SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
แบบเสนอรายงานการวิจัย
ปการศึกษา 2551
ประเภทที่ 5
ประเภท ลดมลภาวะโลกรอน
อุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน
วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ
อาชีวศึกษาจังหวัดหนองคาย
สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
ชื่อเรื่อง อุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน
ผูวิจัย นายอุทิศ ผลาชิต และคณะ
สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ
ปงบประมาณ 2551
บทคัดยอ
ในการจัดทําอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจานในครัวเรือน มีวัตถุประสงคเพื่อออกแบบสราง
อุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน ทําการทดสอบประสิทธิภาพและคุณภาพ ประกอบดวย ตะแกรงใน
การดักเศษอาหาร ตัวแยกไขมัน ทอระบายไขมัน ทําการทดสบการแยกไขมันออกจากเศษอาหาร ณ
วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬและทดสอบภายนอกสถานที่ โดยใชอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจานจากผล
การทดสอบ พบวา การแยกเศษอาหารและไขมันดวยอุปกรณดักไขมัน สามารถทํางานไดจริง
ดังนั้นสิ่งประดิษฐอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจานในครัวเรือน จึงเปนอุปกรณในการชวยลด
มลภาวะทางอากาศ โดยชวยลดกลิ่นเหม็นจากการทิ้งเศษอาหารและไขมันในน้ําทิ้ง ซึ่งอุปกรณดักไขมันได
ออกแบบใหใชไดกับการปฏิบัติงานจริงในครัวเรือน
กิตติกรรมประกาศ
รายงานผลการดําเนินงานสิ่งประดิษฐของคนรุนใหมฉบับนี้สําเร็จลงไดดวยความกรุณาและชวยเหลือ
อยางดีจากครู ธีระพล บุญธรรม ครูสุรชัย โกมาลยและครูเสกสรรค ไมเศรา ครูที่ปรึกษาสิ่งประดิษฐที่ได
กรุณาใหคําแนะนํา ขอเสนอแนะและการแกไขขอขัดของดวยความเอาใจใสตลอดมา คณะผูประดิษฐ
ขอขอบพระคุณไวอยางสูง
ขอขอบคุณผูบริหารวิทยาลัย ครู เจาหนาที่และนักศึกษาแผนกวิชายานยนตทุกคนของวิทยาลัยการ
อาชีพบึงกาฬที่คอยสนับสนุนใหความชวยเหลือทุกอยางตลอดจนใหกําลังใจคณะผูประดิษฐดวยดีประโยชน
และคุณคาอันพึงไดจากสิ่งประดิษฐนี้ คณะผูประดิษฐขอมอบแดผูมีพระคุณทุกทาน
อุทิศ ผลาชิตและคณะ
สารบัญ
เรื่อง หนา
บทคัดยอ........................................................................................................................... ก
กิตติกรรมประกาศ........................................................................................................... ข
สารบัญ............................................................................................................................. ค
สารบัญตาราง................................................................................................................... ง
สารบัญภาพ...................................................................................................................... จ
บทที่ 1 บทนํา................................................................................................................. 1
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ............................................................................................. 2
บทที่ 3 การสราง การพัฒนา และการใชสิ่งประดิษฐ………………………………… 10
บทที่ 4 ผลการวิจัย…...................................................................................................... 14
บทที่ 5 สรุปผล อภิปราบผลและขอเสนอแนะ............................................................. 15
บรรณานุกรม................................................................................................................... 16
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก ขั้นตอนการใชเครื่องยอยกระดาษรีไซเคิล……………………... 18
ภาคผนวก ข ประวัติผูจัดทํา………………………………………………….. 21
สารบัญตาราง
ตาราง หนา
ตาราง 4.1 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน…………… 14
สารบัญภาพ
ภาพ หนา
รูปที่ 3.1 ภาพอางลางจาน………………………………………………………………………. 10
รูปที่ 3.2 ชุดอุปกรณดักไขมัน………………………………………………………………….. 11
รูปที่ 3.3 ภาพทอน้ําเขาและทอน้ําออก…………………………………………………………. 11
รูปที่ 3.4 ตะแกรงคัดแยกเศษอาหารและสวนที่ดักไขมัน……………………………………… 11
รูปที่ 3.5 จัดเตรียมอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน……………………………………… 12
รูปที่ 3.6 ทดลองการใชอุปกรณดักไขมันในอางลางจานและปลอยน้ําลงในอุปกรณดักไขมัน… 12
รูปที่ 3.7 ภาพการแยกเศษอาหารและการแยกไขมันของอุปกรณดักไขมัน…………………….. 12
รูปที่ 3.8 ตรวจสอบอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจานใหพรอมใชงานและนําไปทดลอง
การใชกับรานทําอาหาร…………………………………………………………………………… 13
รูปที่ 3.9 ทดลองการใชอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน…………………………………… 13
รูปที่ 3.10 ภาพการติดตั้งของอุปกรณขณะใชงานจริงและการปลอยน้ําออกหลังจากดักไขมันแลว 13
บทที่ 1
บทนํา
1.1 ความเปนมาของการสรางสิ่งประดิษฐ
ในปจจุบันโลกเรากําลังไดรับปญหาทางภาวะโลกรอนหรือภาวะอุณหภูมิอากาศ เปลี่ยนแปลงของ
โลกเรา สังเกตไดจากอุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยเกิดปรากฎการณเรือนกระจกซึ่งมลภาวะทาง
อากาศมีสาเหตุที่สําคัญไดแก ยานพาหนะที่ใชเครื่องยนต ควันไฟและกาซพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม เชน
โรงงานทําเบียร โรงงานสุรา โรงงานไฟฟา แหลงฝุนละออง แหลงหมักหมมของสิ่งปฏิกูล ไดแก เศษ
อาหารและขยะมูลฝอยและอากาศเสียจากปรากฎการณทางธรรมชาติ เชน ภูเขาไฟระเบิด ไฟปาเปนตน
ปญหาที่ทําใหเกิดมลภาวะทางอากาศที่สําคัญอยางยิ่งคือ การปลอยน้ําทิ้งและสิ่งปฏิกูลจากแหลง
ชุมชน จากอาหาร บานเรือน หองอาหาร เนื่องจากน้ําเสียดังกลาวจะมีน้ํามันปะปนอยูมาก ทําใหทอระบาย
น้ําอุดตันและยังสงกลิ่นเหม็นรบกวนซึ่งไมมีตะแกรงกรองและคัดแยกไขมันออกกอน
คณะผูประดิษฐไดมองเห็นความสําคัญของปญหาทางมลภาวะดังกลาวจึงไดสรางอุปกรณดักไขมัน
สําหรับอางลางจานในครัวเรือนขึ้น เพื่อชวยการคัดแยกไขมันออกจากน้ําทิ้งที่เหลือใชในครัวเรือนกอน
ปลอยใหลงสูทอพักน้ําและทอระบายน้ํา เปนการชวยลดมลภาวะทางอากาศใหลดลงอีกดวย
1.2 วัตถุประสงค
1. เพื่อสรางอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจานในครัวเรือนที่มีคุณสมบัติในการลด
มลภาวะทางอากาศ
2. เพื่อสงเสริมใหนักศึกษาใชเวลาวางใหเกิดประโยชน และรูจักการทํางานเปนทีม
1.3 ขอบเขตของการสรางสิ่งประดิษฐ
ในการสรางอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน เปนสิ่งประดิษฐที่จัดสรางขึ้นใชในครัวเรือนและ
รานคาทั่วไปที่เกี่ยวกับของกับการประกอบอาชีพทําอาหารจําหนาย
1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
ไดผลงานสิ่งประดิษฐอุปกรณดักไขมันที่มีคุณภาพดีและประสิทธิภาพสูง เหมาะสมที่จะใช
ประโยชนสําหรับครัวเรือนของประชาชนผูสนใจ
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวของ
2.1 ภาวะโลกรอน
ภาวะโลกรอน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เปนปญหา
ใหญของโลกเราในปจจุบัน สังเกตไดจากอุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ สาเหตุหลักของปญหานี้ มาจาก
กาซเรือนกระจก ครับ (Greenhouse gases) ปรากฏการณเรือนกระจก มีความสําคัญกับโลก เพราะกาซจําพวก
คารบอนไดออกไซด หรือ มีเทน จะกักเก็บความรอนบางสวนไวในในโลก ไมใหสะทอนกลับสูบรรยากาศ
ทั้งหมด มิฉะนั้น โลกจะกลายเปนแบบดวงจันทร ที่ตอนกลางคืนหนาวจัด (และตอนกลางวันรอนจัด เพราะ
ไมมีบรรยากาศกรองพลังงานจากดวงอาทิตย) ซึ่งการทําใหโลกอุนขึ้นเชนนี้ คลายกับหลักการของเรือน
กระจก (ที่ใชปลูกพืช) จึงเรียกวา ปรากฏการณเรือนกระจก (Greenhouse Effect)
แตการเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องของ CO2 ที่ออกมาจากโรงงานอุตสาหกรรม รถยนต หรือการกระทําใด ๆ
ที่เผาเชื้อเพลิงฟอสซิล (เชนถานหิน น้ํามัน กาซธรรมชาติ หรือสารประกอบไฮโดรคารบอน ) สงผลใหระดับ
ปริมาณ CO2 ในปจจุบันสูงเกิน 300 ppm (300 สวน ใน ลานสวน) เปนครั้งแรกในรอบกวา 6 แสนป ซึ่ง
คารบอนไดออกไซดที่มากขึ้นนี้ ไดเพิ่มการกักเก็บความรอนไวในโลกของเรามากขึ้นเรื่อยๆ จนเกิดเปน ภาวะ
โลกรอน ดังเชนปจจุบัน กาซคารบอนไดออกไซด และกาซเรือนกระจกอื่นๆ เปนตัวการกักเก็บความรอนจาก
แสงอาทิตยไวไมใหคายออกไปสูบรรยากาศซึ่งเปนสิ่งที่ดี เพราะทําใหโลกของเรามีอุณหภูมิอบอุน สามารถ
ดํารงชีวิตอยูไดแตปจจุบัน การเผาผลาญเชื้อเพลงฟอสซิลตางๆ เชน ถานหิน น้ํามันเชื้อเพลิง และการตัดไม
ทําลายปาซึ่งการกระทําเหลานี้สงผลใหปริมาณ คารบอนไดออกไซดในบรรยากาศ เพิ่มขึ้นอยางมหาศาล อัน
สงผลกระทบตางๆมากมายไมวาจะเปนอุณหภูมิของโลกที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ภัยธรรมชาติตางๆเกิดบอยขึ้น
และนี่คือสิ่งที่เกิดขึ้น
- จํานวนพายุ Hurricane Category 4 และ 5 เพิ่มขึ้นสองเทา ในสามสิบปที่ผานมา
- เชื้อมาลาเรียไดแพรกระจายไปในที่สูงขึ้น แมแตใน Columbian, Andes ที่สูง 7000 ฟุตเหนือ
ระดับน้ําทะเล
- น้ําแข็ง ใน ธารน้ําแข็ง เขตกรีนแลนด ละลายเพิ่มมากขึ้นเปนสองเทาในชวงทศวรรษที่ผานมา
- สัตวตางๆ อยางนอย 279 สปชี่สกําลังตอบสนองตอ ภาวะโลกรอน โดยพยายามยายถิ่นที่อยู
หากเรายังเพิกเฉยตอสิ่งที่เกิดขึ้น รับรองไดเลยวาจะเกิดเรื่องอยางนี้แน
- อัตรา ผูเสียชีวิต จาก โลกรอน จะพุงไปอยูที่ 300000 คนตอป ใน 25 ปตอจากนี้
- ระดับน้ําทะเลสูงขึ้น 20 ฟุต
- คลื่นความรอน จะมาบอยขึ้นและรุนแรงขึ้น
- ภาวะฝนแลง และไฟปาจะเกิดบอยขึ้น
- มหาสมุทรอารกติกจะไมเหลือน้ําแข็ง ภายในฤดูรอน 2050
- สิ่งมีชีวิตกวาลานสปชี่สเสี่ยงที่จะสูญพันธุ
2.2 มลภาวะทางน้ํา
2.2.1 สาเหตุของมลพิษทางน้ํา
1.ธรรมชาติ แหลงน้ําตางๆ อาจเกิดจากการเนาเสียไดเองเมื่ออยูในภาวะที่ขาดออกซิเจน สวนใหญมี
สาเหตุเกิดจากการเพิ่มจํานวนอยางรวดเร็วของแพลงคตอน แลวตายลงพรอม ๆ กันเมื่อ จุลินทรียทําการยอย
สลายซากแพลงคตอนทําใหออกซิเจนในน้ําถูกนําไปใชมาก จนเกิดการขาดแคลนได นอกจากนี้การเนาเสีย
อาจเกิดไดอีกประการหนึ่งคือ เมื่อน้ําอยูในสภาพนิ่งไมมีการหมุนเวียนถายเท
2. น้ําทิ้ง และสิ่งปฏิกูลจากแหลงชุมชน ไดแก อาคาร บานเรือน สํานักงาน อาคารพาณิชย โรงแรม
เปนตน สิ่งปะปนมากับน้ําทิ้งประกอบดวยสารอินทรียซึ่งจะถูกยอยสลายโดยผูยอยสลายสาร อินทรียที่สําคัญ
คือ แบคทีเรีย ซึ่งมีทั้งแบคทีเรียแอโรบิก (aerobic bacteria) เปนแบคที่เรียที่ตองใชออกซิเจนอิสระในการยอย
สลายสารอินทรีย กับแบคทีเรียแอนาโรบิก (anaerobic bacteria) เปนแบคทีเรียที่ยอยสลายสารอินทรียไดโดย
ไมตองอาศัยออกซิเจนอิสระ อีกชนิดหนึ่งคือ แบคทีเรียแฟคัลเตตีฟ (facultativebacteria)เปนแบคทีเรียพวกที่
สามารถดํารง ชีวิตอยูไดทั้งอาศัยและตองอาศัยออกซิเจนอิสระ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับปริมาณออกซิเจนในสภาวะ
แวดลอมนั้น บทบาทในการยอยสลายสารเหลานี้ของแบคทีเรียแอโรบิกตองใชออกซิเจน ในปริมาณมาก
ทําใหปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา(ดีโอ DO = dissolved oxygen) ลดลงต่ํามาก ตามปกติน้ําในธรรมชาติจะมี
ออกซิเจนละลายปนอยูประมาณ 8 มิลลิกรัมตอลิตร หรือ 8 สวนในลานสวน (ppm) โดยทั่วไปคา DO ต่ํากวา 3
มิลลิกรัม/ลิตรจัดเปนน้ําเสีย การหาปริมาณของออกซิเจนที่จุลินทรียตองการใชในการยอยสลายอินทรียสาร
ใน น้ํา (biochemical oxygen demand) เรียกยอวา BOD เปนการบอกคุณภาพน้ําได ถาคา BOD สูง แสดงวาใน
น้ํานั้นมีอินทรียสารอยูมาก การยอยสลายอินทรียสารของจุลินทรียตองใชออกซิเจน ทําใหออกซิเจนในน้ํา
เหลืออยูนอย โดยทั่วไปถาในแหลงน้ําใดมีคา BODสูงกวา 100มิลลิกรัม/ลิตร จัดวาน้ํานั้นเปนน้ําเสียถาใน
แหลงน้ํานั้นมีคา BODสูงหรือมีอินทรียสาร มาก ปริมาณออกซิเจนในน้ําจะลดนอยลงแบคทีเรียแอโรบิกจะลด
นอยลงดวย อินทรียสาร จะถูกสลายดวยแบคทีเรียแอนาโรบิกและแบคทีเรียแฟคัลเตตีฟตอไป ซึ่งจะทําใหกาซ
ตาง ๆ เชน มีเทน ไฮโดรเจนซัลไฟด แอมโมเนีย กาซเหลานี้เองที่ทําใหเกิดกลิ่นเหม็นและสีของน้ํา เปลี่ยนไป
นอกจากสารอินทรียแลว ตามแหลงชุมชนยังมีผงซักฟอกซึ่งเปนตัวลดความตึงผิว ของน้ํา ซึ่งหมุนเวียนไปสู.
คนได.ทางโซ.อาหาร
