SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 21
Downloaden Sie, um offline zu lesen
๑
รายงานการสัมมนาระดับนานาชาติเรื่อง
Regional Economic Development Promotion for Developing Countries
ระหว่างวันที่ ๗-๒๗ กันยายน ๒๕๕๕ ณ กรุงปักกิ่ง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
รัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีนโดยผ่านกระทรวงพาณิชย์ได้อนุมัติทุนสัมมนาระดับนานาชาติเรื่อง
Regional Economic Development Promotion for Developing Countries ให้แก่ นายเชิญ ไกรนรา
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชานาญการ สังกัดสานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง สานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เพื่อเป็นผู้แทนฝุายไทยเข้าร่วมสัมมนา ณ Academy
for International Business Officials (AIBO) ระหว่างวันที่ ๗-๒๗ กันยายน ๒๕๕๕ ณ กรุงปักกิ่ง ประเทศ
สาธารณรัฐประชาชนจีน และศึกษาดูงานการพัฒนาที่จังหวัดซานซีและเขตปกครองพิเศษเซี่ยงไฮ้ โดยมี
ผู้เข้าร่วมสัมมนาจานวน ๔๑ คน จาก ๒o ประเทศ ซึ่งเป็นตัวแทนประเทศกาลังพัฒนาจากภูมิภาคเอเชีย
แอฟริกา ยุโรปตะวันออก อมริกาใต้และหมู่เกาะแปซิฟิก ผลการสัมมนาสรุปได้ดังนี้
๑.สภาพทั่วไปของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน บรรยายโดยอดีตนักการทูตอาวุโสของกระทรวงการ
ต่างประเทศของจีน
๑.๑ สภาพภูมิประเทศและทรัพยากร ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนมีพื้นที่ ๙.๖ ล้าน ตร.กม. หรือคิด
เป็น ๑ ใน ๔ ของพื้นที่ทั้งทวีปเอเชีย หรือ ๑ ใน ๕ ของพื้นที่ทั้งโลก มีขนาดพื้นที่ใหญ่กว่าประเทศไทย ๑๘
เท่า มีประชากร ๑,๓๗๑ ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ ๒ o ของประชากรโลก มีชนกลุ่มน้อยจานวน ๕๖ เผ่า
ความหนาแน่นของประชากร ๑๑๗ คน ต่อ ตร.กม.ประชากรที่อาศัยอยู่ในเมืองเพิ่มจากร้อยละ ๒๙ .o๔ ในปี
๒๕๓๘ เป็นร้อยละ ๔๖.๖o ในปี ๒๕๕๒ พื้นที่ทาการเกษตรมีประมาณ ๑๒๒ ล้านเฮกตาร์ หรือคิดเป็นร้อยละ
๑๒ ของพื้นที่เกษตรทั้งโลก พื้นที่ปุาไม้ มีประมาณร้อยละ ๒ o.๓๖ ของทั้งโลก มีแม่น้าแยงซีมีความยาวมาก
ที่สุดในประเทศประมาณ ๖,๔o๓ กม. ตามด้วยแม่น้าเหลืองระยะทางยาวประมาณ ๕,๔๖๔ กม. ความยาวของ
ชายฝั่งทะเลประมาณ ๑๘,ooo กม. มีเกาะในทะเลประมาณ ๖,๕oo เกาะ มีการนาเข้าพลังงานประมาณร้อย
ละ ๑o ของความต้องการพลังงานทั้งประเทศ และมี ๕ เขตเวลา
๑.๒ ระบบการเมือง คณะกรรมการประชาชนเป็นระบบการเมืองที่เป็นพื้นฐานที่สาคัญที่สุดของประเทศ
โดยมีคณะกรรมการที่ประชุมสภาประชาชน เป็นองค์กรการบริหารที่มีอานาจมากที่สุดในประเทศ และมี
คณะทางานแต่ละฝุายช่วยบริหารจัดการ โดยมีพรรคคอมมิวนิสต์จีนเป็นพรรคการเมืองหลักและมีการ
ปรึกษาหารือกับพรรคการเมืองประชาธิปไตยอื่นๆอีกหลายพรรค หน้าที่หลักของคณะกรรมการที่ประชุมสภา
ประชาชนคือการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ติดตามการดาเนินงานตามรัฐธรรมนูญ กาหนดและแก้ไขกฎหมายพื้นฐานที่
เกี่ยวกับอาญา กิจการพลเรือน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของภาครัฐ ทบทวนและอนุมัติแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ และรายงานการวางแผนที่เกี่ยวกับการดาเนินงาน ทบทวนและอนุมัติงบประมาณภาครัฐ
และรายงานการใช้จ่ายงบประมาณ เลือกตั้งประธานธิบดีของประเทศ ประธาน คณะกรรมาธิการทหารกลาง
ประธานศาลสูงประชาชนกลาง โดยประธานอัยการสูงสุดที่ทาหน้าที่ เสนอชื่อผู้สมควรได้รับการ เลือกเป็น
ประธานาธิบดี
๒
๑.๓ ระบบการบริหาร
คณะกรรมการแห่งรัฐ ประกอบด้วย ประธานาธิบดี รองประธานาธิบดี ที่ปรึกษาแห่งรัฐ และ
หน่วยงานภาครัฐต่างๆ โดยคณะกรรมการแห่งรัฐมีอานาจหน้าที่ออก กฎระเบียบด้านการบริหาร คาตัดสินใจ
