสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการที่เด็กสายศิลปสามารถสอบแพทย์ได้ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Poll about which children can investigate the medical arts ประเภทโครงงาน แบบสารวจ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาว ชุติกาญจน์ โสธนไพศาล เลขที่ 11 ชั้น 6ห้อง 6 2. นาย สรายุทธ ภู่พลหิรัญ เลขที่ 12 ชั้น 6 ห้อง 6 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 2 เดือน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในปัจจุบันนั้นสังคมไทยของเรามีการแข่งขันที่สูงขึ้นไม่ว่าจะเป็นส่วนไหนของสังคมก็ตาม เช่น สังคมของการ ทางาน ทั้งในการหางาน มีงานแล้วก็ต้องแก่งแย่งกับผู้อื่นในสายงานของตนเอง แต่ก่อนหน้านั้นก่อนที่จะทางานนั้น ต้องมีการศึกษาเล่าเรียนระดับอุดมศึกษา แต่ก่อนที่นั้นก็ตั้งเรียนในระดับมัธยมศึกษาแล้วในระหว่างที่เรียนนั้นก็ต้องมี การเลือกสายที่ต้องการจะเรียนซึ่งในระดับมัธยมศึกษานั้นมีสองสายนั้นคือสายศิลป์และสายวิทย์ซึ่งก็มีแนวทางการ เรียนแตกต่างกันออกไปซึ่งสารศิลป์นั้นก็จะเรียนในระดับสูงกว่าเดิมจากการเรียนช่วงมัธยม 1-3 แต่ไม่ได้เจาะลึกใน วิชาวิทยาศาสตร์ แต่จะเจาะลึกในวิชาภาษาแทน ส่วนสายวิทย์นั้นก็จะเจาะลึกในวิชาของวิทย์ศาสตร์มากขึ้นแต่จะไม่ เน้นวิชาภาษามากเท่าไรจึงทาห้ารเรียนต่อเข้าไปในระดับอุดมศึกษานั้นจะแตกต่างกันออกไปตามที่สายที่ตนเรียนมา แต่อยู่มาวันหนึ่งก็มีข่าวทีออกมาว่า กสพท ก็ได้ออกมาประกาศว่าเด็กสายศิลปนั้นสามารถที่จะสอบแพทย์ได้ทาให้มี การถกเถียงกันว่าควรหรือไม่อย่างไร วัตถุประสงค์ ทาการสารวจข้อมูลที่ กสพท นั้นอนุญาตให้สายศิลปนั้นสามารถสอบแพทย์ได้นั้นคุณเห็นด้วยหรือไม่ ขอบเขตโครงงาน สารวจกลุ่มคนอายุระหว่าง 15-19 ปีที่ยังศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาอยู่
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี หลักการทาแบบสอบถาม 1. คนอื่นอ่านคาถามแล้วเข้าใจไหม 2. ที่เข้าใจนั้นเหมือนกับที่เราต้องการให้เข้าใจไหม 3. คนอื่นอ่านคาตอบแล้วเข้าใจตรงตามที่เราอยากให้เข้าใจไหม 4. จับเวลาดูแล้วนานไม่เกิน 10 นาทีหรือเปล่า (แบบสอบถามที่นานกว่านั้นก็ทาได้ แต่ต้องอาศัยประสบการณ์ในการ พูดคุยกับผู้ตอบแบบสอบถาม ซึ่งนักศึกษาปริญญาตรีอาจจะยังไม่มีประสบการณ์มากพอ จึงควรเริ่มจากแบบสอบถาม ประเภทไม่เกิน 10 นาที) 5. ยาวไม่เกิน 5 หน้า (ยาวกว่านั้นก็ได้ แต่ต้องอาศัยประสบการณ์ในการพูดคุย เช่น แบบสอบถาม 124 หน้า สาหรับ การสร้าง Social Accounting Matrix หรือ SAM ของหมู่บ้านท่องเที่ยว ใช้เวลาประมาณครึ่งวันถึงหนึ่งวัน ต้องจ่าย ค่าเสียเวลาให้ผู้ตอบแบบสอบถามด้วย และต้องสร้างความไว้วางใจระหว่างผู้ตอบแบบสอบถามกับนักวิจัยไม่น้อยกว่า 1 เดือนก่อนเก็บข้อมูล ) 6. มีข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบหรือยัง ไม่จาเป็นต้องได้ชื่อผู้ตอบแบบสอบถาม 7. เนื้อหาครอบคลุมข้อมูลที่เราต้องการหรือไม่ 8. รู้หรือไม่ว่าจะต้องใช้แบบจาลองอะไรในการวิเคราะห์ข้อมูล 9. ให้ตีสเกลไปทิศทางเดียวกันทั้งหมด คือ ถ้าทางซ้ายเป็นค่าน้อย ทางขวาเป็นค่ามาก