3. การเกษตร เปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหน้ําเสีย เชน การเลี้ยงสัตว เศษอาหารและน้ําทิ้งจากการ ชําระ
คอกสัตว ทิ้งลงสูแมน้ํา ลําคลอง ซึ่งกอใหเกิดโรคระบาด การใชปุยไนเตรตของเกษตรกร เมื่อปุยลงสูแหลงน้ํา
จะทําใหน้ํามีปริมาณเกลือไนเตรตสูงถาดื่มเขาไปจะทําใหเปนโรคพิษไนเตรต ไนเตรตจะเปลี่ยนเปนไนไตรต
แลวรวมตัวกับฮีโมโกลบินอาจทําใหเกิดอันตรายถึงแกชีวิตได นอกจากนี้เกษตรกรนิยมใชสารกําจัดศัตรูพืช
มากขึ้น สารที่ตกคางตามตนพืช และตามผิวดิน จะถูกชะลางไปกับน้ําฝนและไหลลงสูแหลงน้ํา สารที่สลายตัว
ชาจะสะสมในแหลงน้ํา นั้นมากขึ้นจนเปนอันตรายได
4. โรงงานอุตสาหกรรม ของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม เชน โรงงานปลาปน โรงงาน ผลิตภัณฑนม
โรงโมแปง โรงงานทําอาหารกระปอง สวนใหญมีสารอินทรียพวกโปรตีน คารโบไฮเดรตปนอยูมาก
สารอินทรียที่ถูกปลอยออกมากับน้ําทิ้งนี้ก็จะถูกยอยสลายทํา
2.2.2 ผลกระทบของมลพิษทางน้ํา
1. การประมง น้ําเสียทําใหสัตวน้ําลดปริมาณลง น้ําเสียที่เกิดจากสารพิษอาจทําใหปลาตายทันที
สวนน้ําเสียที่เกิดจากการลดต่ําของออกซิเจนละลายในน้ําถึงแมจะไมทําใหปลาตายทันที แตอาจทําลายพืชและ
สัตวน้ําเล็ก ๆ ที่เปนอาหารของปลาและตัวออน ทําใหปลาขาดอาหาร กอใหเกิดผลเสียหายตอการประมงและ
เศรษฐกิจ ปริมาณออกซิเจนละลายในน้ําถาหารลด จํานวนลงมาก ๆ ในทันทีก็อาจทําใหปลาตายไดนอกจากนี้
น้ําเสียยังทําลายแหลงเพาะวางไข ของปลาเนื่องจากการตกตะกอนของสารแขวนลอยในน้ําเสียปกคลุมพื้นที่
วางไขของปลา ซึ่งเปนการหยุดยั้งการแพรพันธุ ทําใหปลาสูญพันธุได
2. การสาธารณสุขน้ําเสียเปนแหลงแพรเชื้อโรค ทําใหเกิดโรคระบาด เชน โรคอหิวาตกโรค ไทฟอยด
บิด เปนแหลงเพาะเชื้อยุงซึ่งเปนพาหะของโรคบางชนิด เชน มาเลเรีย ไขเลือดออก และสารมลพิษที่ปะปนใน
แหลงน้ํา ถาเราบริโภคทําใหเกิดโรคตาง ๆ เชน โรค มินามาตะ เกิดจากการรับประทานปลาที่มีสารปรอทสูง
โรคอิไต-อิไต เกิดจากการไดรับสาร แคดเมียม
3. การผลิตน้ําเพื่อบริโภคและอุปโภค น้ําเสียกระทบกระเทือนตอการผลิตน้ําดื่ม น้ําใชอยาง ยิ่ง แหลง
น้ําสําหรับผลิตประปาไดจากแมน้ํา ลําคลอง เมื่อแหลงน้ําเนาเสียเปนผลให คุณภาพน้ํา ลดลง คาใชจายใน
กระบวนการผลิตเพื่อใหน้ํามีคุณภาพเขาเกณฑมาตรฐานน้ําดื่มจะเพิ่มขึ้น
4. การเกษตร น้ําเสียมีผลตอการเพาะปลูก และสัตวน้ํา น้ําเสียที่กอใหเกิดความเสียหายตอ การเกษตร
สวนใหญเปนน้ําเสียที่มีความเปนกรดเปนดางสูง น้ําที่มีปริมาณเกลืออนินทรีย หรือ สารพิษสูง ฯลฯ ซึ่งเกิด
จากโรงงานอุตสาหกรรมปลอยน้ําเสียและเกิดจากผลของการทํา เกษตรกรรมนั่นเอง เชน การชลประทาน
สรางเขื่อนกักเก็บน้ําไวใชเพื่อการเกษตร ทั้งนี้เนื่องจากคุณสมบัติน้ําในธรรมชาติประกอบดวยเกลืออนินทรีย
เจือปนอยูโดยเฉพาะ เกลือคลอไรด ขณะที่ใชน้ําเพื่อการเกษตร น้ําจะระเหยเปนไอโดยธรรมชาติ ปริมาณเกลือ
อนินทรียซึ่งไดระเหยจะตกคางในดิน เมื่อมีการสะสมมากเขา ปริมาณเกลือในดินสูงขึ้น ทําใหดินเค็มไม
เหมาะแกการเพาะปลูก ปริมาณเกลืออนินทรียที่ตกคางอาจถูกชะลาง ภายหลังฝนตก หรือโดยระบายน้ําจาก
การชลประทาน เกลืออนินทรียจะถูกถายทอดลงสู แมน้ําในที่สุด
5. ความสวยงามและการพักผอนหยอนใจ แมน้ํา ลําธาร แหลงน้ําอื่น ๆ ที่สะอาดเปนความ สวยงาม
ตามธรรมชาติ ใชเปนที่พักผอนหยอนใจ เชน ใชเลนเรือ ตกปลา วายน้ํา เปน
2.3 สาเหตุและผลกระทบของมลพิษทางดิน
2.3.1 สาเหตุของมลพิษทางดิน
ปญหาที่เกิดขึ้นบนดิน แยกไดเปนสองประเภทคือ
1. สภาพธรรมชาติ ไดแก สภาพที่เกิดตามธรรมชาติของบริเวณนั้น ๆ เชน บริเวณที่มีเกลือใน ดินมาก
หรือบริเวณที่ดินมีความหนาแนนนอย เปนตนทําใหดินบริเวณนั้นไมเหมาะ แกการเจริญเติบโตของพืช
ปรากฏการณธรรมชาติบางอยาง เชนพายุน้ําทวมก็ทําให ดินทรายถูกพัดพาไปไดสิ่งปฏิกูลที่มีชีวิต ซึ่งไดแก
สิ่งมีชีวิตที่อยูในดินหรือถูก ใสในดินทําใหดินเสียไดโดยอาจเปนตัวกอโรคหรือกอความกระทบกระเทือนตอ
ความเปนอยูของสิ่งมีชีวิต
2. การกระทําของมนุษย สวนมากมักเกิดเนื่องจากความรูเทาไมถึงการณ มุงแตจะดัดแปลง ธรรมชาติ
เพื่อหวังผลประโยชนอยางใดอยางหนึ่งโดยไมคํานึงถึงผลเสียที่เกิดขึ้นภายหลัง ดังตัวอยางตอไปนี้
2.1 การใชสารเคมีและสารกัมมันตรังสี สารเคมี ไดแก ยาฆาแมลง ยาปราบศัตรูพืช สารเคมี
เหลานี้บางชนิดไมสะสมในดินเพราะแบคทีเรียในดินทําลายไดแตพวกคลอริเนทเตด ไฮโดรคารบอน
(chlorinated hydrocarbon) และสารประกอบ คลอริเนทเตด ฟนอกซี (chlorinated phenoxy) บางชนิดคงทนใน
ดินเพราะแทรกในตะกอนหรือดินเหนียวไดดีทําใหแบคทีเรียทําลายได ยาก ยาปราบวัชพืชบางชนิด เชน ยาฆา
แมลงประเภทดีดีที และดีลดริน ทนทานตอการถูก ทําลายในดินมาก จึงสะสมเพิ่มปริมาณในหวงโซอาหาร
ตามลําดับขั้นตาง ๆ โดยถายทอด ผานกันเปนขั้น ๆ สวนสารเคมีจากโรงงานหรือสถานวิจัยตาง ๆ ไมวาจะเปน
น้ํายาเคมี หรือโลหะที่เปนเศษที่เหลือทิ้งหลังจากแยกเอาสิ่งที่ตองการออกแลว เชน โรงงานถลุง โลหะตาง ๆ
หรือโรงงานแยกแร รวมทั้งสารกัมมันตังรังสีตาง ๆ เชน พวกที่มากับฝุน กัมมันตรังสีจากการทดลองระเบิด
ปรมาณู จากของเสียที่ทิ้งจากโรงงาน และสถานวิจัยที่ ใชกัมมันตรังสี สารเคมีเหลานี้บางชนิดเปนอันตรายตอ
สิ่งมีชีวิตโดยตรงบางชนิดเปลี่ยน สภาวะของดินทําใหดินเปนกรดหรือดาง พืชจึงไมเจริญเติบโต
2.2 การใสปุย เมื่อใสปุยลงในดิน สิ่งที่คาดวาจะเกิดขึ้นก็คือ การสะสมของสารเคมีโดย
เฉพาะอยางยิ่งไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม การสะสมนี้อาจถึงขั้นเปนพิษได ปุยบางชนิดที่นิยม
ใชกันมาก เชน แอมโมเนียมซัลเฟต จะถูกแบคทีเรียในดินยอยสลาย ในปฏิกิริยารีดักชันไดกาซ
ไฮโดรเจนซัลไฟด ซึ่งเปนอันตรายตอระบบการหายใจ ของรากพืช ทําใหดูดแรธาตุตาง ๆ ไดนอยลง
2.3 น้ําชลประทาน ดินเปนพิษจากน้ําชลประทานไดเนื่องจากน้ําที่มีตะกอนเกลือ
และสาร เคมีอื่น ๆ รวมทั้งยาฆาแมลงปะปนมาดวย เพราะน้ําไหลผานบริเวณตาง ๆ ยิ่งถาไหลผาน บริเวณ
ที่ดินอยูในสภาพที่ถูกกัดกรอนไดงาย บริเวณที่มีเกลือมาก ๆ และมีการใชยาปราบ ศัตรูพืชกันอยางกวางขวาง
แลว น้ําก็จะยิ่งทําใหดินที่ไดรับการทดน้ํานั้นมีโอกาสไดรับ สารพิษมากขึ้น นอกจากนี้น้ําชลประทานทําให
ดินเปนพิษอีกได โดยเมื่อทดน้ําชลประทานเขา ไปในไรนาหรือบริเวณใดก็ตาม น้ําจะไหลซึมลงสูเบื้องลาง
ละลายเอาเกลือซึ่งสะสมในดิน ชั้นลาง ๆ ขึ้นมาปะปนในดินชั้นบน เมื่อหยุดการทดน้ํา น้ําที่ขังที่ผิวดินบน
ระเหยแหงไป น้ําที่เต็มไปดวยเกลือก็จะเคลื่อนขึ้นสูดินบนแทน และเมื่อน้ําแหงไปก็จะเหลือสวนที่เปนเกลือ
สะสมอยูที่สวนของผิวดิน
2.4 การใชยาปราบศัตรูพืชและสัตว ดินบริเวณที่มีการเพาะปลูกสะสมสารพิษจากยาปราบ
ศัตรูพืชมากกวาบริเวณอื่น ๆ ยาปราบศัตรูพืชบางชนิดเมื่อคลุกเคลาลงในดินแลวจะเกิด ปฏิกิริยาเคมีขึ้นและ
สูญหายไปจากดิน แตบางชนิดคงทนตอการสลายตัวและสะสมอยู ในดินเปนเวลานาน ๆ เชนประเภทที่มี
ตะกั่วอาเซนิก ทองแดง หรือปรอทผสมอยู สาร เหลานี้มีครึ่งชีวิต (half life = เวลาที่ฤทธิ์ของยาปราบศัตรูพืช
จะหมดไปครึ่งหนึ่งเมื่อผสม คลุกเคลากับดิน) สูงถึง 10-30 ป. รองลงไปไดแกพวกดีลดริน บีเอชซี เปนตน
2.5 การทิ้งขยะมูลฝอยและของเสียตาง ๆ ลงในดิน ขยะสวนใหญจะสลายตัวใหสารประกอบ
อินทรีย และอนินทรียมากมายหลายชนิดดวยกันแตก็มีขยะบางชนิดที่สลายตัวยาก เชน วัสดุที่ทําดวยผาฝาย
หนัง พลาสติก โลหะ ขยะประเภทนี้ถาทําลายโดยการ เผาจะเหลือเกลือ โดยเฉพาะเกลือไนเตรตสะสมอยูเปน
จํานวนมาก แลวละลายไปตาม น้ํา สะสมอยูในบริเวณใกลเคียงการทิ้งของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
โรงงานอุตสาหกรรมตาง ๆ เปนแหลงผลิตของเสียที่สําคัญยิ่ง โดยเฉพาะของเสียจาก โรงงานที่มีโลหะหนัก
ปะปน ทําใหดินบริเวณนั้นมีโลหะหนักสะสมอยูมาก โลหะหนักที่สําคัญไดแก ตะกั่ว ปรอท และแคดเมี่ยม
สําหรับในประเทศไทยเทานั้นที่มี รายงานพบวาการเสื่อมคุณภาพของดินเนื่องจากตะกั่ว คือโรงงานถลุงตะกั่ว
จาก ซากแบตเตอรี่เกาที่ตําบลครุใน อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ไดนําเอากาก ตะกั่วหรือเศษ
ตะกั่วที่ไมใชประโยชนมาถมทําถนน ทําใหดินบริเวณนั้นเกิดสภาพ เปนพิษ เปนอันตรายตอพืชและผูบริโภค
(สุมาลี พิตรากุล 2532:257) ของเสียจากสัตว การเสื่อมคุณภาพของดินเนื่องจากของเสียจากสัตวนั้นพบมากใน
บริเวณที่ เลี้ยงสัตวเปนจํานวนมาก เพราะสิ่งขับถายของสัตวที่นํามากองทับถมไวทําใหจุลินทรีย ยอยสลายได
เปนอนุมูลไนเตรต และอนุมูลไนไตรต ถาอนุมูลดังกลาวนี้สะสมอยูมาก ในดินบริเวณนั้นจะเกิดเปนพิษได
2.6 การเพาะปลูก ดินที่ใชในการเพาะปลูกเปนเวลานาน ๆ โดยมิไดคํานึงถึงการบํารุงรักษา
อยางถูกวิธีจะทําใหแรธาตุในดินถูกใชหมดไป จนในที่สุดไมอาจปลูกพืชไดอีก
2.7 การหักรางถางปา เปนผลทําใหเกิดความเสียหายกับดินไดทําใหดินปราศจากพืชปกคลุม
หรือไมมีรากของพืชยึดเหนี่ยว เกิดการสูญเสียหนาดินและเกิดการพังทลายไดงาย ในที่สุดบริเวณนั้นจะ
กลายเปนที่แหงแลง เมื่อมีฝนตกก็จะเกิดพายุอยางรุนแรงและมี น้ําทวมฉับพลันได ดังตัวอยางความเสียหายใน
จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2531 ความเสียหายในจังหวัดชุมพรและประจวบคีรีขันธ
เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2532 (สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2535:77-78)
2.3.2 ผลกระทบจากมลพิษทางดิน
1. อันตรายตอมนุษย ดินทําใหเกิดพิษตอมนุษยโดยทางออม เชน พิษจากไนเตรต ไนไตรต หรือยา
ปราบศัตรูพืช โดยไดรับเขาไปในรูปของน้ําดื่มที่มีสารพิษปะปน โดยการรับประทาน พืชผักที่ปลูกในดินที่มี
การสะสมตัวของสารที่มีพิษ
2. อันตรายตอสัตว ดินที่เปนพิษทําใหเกิดอันตรายตอสัตวคลายคลึงกับของมนุษย แตสัตวมี โอกาส
ไดัรับพิษมากกวา เพราะกินนอน ขุดคุย หาอาหารจากดินโดยตรง นอกจากนี้การ ใชยาฆาแมลงที่ไมถูกหลัก
วิชาการยังเปนการทําลายแมลงที่เปนประโยชน เชน ตัวห้ํา ทําใหผลผลิตทางการเกษตรลดลงได
2.4 สาเหตุและผลกระทบของมลพิษทางอากาศ
2.4.1 สาเหตุของมลพิษทางอากาศ
สาเหตุของการเกิดมลพิษทางอากาศที่สําคัญมีดังนี้
1. ยานพาหนะที่ใชเครื่องยนต รถยนตเปนแหลงกอปญหาอากาศเสียมากที่สุด สารที่ออกจาก รถยนต
ที่สําคัญไดแก คารบอนมอนอกไซด ไฮโดรคารบอน ออกไซดของไนโตรเจน และของกํามะถัน สารพวก
ไฮโดรคารบอนนั้น ประมาณ 55 % ออกมาจากทอไอเสีย 25 % ออกมาจากหองเพลา ขอเหวี่ยง และอีก 20 %
เกิดจากการระเหยในคารบูเรเตอร และถังเชื้อเพลิง ออกไซดของไนโตรเจนคือ ไนตริกออกไซด (NO)
ไนโตรเจนไดออกไซด (NO2) และไน ตรัสออกไซด (N2O) เกือบทั้งหมดออกมาจากทอไอเสีย เปนพิษตอ
มนุษยโดยตรง นอกจากนี้สารตะกั่วในน้ํามันเบนซินชนิดซุปเปอรยังเพิ่มปริมาณตะกั่วในอากาศอีกดวย
2. ควันไฟ และกาซพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม
- จากโรงงานผลิตสารเคมี ไดแก โรงกลั่นน้ํามัน โรงผลิตไฟฟา โรงงานทําเบียร โรงงาน
สุรา โรงงานน้ําตาล โรงงานกระดาษ โรงงานถลุงแร โรงงานยอมผา โรงงานทําแกว โรงงานผลิตหลอดไฟ
โรงงานผลิตปุย และโรงงานผลิตกรด
- พลังงานที่เกิดจากสารเผาไหมเชื้อเพลิง เชน ถานหิน น้ํามัน กาซธรรมชาติ ทําใหเพิ่มสาร
ตาง ๆ ในอากาศ อาทิ สารไฮโดรคารบอนตาง ๆ ออกไซดของไนโตรเจน และ กํามะถันในบรรยากาศ
3. แหลงกําเนิดฝุนละอองตาง ๆ ไดแก บริเวณที่กําลังกอสราง โรงงานทําปูนซีเมนต โรงงาน โมหิน
โรงงานทอผา โรงงานผลิตโซดาไฟ เหมืองแร เตาเผาถาน โรงคาถาน เมรุเผาศพ
4. แหลงหมักหมมของสิ่งปฏิกูล ไดแก เศษอาหาร และขยะมูลฝอย
5. ควันไฟจากการเผาปา เผาไรนา และจากบุหรี่
6. การทดลองอาวุธนิวเคลียร กอใหเกิดละอองกัมมันตรังสี
7. การตรวจและรักษาทางรังสีวิทยา การใชเรดิโอไอโซโทป ที่ขาดมาตรการที่ถูกตองในการ ปองกัน
สภาวะอากาศเสีย
8. อากาศเสียที่เกิดจากปรากฏการณทางธรรมชาติ เชน ภูเขาไฟระเบิด แผนดินไหว ไฟปา
กัมมันตรังสีที่เกิดตามธรรมชาติ กาซธรรมชาติ เปนตน ความเปนพิษเนื่องจากสาเหตุขอนี้คอนขาง นอยมาก
เนื่องจากตนกําเนิดอยูไกล จึงเขาสูสภาวะแวดลอมของมนุษยและสัตวไดนอย
2.4.2 ผลกระทบของมลพิษทางอากาศ
1. ทําลายสุขภาพ อากาศเสียทําใหเกิดโรค แพอากาศ โรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ โรค เกี่ยวกับการ
ไหลเวียนของโลหิต ผลที่เกิดในระยะยาวอาจทําใหถึงตายได
2.ทําลายสิ่งกอสราง และเครื่องใชโดยเฉพาะสิ่งกอสรางที่ทําดวยโลหะทําใหเกิดการสึกกรอน ทําให
หนังสือและศิลปกรรมตาง ๆ เสียหาย
3. ทําใหทัศนวิสัยเลวลง และมีผลทําใหอุณหภูมิอากาศลดต่ําลงกวาปกติได ทัศนวิสัยเลวลง กอใหเกิด
อุบัติเหตุทั้งในอากาศ ทองถนน และทองน้ํา
2.5 สาเหตุและผลกระทบของมลพิษทางขยะ