และประกาศต่างๆ กากับดูแลองค์การบริหารภาครัฐระดับท้องถิ่น จัดเตรียมและดาเนินการ ตามแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนงบประมาณแห่งชาติ การดาเนินงานด้านเศรษฐกิจ การก่อสร้างทั้งในพื้นที่
เมืองและชนบท การศึกษา วิทยาศาสตร์ วัฒนธรรม สาธารณสุข การวางแผนครอบครัว กิจการพลเรือน การ
รักษาความมั่นคงแห่งรัฐ การบริหารงานยุติธรรม กิจการต่างประเทศและทาความตกลงด้านสนธิสัญญาและ
ข้อตกลงกับต่างประเทศ และการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ โดยกฎหมายกาหนดให้ประชาชนทุก
คนเป็นกาลังพลสารองทางทหารของประเทศ ปัจจุบันประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน มีความสัมพันธ์ทางการ
ทูตกับ ๑๗๑ ประเทศทั่วโลก
เขตการปกครองของจีนแบ่งการบริหารออกเป็น ๕ ระดับ คือ
(๑) ระดับมณฑล ประกอบด้วย ๒๒ มณฑล (แต่ละมณฑลมีจานวนประชากรอยู่ระหว่าง ๘-๙o ล้าน
คน) ถ้ารวมไต้หวันเป็น ๒๓ มณฑล ๕ เขตปกครองตนเองคือ กว่างสีจ้วง มองโกเลียใน หนิงเซี่ย ซินเจียง และ
ทิเบต ๔ เทศบาลนคร (แต่ละเทศบาลนครมีจานวนประชากรอยู่ระหว่าง ๑ o-๓o ล้านคน) คือ ปักกิ่ง จุงกิง
เซี่ยงไฮ้ และเทียนสิน ๒ เขตบริหารพิเศษคือ ฮ่องกงและมาเก๊า
(๒) ระดับจังหวัด ประกอบด้วย ๑๗ จังหวัด ๓o เขตปกครองตนเอง (จังหวัด) ๒๘๓ Prefecture-
Level Cities และ ๓ Leagues
(๓) ระดับอาเภอ ประกอบด้วย ๑,๔๖๔ เทศบาลมณฑล ๑๑๗ เขตปกครองตนเอง (เทศบาลมณฑล)
๓๗๔ County-level cities ๘๕๒ เขต ๔๙ Banners ๓ Autonomous banners ๑ พื้นที่ปุา และ ๒ เขต
พิเศษ
(๔) ระดับตาบล ประกอบด้วย ๑๔,๖๗๗ ตาบล ๑,o๙๒ หมู่บ้านชนเผ่า ๑๙,๕๒๒ เมือง ๖,๑๕๒ Sub-
district ๑๑ District public office ๑๘๑ Sumu และ ๑ Ethnic sumu
(๕) ระดับหมู่บ้าน ประกอบด้วย คณะกรรมการละแวกบ้าน (ละแวกบ้านและชุมชน ) และ
คณะกรรมการหมู่บ้านหรือกลุ่มหมู่บ้าน (การบริหารหมู่บ้านและหมู่บ้านธรรมชาติ ) ซึ่งรัฐบาลสาธารณรัฐประ
ชานจีนมีนโยบายจะยุบรวมการปกครองระดับตาบลและระดับหมู่บ้านเข้าด้วยกันในอนาคต
๑.๔ การปฏิรูปและการเปิดประเทศ
๑) การปฏิรูปภายในประเทศ โดยการตั้งและการพัฒนาระบบเศรษฐกิจการตลาดแบบสังคมนิยม ซึ่งมี
ลักษณะเฉพาะตัวที่สาคัญคือการบูรณาการของหลักการระบบการเมืองแบบสังคมนิยมกับระบบเศรษฐกิจ
การตลาด ปัจจุบันระบบเศรษฐกิจของภาคเอกชนได้ขยายตัวอย่างรวดเร็วและมีบทบาทสาคัญที่สุดต่อระบบ
เศรษฐกิจของประเทศ และหลักการของระบบการกระจายรายได้ตั้งแต่ขั้นตอนพื้นฐานของสังคมนิยมที่เน้นการ
กระจายของงานและการมีความหลากหลายของรูปแบบการกระจายรายได้
๒) การสร้างระบบเศรษฐกิจแบบเปิด ซึ่งประเทศจีนได้ประสบความสาเร็จอย่างสูงและทาให้เป็น
ต้นแบบของเศรษฐกิจแบบเปิดในโลกที่ใช้วิธีการแบบก้าวหน้าในพื้นที่เปิด เปูาหมายต่างๆ การเปิดในทุกมิติให้
มากขึ้นทั้งในเชิงกว้างและเชิงลึก การใช้ประโยชน์จากการลงทุนจากต่างประเทศให้มีประสิทธิภาพ โดยเมื่อปี
๓
๒๕๔๑ ได้กาหนดนโยบายการ ก้าวออกไปทั่วโลก (Go Global) ซึ่งเป็นการใช้ประโยชน์สูงสุดของการ
ผสมผสานกันระหว่างเงินทุน เทคโนโลยี การจัดการ วัตถุดิบ และทรัพยากรการตลาดในระดับระหว่างประเทศ
และความสอดคล้องอย่างลงตัวของความได้เปรียบอย่างสมบูรณ์และความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ การ
เชื่อมโยงโดยตรงเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับโลก ซึ่งมีโอกาสใหญ่ ๒ โอกาสที่ประเทศจีนเสนอให้
ตลาดโลกคือ การเป็นตลาดการรับจ้างผลิตสินค้า (Out-sourcing market) ที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพสูง
แต่ต้นทุนต่า และตลาดภายในประเทศจีนที่มีศักยภาพขนาดใหญ่ซึ่งมีประชากร ๑.๓ พันล้านคน ซึ่งประเทศจีน