ก็ต้องให้เป็นทิศทางเดียวกัน ทั้งแบบสอบถาม เพื่อผู้ตอบแบบสอบถามจะได้เข้าใจง่ายไม่งง (บางคนชอบวางกับดักให้ผู้ตอบแบบสอบถามต้อง ตั้งใจมาก ๆ แต่ผมว่ามันไม่สะดวกสาหรับคนตอบ ผมเคยตอบแบบสอบถามที่มีกับดักเยอะ ๆ แล้วรู้สึกเหนื่อยมากที่ ต้องมานั่งคิดว่าข้างไหนมากข้างไหนน้อย) 10. การเลือกสเกลว่าจะใช้กี่ช่องขึ้นอยู่กับสองเรื่อง หนึ่ง แบบจาลองที่จะวิเคราะห์ต้องการตัวเลขละเอียดแค่ไหน (เช่น แบบจาลองผลต่างของ Utility ชอบใช้สเกล 11 ช่อง แบบจาลอง Structural Equation Model ก็ชอบใช้ประมาณ 10 ช่องขึ้นไป แบบจาลองที่ให้เลือกว่าจะ เอาไม่เอาก็ใช้สองช่อง) สอง อนุญาตให้ผู้ตอบเลือกคาตอบแบบกลาง ๆ ไหม (เลือกใช้แบบสเกลที่เป็นเลขคี่) หรือต้องการให้เลือกข้างไป เลยว่ามากหรือน้อย (เลือกใช้สเกลที่เป็นเลขคู่) 11. ให้ระวังเรื่องการเรียงตัวเลือกที่ต่างกันมีผลต่อคาตอบ เพราะผู้ตอบแบบสอบถามจะเลือกตอบข้อแรก ๆ มากกว่า ข้อหลัง ให้ลองเรื่องที่สาคัญมากแทรกไว้ตรงข้อกลาง ๆ ประกบหัวท้ายด้วยเรื่องที่สาคัญน้อยกว่า เพราะหากผู้ตอบ อ่านคาตอบอย่างถี่ถ้วนแล้วก็จะเลือกสิ่งที่สาคัญมากกว่าอยู่ดี 12. ตัวเลือกแต่ละข้อมีน้าหนักใกล้เคียงกันไหม มีโอกาสที่ผู้ตอบจะเลือกพอ ๆ กันไหม จนทาให้เดาไม่ได้ว่าสัดส่วน ของคาตอบจะออกข้อไหนมากกว่ากันอย่างชัดเจน ซึ่งรอให้งานวิจัยมาตอบคาถามนี้ (ถ้าเดาได้อยู่แล้วก็ไม่ใช่งานวิจัย ที่ดี ดั่งที่ไอน์สไตน์กล่าวว่า ถ้ารู้คาตอบอยู่แล้วจะเรียกว่างานวิจัยได้อย่างไร) ทั้งนี้ บางข้ออาจจะแยกย่อยเกินไปจน ไม่มีใครตอบ ในขณะที่บางข้อเป็นเรื่องทั่วไปซึ่งคนมีโอกาสตอบมากกว่า เช่น ท่านมาเที่ยวเมืองไทยเพราะเหตุใด (1) ประเทศไทยเป็นประเทศที่สวยงามและผู้คนอัธยาศัยดี (2) ชอบอาหารไทย (3) ชอบราไทย (4) ชอบหมี แพนด้า แบบนี้เมื่อตอบออกมาแล้วบอกได้ว่าสัดส่วนจะค่อนไปที่ข้อ (1) มากที่สุดโดยอัตโนมัติ ดังนั้นจะเห็นได้ว่า เมื่อนาคะแนนมาเรียงลาดับกันแล้วข้อ (1) ก็ต้องชนะอย่างท่วมท้นแน่นอน แต่ไม่ได้ทาให้เรามีความรู้เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับ
  • 4. 4 สาเหตุของการมาเที่ยวเมืองไทยเท่าใดนัก หากทาเช่นนี้ก็เหมือนกับทาให้งานวิจัยนั้นผ่าน ๆ ไป ไม่ได้ตั้งใจจะเอา ผลการวิจัยมาปรับปรุงเรื่องอะไรให้ดีขึ้น 13. ไม่ควรตั้งคาถามแบบ Leading question คือ คาถามที่นาไปสู่คาตอบอย่างที่เราต้องการ เพราะเราจะไม่ได้ เรียนรู้อะไรใหม่เลย และเหมือนกับการหลอกให้คนตอบตอบอย่างนั้นอยู่แล้ว เหมือนกับว่านักวิจัยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อที่จะใช้ผลการวิจัยนั้นยืนยันความคิดของตัวเองมากกว่าที่จะทดสอบความคิดของตัวเอง ยกตัวอย่างเช่น ท่านคิด ว่าเรื่องใดเป็นสาเหตุที่ทาให้ท่านไม่อยากกลับมาเที่ยวเมืองไทยอีก (1) การชุมนุมทางการเมือง (2) การก่อ วินาศกรรม (3) ความไม่ยุติธรรมสังคมโดยมีสองมาตรฐาน (4) การกลั่นแกล้งทางการเมือง คาถามเหล่านี้จะ เห็นว่านักวิจัยมุ่งใช้คาตอบเพื่อผลทางการเมือง สังเกตได้ตั้งแต่คาถามว่า สาเหตุที่ไม่กลับมาเที่ยว คือ เน้นคาว่าไม่ ซึ่งเป็นเรื่องไม่ดี แล้วโยงเข้ากับทางเลือกที่มีแต่เรื่องการเมืองล้วน ๆ โดยไม่มีเรื่องอื่นเลย