2.5.1 สาเหตุของมลพิษทางขยะ
ขยะเปนปญหาสําคัญของหลาย ๆ ทองถิ่นเกือบทั่วโลก ขยะสวนใหญมักจะถูกทิ้งลงในดิน ขยะบาง
ชนิดสลายตัวใหสารประกอบอินทรียและสารประกอบอนินทรียแตขยะบางชนิดสลายตัวยากเชน หนัง
พลาสติก โลหะ ฯลฯ ขยะประเภทนี้ถาทําลายโดยการเผาจะไดสารประกอบ ประเภทเกลือเชน เกลือไนเตรต
สะสมอยูในดินเปนจํานวนมากขยะที่ไดเกิดกระบวนการ ผลิตทางอุตสาหกรรม โดยเฉพาะขยะจากเทคโนโลยี
อุตสาหกรรมกําลังเพิ่มขึ้นอยาง รวดเร็ว มีความเปนพิษสูงและยอยสลายยากเชน ขยะจากโรงงานอุตสาหกรรม
ที่มี โลหะหนัก เชน ตะกั่ว ปรอท แคดเมียม เมื่อทิ้งลงดินทําใหดินบริเวณนั้นมีโลหะหนัก สะสมอยูมาก
สําหรับในประเทศไทยเทาที่มีรายงานพบวา มีการเสื่อมคุณภาพ ของดินจากตะกั่วเนื่องจากโรงงานถลุงตะกั่ว
จากซากแบตเตอรี่เกาที่จังหวัดสมุทรปราการ นําเอากากตะกั่วที่ไมไดใชประโยชนมาถมทําถนน ทําใหดิน
บริเวณนั้นเกิดสภาพเปนพิษ เปนอันตรายตอพืชและ ผูบริโภคนอกจากนี้ประเทศไทยยังประสบปญหาขยะ
อุตสาหกรรมที่นําเขามาจากตางประเทศ ในรูปของสินคาเครื่องใชไฟฟา อะไหลอุตสาหกรรม เชน ยางรถยนต
เกา แบตเตอรี่เกา ถุงมือยางใชแลว ถูกนําเขามาทิ้งในประเทศไทยอีกเปนจํานวนมากมาย
2.5.2 ผลกระทบจากมลพิษทางขยะ
1. อากาศเสีย เกิดจากการเผาขยะกลางแจงกอใหเกิดควันและสารพิษทางอากาศ ทําให คุณภาพอากาศ
เสื่อมโทรม
2.น้ําเสีย เกิดจากการกองขยะบนพื้น เมื่อฝนตกลงมาบนกองขยะ จะเกิดน้ําเสียมีความ สกปรกมาก
ไหลลงสูแมน้ํา
3. แหลงพาหะนําโรค เกิดจากการกองขยะบนพื้น ทําใหเกิดแหลงเพาะพันธุของหนูและ แมลงวัน
เปนตน ซึ่งเปนพาหะนําโรคติดตอ ทําใหมีผลกระทบตอสุขภาพ อนามัยของ ประชาชน
4. เหตุรําคาญและความไมนาดู เกิดจากการเก็บขนขยะไมหมด รวมทั้งการกองขยะบนพื้น สงกลิ่น
เหม็นรบกวนประชาชนและเกิดภาพไมสวยงาม ไมเปนสุนทรียภาพ นอกจากปญหาสิ่งแวดลอมขางตนแลว
ขยะยังเปนตัวการเปนตัวการสําคัญสําหรับปญหาการ จัดการขยะของหนวยงานที่รับผิดชอบ ซึ่งจะตองเพิ่ม
ปริมาณบุคลากร อุปกรณการจัดการขยะรวมทั้ง การใหความรูทางวิชาการและเทคโนโลยีแกเจาหนาที่เพิ่มขึ้น
ตามการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะ
บทที่ 3
การสราง การพัฒนา และการใชสิ่งประดิษฐ
ในการสรางสิ่งประดิษฐอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน โดยคณะผูประดิษฐไดวางแผน
ดําเนินงานดังตอไปนี้
1. ศึกษาหาขอมูลจากตําราและเอกสาร
2. ศึกษาสภาพปญหาของการปฏิบัติงานเพื่อหาจุดออนที่ควรจะนํามาสรางสิ่งประดิษฐอุปกรณดัก
ไขมันสําหรับอางลางจาน
3. เมื่อไดแนวทางที่จะสรางสิ่งประดิษฐจึงออกแบบชิ้นงาน
4. ดําเนินการจัดสรางตามแบบ
5. ทดลองการใชงาน
6. พัฒนาสิ่งประดิษฐ
7. นําไปใชงานจริง
3.1 การสรางสิ่งประดิษฐคนรุนใหมอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน
3.1.1 สรางสวนที่เปนชุดอางลางจานซึ่งไดตามแบบที่ออกไว
รูปที่ 3.1 ภาพอางลางจาน
3.1.2 สรางสวนที่เปนชุดอุปกรณดักไขมัน
รูปที่ 3.2 ชุดอุปกรณดักไขมัน
3.1.3 สรางสวนที่เปนทอน้ําเขาและทอน้ําออก
รูปที่ 3.3 ภาพทอน้ําเขาและทอน้ําออก
3.1.4 สรางสวนที่เปนตะแกรงคัดแยกเศษอาหารและสวนที่ดักไขมัน
รูปที่ 3.4 ตะแกรงคัดแยกเศษอาหารและสวนที่ดักไขมัน
3.1.5 ทดลองการทํางานของอุปกรณดักไขมันโดยตรงที่ละขั้นตอน
รูปที่ 3.5 จัดเตรียมอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน
รูปที่ 3.6 ทดลองการใชอุปกรณดักไขมันในอางลางจานและปลอยน้ําลงในอุปกรณดักไขมัน
รูปที่ 3.7 ภาพการแยกเศษอาหารและการแยกไขมันของอุปกรณดักไขมัน
3.2 ทดลองใชการทํางานของอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน พรอมกับปรับตั้งอุปกรณอื่นๆ
ใหเหมาะสมกับการทํางานจริง
รูปที่ 3.8 ตรวจสอบอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจานใหพรอมใชงานและนําไปทดลอง
การใชกับรานทําอาหาร
รูปที่ 3.9 ทดลองการใชอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน
รูปที่ 3.10 ภาพการติดตั้งของอุปกรณขณะใชงานจริงและการปลอยน้ําออกหลังจากดักไขมันแลว
บทที่ 4
ผลการวิจัย
4.1 ผลการทดสอบการดักไขมัน
จากการทดสอบการดักไขมัน สามารถแสดงผลความสามารถในการทํางานดังตาราง 4.1 เพื่อนํา
ขอมูลการทดสอบอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจานแสดงผลดังตอไปนี้
ตาราง 4.1 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน
ครั้งที่
ประสิทธิภาพในการทํางาน
การดักไขมัน สิ่งเจือปนในน้ํา
1
2
3
4
5
ไดดี
ไดดีมาก
ไดดีมาก
ไดดีมาก
ไดดีมาก
มี
ไมมี
ไมมี
ไมมี
ไมมี
รวม ไดดีมาก ไมมี
จากผลการทดสอบประสิทธิภาพการดักไขมันสําหรับอางลางจาน พบวา อุปกรณดักไขมันในอาง
ลางจาน สามารถดักไขมันไดดีมากและไมมีสิ่งเจือปน เชน เศษอาหารปะปนออกมากับน้ําทิ้ง
บทที่ 5
สรุปผล อภิปราบผลและขอเสนอแนะ
รายงานผลการสรางอุปกรณดักไขมันในอางลางจาน จัดทําครั้งนี้โดยมีวัตถุประสงคเพื่อประเมินผล
การดําเนินงานการสราง การพัฒนาและการใชอุปกรณดักไขมันในอางลางจาน โดยการทดสอบการทํางาน
จริงปรากฏผลดังนี้
5.1 สรุปผล
สิ่งประดิษฐของคนรุนใหม อุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจานที่สรางขึ้นมีคุณภาพ ประสิทธิภาพ
เหมาะสมที่จะใชประโยชนในการดักไขมันในอางลางจานในครัวเรือนไดจริง
5.2 อภิปรายผล
จากการประเมินผลการสรางสิ่งประดิษฐของคนรุนใหม พบวาอุปกรณดักไขมันนี้ พบวา มีคุณภาพ
ดีและประสิทธิภาพสูง ซึ่งเมื่อนําไปใชงานจริง ผูใชสวนใหญเห็นวา รูปแบบมีความเหมาะสม มีความ
ปลอดภัยในการใชงาน การติดตั้งอุปกรณงาย มีขนาดและแข็งแรง ทนทาน สะดวกตอการใชงานใน
ครัวเรือนไดจริง
5.3 ขอเสนอแนะ
ควรนะนําแนววิธีการนี้ไปสรางผลงานสิ่งประดิษฐในสถานศึกษาอื่นและบุคคลทั่วไปที่สนใจ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
ขั้นตอนการใชอุปกรณดักไขมันสําหรับอาลางจาน
ขั้นตอนการใชอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน
1. ตรวจสอบอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจานใหพรอมใชงานและนําไปทดลองการใชกับรานทําอาหาร
2. การติดตั้งของอุปกรณขณะใชงานจริงและการปลอยน้ําลงในอุปกรณดักไขมัน
3. ทดลองการใชอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน
4. การแยกเศษอาหาร แยกไขมันออกจากน้ําและการปลอยน้ําทิ้งออกจากอุปกรณดักไขมัน
ภาพการแยกเศษอาหารและแยกไขมันออกจากน้ํา
ภาพการปลอยน้ําทิ้งหลังจากการดักไขมันเสร็จแลวของอุปกรณ
ภาคผนวก ข
ประวัติผูจัดทํา
ประวัติคณะผูจัดทํา
1. นายอุทิศ ผลาชิต
แผนกวิชายานยนต ระดับชั้น ปวส.2 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ
2. นายสกล สมศรี
แผนกวิชายานยนต ระดับชั้น ปวส.2 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ
3. นายศักดิ์ดา บุญสงค
แผนกวิชายานยนต ระดับชั้น ปวส.2 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ
4. นายยงยุทธ ปตะสายะ
แผนกวิชายานยนต ระดับชั้น ปวส.2 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ
5. นายประยุทธ สมี
แผนกวิชายานยนต ระดับชั้น ปวส.1 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ
6. นายสมภพ บุตรทน
แผนกวิชายานยนต ระดับชั้น ปวช.3 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ
7. นายวินัย พลอามาตย
แผนกวิชายานยนต ระดับชั้น ปวช. 3 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ
8. นายอํานาจ บุญลําไพ
แผนกวิชายานยนต ระดับชั้น ปวช. 3 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ
9. นายพรชัย ประเคน
แผนกวิชายานยนต ระดับชั้น ปวช. 3 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ
10. นายศักดิ์สิทธิ์ พันสิ้ว
แผนกวิชายานยนต ระดับชั้น ปวช. 3 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ
ประวัติครูที่ปรึกษา
ชื่อ นายธีระพล บุญธรรม
สถานที่อยูปจจุบัน 44/1 ต. โพธิ์ตาก กิ่งอําเภอ โพธิ์ตาก จังหวัดหนองคาย 43130
ตําแหนงหนาที่การงาน ครู คศ. 2
สถานที่ทํางานปจจุบัน วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ ตําบลวิศิษฐ อําเภอบึงกาฬ
จังหวัดหนองคาย 43140
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2540 ประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง ( ปทส. ) วิชาเอกเทคนิคยานยนต
วิทยาลัยชางกลปทุมวันกรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2545 ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต ( กศ.ม ) ภาคการวิจัยการศึกษา
มหาวิทยาลัยสารคาม
พ.ศ. 2546 ปริญญาบัตร (คอบ.เครื่องกล)สาขาวิชา วิศวกรรมเครื่องกล
สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน
ประสบการณ
พ.ศ. 2541 เครื่องพลังงานแสงอาทิตยประยุกต รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1
ระดับภาค
พ.ศ. 2543 เครื่องไลลมเบรกรถจักรยานยนต รางวัลชนะเลิศระดับภาค
รางวัลชมเชยอันดับ 3 ระดับชาติ
พ.ศ. 2544 เครื่องคั่วถั่วลิสง รางวัลชนะเลิศระดับภาค รางวัลชนะเลิศระดับชาติ
(เผยแพรแกเกษตรกรจํานวน 5 เครื่อง)
พ.ศ. 2545 เครื่องคั่วถั่วลิสง รางวัลชนะเลิศงานอาชีววิวัฒน เครื่องคั่วตมพัฒนา รางวัลรอง
ชนะเลิศอันดับ 1 สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรเทคโนโลยี
แหงชาติ (สวทช.)
พ.ศ. 2546 เครื่องอัดวัสดุสําหรับการเพาะเห็ด (เผยแพรแกเกษตรกรจํานวน
1 เครื่อง)
พ.ศ. 2546 เครื่องอัดวัสดุสําหรับการเพาะเห็ด รางวัลชนะเลิศระดับภาค รางวัลชนะเลิศ
ระดับชาติ
พ.ศ. 2547 เครื่องบดถัวลิสง รางวัลชนะเลิศระดับภาคและรางวัลชมเชยระดับชาติ
พ.ศ. 2548 อุปกรณกดวาลวรถยนต รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 และรางวัลชมเชยระดับชาติ
พ.ศ. 2549 เครื่องคั่วถั่วลิสง ไดรับรางวัลชนะเลิศ ประเภทที่ 1 ระดับภาคและรางวัลชนะเลิศ
ระดับชาติ ครั้งที่ 18 ประจําปการศึกษา 2549
พ.ศ. 2550 อุปกรณกวนน้ํายางพารา รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550
พ.ศ. 2550 พิณจากวัสดุเหลื่อใช รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550
พ.ศ. 2550 เทียนไขมหัศจรรย รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550
พ.ศ. 2550 เครื่องเจาะลูกมะพราวออน รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550
พ.ศ. 2550 เครื่องหั่นกลวย รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550
ประวัติครูที่ปรึกษา
ชื่อ นายสุรชัย โกมาลย
สถานที่อยูปจจุบัน 101 ถนนแสนประเสิรฐ-นาปาน ต.วิศิษฐ อ. บึงกาฬ จ.หนองคาย 43140
ตําแหนงหนาที่การงาน อาจารยพิเศษสอน
สถานที่ทํางานปจจุบัน วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ ตําบลวิศิษฐ อําเภอบึงกาฬ
จังหวัดหนองคาย 43140
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2544 ประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง (ปทส.) วิชาเอกเทคนิคยานยนต วิทยาลัยเทคนิค
หนองคาย
พ.ศ. 2546 ปริญญาบัตร (คอบ.เครื่องกล)สาขาวิชา วิศวกรรมเครื่องกล
สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน
ประสบการณ
พ.ศ. 2546 เครื่องอัดวัสดุสําหรับการเพาะเห็ด (เผยแพรแกเกษตรกรจํานวน
1 เครื่อง)
พ.ศ. 2546 เครื่องอัดวัสดุสําหรับการเพาะเห็ด รางวัลชนะเลิศระดับภาค รางวัลชนะเลิศ
ระดับชาติ
พ.ศ. 2547 เครื่องบดถัวลิสง รางวัลชนะเลิศระดับภาคและรางวัลชมเชยระดับชาติ
พ.ศ. 2548 อุปกรณกดวาลวรถยนต รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 และรางวัลชมเชยระดับชาติ
พ.ศ. 2549 เครื่องคั่วถั่วลิสง ไดรับรางวัลชนะเลิศ ประเภทที่ 1 ระดับภาคและรางวัลชนะเลิศ
ระดับชาติ ครั้งที่ 18 ประจําปการศึกษา 2549
พ.ศ. 2550 อุปกรณกวนน้ํายางพารา รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550
พ.ศ. 2550 พิณจากวัสดุเหลื่อใช รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550
พ.ศ. 2550 เทียนไขมหัศจรรย รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550
พ.ศ. 2550 เครื่องเจาะลูกมะพราวออน รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550
พ.ศ. 2550 เครื่องหั่นกลวย รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550
ประวัติครูที่ปรึกษา
ชื่อ นายเสกสรร ไมเศรา
สถานที่อยูปจจุบัน 101 ถนนแสนประเสิรฐ-นาปาน ต.วิศิษฐ อ. บึงกาฬ จ.หนองคาย 43140
ตําแหนงหนาที่การงาน ครูผูชวย
สถานที่ทํางานปจจุบัน วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ ตําบลวิศิษฐ อําเภอบึงกาฬ
จังหวัดหนองคาย 43140