ได้ใช้ยุทธศาสตร์ ๓ แนวทางในการส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการค้ากับประเทศอื่นๆ คือการ
สนับสนุนความร่วมมือการค้าเสรีระดับภูมิภาคและระดับทวิภาคีคู่ขนานไปกับความร่วมมือการค้า ระดับพหุ
ภาคี การพัฒนาการค้าต่างประเทศโดยมูลค่าการค้าระหว่างประเทศของจีนในปี ๒๕๕๒ มีมูลค่าประมาณ ๒ ,๒
oo พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ตลอดทั้งการให้ความช่วยเหลือต่างประเทศประมาณ ๒ ,๒oo โครงการ และได้เชิญ
เจ้าหน้าที่จากต่างประเทศเข้ารับการฝึกอบรม ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ประมาณ ๑oo,ooo คน
และได้ส่งผู้เชี่ยวชาญจากประเทศสาธารณรัฐประชาชน จีนไปต่างประเทศจานวน ๒o,ooo คน โดยนโยบาย
การต่างประเทศของจีนอยู่บนพื้นฐานของ ๕ หลักการ คือ การเคารพบูรณภาพอย่างเสมอภาค การไม่
แทรกแซงกิจการภายใน ความเสมอภาค ผลประโยชน์ที่เท่าเทียมกัน และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ และ
ประเทศจีนเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกอย่างสมบูรณ์เมื่อปี ๒๕๔๔
๒.ลักษณะเฉพาะของเศรษฐกิจและการค้าโลกในปัจจุบัน บรรยายโดย Liang Yanfen จาก Chinese
Academy of International Trade and Economic Cooperation ประกอบด้วย ๔ ลักษณะคือ
๒.๑ ความเสี่ยงต่อความซบเซาของเศรษฐกิจโลกเพิ่มสูงขึ้น ตั้งแต่ปี ๒๕๕๔ เศรษฐกิจโลกได้พื้นตัวอย่าง
ต่อเนื่องแต่ ฟื้นตัวอย่างช้าๆ แต่ปัญหาพื้นฐานของวิกฤตการเงินทั่วโลกยังไม่ได้รับการแก้ปัญหาอย่างมี
ประสิทธิภาพ และยังมีปัญหาที่พัฒนาขึ้นใหม่ๆและมีปัจจัยที่ไม่แน่นอนเพิ่มมากขึ้น ทาให้กระบวนการฟื้นตัว
เกิดความไม่สมดุล เปราะบาง และทาให้เกิดความเสี่ยง ที่จะเกิดปัญหาเศรษฐกิจซบเซาเพิ่มสูงขึ้น ในปี ๒๕๕๕
มีการคาดการณ์ว่าเศรษฐกิจโลกจะพื้นตัวอย่างต่อเนื่องแต่จะเติบโตอย่างช้าๆ ปัญหาวิกฤตการเงินกิจโลกได้
เกิดขึ้นมาแล้ว ๓ ปี ทาให้เกิดผลกระทบอย่างรุนแรงและยังคงประสบอยู่อย่างต่อเนื่อง จากผลกระทบจาก
ปัญหาเก่าและใหม่เศรษฐกิจโลกจะขยายตัวในอัตราที่ต่าในระยะยาว โดยมีเหตุผลหลักคือ
๑) ความเสี่ยงด้านปัญหาวิกฤตหนี้สาธารณะสาหรับ ประเทศพัฒนาแล้วมีมากขึ้น โดยเฉพาะหนี้
สาธารณะจานวนมากที่ไม่เคยมีมาก่อนในประเทศแถบยุโรป ความเชื่อมั่นทางการตลาดทาให้เกิดความ
สั่นสะเทือนเป็นอย่างมากต่อตลาดการเงิน ห่วงโซ่หนี้สินของประเทศสมาชิกมีความเชื่อมโยงกันทางเศรษฐกิจ
อย่างใกล้ชิด ทาให้มีแนวโน้มที่จะทาให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจมากยิ่งขึ้นและฉุดรั้งระบบการเงินและเศรษฐกิจที่
แท้จริงให้ชะลอตัว สาเหตุของปัญหาวิกฤตหนี้ของประเทศแถบยุโรปเกิดมาจากนโยบาย “รายได้สูงและ
สวัสดิการสูง” ในช่วงเริ่มต้นนโยบายดังกล่าวเป็นผลดีต่อการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจและเสถียรภาพทางสังคม
อย่างไรก็ตามก็ทาให้เกิดปัญหาภาระทางงบประมาณอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้จากการเพิ่มขึ้นของจานวน
ประชากรผู้สูงอายุ บางประเทศไม่สามารถตอบสนองความต้องการได้อย่างเพียงพอและจาเป็นต้องพึ่งพาการ
ก่อหนี้ ปัญหาวิกฤตการเงินโลกกลายเป็นสาเหตุโดยตรงของวิกฤตและจะเกิดผลกระทบสะสมไปอีกหลายสิบปี
๒) การขาดการขับเคลื่อนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก อัตราการว่างงานที่มีอยู่สูงในประเทศที่พัฒนา
๔
แล้วหลายประเทศ ความเสื่อมถอยของตลาดอสังหาริมทรัพย์และความต้องการที่ลดลงสาหรับการบริโภคและ
การลงทุน จุดการเติบโตที่เกิดจากนวัตกรรมทางเทคโนโลยียังไม่มีการก่อตัว ในปัจจุบันช่องทางสาหรับ
นโยบายงบประมาณและนโยบายการเงินมีจากัด ในขณะที่เศรษฐกิจของประเทศที่เป็นตลาดใหม่ๆประสบ
ปัญหาความกดดันจากอัตราเงินเฟูอที่เพิ่มสูงขึ้นและเศรษฐกิจมีการขยายตัวที่ลดลง รูปแบบของการขาดดุล