นั่นก็คือต้องการบอกว่า เรื่องการเมืองส่งผลไม่ดีต่อการท่องเที่ยว ไม่ว่าจะด้วยสาเหตุไหนในสี่ข้อนี้ แล้วนาผลการวิจัยไปขยายผลทาง การเมืองต่อไป ทั้ง ๆ ที่คนอาจจะไม่อยากกลับมาเมืองไทยเพราะเรื่องอื่น ๆ เช่น สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ ก็อาจจะเป็นได้ แต่ไม่มตัวเลือกให้เลือก ี 14. มีตัวเลขกากับสายตาสาหรับให้ง่ายต่อการกรอกข้อมูลลงคอมพิวเตอร์ 15. มีช่องให้กรอกเลขที่แบบสอบถาม วันที่เก็บแบบสอบถาม และชื่อผู้เก็บแบบสอบถาม 16. มีคาถามปลายเปิดสั้น ๆ ที่ผู้ตอบต้องเขียนด้วยลายมือของตัวเองด้วย เพื่อความโปร่งใสในการตรวจสอบว่า นักศึกษาได้นาไปให้ผู้อื่นกรอก มิใช่กรอกเอง 17. มีคาถามที่สัมพันธ์กันเองในตัว เพื่อตรวจสอบความมีสติสัมปชัญญะและตรรกะของผู้ตอบแบบสอบถาม 18. ทดสอบและปรับปรุงไม่น้อยกว่า 1 ครั้งก่อนลงมือเก็บข้อมูลจริง แต่ไม่จาเป็นต้องใช้จานวนตัวอย่างมาก เพียงแต่ให้พอสาหรับการเช็คว่าผู้ตอบเข้าใจทุกอย่างไม่ผิดไปจากที่เราเข้าใจ และคาตอบออกมาได้น้าได้เนื้อตามที่เรา ต้องการ 19. เมื่อได้ข้อมูลมาแล้วอาจจะต้องทิ้งแบบสอบถามที่ใช้ไม่ได้ไปบางส่วนและเก็บเพิ่ม แบบสอบถามที่ใช้ไม่ได้ เช่น ทา ไม่เสร็จ ทาเสร็จแต่ไม่ครบ ทาครบแต่ดูเหมือนจะไม่เข้าใจ ตอบมั่วไร้สติไร้ตรรกะ ผู้ตอบไม่ได้อยู่ในกลุ่มตัวอย่าง แบบสอบถามที่อ่านไม่ออกหรือมีเครื่องหมายที่กากวม และแบบสอบถามที่น่าสงสัยว่านักวิจัยจะกรอกเอง 20. ในหน้าแรกต้องมีชื่อโครงการ ชื่อผู้รับผิดชอบ หน่วยงานที่สังกัด และวัตถุประสงค์หลักของการวิจัย เพื่อให้ผู้อ่าน ได้ทราบว่าเราเป็นใครมาจากไหน และตัดสินใจว่าจะทาให้หรือไม่ 21. ตัวหนังสือใช้แบบเป็นทางการ ภาษาทางการ และมีช่องว่างระหว่างข้อให้พอเหมาะ ไม่บีบกันแน่นเกินไปเพราะ จะทาให้ผู้ตอบอึดอัด 22. ในหน้าสุดท้ายต้องมีคาขอบคุณเสมอ
  • 5. 5 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. ศึกษาการข่าวเกี่ยวกับที่สายศิลปสามารถสอบแพทย์ได้ ออกแบบแบบสารวจ จัดทาแบบสารวจ ตรวจสอบแบบสารวจ แก้ไขและเพิ่มเติมให้สมบูรณ์ ลงมือสารวจ รายงานผลการดาเนินงาน จัดทาเอกสาร เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. แบบสารวจ 2. ปากกา งบประมาณ ไม่เกิน 1000 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 ขั้นตอน 1 2 3 คิดหัวข้อโครงงาน ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล จัดทาโครงร่างงาน ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ปรับปรุงทดสอบ การทาเอกสารรายงาน ประเมินผลงาน นาเสนอโครงงาน / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 1 1 1 1 1 1 4 5 6 7 8 9 12 0 1 3 4 5 6 7 / / / / / / / /
  • 6. 6 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ได้ทราบว่าคนส่วนใหญ่เห็นด้วยหรือไม่ สถานที่ดาเนินการ กลุ่มคนในเมืองเชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1) คณิตศาสตร์ 2) ภาษาไทย แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) 1) http://www.siamsurvey.com/th/web_page/survey_criteria 2) http://www.dek-d.com/admission/33285/ 3) http://www.dek-d.com/admission/29279/