More Related Content

Viewers also liked (13)

Pat7.5
Pat7.5Pat7.5
Pat7.5
 
Asa preformance macrotargets
Asa preformance macrotargetsAsa preformance macrotargets
Asa preformance macrotargets
 
Pat7.2
Pat7.2Pat7.2
Pat7.2
 
Pat7.3
Pat7.3Pat7.3
Pat7.3
 
โครงงานคอม
โครงงานคอม โครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Pat2
Pat2Pat2
Pat2
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
Pat6
Pat6Pat6
Pat6
 
Pat7.6
Pat7.6Pat7.6
Pat7.6
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
Pat7.1
Pat7.1Pat7.1
Pat7.1
 
O-Net'53 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
O-Net'53 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06O-Net'53 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
O-Net'53 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
 
A Contrastive Analysis of Urdu and English deixis.
A Contrastive Analysis of Urdu and English deixis.A Contrastive Analysis of Urdu and English deixis.
A Contrastive Analysis of Urdu and English deixis.
 

Similar to Docu3000029045

โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)Aungkana Na Na
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม Aungkana Na Na
 
12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพ12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพKobwit Piriyawat
 
คู่มือการใช้ถึงหมักก๊าชชีวภาพ
คู่มือการใช้ถึงหมักก๊าชชีวภาพคู่มือการใช้ถึงหมักก๊าชชีวภาพ
คู่มือการใช้ถึงหมักก๊าชชีวภาพmantanwa22
 
Z4 nwuv wyilubo8uqg0cnsmbl0xko9lwevbytudic29wvbdbwjypubrfkrtevmdm3
Z4 nwuv wyilubo8uqg0cnsmbl0xko9lwevbytudic29wvbdbwjypubrfkrtevmdm3Z4 nwuv wyilubo8uqg0cnsmbl0xko9lwevbytudic29wvbdbwjypubrfkrtevmdm3
Z4 nwuv wyilubo8uqg0cnsmbl0xko9lwevbytudic29wvbdbwjypubrfkrtevmdm3Supipat Mokmamern
 
F2 c trkrab6a7fjx9olvgbdkwxdrnxtguivid2apietcu8sasdbhauogp67q2fe9z
F2 c trkrab6a7fjx9olvgbdkwxdrnxtguivid2apietcu8sasdbhauogp67q2fe9zF2 c trkrab6a7fjx9olvgbdkwxdrnxtguivid2apietcu8sasdbhauogp67q2fe9z
F2 c trkrab6a7fjx9olvgbdkwxdrnxtguivid2apietcu8sasdbhauogp67q2fe9zeakaratkk
 
Book2013 oct 06-chem
Book2013 oct 06-chemBook2013 oct 06-chem
Book2013 oct 06-chemWisaruta
 
Book2013 oct 06-chem
Book2013 oct 06-chemBook2013 oct 06-chem
Book2013 oct 06-chemberry green
 
H vlddxom6lutp wlwp5hxbjtbilnrrvnlhxgojesqdu5embjzywxrrzdr0g06agpj
H vlddxom6lutp wlwp5hxbjtbilnrrvnlhxgojesqdu5embjzywxrrzdr0g06agpjH vlddxom6lutp wlwp5hxbjtbilnrrvnlhxgojesqdu5embjzywxrrzdr0g06agpj
H vlddxom6lutp wlwp5hxbjtbilnrrvnlhxgojesqdu5embjzywxrrzdr0g06agpjeakaratkk
 
Book2013 oct 06-chem
Book2013 oct 06-chemBook2013 oct 06-chem
Book2013 oct 06-chemjjrrwnd
 
D uk96ffx ibkbilywm7javnaxhgzo7tzae8kpe577tvf1yazeukdwyk1fv2cxeeu0
D uk96ffx ibkbilywm7javnaxhgzo7tzae8kpe577tvf1yazeukdwyk1fv2cxeeu0D uk96ffx ibkbilywm7javnaxhgzo7tzae8kpe577tvf1yazeukdwyk1fv2cxeeu0
D uk96ffx ibkbilywm7javnaxhgzo7tzae8kpe577tvf1yazeukdwyk1fv2cxeeu0eakaratkk
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมีtangmo77
 