งบประมาณ การมีหนี้สินจานวนมาก การลงทุนที่มีความเสียงสูงและมีการบริโภคสูงซึ่งเกิดขึ้นในประเทศ
พัฒนาแล้วไม่สามารถเกิดขึ้นได้อีกต่อไป จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการปรับตัวในระยะยาว และประเทศ
ที่เป็นตลาดใหม่ก็จะประสบปัญหาการปรับตัวที่ยุ่งยากและซับซ้อนมากกว่า
๓) มีความยากในการบรรเทาปัญหาเงินเฟ้อของโลก ประเทศพัฒนาแล้วส่วนใหญ่ส่งเสริมการผ่อน
คลายนโยบายด้านการเงิน ธนาคารกลางของยุโรปรักษาระดับอัตราดอกเบี้ยต่าและจะเปิดเผยแผนปฏิบัติการ
ด้านการเงินระยะยาว ส่วนสหรัฐอเมริกาได้ประกาศว่าจะรักษาอัตราดอกเบี้ยต่าจนถึงปี ๒๕๕๗ ในอนาคต
ความเสี่ยงของการเคลื่อนย้ายเงินทุนทั่วโลกขนาดใหญ่และผิดปกติจะเพิ่มขึ้น ซึ่งตลาดสินค้าจะมีการ
เคลื่อนไหวบ่อยๆและแนวโน้มเงินเฟูอของโลกจะเป็นไปในทางลบ
๔) ปัจจัยที่ไม่เกี่ยวข้องทางด้านเศรษฐกิจมีเพิ่มขึ้น ปัญหาวิกฤตการเงินโลกที่กาลังเกิดขึ้นจะส่งผล
กระทบมากขึ้นต่อเสถียรภาพทางสังคมและปัญหาต่างๆ เช่น เงินเฟูอ การว่างงาน ความมั่นคงทางสังคมและ
ความเหลื่อมล้าจะเป็นสาเหตุให้เกิดความไร้เสถียรภาพทางการเมืองและความขัดแย้งทางสังคมอย่างรุนแรง
รวมทั้งเพิ่มจุดความเสี่ยงมากขึ้น ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้จะเป็นสาเหตุให้เกิดผลกระทบอย่างรุนแรงต่อเศรษฐกิจ
โลก
สถานการณ์เศรษฐกิจของแต่ละภูมิภาคที่สาคัญมีดังนี้
 เศรษฐกิจอเมริกา ในปี ๒๕๕๔ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาหดตัวอย่างเห็นได้ชัด อัตราการ
ขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศทั้งปีร้อยละ ๑.๗ น้อยกว่าร้อยละ ๓ เมื่อเปรียบเทียบกับปี
๒๕๕๓ และเศรษฐกิจอเมริกามีแนวโน้มฟื้นตัวโดยเฉพาะในภาคอสังหาริมทรัพย์ เหตุผลหลักที่ทาให้เศรษฐกิจ
ของอเมริกามีความอ่อนแอคือ (๑) การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจที่มีรัฐบาลให้การสนับสนุนเป็นหลักไม่สามารถ
หลีกเลี่ยงการถูกฉุดรั้งโดยการผ่อนหรือการถอนความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องของรัฐบาล (๒) อัตราการว่างงาน
ที่สูงขึ้น การเพิ่มขึ้นของอัตราการออมและลดลงของการบริโภค (๓) อุตสาหกรรมการผลิตและการขยายตัว
ทางเศรษฐกิจทั้งหมดมีอุปสรรคอย่างต่อเนื่องจากความความเสื่อมถอยของตลาดอสังหาริมทรัพย์ (๔) วิกฤต
หนี้ยุโรปที่ควบคุมไม่ได้ ความไร้เสถียรภาพของตลาดการเงิน ความเชื่อมั่นของนักลงทุนที่ลดลงและมูลค่า
การค้าที่ลดลงในตลาดหุ้นสหรัฐฯ
 Eurozone ได้รับผลกระทบจากวิกฤตหนี้สาธารณะของยุโรป เศรษฐกิจในเขต Eurozone ไม่มี
เสถียรภาพในปี ๒๕๕๔ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศขยายตัวร้อยละ ๒.๔ เมื่อเทียบกับปี ๒๕๕๓ โดยมี
ประเทศเยอรมันและฝรั่งเศสเป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ปัจจุบันมีความจาเป็นเร่งด่วนในการเสริมสร้างความ
เชื่อมั่นของตลาด แต่กระนั้นก็ตามก็มีความสาคัญสาหรับประเทศอื่นๆและสหภาพยุโรปเพื่อหามาตรการในการ
จัดการกับวิกฤตการเงิน ซึ่งสมาชิกสหภาพยุโรป ๒๕ ประเทศ ได้ลงนามใน “สัญญาทางการเงิน ” เพื่อสร้าง
ความเชื่อมั่นทางการตลาด และคาดการณ์ว่าสหภาพยุโรปจะจัดการปัญหาวิกฤตหนี้สาธารณะได้และเศรษฐกิจ
๕
ของสภาพยุโรปจะมีความยุ่งยากและถดถอยแต่จะไม่พังทลาย ซึ่งสหภาพยุโรปจะไม่ลดการบูรณาการ ทาง
เศรษฐกิจแต่การบูรณาการจะทาได้ช้าลง และสหภาพยุโรปจะยังคงเป็นมหาอานาจทางการเมืองและเศรษฐกิจ
ของโลก
 ญี่ปุ่น เนื่องจากได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สึนามิและการรั่วไหล
ของนิวเคลียร์ ทาให้เศรษฐกิจญี่ปุุนถดถอยอีกครั้งตั้งแต่เดือนมีนาคม ๒๕๕๔ ภาคธุรกิจได้รับผลกระทบอย่าง
รุนแรงเนื่องจากการส่งออกลดลงอย่างมาก จากข้อมูลของ OECD เมื่อปี ๒๕๕๔ การส่งออกในรอบสี่ไตรมาส
เปรียบเทียบกับปี ๒๕๕๓ ลดลงร้อยละ o.๑ % ๑.๗ % o.๖% และ ๑.o % ตามลาดับ
 ประเทศที่เป็นตลาดใหม่ (Emerging Markets) และประเทศกาลังพัฒนา ในปี ๒๕๕๔ เศรษฐกิจ
ของประเทศที่เป็นตลาดใหม่และประเทศกาลังพัฒนาสามารถรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจได้ เศรษฐกิจของ
ประเทศจีนขยายตัวร้อยละ ๙.๒ % และรัสเซียร้อยละ ๔.๑ ในระยะสองปีข้างหน้า จีน อินเดีย บราซิล จะนา
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก อย่างไรก็ตามเศรษฐกิจของประเทศที่เป็นตลาดใหม่ก็ประสบกับแรงกดดันมากขึ้น
ต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ รวมทั้งการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าหลัก แรงกดดันมากขึ้นจากเงินเฟูอ และความ
เป็นไปได้ของการไหลเข้าของเงินร้อนที่เกิดจากนโยบายทางการเงินที่เข้มงวดและการเพิ่มอัตราดอกเบี้ย
ปัญหาทางเศรษฐกิจในประเทศพัฒนาแล้วได้ฉุดรั้งการส่งออกจากประเทศกาลังพัฒนาของภูมิภาคเอเชียให้
ลดลง ซึ่ง IMF ได้คาดการณ์ว่าการส่งออกจากเศรษฐกิจกลุ่มนี้จะขยายตัวร้อยละ ๖.๒ ในปี ๒๕๕๔ ซึ่งลดลง
ร้อยละ ๗.๓ จากปี ๒๕๕๓ และขยายตัวร้อยละ ๕.๔ ในปี ๒๕๕๕ และร้อยละ ๕.๙ ในปี ๒๕๕๖
๒.๒ ช่องว่างที่แคบลงสาหรับเครื่องมือทางนโยบายในประเทศพัฒนาแล้ว ระหว่างปี ๒๕๕๑-๒๕๕๓
ประเทศพัฒนาแล้วส่วนใหญ่ทางานด้วยกันเพื่อพยุงตลาด แต่ปัจจุบันช่องว่างของนโยบายโดยทั่วๆ ไปแคบลง
ธนาคารกลางของยุโรปและคณะกรรมาธิการยุโรปไม่สามารถบรรลุข้อตกลงเกี่ยวกับข้อเสนอแผนการฟื้นฟู
ประกอบกับแผนงบประมาณของรัฐบาลสหรัฐฯและแผนสิ่งจูงใจทางเศรษฐกิจใหม่ๆก็มีความยุ่งยากในการ
จัดทา ประเทศที่เป็นตลาดใหม่จึงได้หารือที่จะซื้อหนี้ของยุโรปเพื่อปรับปรุงความเชื่อมั่นของตลาด เพื่อให้
ประเทศเหล่านั้นหลุดพ้นจากวิกฤตด้วย สิ่งเหล่านี้เกิดจากปัญหาต่างๆ จากนโยบายรัฐบาลและนโยบายด้าน
การคลัง เมื่อปัญหาวิกฤตการเงินภาคอสังหาริมทรัพย์เริ่มต้นขึ้น จานวนเงินกู้รวมของรัฐบาลสหรัฐฯ มี
ประมาณ ๘.๙ ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยมีอัตราหนี้สินประมาณร้อยละ ๖๕ ขณ ะที่ปัจจุบันมีจานวนเงินกู้
๑๔ ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ มีอัตราหนี้สินเกือบ ๑oo % ซึ่งมีความคล้ายคลึงกันกับกรณีของยุโรปและญี่ปุุน
ด้วยเหตุนี้ปัจจุบันหลายๆ ประเทศจาเป็นต้องลดการขาดดุลงบประมาณและเพิ่มการเก็บภาษี
๒.๓ ความท้าทายใหม่ๆ ในวิกฤตหนี้สาธารณะของยุโรป ตั้งแต่ปี ๒๕๕๔ วิกฤตหนี้สาธารณะของกรีซ
ไอร์แลนด์และโปรตุเกสทาให้เกิดความเสื่อมถอย และวิกฤตหนี้ในประเทศอิตาลีและสเปนเกิดขึ้นตามมา ซึ่งทา
ให้เกิดความสั่นสะเทือนอย่างรุนแรงต่อตลาดการเงิน ห่วงโซ่หนี้สินของประเทศสมาชิกต่างๆถูกเชื่อมโยงเข้าหา
กันและมีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจอย่างใกล้ชิด ซึ่งทาให้เกิดความเป็นไปได้ของวิกฤตจะมีมากขึ้นและฉุดรั้ง
ระบบธนาคารและเศรษฐกิจที่แท้จริงมากขึ้น ปัจจุบันภารกิจที่สาคัญอย่างหนึ่งของประเทศพัฒนาแล้วคือการ
ลดงบประมาณรัฐบาลและการขาดดุลงบประมาณเพื่อปรับปรุงความเชื่อมั่นของตลาดและกระตุ้นการขยายตัว
ทางเศรษฐกิจ นโยบายหลักคือ การลดหนี้สาธารณะและการขาดดุลงบประมาณ ส่งเสริมการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจและโอกาสในการสร้างงาน ปัญหาวิกฤตหนี้สาธารณะของยุโรปซึ่งขาดการตัดสินใจเพื่อหาทางออก
๖
อย่างเด็ดขาดและบั่นทอนตลาดเงินกู้ทั่วโลก จะทาให้เกิดผลกระทบภายนอกและกระทบต่อเศรษฐกิจของ
ประเทศที่เป็นตลาดใหม่ อย่างไรก็ตามการปรับนโยบายด้านการคลังของสหรัฐฯในช่วงแรกจะส่งผลให้เกิดผล
กระทบต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจและจะลดความเชื่อมั่นของตลาดในระยะปานกลาง ซึ่งการขยายตัวของ