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะโครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะPoramate Minsiri
 

Similar to Docu3000029045 (19)

โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม
 
12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพ12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพ
 
คู่มือการใช้ถึงหมักก๊าชชีวภาพ
คู่มือการใช้ถึงหมักก๊าชชีวภาพคู่มือการใช้ถึงหมักก๊าชชีวภาพ
คู่มือการใช้ถึงหมักก๊าชชีวภาพ
 
Z4 nwuv wyilubo8uqg0cnsmbl0xko9lwevbytudic29wvbdbwjypubrfkrtevmdm3
Z4 nwuv wyilubo8uqg0cnsmbl0xko9lwevbytudic29wvbdbwjypubrfkrtevmdm3Z4 nwuv wyilubo8uqg0cnsmbl0xko9lwevbytudic29wvbdbwjypubrfkrtevmdm3
Z4 nwuv wyilubo8uqg0cnsmbl0xko9lwevbytudic29wvbdbwjypubrfkrtevmdm3
 
F2 c trkrab6a7fjx9olvgbdkwxdrnxtguivid2apietcu8sasdbhauogp67q2fe9z
F2 c trkrab6a7fjx9olvgbdkwxdrnxtguivid2apietcu8sasdbhauogp67q2fe9zF2 c trkrab6a7fjx9olvgbdkwxdrnxtguivid2apietcu8sasdbhauogp67q2fe9z
F2 c trkrab6a7fjx9olvgbdkwxdrnxtguivid2apietcu8sasdbhauogp67q2fe9z
 
เคมีจ้ะ
เคมีจ้ะเคมีจ้ะ
เคมีจ้ะ
 
Book2013 oct 06-chem
Book2013 oct 06-chemBook2013 oct 06-chem
Book2013 oct 06-chem
 
Book2013 oct 06-chem
Book2013 oct 06-chemBook2013 oct 06-chem
Book2013 oct 06-chem
 
H vlddxom6lutp wlwp5hxbjtbilnrrvnlhxgojesqdu5embjzywxrrzdr0g06agpj
H vlddxom6lutp wlwp5hxbjtbilnrrvnlhxgojesqdu5embjzywxrrzdr0g06agpjH vlddxom6lutp wlwp5hxbjtbilnrrvnlhxgojesqdu5embjzywxrrzdr0g06agpj
H vlddxom6lutp wlwp5hxbjtbilnrrvnlhxgojesqdu5embjzywxrrzdr0g06agpj
 
Book2013 oct 06-chem
Book2013 oct 06-chemBook2013 oct 06-chem
Book2013 oct 06-chem
 
D uk96ffx ibkbilywm7javnaxhgzo7tzae8kpe577tvf1yazeukdwyk1fv2cxeeu0
D uk96ffx ibkbilywm7javnaxhgzo7tzae8kpe577tvf1yazeukdwyk1fv2cxeeu0D uk96ffx ibkbilywm7javnaxhgzo7tzae8kpe577tvf1yazeukdwyk1fv2cxeeu0
D uk96ffx ibkbilywm7javnaxhgzo7tzae8kpe577tvf1yazeukdwyk1fv2cxeeu0
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
เคมีจ้ะ
เคมีจ้ะเคมีจ้ะ
เคมีจ้ะ
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
Book2013 oct 06-chem
Book2013 oct 06-chemBook2013 oct 06-chem
Book2013 oct 06-chem
 
Chem
ChemChem
Chem
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะโครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
 

More from Chutikarn Sothanapaisan

เฉลย O-Net'54 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
เฉลย O-Net'54 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06เฉลย O-Net'54 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
เฉลย O-Net'54 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06Chutikarn Sothanapaisan
 
O-Net'54 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
O-Net'54 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06O-Net'54 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
O-Net'54 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06Chutikarn Sothanapaisan
 
O-Net'52 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
O-Net'52 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06O-Net'52 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
O-Net'52 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06Chutikarn Sothanapaisan
 
โครงร่างโครงงาคอม
โครงร่างโครงงาคอมโครงร่างโครงงาคอม
โครงร่างโครงงาคอมChutikarn Sothanapaisan
 
ใบงานแบบสำรวจตัวเอง
ใบงานแบบสำรวจตัวเองใบงานแบบสำรวจตัวเอง
ใบงานแบบสำรวจตัวเองChutikarn Sothanapaisan
 

More from Chutikarn Sothanapaisan (11)

เฉลย O-Net'54 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
เฉลย O-Net'54 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06เฉลย O-Net'54 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
เฉลย O-Net'54 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
 
O-Net'54 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
O-Net'54 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06O-Net'54 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
O-Net'54 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
 
O-Net'52 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
O-Net'52 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06O-Net'52 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
O-Net'52 สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ รหัสวิขา 06
 
โครงร่างโครงงาคอม
โครงร่างโครงงาคอมโครงร่างโครงงาคอม
โครงร่างโครงงาคอม
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Pat7.4
Pat7.4Pat7.4
Pat7.4
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Gat2
Gat2Gat2
Gat2
 
Gat1
Gat1Gat1
Gat1
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
ใบงานแบบสำรวจตัวเอง
ใบงานแบบสำรวจตัวเองใบงานแบบสำรวจตัวเอง
ใบงานแบบสำรวจตัวเอง
 