เศรษฐกิจโลกในปี ๒๕๕๕ จะขึ้นอยู่กับว่าประเทศพัฒนาแล้วสามารถควบคุมปัญหาวิกฤตหนี้สาธารณะได้มาก
แค่ไหน
๒.๔ การปกป้องทางการค้ามีมากขึ้น เศรษฐกิจโลกถดถอยส่งผลกระทบต่อการค้าโลก เมื่อเศรษฐกิจโลกมี
การฟื้นตัวความต้องการสินค้าในตลาดโลกก็เริ่มฟื้นตัว ทาให้การค้าโลกขยายตัวอย่างรวดเร็วในปี ๒๕๕๓ ซึ่งมี
มูลค่าสินค้าส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ ๒๒ และคาดการณ์ว่าในปี ๒๕๕๔ ปริมาณการค้าของสินค้าจะเพิ่มขึ้นร้อย
ละ ๕.๘ ตั้งแต่ปี ๒๕๕๑ วิกฤตการเงินได้แพร่กระจายไปทั่วโลก เพื่อเป็นการสนับสนุนและปกปูอง
อุตสาหกรรมภายในประเทศและปูองกันการถ่ายโอนทางการค้าที่เกิดจากตลาดต่างประเทศที่หดตัว จึงมีการใช้
มาตรการเพื่อปกปูอง ทางการค้าและมีการเพิ่มมาตรการบรรเทาทางการค้า ซึ่งวิธีการที่นิยมใช้ได้แก่ ความ
ช่วยเหลือของแต่ละประเทศแก่ผู้ประกอบการภายในประเทศ การบรรเทาทางการค้า มาตรการอุปสรรค ทาง
การค้าที่เป็นภาษีและไม่ใช่ภาษี นอกจากนี้ยังมีมาตรการปกปูองที่ปฏิบัติต่อผู้ผลิตจากต่างประเทศ เช่น
กระบวนการสอบสวนมาตรการบรรเทาทางการค้า ซึ่งปริมาณของภาษีและมาตรการการปกปูองทางการค้า
เป็นที่นิยมใช้โดยรัฐบาลจากประเทศต่างๆ ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๑ มาตรการที่รัฐบาลประเทศต่างๆ
นามาใช้ได้แก่ ภาษีการส่งออกหรือการจากัดการส่งออก การบรรเทา การอุดหนุนการส่งออกและอื่นๆ ที่มี
เปูาหมายเพื่อเพิ่มการเก็บภาษีได้ทาให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ผลิตมากกว่า ๑๕o ประเทศและภูมิภาค
มาตรการบรรเทาวิกฤตและผลกระทบ ได้แก่ (๑) การจัดทาแผนสิ่งจูงใจทางงบประมาณขนาดใหญ่
เช่น การซื้อหนี้เสียจากสถาบันการเงิน การรับประกันหนี้ กานสนับสนุนธนาคารกลางเพื่อเสริมสภาพคล่อง
และการลดภาษีธุรกิจและ ภาษีส่วนบุคคล (๒) การจัดทานโยบายการเงินและการคลังแบบพิเศษ เช่น
มาตรการบรรเทาขนาดใหญ่ การลดอัตราดอกเบี้ยจานวนมากและบ่อยๆ และการช่วยเสริมสภาพคล่อง ซึ่งเป็น
เครื่องมือของธนาคารกลางเพื่อบรรเทาวิกฤต และ (๓) นโยบายการค้าที่ส่งเสริมการบริโภคสินค้าที่ผลิต
ภายในประเทศและลดการนาเข้า การเพิ่มภาษีนาเข้า การลดมูลค่าเงิน การเพิ่มการอุดหนุนในรูปแบบต่างๆ
การเพิ่มอุปสรรคทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี และมาตรการที่เป็นอุปสรรคทางการค้าและการปกปูองอื่นๆ
๒.๕ เหตุผล บทเรียนและแนวคิดในการทาความเข้าใจกับปัญหาวิกฤตทางการเงิน วิกฤตทางการเงินของ
โลกเกิดจากความซับซ้อนของ สาเหตุ การปรับตัวตามห้วงเวลาซึ่งก็คือการเกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจเป็นช่วง
ระยะเวลา (Cyclically economic crisis) การปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจให้เหมาะสมเนื่องจากเกิดเงินทุนที่
แท้จริงมีราคาแพง การขยายตัวอย่างรวดเร็วของอุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์ การขาดกฎระเบียบรองรับและ
การมีนโยบายการเงินที่ไม่เหมาะสม สาหรับบทเรียนที่ได้รับในวิกฤตเศรษฐกิจครั้งนี้ประกอบด้วย การเกิด
วิกฤตทางการเงินที่เกิดเป็นห้วงเวลาซึ่งมีการละเลยต่อสิ่งที่เกิดขึ้น ในแง่ของความรวดเร็ว ขนาด ขอบเขตและ
ความเสียหายจากวิกฤต วิกฤตครั้งนี้ได้แสดงให้เห็นผลกระทบเชิงลบของโลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจและการเปิด
เสรีทางการลงทุนรวมทั้งเป็นเครื่องเตือนถึงผลจากการยอมรับโลกาภิวัตน์ สาหรับในมุมมองของสหรัฐอเมริกา
ซึ่งเป็นต้นตอของวิกฤตในครั้งนี้ว่าไม่สามารถหลีกเลี่ยงผลกระทบของความไม่ สมดุลของการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจและการเงิน ซึ่งประเทศที่พัฒนาแล้วควรตระหนัก ถึงความสาคัญในเรื่องนี้ และจากมุมมองของการ
๗
จัดการของรัฐบาลแสดงถึงการไม่ได้รับการควบคุมทางเศรษฐกิจและคาแนะนาทางการเงินจากรัฐบาลซึ่งไม่
สามารถหลีกเลี่ยงได้ทั้งจากรัฐบาล ของประเทศต่างๆรวมทั้งองค์การการเงินระหว่างประเทศ และจากมุมมอง
ของวิธีการที่เศรษฐกิจขยายตัว ซึ่งเป็นอิทธิพลสาหรับการขยายตัวเกินขีดจากัดของเศรษฐกิจที่เสมือนจริงและ
เครื่องมือทางการเงิน ซึ่งเป็นการลงโทษที่มีการแยกจากเศรษฐกิจที่แท้จริง และควรมีการเปลี่ยนแปลงใน
อนาคต
จากบทเรียนดังกล่าว จึงได้มีแนวคิดในการทาความเข้าใจกับปัญหาวิกฤตทางการเงินประกอบด้วย
ปัญหาของโลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจและการปรับตัวของวงรอบเศรษฐกิจโลก เมื่อวงรอบของการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจยาวนานขึ้นทาให้คนละเลยถึงความเสี่ยงของวิกฤตเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นตามมา และผลกระทบของ
โลกาภิวัตน์มีสองด้าน ทั้งด้านทั้งส่งเสริมการเคลื่อนย้ายเงินทุนเสรีและ ด้านการสร้างความขัดแย้งภายในและ
สร้างความไม่สมดุลภายในของประเทศที่พัฒนาแล้วทั่วโลก จึงควรศึกษาอย่างรอบคอบของเศรษฐกิจเสมือน
จริงและเศรษฐกิจที่แท้จริง เนื่องจากเกิดการขยายตัวเกินขนาดของเศรษฐกิจเสมือนจริง โดยการขยายตัวของ
สินทรัพย์สังคมการเงิน เช่น ในปี ๒๕๔๓ ตลาดการเงินโลกขยายตัวมากกว่าผลิตภัณฑ์มวลรวมของโลก
ประมาณ ๙o % และเศรษฐกิจที่แท้จริงของโลกอ่อนแอลง โดยเศรษฐกิจโลกขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ ๔ ในขณะที่
ตลาดเงินทุนโลกขยายตัวร้อยละ ๑๔ .๘๕ เมื่อเทียบกับปี ๒๕๔๒ ประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในโลก
คือสหรัฐอเมริกาซึ่งมีสัดส่วนร้อยละ ๒๔ .๕ ของผลิตภัณฑ์มวลรวมของโลกมีเศรษฐกิจที่ไม่สมดุล ทาให้มี
ช่องว่างระหว่างเศรษฐกิจเสมือนจริงและเศรษฐกิจที่แท้จริงมาก รวมทั้งควรกล่าวหาสหรัฐอเมริกาเนื่องจาก
เกิดความถดถอยของภาคอุตสาหกรรมการผลิต ในขณะที่กาไรของภาคบริการการเงินและอสังหาริมทรัพย์
ขยายตัวสูงมากประมาณร้อยละ ๔o ของกาไรจากภาคธุรกิจ ซึ่งสูงขึ้นประมาณสองเท่าของ ๒o ปีที่ผ่านมา
และเกิดจากการที่รัฐบาลไม่ควบคุม กฎระเบียบสาหรับอุตสาหกรรมการเงินโดยการฝุาฝืนหลักการของความ
ระมัดระวัง เนื่องจากมีการปล่อยเงินกู้ในตลาดห่วงโซ่การเงินสหรัฐฯโดยไม่มีการพิสูจน์ความน่าเชื่อถือทางการ
เงินทาให้เกิดปัญหากับระบบการเงินตามมา และความอ่อนแอของกฎระเบียบในตลาดการเงินรวมทั้งความไม่
เพียงพอของการควบคุมความเสี่ยงและการจัดการในบริษัททางการเงิน และการขาดประสิทธิภาพในการ
จัดการกับการกู้ยืมเงินจานวนมากโดยรัฐบาล ตลอดทั้งธนาคารและธนาคารเพื่อการลงทุนต่างๆจัดทา ระบบ
บัญชีสองระบบรวมทั้งการแยกการตรวจสอบซึ่งทาให้เกิดการปิดบังความเสี่ยงทางการตลาดมากยิ่งขึ้น
๓.กระบวนการทาให้ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนมีความทันสมัยในช่วง ๖o ปี ที่ผ่านมา บรรยายโดย
Diao Zhiping Professor จาก Beijing Jiaotong University กระบวนการทาให้ประเทศสาธารณรัฐ
ประชาชนจีนมีความทันสมัยแบ่งออกเป็น ๓ ระยะคือ ระยะจุดเริ่มต้นของพื้นฐานสาหรับประเทศจีนใหม่เมื่อปี
๒๔๙๒ ระยะการปฏิวัติสังคมนิยมและระยะการก่อสร้างประเทศ (ระยะ ๓o ปีแรก) ระยะการเปิดประเทศ
และระยะปฏิรูปและการทาสังคมนิยมให้ทันสมัย (๓o ปีหลัง) ความสาเร็จสูงสุดคือมิติภายในโดยการทาให้
ประชาชนมีความทันสมัย และมิติภายนอกโดยการทาให้เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม และความความเป็น
เมืองมีความทันสมัย ซึ่งการทาให้เศรษฐกิจมีความทันสมัยจะเน้นด้านการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โครงสร้าง
เศรษฐกิจที่เน้นโครงสร้างการเป็นเจ้าของและโครงสร้างอุตสาหกรรม ตลอดทั้งการพัฒนาระบบเศรษฐกิจของ
ประเทศโดยมุ่งเน้นด้านระบบการพัฒนาอุตสาหกรรม