Docu3000029045

  • 1. แบบเสนอรายงานการวิจัย ปการศึกษา 2551 ประเภทที่ 5 ประเภท ลดมลภาวะโลกรอน อุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ อาชีวศึกษาจังหวัดหนองคาย สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. ชื่อเรื่อง อุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน ผูวิจัย นายอุทิศ ผลาชิต และคณะ สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ ปงบประมาณ 2551 บทคัดยอ ในการจัดทําอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจานในครัวเรือน มีวัตถุประสงคเพื่อออกแบบสราง อุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน ทําการทดสอบประสิทธิภาพและคุณภาพ ประกอบดวย ตะแกรงใน การดักเศษอาหาร ตัวแยกไขมัน ทอระบายไขมัน ทําการทดสบการแยกไขมันออกจากเศษอาหาร ณ วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬและทดสอบภายนอกสถานที่ โดยใชอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจานจากผล การทดสอบ พบวา การแยกเศษอาหารและไขมันดวยอุปกรณดักไขมัน สามารถทํางานไดจริง ดังนั้นสิ่งประดิษฐอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจานในครัวเรือน จึงเปนอุปกรณในการชวยลด มลภาวะทางอากาศ โดยชวยลดกลิ่นเหม็นจากการทิ้งเศษอาหารและไขมันในน้ําทิ้ง ซึ่งอุปกรณดักไขมันได ออกแบบใหใชไดกับการปฏิบัติงานจริงในครัวเรือน
  • 3. กิตติกรรมประกาศ รายงานผลการดําเนินงานสิ่งประดิษฐของคนรุนใหมฉบับนี้สําเร็จลงไดดวยความกรุณาและชวยเหลือ อยางดีจากครู ธีระพล บุญธรรม ครูสุรชัย โกมาลยและครูเสกสรรค ไมเศรา ครูที่ปรึกษาสิ่งประดิษฐที่ได กรุณาใหคําแนะนํา ขอเสนอแนะและการแกไขขอขัดของดวยความเอาใจใสตลอดมา คณะผูประดิษฐ ขอขอบพระคุณไวอยางสูง ขอขอบคุณผูบริหารวิทยาลัย ครู เจาหนาที่และนักศึกษาแผนกวิชายานยนตทุกคนของวิทยาลัยการ อาชีพบึงกาฬที่คอยสนับสนุนใหความชวยเหลือทุกอยางตลอดจนใหกําลังใจคณะผูประดิษฐดวยดีประโยชน และคุณคาอันพึงไดจากสิ่งประดิษฐนี้ คณะผูประดิษฐขอมอบแดผูมีพระคุณทุกทาน อุทิศ ผลาชิตและคณะ
  • 4. สารบัญ เรื่อง หนา บทคัดยอ........................................................................................................................... ก กิตติกรรมประกาศ........................................................................................................... ข สารบัญ............................................................................................................................. ค สารบัญตาราง................................................................................................................... ง สารบัญภาพ...................................................................................................................... จ บทที่ 1 บทนํา................................................................................................................. 1 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ............................................................................................. 2 บทที่ 3 การสราง การพัฒนา และการใชสิ่งประดิษฐ………………………………… 10 บทที่ 4 ผลการวิจัย…...................................................................................................... 14 บทที่ 5 สรุปผล อภิปราบผลและขอเสนอแนะ............................................................. 15 บรรณานุกรม................................................................................................................... 16 ภาคผนวก ภาคผนวก ก ขั้นตอนการใชเครื่องยอยกระดาษรีไซเคิล……………………... 18 ภาคผนวก ข ประวัติผูจัดทํา………………………………………………….. 21
  • 5. สารบัญตาราง ตาราง หนา ตาราง 4.1 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน…………… 14
  • 6. สารบัญภาพ ภาพ หนา รูปที่ 3.1 ภาพอางลางจาน………………………………………………………………………. 10 รูปที่ 3.2 ชุดอุปกรณดักไขมัน………………………………………………………………….. 11 รูปที่ 3.3 ภาพทอน้ําเขาและทอน้ําออก…………………………………………………………. 11 รูปที่ 3.4 ตะแกรงคัดแยกเศษอาหารและสวนที่ดักไขมัน……………………………………… 11 รูปที่ 3.5 จัดเตรียมอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน……………………………………… 12 รูปที่ 3.6 ทดลองการใชอุปกรณดักไขมันในอางลางจานและปลอยน้ําลงในอุปกรณดักไขมัน… 12 รูปที่ 3.7 ภาพการแยกเศษอาหารและการแยกไขมันของอุปกรณดักไขมัน…………………….. 12 รูปที่ 3.8 ตรวจสอบอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจานใหพรอมใชงานและนําไปทดลอง การใชกับรานทําอาหาร…………………………………………………………………………… 13 รูปที่ 3.9 ทดลองการใชอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน…………………………………… 13 รูปที่ 3.10 ภาพการติดตั้งของอุปกรณขณะใชงานจริงและการปลอยน้ําออกหลังจากดักไขมันแลว 13
  • 7. บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาของการสรางสิ่งประดิษฐ ในปจจุบันโลกเรากําลังไดรับปญหาทางภาวะโลกรอนหรือภาวะอุณหภูมิอากาศ เปลี่ยนแปลงของ โลกเรา สังเกตไดจากอุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยเกิดปรากฎการณเรือนกระจกซึ่งมลภาวะทาง อากาศมีสาเหตุที่สําคัญไดแก ยานพาหนะที่ใชเครื่องยนต ควันไฟและกาซพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม เชน โรงงานทําเบียร โรงงานสุรา โรงงานไฟฟา แหลงฝุนละออง แหลงหมักหมมของสิ่งปฏิกูล ไดแก เศษ อาหารและขยะมูลฝอยและอากาศเสียจากปรากฎการณทางธรรมชาติ เชน ภูเขาไฟระเบิด ไฟปาเปนตน ปญหาที่ทําใหเกิดมลภาวะทางอากาศที่สําคัญอยางยิ่งคือ การปลอยน้ําทิ้งและสิ่งปฏิกูลจากแหลง ชุมชน จากอาหาร บานเรือน หองอาหาร เนื่องจากน้ําเสียดังกลาวจะมีน้ํามันปะปนอยูมาก ทําใหทอระบาย น้ําอุดตันและยังสงกลิ่นเหม็นรบกวนซึ่งไมมีตะแกรงกรองและคัดแยกไขมันออกกอน คณะผูประดิษฐไดมองเห็นความสําคัญของปญหาทางมลภาวะดังกลาวจึงไดสรางอุปกรณดักไขมัน สําหรับอางลางจานในครัวเรือนขึ้น เพื่อชวยการคัดแยกไขมันออกจากน้ําทิ้งที่เหลือใชในครัวเรือนกอน ปลอยใหลงสูทอพักน้ําและทอระบายน้ํา เปนการชวยลดมลภาวะทางอากาศใหลดลงอีกดวย 1.2 วัตถุประสงค 1. เพื่อสรางอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจานในครัวเรือนที่มีคุณสมบัติในการลด มลภาวะทางอากาศ 2. เพื่อสงเสริมใหนักศึกษาใชเวลาวางใหเกิดประโยชน และรูจักการทํางานเปนทีม 1.3 ขอบเขตของการสรางสิ่งประดิษฐ ในการสรางอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน เปนสิ่งประดิษฐที่จัดสรางขึ้นใชในครัวเรือนและ รานคาทั่วไปที่เกี่ยวกับของกับการประกอบอาชีพทําอาหารจําหนาย 1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ไดผลงานสิ่งประดิษฐอุปกรณดักไขมันที่มีคุณภาพดีและประสิทธิภาพสูง เหมาะสมที่จะใช ประโยชนสําหรับครัวเรือนของประชาชนผูสนใจ
  • 8. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ 2.1 ภาวะโลกรอน ภาวะโลกรอน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เปนปญหา ใหญของโลกเราในปจจุบัน สังเกตไดจากอุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ สาเหตุหลักของปญหานี้ มาจาก กาซเรือนกระจก ครับ (Greenhouse gases) ปรากฏการณเรือนกระจก มีความสําคัญกับโลก เพราะกาซจําพวก คารบอนไดออกไซด หรือ มีเทน จะกักเก็บความรอนบางสวนไวในในโลก ไมใหสะทอนกลับสูบรรยากาศ ทั้งหมด มิฉะนั้น โลกจะกลายเปนแบบดวงจันทร ที่ตอนกลางคืนหนาวจัด (และตอนกลางวันรอนจัด เพราะ ไมมีบรรยากาศกรองพลังงานจากดวงอาทิตย) ซึ่งการทําใหโลกอุนขึ้นเชนนี้ คลายกับหลักการของเรือน กระจก (ที่ใชปลูกพืช) จึงเรียกวา ปรากฏการณเรือนกระจก (Greenhouse Effect) แตการเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องของ CO2 ที่ออกมาจากโรงงานอุตสาหกรรม รถยนต หรือการกระทําใด ๆ ที่เผาเชื้อเพลิงฟอสซิล (เชนถานหิน น้ํามัน กาซธรรมชาติ หรือสารประกอบไฮโดรคารบอน ) สงผลใหระดับ ปริมาณ CO2 ในปจจุบันสูงเกิน 300 ppm (300 สวน ใน ลานสวน) เปนครั้งแรกในรอบกวา 6 แสนป ซึ่ง คารบอนไดออกไซดที่มากขึ้นนี้ ไดเพิ่มการกักเก็บความรอนไวในโลกของเรามากขึ้นเรื่อยๆ จนเกิดเปน ภาวะ โลกรอน ดังเชนปจจุบัน กาซคารบอนไดออกไซด และกาซเรือนกระจกอื่นๆ เปนตัวการกักเก็บความรอนจาก แสงอาทิตยไวไมใหคายออกไปสูบรรยากาศซึ่งเปนสิ่งที่ดี เพราะทําใหโลกของเรามีอุณหภูมิอบอุน สามารถ ดํารงชีวิตอยูไดแตปจจุบัน การเผาผลาญเชื้อเพลงฟอสซิลตางๆ เชน ถานหิน น้ํามันเชื้อเพลิง และการตัดไม ทําลายปาซึ่งการกระทําเหลานี้สงผลใหปริมาณ คารบอนไดออกไซดในบรรยากาศ เพิ่มขึ้นอยางมหาศาล อัน สงผลกระทบตางๆมากมายไมวาจะเปนอุณหภูมิของโลกที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ภัยธรรมชาติตางๆเกิดบอยขึ้น และนี่คือสิ่งที่เกิดขึ้น - จํานวนพายุ Hurricane Category 4 และ 5 เพิ่มขึ้นสองเทา ในสามสิบปที่ผานมา - เชื้อมาลาเรียไดแพรกระจายไปในที่สูงขึ้น แมแตใน Columbian, Andes ที่สูง 7000 ฟุตเหนือ ระดับน้ําทะเล - น้ําแข็ง ใน ธารน้ําแข็ง เขตกรีนแลนด ละลายเพิ่มมากขึ้นเปนสองเทาในชวงทศวรรษที่ผานมา - สัตวตางๆ อยางนอย 279 สปชี่สกําลังตอบสนองตอ ภาวะโลกรอน โดยพยายามยายถิ่นที่อยู
  • 9. หากเรายังเพิกเฉยตอสิ่งที่เกิดขึ้น รับรองไดเลยวาจะเกิดเรื่องอยางนี้แน - อัตรา ผูเสียชีวิต จาก โลกรอน จะพุงไปอยูที่ 300000 คนตอป ใน 25 ปตอจากนี้ - ระดับน้ําทะเลสูงขึ้น 20 ฟุต - คลื่นความรอน จะมาบอยขึ้นและรุนแรงขึ้น - ภาวะฝนแลง และไฟปาจะเกิดบอยขึ้น - มหาสมุทรอารกติกจะไมเหลือน้ําแข็ง ภายในฤดูรอน 2050 - สิ่งมีชีวิตกวาลานสปชี่สเสี่ยงที่จะสูญพันธุ 2.2 มลภาวะทางน้ํา 2.2.1 สาเหตุของมลพิษทางน้ํา 1.ธรรมชาติ แหลงน้ําตางๆ อาจเกิดจากการเนาเสียไดเองเมื่ออยูในภาวะที่ขาดออกซิเจน สวนใหญมี สาเหตุเกิดจากการเพิ่มจํานวนอยางรวดเร็วของแพลงคตอน แลวตายลงพรอม ๆ กันเมื่อ จุลินทรียทําการยอย สลายซากแพลงคตอนทําใหออกซิเจนในน้ําถูกนําไปใชมาก จนเกิดการขาดแคลนได นอกจากนี้การเนาเสีย อาจเกิดไดอีกประการหนึ่งคือ เมื่อน้ําอยูในสภาพนิ่งไมมีการหมุนเวียนถายเท 2. น้ําทิ้ง และสิ่งปฏิกูลจากแหลงชุมชน ไดแก อาคาร บานเรือน สํานักงาน อาคารพาณิชย โรงแรม เปนตน สิ่งปะปนมากับน้ําทิ้งประกอบดวยสารอินทรียซึ่งจะถูกยอยสลายโดยผูยอยสลายสาร อินทรียที่สําคัญ คือ แบคทีเรีย ซึ่งมีทั้งแบคทีเรียแอโรบิก (aerobic bacteria) เปนแบคที่เรียที่ตองใชออกซิเจนอิสระในการยอย สลายสารอินทรีย กับแบคทีเรียแอนาโรบิก (anaerobic bacteria) เปนแบคทีเรียที่ยอยสลายสารอินทรียไดโดย ไมตองอาศัยออกซิเจนอิสระ อีกชนิดหนึ่งคือ แบคทีเรียแฟคัลเตตีฟ (facultativebacteria)เปนแบคทีเรียพวกที่ สามารถดํารง ชีวิตอยูไดทั้งอาศัยและตองอาศัยออกซิเจนอิสระ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับปริมาณออกซิเจนในสภาวะ แวดลอมนั้น บทบาทในการยอยสลายสารเหลานี้ของแบคทีเรียแอโรบิกตองใชออกซิเจน ในปริมาณมาก ทําใหปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา(ดีโอ DO = dissolved oxygen) ลดลงต่ํามาก ตามปกติน้ําในธรรมชาติจะมี ออกซิเจนละลายปนอยูประมาณ 8 มิลลิกรัมตอลิตร หรือ 8 สวนในลานสวน (ppm) โดยทั่วไปคา DO ต่ํากวา 3 มิลลิกรัม/ลิตรจัดเปนน้ําเสีย การหาปริมาณของออกซิเจนที่จุลินทรียตองการใชในการยอยสลายอินทรียสาร ใน น้ํา (biochemical oxygen demand) เรียกยอวา BOD เปนการบอกคุณภาพน้ําได ถาคา BOD สูง แสดงวาใน น้ํานั้นมีอินทรียสารอยูมาก การยอยสลายอินทรียสารของจุลินทรียตองใชออกซิเจน ทําใหออกซิเจนในน้ํา เหลืออยูนอย โดยทั่วไปถาในแหลงน้ําใดมีคา BODสูงกวา 100มิลลิกรัม/ลิตร จัดวาน้ํานั้นเปนน้ําเสียถาใน แหลงน้ํานั้นมีคา BODสูงหรือมีอินทรียสาร มาก ปริมาณออกซิเจนในน้ําจะลดนอยลงแบคทีเรียแอโรบิกจะลด นอยลงดวย อินทรียสาร จะถูกสลายดวยแบคทีเรียแอนาโรบิกและแบคทีเรียแฟคัลเตตีฟตอไป ซึ่งจะทําใหกาซ ตาง ๆ เชน มีเทน ไฮโดรเจนซัลไฟด แอมโมเนีย กาซเหลานี้เองที่ทําใหเกิดกลิ่นเหม็นและสีของน้ํา เปลี่ยนไป นอกจากสารอินทรียแลว ตามแหลงชุมชนยังมีผงซักฟอกซึ่งเปนตัวลดความตึงผิว ของน้ํา ซึ่งหมุนเวียนไปสู. คนได.ทางโซ.อาหาร
  • 10. 3. การเกษตร เปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหน้ําเสีย เชน การเลี้ยงสัตว เศษอาหารและน้ําทิ้งจากการ ชําระ คอกสัตว ทิ้งลงสูแมน้ํา ลําคลอง ซึ่งกอใหเกิดโรคระบาด การใชปุยไนเตรตของเกษตรกร เมื่อปุยลงสูแหลงน้ํา จะทําใหน้ํามีปริมาณเกลือไนเตรตสูงถาดื่มเขาไปจะทําใหเปนโรคพิษไนเตรต ไนเตรตจะเปลี่ยนเปนไนไตรต แลวรวมตัวกับฮีโมโกลบินอาจทําใหเกิดอันตรายถึงแกชีวิตได นอกจากนี้เกษตรกรนิยมใชสารกําจัดศัตรูพืช มากขึ้น สารที่ตกคางตามตนพืช และตามผิวดิน จะถูกชะลางไปกับน้ําฝนและไหลลงสูแหลงน้ํา สารที่สลายตัว ชาจะสะสมในแหลงน้ํา นั้นมากขึ้นจนเปนอันตรายได 4. โรงงานอุตสาหกรรม ของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม เชน โรงงานปลาปน โรงงาน ผลิตภัณฑนม โรงโมแปง โรงงานทําอาหารกระปอง สวนใหญมีสารอินทรียพวกโปรตีน คารโบไฮเดรตปนอยูมาก สารอินทรียที่ถูกปลอยออกมากับน้ําทิ้งนี้ก็จะถูกยอยสลายทํา 2.2.2 ผลกระทบของมลพิษทางน้ํา 1. การประมง น้ําเสียทําใหสัตวน้ําลดปริมาณลง น้ําเสียที่เกิดจากสารพิษอาจทําใหปลาตายทันที สวนน้ําเสียที่เกิดจากการลดต่ําของออกซิเจนละลายในน้ําถึงแมจะไมทําใหปลาตายทันที แตอาจทําลายพืชและ สัตวน้ําเล็ก ๆ ที่เปนอาหารของปลาและตัวออน ทําใหปลาขาดอาหาร กอใหเกิดผลเสียหายตอการประมงและ เศรษฐกิจ ปริมาณออกซิเจนละลายในน้ําถาหารลด จํานวนลงมาก ๆ ในทันทีก็อาจทําใหปลาตายไดนอกจากนี้ น้ําเสียยังทําลายแหลงเพาะวางไข ของปลาเนื่องจากการตกตะกอนของสารแขวนลอยในน้ําเสียปกคลุมพื้นที่ วางไขของปลา ซึ่งเปนการหยุดยั้งการแพรพันธุ ทําใหปลาสูญพันธุได 2. การสาธารณสุขน้ําเสียเปนแหลงแพรเชื้อโรค ทําใหเกิดโรคระบาด เชน โรคอหิวาตกโรค ไทฟอยด บิด เปนแหลงเพาะเชื้อยุงซึ่งเปนพาหะของโรคบางชนิด เชน มาเลเรีย ไขเลือดออก และสารมลพิษที่ปะปนใน แหลงน้ํา ถาเราบริโภคทําใหเกิดโรคตาง ๆ เชน โรค มินามาตะ เกิดจากการรับประทานปลาที่มีสารปรอทสูง โรคอิไต-อิไต เกิดจากการไดรับสาร แคดเมียม 3. การผลิตน้ําเพื่อบริโภคและอุปโภค น้ําเสียกระทบกระเทือนตอการผลิตน้ําดื่ม น้ําใชอยาง ยิ่ง แหลง น้ําสําหรับผลิตประปาไดจากแมน้ํา ลําคลอง เมื่อแหลงน้ําเนาเสียเปนผลให คุณภาพน้ํา ลดลง คาใชจายใน กระบวนการผลิตเพื่อใหน้ํามีคุณภาพเขาเกณฑมาตรฐานน้ําดื่มจะเพิ่มขึ้น 4. การเกษตร น้ําเสียมีผลตอการเพาะปลูก และสัตวน้ํา น้ําเสียที่กอใหเกิดความเสียหายตอ การเกษตร สวนใหญเปนน้ําเสียที่มีความเปนกรดเปนดางสูง น้ําที่มีปริมาณเกลืออนินทรีย หรือ สารพิษสูง ฯลฯ ซึ่งเกิด จากโรงงานอุตสาหกรรมปลอยน้ําเสียและเกิดจากผลของการทํา เกษตรกรรมนั่นเอง เชน การชลประทาน สรางเขื่อนกักเก็บน้ําไวใชเพื่อการเกษตร ทั้งนี้เนื่องจากคุณสมบัติน้ําในธรรมชาติประกอบดวยเกลืออนินทรีย เจือปนอยูโดยเฉพาะ เกลือคลอไรด ขณะที่ใชน้ําเพื่อการเกษตร น้ําจะระเหยเปนไอโดยธรรมชาติ ปริมาณเกลือ อนินทรียซึ่งไดระเหยจะตกคางในดิน เมื่อมีการสะสมมากเขา ปริมาณเกลือในดินสูงขึ้น ทําใหดินเค็มไม เหมาะแกการเพาะปลูก ปริมาณเกลืออนินทรียที่ตกคางอาจถูกชะลาง ภายหลังฝนตก หรือโดยระบายน้ําจาก การชลประทาน เกลืออนินทรียจะถูกถายทอดลงสู แมน้ําในที่สุด
  • 11. 5. ความสวยงามและการพักผอนหยอนใจ แมน้ํา ลําธาร แหลงน้ําอื่น ๆ ที่สะอาดเปนความ สวยงาม ตามธรรมชาติ ใชเปนที่พักผอนหยอนใจ เชน ใชเลนเรือ ตกปลา วายน้ํา เปน 2.3 สาเหตุและผลกระทบของมลพิษทางดิน 2.3.1 สาเหตุของมลพิษทางดิน ปญหาที่เกิดขึ้นบนดิน แยกไดเปนสองประเภทคือ 1. สภาพธรรมชาติ ไดแก สภาพที่เกิดตามธรรมชาติของบริเวณนั้น ๆ เชน บริเวณที่มีเกลือใน ดินมาก หรือบริเวณที่ดินมีความหนาแนนนอย เปนตนทําใหดินบริเวณนั้นไมเหมาะ แกการเจริญเติบโตของพืช ปรากฏการณธรรมชาติบางอยาง เชนพายุน้ําทวมก็ทําให ดินทรายถูกพัดพาไปไดสิ่งปฏิกูลที่มีชีวิต ซึ่งไดแก สิ่งมีชีวิตที่อยูในดินหรือถูก ใสในดินทําใหดินเสียไดโดยอาจเปนตัวกอโรคหรือกอความกระทบกระเทือนตอ ความเปนอยูของสิ่งมีชีวิต 2. การกระทําของมนุษย สวนมากมักเกิดเนื่องจากความรูเทาไมถึงการณ มุงแตจะดัดแปลง ธรรมชาติ เพื่อหวังผลประโยชนอยางใดอยางหนึ่งโดยไมคํานึงถึงผลเสียที่เกิดขึ้นภายหลัง ดังตัวอยางตอไปนี้ 2.1 การใชสารเคมีและสารกัมมันตรังสี สารเคมี ไดแก ยาฆาแมลง ยาปราบศัตรูพืช สารเคมี เหลานี้บางชนิดไมสะสมในดินเพราะแบคทีเรียในดินทําลายไดแตพวกคลอริเนทเตด ไฮโดรคารบอน (chlorinated hydrocarbon) และสารประกอบ คลอริเนทเตด ฟนอกซี (chlorinated phenoxy) บางชนิดคงทนใน ดินเพราะแทรกในตะกอนหรือดินเหนียวไดดีทําใหแบคทีเรียทําลายได ยาก ยาปราบวัชพืชบางชนิด เชน ยาฆา แมลงประเภทดีดีที และดีลดริน ทนทานตอการถูก ทําลายในดินมาก จึงสะสมเพิ่มปริมาณในหวงโซอาหาร ตามลําดับขั้นตาง ๆ โดยถายทอด ผานกันเปนขั้น ๆ สวนสารเคมีจากโรงงานหรือสถานวิจัยตาง ๆ ไมวาจะเปน น้ํายาเคมี หรือโลหะที่เปนเศษที่เหลือทิ้งหลังจากแยกเอาสิ่งที่ตองการออกแลว เชน โรงงานถลุง โลหะตาง ๆ หรือโรงงานแยกแร รวมทั้งสารกัมมันตังรังสีตาง ๆ เชน พวกที่มากับฝุน กัมมันตรังสีจากการทดลองระเบิด ปรมาณู จากของเสียที่ทิ้งจากโรงงาน และสถานวิจัยที่ ใชกัมมันตรังสี สารเคมีเหลานี้บางชนิดเปนอันตรายตอ สิ่งมีชีวิตโดยตรงบางชนิดเปลี่ยน สภาวะของดินทําใหดินเปนกรดหรือดาง พืชจึงไมเจริญเติบโต
  • 12. 2.2 การใสปุย เมื่อใสปุยลงในดิน สิ่งที่คาดวาจะเกิดขึ้นก็คือ การสะสมของสารเคมีโดย เฉพาะอยางยิ่งไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม การสะสมนี้อาจถึงขั้นเปนพิษได ปุยบางชนิดที่นิยม ใชกันมาก เชน แอมโมเนียมซัลเฟต จะถูกแบคทีเรียในดินยอยสลาย ในปฏิกิริยารีดักชันไดกาซ ไฮโดรเจนซัลไฟด ซึ่งเปนอันตรายตอระบบการหายใจ ของรากพืช ทําใหดูดแรธาตุตาง ๆ ไดนอยลง 2.3 น้ําชลประทาน ดินเปนพิษจากน้ําชลประทานไดเนื่องจากน้ําที่มีตะกอนเกลือ และสาร เคมีอื่น ๆ รวมทั้งยาฆาแมลงปะปนมาดวย เพราะน้ําไหลผานบริเวณตาง ๆ ยิ่งถาไหลผาน บริเวณ ที่ดินอยูในสภาพที่ถูกกัดกรอนไดงาย บริเวณที่มีเกลือมาก ๆ และมีการใชยาปราบ ศัตรูพืชกันอยางกวางขวาง แลว น้ําก็จะยิ่งทําใหดินที่ไดรับการทดน้ํานั้นมีโอกาสไดรับ สารพิษมากขึ้น นอกจากนี้น้ําชลประทานทําให ดินเปนพิษอีกได โดยเมื่อทดน้ําชลประทานเขา ไปในไรนาหรือบริเวณใดก็ตาม น้ําจะไหลซึมลงสูเบื้องลาง ละลายเอาเกลือซึ่งสะสมในดิน ชั้นลาง ๆ ขึ้นมาปะปนในดินชั้นบน เมื่อหยุดการทดน้ํา น้ําที่ขังที่ผิวดินบน ระเหยแหงไป น้ําที่เต็มไปดวยเกลือก็จะเคลื่อนขึ้นสูดินบนแทน และเมื่อน้ําแหงไปก็จะเหลือสวนที่เปนเกลือ สะสมอยูที่สวนของผิวดิน 2.4 การใชยาปราบศัตรูพืชและสัตว ดินบริเวณที่มีการเพาะปลูกสะสมสารพิษจากยาปราบ ศัตรูพืชมากกวาบริเวณอื่น ๆ ยาปราบศัตรูพืชบางชนิดเมื่อคลุกเคลาลงในดินแลวจะเกิด ปฏิกิริยาเคมีขึ้นและ สูญหายไปจากดิน แตบางชนิดคงทนตอการสลายตัวและสะสมอยู ในดินเปนเวลานาน ๆ เชนประเภทที่มี ตะกั่วอาเซนิก ทองแดง หรือปรอทผสมอยู สาร เหลานี้มีครึ่งชีวิต (half life = เวลาที่ฤทธิ์ของยาปราบศัตรูพืช จะหมดไปครึ่งหนึ่งเมื่อผสม คลุกเคลากับดิน) สูงถึง 10-30 ป. รองลงไปไดแกพวกดีลดริน บีเอชซี เปนตน 2.5 การทิ้งขยะมูลฝอยและของเสียตาง ๆ ลงในดิน ขยะสวนใหญจะสลายตัวใหสารประกอบ อินทรีย และอนินทรียมากมายหลายชนิดดวยกันแตก็มีขยะบางชนิดที่สลายตัวยาก เชน วัสดุที่ทําดวยผาฝาย หนัง พลาสติก โลหะ ขยะประเภทนี้ถาทําลายโดยการ เผาจะเหลือเกลือ โดยเฉพาะเกลือไนเตรตสะสมอยูเปน จํานวนมาก แลวละลายไปตาม น้ํา สะสมอยูในบริเวณใกลเคียงการทิ้งของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม โรงงานอุตสาหกรรมตาง ๆ เปนแหลงผลิตของเสียที่สําคัญยิ่ง โดยเฉพาะของเสียจาก โรงงานที่มีโลหะหนัก ปะปน ทําใหดินบริเวณนั้นมีโลหะหนักสะสมอยูมาก โลหะหนักที่สําคัญไดแก ตะกั่ว ปรอท และแคดเมี่ยม สําหรับในประเทศไทยเทานั้นที่มี รายงานพบวาการเสื่อมคุณภาพของดินเนื่องจากตะกั่ว คือโรงงานถลุงตะกั่ว จาก ซากแบตเตอรี่เกาที่ตําบลครุใน อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ไดนําเอากาก ตะกั่วหรือเศษ ตะกั่วที่ไมใชประโยชนมาถมทําถนน ทําใหดินบริเวณนั้นเกิดสภาพ เปนพิษ เปนอันตรายตอพืชและผูบริโภค (สุมาลี พิตรากุล 2532:257) ของเสียจากสัตว การเสื่อมคุณภาพของดินเนื่องจากของเสียจากสัตวนั้นพบมากใน บริเวณที่ เลี้ยงสัตวเปนจํานวนมาก เพราะสิ่งขับถายของสัตวที่นํามากองทับถมไวทําใหจุลินทรีย ยอยสลายได เปนอนุมูลไนเตรต และอนุมูลไนไตรต ถาอนุมูลดังกลาวนี้สะสมอยูมาก ในดินบริเวณนั้นจะเกิดเปนพิษได 2.6 การเพาะปลูก ดินที่ใชในการเพาะปลูกเปนเวลานาน ๆ โดยมิไดคํานึงถึงการบํารุงรักษา อยางถูกวิธีจะทําใหแรธาตุในดินถูกใชหมดไป จนในที่สุดไมอาจปลูกพืชไดอีก
  • 13. 2.7 การหักรางถางปา เปนผลทําใหเกิดความเสียหายกับดินไดทําใหดินปราศจากพืชปกคลุม หรือไมมีรากของพืชยึดเหนี่ยว เกิดการสูญเสียหนาดินและเกิดการพังทลายไดงาย ในที่สุดบริเวณนั้นจะ กลายเปนที่แหงแลง เมื่อมีฝนตกก็จะเกิดพายุอยางรุนแรงและมี น้ําทวมฉับพลันได ดังตัวอยางความเสียหายใน จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2531 ความเสียหายในจังหวัดชุมพรและประจวบคีรีขันธ เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2532 (สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2535:77-78) 2.3.2 ผลกระทบจากมลพิษทางดิน 1. อันตรายตอมนุษย ดินทําใหเกิดพิษตอมนุษยโดยทางออม เชน พิษจากไนเตรต ไนไตรต หรือยา ปราบศัตรูพืช โดยไดรับเขาไปในรูปของน้ําดื่มที่มีสารพิษปะปน โดยการรับประทาน พืชผักที่ปลูกในดินที่มี การสะสมตัวของสารที่มีพิษ 2. อันตรายตอสัตว ดินที่เปนพิษทําใหเกิดอันตรายตอสัตวคลายคลึงกับของมนุษย แตสัตวมี โอกาส ไดัรับพิษมากกวา เพราะกินนอน ขุดคุย หาอาหารจากดินโดยตรง นอกจากนี้การ ใชยาฆาแมลงที่ไมถูกหลัก วิชาการยังเปนการทําลายแมลงที่เปนประโยชน เชน ตัวห้ํา ทําใหผลผลิตทางการเกษตรลดลงได 2.4 สาเหตุและผลกระทบของมลพิษทางอากาศ 2.4.1 สาเหตุของมลพิษทางอากาศ สาเหตุของการเกิดมลพิษทางอากาศที่สําคัญมีดังนี้ 1. ยานพาหนะที่ใชเครื่องยนต รถยนตเปนแหลงกอปญหาอากาศเสียมากที่สุด สารที่ออกจาก รถยนต ที่สําคัญไดแก คารบอนมอนอกไซด ไฮโดรคารบอน ออกไซดของไนโตรเจน และของกํามะถัน สารพวก ไฮโดรคารบอนนั้น ประมาณ 55 % ออกมาจากทอไอเสีย 25 % ออกมาจากหองเพลา ขอเหวี่ยง และอีก 20 % เกิดจากการระเหยในคารบูเรเตอร และถังเชื้อเพลิง ออกไซดของไนโตรเจนคือ ไนตริกออกไซด (NO) ไนโตรเจนไดออกไซด (NO2) และไน ตรัสออกไซด (N2O) เกือบทั้งหมดออกมาจากทอไอเสีย เปนพิษตอ มนุษยโดยตรง นอกจากนี้สารตะกั่วในน้ํามันเบนซินชนิดซุปเปอรยังเพิ่มปริมาณตะกั่วในอากาศอีกดวย 2. ควันไฟ และกาซพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม - จากโรงงานผลิตสารเคมี ไดแก โรงกลั่นน้ํามัน โรงผลิตไฟฟา โรงงานทําเบียร โรงงาน สุรา โรงงานน้ําตาล โรงงานกระดาษ โรงงานถลุงแร โรงงานยอมผา โรงงานทําแกว โรงงานผลิตหลอดไฟ โรงงานผลิตปุย และโรงงานผลิตกรด - พลังงานที่เกิดจากสารเผาไหมเชื้อเพลิง เชน ถานหิน น้ํามัน กาซธรรมชาติ ทําใหเพิ่มสาร ตาง ๆ ในอากาศ อาทิ สารไฮโดรคารบอนตาง ๆ ออกไซดของไนโตรเจน และ กํามะถันในบรรยากาศ 3. แหลงกําเนิดฝุนละอองตาง ๆ ไดแก บริเวณที่กําลังกอสราง โรงงานทําปูนซีเมนต โรงงาน โมหิน โรงงานทอผา โรงงานผลิตโซดาไฟ เหมืองแร เตาเผาถาน โรงคาถาน เมรุเผาศพ 4. แหลงหมักหมมของสิ่งปฏิกูล ไดแก เศษอาหาร และขยะมูลฝอย 5. ควันไฟจากการเผาปา เผาไรนา และจากบุหรี่
  • 14. 6. การทดลองอาวุธนิวเคลียร กอใหเกิดละอองกัมมันตรังสี 7. การตรวจและรักษาทางรังสีวิทยา การใชเรดิโอไอโซโทป ที่ขาดมาตรการที่ถูกตองในการ ปองกัน สภาวะอากาศเสีย 8. อากาศเสียที่เกิดจากปรากฏการณทางธรรมชาติ เชน ภูเขาไฟระเบิด แผนดินไหว ไฟปา กัมมันตรังสีที่เกิดตามธรรมชาติ กาซธรรมชาติ เปนตน ความเปนพิษเนื่องจากสาเหตุขอนี้คอนขาง นอยมาก เนื่องจากตนกําเนิดอยูไกล จึงเขาสูสภาวะแวดลอมของมนุษยและสัตวไดนอย 2.4.2 ผลกระทบของมลพิษทางอากาศ 1. ทําลายสุขภาพ อากาศเสียทําใหเกิดโรค แพอากาศ โรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ โรค เกี่ยวกับการ ไหลเวียนของโลหิต ผลที่เกิดในระยะยาวอาจทําใหถึงตายได 2.ทําลายสิ่งกอสราง และเครื่องใชโดยเฉพาะสิ่งกอสรางที่ทําดวยโลหะทําใหเกิดการสึกกรอน ทําให หนังสือและศิลปกรรมตาง ๆ เสียหาย 3. ทําใหทัศนวิสัยเลวลง และมีผลทําใหอุณหภูมิอากาศลดต่ําลงกวาปกติได ทัศนวิสัยเลวลง กอใหเกิด อุบัติเหตุทั้งในอากาศ ทองถนน และทองน้ํา 2.5 สาเหตุและผลกระทบของมลพิษทางขยะ 2.5.1 สาเหตุของมลพิษทางขยะ ขยะเปนปญหาสําคัญของหลาย ๆ ทองถิ่นเกือบทั่วโลก ขยะสวนใหญมักจะถูกทิ้งลงในดิน ขยะบาง ชนิดสลายตัวใหสารประกอบอินทรียและสารประกอบอนินทรียแตขยะบางชนิดสลายตัวยากเชน หนัง พลาสติก โลหะ ฯลฯ ขยะประเภทนี้ถาทําลายโดยการเผาจะไดสารประกอบ ประเภทเกลือเชน เกลือไนเตรต สะสมอยูในดินเปนจํานวนมากขยะที่ไดเกิดกระบวนการ ผลิตทางอุตสาหกรรม โดยเฉพาะขยะจากเทคโนโลยี อุตสาหกรรมกําลังเพิ่มขึ้นอยาง รวดเร็ว มีความเปนพิษสูงและยอยสลายยากเชน ขยะจากโรงงานอุตสาหกรรม ที่มี โลหะหนัก เชน ตะกั่ว ปรอท แคดเมียม เมื่อทิ้งลงดินทําใหดินบริเวณนั้นมีโลหะหนัก สะสมอยูมาก สําหรับในประเทศไทยเทาที่มีรายงานพบวา มีการเสื่อมคุณภาพ ของดินจากตะกั่วเนื่องจากโรงงานถลุงตะกั่ว จากซากแบตเตอรี่เกาที่จังหวัดสมุทรปราการ นําเอากากตะกั่วที่ไมไดใชประโยชนมาถมทําถนน ทําใหดิน บริเวณนั้นเกิดสภาพเปนพิษ เปนอันตรายตอพืชและ ผูบริโภคนอกจากนี้ประเทศไทยยังประสบปญหาขยะ อุตสาหกรรมที่นําเขามาจากตางประเทศ ในรูปของสินคาเครื่องใชไฟฟา อะไหลอุตสาหกรรม เชน ยางรถยนต เกา แบตเตอรี่เกา ถุงมือยางใชแลว ถูกนําเขามาทิ้งในประเทศไทยอีกเปนจํานวนมากมาย
  • 15. 2.5.2 ผลกระทบจากมลพิษทางขยะ 1. อากาศเสีย เกิดจากการเผาขยะกลางแจงกอใหเกิดควันและสารพิษทางอากาศ ทําให คุณภาพอากาศ เสื่อมโทรม 2.น้ําเสีย เกิดจากการกองขยะบนพื้น เมื่อฝนตกลงมาบนกองขยะ จะเกิดน้ําเสียมีความ สกปรกมาก ไหลลงสูแมน้ํา 3. แหลงพาหะนําโรค เกิดจากการกองขยะบนพื้น ทําใหเกิดแหลงเพาะพันธุของหนูและ แมลงวัน เปนตน ซึ่งเปนพาหะนําโรคติดตอ ทําใหมีผลกระทบตอสุขภาพ อนามัยของ ประชาชน 4. เหตุรําคาญและความไมนาดู เกิดจากการเก็บขนขยะไมหมด รวมทั้งการกองขยะบนพื้น สงกลิ่น เหม็นรบกวนประชาชนและเกิดภาพไมสวยงาม ไมเปนสุนทรียภาพ นอกจากปญหาสิ่งแวดลอมขางตนแลว ขยะยังเปนตัวการเปนตัวการสําคัญสําหรับปญหาการ จัดการขยะของหนวยงานที่รับผิดชอบ ซึ่งจะตองเพิ่ม ปริมาณบุคลากร อุปกรณการจัดการขยะรวมทั้ง การใหความรูทางวิชาการและเทคโนโลยีแกเจาหนาที่เพิ่มขึ้น ตามการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะ
  • 16. บทที่ 3 การสราง การพัฒนา และการใชสิ่งประดิษฐ ในการสรางสิ่งประดิษฐอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน โดยคณะผูประดิษฐไดวางแผน ดําเนินงานดังตอไปนี้ 1. ศึกษาหาขอมูลจากตําราและเอกสาร 2. ศึกษาสภาพปญหาของการปฏิบัติงานเพื่อหาจุดออนที่ควรจะนํามาสรางสิ่งประดิษฐอุปกรณดัก ไขมันสําหรับอางลางจาน 3. เมื่อไดแนวทางที่จะสรางสิ่งประดิษฐจึงออกแบบชิ้นงาน 4. ดําเนินการจัดสรางตามแบบ 5. ทดลองการใชงาน 6. พัฒนาสิ่งประดิษฐ 7. นําไปใชงานจริง 3.1 การสรางสิ่งประดิษฐคนรุนใหมอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน 3.1.1 สรางสวนที่เปนชุดอางลางจานซึ่งไดตามแบบที่ออกไว รูปที่ 3.1 ภาพอางลางจาน
  • 17. 3.1.2 สรางสวนที่เปนชุดอุปกรณดักไขมัน รูปที่ 3.2 ชุดอุปกรณดักไขมัน 3.1.3 สรางสวนที่เปนทอน้ําเขาและทอน้ําออก รูปที่ 3.3 ภาพทอน้ําเขาและทอน้ําออก 3.1.4 สรางสวนที่เปนตะแกรงคัดแยกเศษอาหารและสวนที่ดักไขมัน รูปที่ 3.4 ตะแกรงคัดแยกเศษอาหารและสวนที่ดักไขมัน
  • 18. 3.1.5 ทดลองการทํางานของอุปกรณดักไขมันโดยตรงที่ละขั้นตอน รูปที่ 3.5 จัดเตรียมอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน รูปที่ 3.6 ทดลองการใชอุปกรณดักไขมันในอางลางจานและปลอยน้ําลงในอุปกรณดักไขมัน รูปที่ 3.7 ภาพการแยกเศษอาหารและการแยกไขมันของอุปกรณดักไขมัน
  • 19. 3.2 ทดลองใชการทํางานของอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน พรอมกับปรับตั้งอุปกรณอื่นๆ ใหเหมาะสมกับการทํางานจริง รูปที่ 3.8 ตรวจสอบอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจานใหพรอมใชงานและนําไปทดลอง การใชกับรานทําอาหาร รูปที่ 3.9 ทดลองการใชอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน รูปที่ 3.10 ภาพการติดตั้งของอุปกรณขณะใชงานจริงและการปลอยน้ําออกหลังจากดักไขมันแลว
  • 20. บทที่ 4 ผลการวิจัย 4.1 ผลการทดสอบการดักไขมัน จากการทดสอบการดักไขมัน สามารถแสดงผลความสามารถในการทํางานดังตาราง 4.1 เพื่อนํา ขอมูลการทดสอบอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจานแสดงผลดังตอไปนี้ ตาราง 4.1 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของอุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจาน ครั้งที่ ประสิทธิภาพในการทํางาน การดักไขมัน สิ่งเจือปนในน้ํา 1 2 3 4 5 ไดดี ไดดีมาก ไดดีมาก ไดดีมาก ไดดีมาก มี ไมมี ไมมี ไมมี ไมมี รวม ไดดีมาก ไมมี จากผลการทดสอบประสิทธิภาพการดักไขมันสําหรับอางลางจาน พบวา อุปกรณดักไขมันในอาง ลางจาน สามารถดักไขมันไดดีมากและไมมีสิ่งเจือปน เชน เศษอาหารปะปนออกมากับน้ําทิ้ง
  • 21. บทที่ 5 สรุปผล อภิปราบผลและขอเสนอแนะ รายงานผลการสรางอุปกรณดักไขมันในอางลางจาน จัดทําครั้งนี้โดยมีวัตถุประสงคเพื่อประเมินผล การดําเนินงานการสราง การพัฒนาและการใชอุปกรณดักไขมันในอางลางจาน โดยการทดสอบการทํางาน จริงปรากฏผลดังนี้ 5.1 สรุปผล สิ่งประดิษฐของคนรุนใหม อุปกรณดักไขมันสําหรับอางลางจานที่สรางขึ้นมีคุณภาพ ประสิทธิภาพ เหมาะสมที่จะใชประโยชนในการดักไขมันในอางลางจานในครัวเรือนไดจริง 5.2 อภิปรายผล จากการประเมินผลการสรางสิ่งประดิษฐของคนรุนใหม พบวาอุปกรณดักไขมันนี้ พบวา มีคุณภาพ ดีและประสิทธิภาพสูง ซึ่งเมื่อนําไปใชงานจริง ผูใชสวนใหญเห็นวา รูปแบบมีความเหมาะสม มีความ ปลอดภัยในการใชงาน การติดตั้งอุปกรณงาย มีขนาดและแข็งแรง ทนทาน สะดวกตอการใชงานใน ครัวเรือนไดจริง 5.3 ขอเสนอแนะ ควรนะนําแนววิธีการนี้ไปสรางผลงานสิ่งประดิษฐในสถานศึกษาอื่นและบุคคลทั่วไปที่สนใจ
  • 28. ประวัติคณะผูจัดทํา 1. นายอุทิศ ผลาชิต แผนกวิชายานยนต ระดับชั้น ปวส.2 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ 2. นายสกล สมศรี แผนกวิชายานยนต ระดับชั้น ปวส.2 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ 3. นายศักดิ์ดา บุญสงค แผนกวิชายานยนต ระดับชั้น ปวส.2 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ 4. นายยงยุทธ ปตะสายะ แผนกวิชายานยนต ระดับชั้น ปวส.2 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ 5. นายประยุทธ สมี แผนกวิชายานยนต ระดับชั้น ปวส.1 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ 6. นายสมภพ บุตรทน แผนกวิชายานยนต ระดับชั้น ปวช.3 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ 7. นายวินัย พลอามาตย แผนกวิชายานยนต ระดับชั้น ปวช. 3 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ 8. นายอํานาจ บุญลําไพ แผนกวิชายานยนต ระดับชั้น ปวช. 3 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ 9. นายพรชัย ประเคน แผนกวิชายานยนต ระดับชั้น ปวช. 3 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ 10. นายศักดิ์สิทธิ์ พันสิ้ว แผนกวิชายานยนต ระดับชั้น ปวช. 3 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ
  • 29. ประวัติครูที่ปรึกษา ชื่อ นายธีระพล บุญธรรม สถานที่อยูปจจุบัน 44/1 ต. โพธิ์ตาก กิ่งอําเภอ โพธิ์ตาก จังหวัดหนองคาย 43130 ตําแหนงหนาที่การงาน ครู คศ. 2 สถานที่ทํางานปจจุบัน วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ ตําบลวิศิษฐ อําเภอบึงกาฬ จังหวัดหนองคาย 43140 ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2540 ประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง ( ปทส. ) วิชาเอกเทคนิคยานยนต วิทยาลัยชางกลปทุมวันกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2545 ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต ( กศ.ม ) ภาคการวิจัยการศึกษา มหาวิทยาลัยสารคาม พ.ศ. 2546 ปริญญาบัตร (คอบ.เครื่องกล)สาขาวิชา วิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน ประสบการณ พ.ศ. 2541 เครื่องพลังงานแสงอาทิตยประยุกต รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ระดับภาค พ.ศ. 2543 เครื่องไลลมเบรกรถจักรยานยนต รางวัลชนะเลิศระดับภาค รางวัลชมเชยอันดับ 3 ระดับชาติ พ.ศ. 2544 เครื่องคั่วถั่วลิสง รางวัลชนะเลิศระดับภาค รางวัลชนะเลิศระดับชาติ (เผยแพรแกเกษตรกรจํานวน 5 เครื่อง) พ.ศ. 2545 เครื่องคั่วถั่วลิสง รางวัลชนะเลิศงานอาชีววิวัฒน เครื่องคั่วตมพัฒนา รางวัลรอง ชนะเลิศอันดับ 1 สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรเทคโนโลยี แหงชาติ (สวทช.) พ.ศ. 2546 เครื่องอัดวัสดุสําหรับการเพาะเห็ด (เผยแพรแกเกษตรกรจํานวน 1 เครื่อง) พ.ศ. 2546 เครื่องอัดวัสดุสําหรับการเพาะเห็ด รางวัลชนะเลิศระดับภาค รางวัลชนะเลิศ ระดับชาติ พ.ศ. 2547 เครื่องบดถัวลิสง รางวัลชนะเลิศระดับภาคและรางวัลชมเชยระดับชาติ พ.ศ. 2548 อุปกรณกดวาลวรถยนต รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 และรางวัลชมเชยระดับชาติ
  • 30. พ.ศ. 2549 เครื่องคั่วถั่วลิสง ไดรับรางวัลชนะเลิศ ประเภทที่ 1 ระดับภาคและรางวัลชนะเลิศ ระดับชาติ ครั้งที่ 18 ประจําปการศึกษา 2549 พ.ศ. 2550 อุปกรณกวนน้ํายางพารา รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550 พ.ศ. 2550 พิณจากวัสดุเหลื่อใช รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550 พ.ศ. 2550 เทียนไขมหัศจรรย รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550 พ.ศ. 2550 เครื่องเจาะลูกมะพราวออน รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550 พ.ศ. 2550 เครื่องหั่นกลวย รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550
  • 31. ประวัติครูที่ปรึกษา ชื่อ นายสุรชัย โกมาลย สถานที่อยูปจจุบัน 101 ถนนแสนประเสิรฐ-นาปาน ต.วิศิษฐ อ. บึงกาฬ จ.หนองคาย 43140 ตําแหนงหนาที่การงาน อาจารยพิเศษสอน สถานที่ทํางานปจจุบัน วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ ตําบลวิศิษฐ อําเภอบึงกาฬ จังหวัดหนองคาย 43140 ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2544 ประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง (ปทส.) วิชาเอกเทคนิคยานยนต วิทยาลัยเทคนิค หนองคาย พ.ศ. 2546 ปริญญาบัตร (คอบ.เครื่องกล)สาขาวิชา วิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน ประสบการณ พ.ศ. 2546 เครื่องอัดวัสดุสําหรับการเพาะเห็ด (เผยแพรแกเกษตรกรจํานวน 1 เครื่อง) พ.ศ. 2546 เครื่องอัดวัสดุสําหรับการเพาะเห็ด รางวัลชนะเลิศระดับภาค รางวัลชนะเลิศ ระดับชาติ พ.ศ. 2547 เครื่องบดถัวลิสง รางวัลชนะเลิศระดับภาคและรางวัลชมเชยระดับชาติ พ.ศ. 2548 อุปกรณกดวาลวรถยนต รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 และรางวัลชมเชยระดับชาติ พ.ศ. 2549 เครื่องคั่วถั่วลิสง ไดรับรางวัลชนะเลิศ ประเภทที่ 1 ระดับภาคและรางวัลชนะเลิศ ระดับชาติ ครั้งที่ 18 ประจําปการศึกษา 2549 พ.ศ. 2550 อุปกรณกวนน้ํายางพารา รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550 พ.ศ. 2550 พิณจากวัสดุเหลื่อใช รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550 พ.ศ. 2550 เทียนไขมหัศจรรย รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550 พ.ศ. 2550 เครื่องเจาะลูกมะพราวออน รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550 พ.ศ. 2550 เครื่องหั่นกลวย รางวัลชมเชยระดับสถาบัน ปการศึกษา 2550
  • 32. ประวัติครูที่ปรึกษา ชื่อ นายเสกสรร ไมเศรา สถานที่อยูปจจุบัน 101 ถนนแสนประเสิรฐ-นาปาน ต.วิศิษฐ อ. บึงกาฬ จ.หนองคาย 43140 ตําแหนงหนาที่การงาน ครูผูชวย สถานที่ทํางานปจจุบัน วิทยาลัยการอาชีพบึงกาฬ ตําบลวิศิษฐ อําเภอบึงกาฬ จังหวัดหนองคาย 43140