๓.๑ ระยะจุดเริ่มต้นของพื้นฐานสาหรับประเทศจีนใหม่ เมื่อปี ๒๔๙๒ ซึ่งผลผลิตของอุตสาหกรรมที่
ทันสมัยคิดเป็นร้อยละ ๑๗ ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ ภาคเกษตรและอุตสาหกรรมหัตถกรรมคิดเป็น
๘
ร้อยละ ๘๓ ทาให้ประเทศจีนมีการพึ่งพาภาคเกษตรเป็นหลัก รายได้ต่อหัวของประชาชนคือ ๘๑ o บาท น้อย
กว่า ๒ ใน ๓ ของประเทศในภูมิภาคเอเชีย และน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของประเทศอินเดียซึ่งมีรายได้ต่อหัวประมาณ
๑,๗๑o บาท ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติของประเทศจีนประมาณ ๑ ,๑๒๑ พันล้านเหรี ยญสหรัฐฯ ในปี
๒๕๑๕ ขยายตัวเป็นประมาณ ๕๘ ,๗๙o ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ สาหรับรายได้ต่อหัวของประชากรขยายตัว
จาก ๕๑o เหรียญสหรัฐฯ ในปี ๒๕๓๖ เป็น ๔,๓๙๔ เหรียญสหรัฐฯ ในปี ๒๕๔๓ ซึ่งเศรษฐกิจของประเทศจีน
มีขนาดใหญ่เป็นลาดับที่สองของโลกรองจากสหรัฐอเมริกา
๓.๒ การทาให้การเมืองของประเทศจีนมีความทันสมัยในช่วง ๖o ปีที่ผ่านมา มีการพัฒนาอย่างก้าว
กระโดด ๒ ครั้งคือ ครั้งที่ ๑ จัดตั้งระบบโครงสร้างสังคมการเมืองใหม่และระบบมาตรฐานการเมือง การ
ปรับตัวสู่ระบบธรรมชาติที่ให้ประชาชนเป็นศูนย์กลางประชาธิปไตย และจัดตั้งกรอบพื้นฐานสาหรับการเมืองที่
เป็นประชาธิปไตยแบบสังคมนิยม และก้าวกระโดดที่สองคือการปกครองโดยระบบ กฎหมายตามหลักการ
การเมืองที่เป็นประชาธิปไตยแบบสังคมนิยม ซึ่งระบบกฎหมาย ที่บังคับใช้ได้แก่ รัฐธรรมนูญ กฎหมาย
กฎระเบียบทางการบริหาร กฎระเบียบท้องถิ่น และเอกสารทางกฎหมายอื่นๆใน ๓ ระดับ ครอบคลุม ๗ กรม
โดยมีกฎหมายที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ๒๓๙ ฉบับ
๓.๓ การทาให้ประชาชนมีความทันสมัยในช่วงในช่วง ๖o ปีที่ผ่านมา แบ่งออกเป็น ๓ ด้านคือ
(๑) คุณภาพของประชากรครอบคลุมทั้งด้านกายภาพและจิตวิทยา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม แนวความคิด
และมาตรฐานด้านจริยธรรม (๒) วิถีชีวิตครอบคลุมวิถีการบริโภคและการสื่อสาร และ (๓) วิธีการคิดที่เป็น
นวัตกรรม การเปิดกว้างและการคิดเป็นระบบ
๓.๔ การประเมินมาตรฐานสาหรับการทาให้ประเทศจีนมีความทันสมัยในปัจจุบันและเป้าหมายที่ท้าทาย
ในอนาคต สามารถจาแนกออกได้เป็น ๗ ด้าน จานวน ๒๗ ตัวชี้วัด ประกอบด้วย
๑) การขยายตัวทางเศรษฐกิจ มีตัวชี้วัดที่สาคัญได้แก่
 ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศต่อหัว ระหว่าง ๖,ooo-๑๕,ooo เหรียญสหรัฐฯ
 มูลค่าเพิ่มของอุตสาหกรรมสมัยใหม่คิดเป็นร้อยละ ๔๕-๗o ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
 มูคค่ารวมของการค้าระหว่างประเทศร้อยละ ๓o-๖o ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
 ความเป็นอิสระทางเศรษฐกิจโดยมีค่าใช้จ่ายงบประมาณของรัฐบาล <ร้อยละ ๒o ถึง <ร้อยละ ๑o
ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
๒) ความเป็นเมือง มีตัวชี้วัดที่สาคัญได้แก่
 กาลังแรงงานที่อยู่นอกภาคเกษตรร้อยละ ๗o-๙o ของกาลังแรงงานทั้งประเทศ
 จานวนประชากรที่อาศัยอยู่ในเมืองร้อยละ ๕o-๙๕ ต่อประชากรทั้งประเทศ
๓) การเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีโทรคมนาคมและเทคโนโลยีข่าวสาร มีตัวชี้วัดที่สาคัญ
ได้แก่
 อัตราการมีโทรศัพท์ใช้ต่อประชากร ๑oo คน ร้อยละ ๕o-๘o
๙
 อัตราการมีโทรทัศน์ใช้ต่อ ๑oo ครัวเรือน ร้อยละ ๒o-๕o
 อัตราการมีคอมพิวเตอร์ใช้งาน ๒oo-๑,ooo คน ต่อประชากร ๑o,ooo คน
 อัตราการเข้าถึงอินเตอร์เนตร้อยละ ๒.๕-๑o ต่อประชากรทั้งหมด
๔) การพัฒนาสังคม มีตัวชี้วัดที่สาคัญได้แก่
 อัตราแพทย์ ๑๒-๒๕ คน ต่อประชากร ๑o,ooo คน
 Geni coefficient <๓.๕-๒.o
 ดัชนีความซื่อสัตย์ ๔-๘
 อัตราความยากจน <ร้อยละ๓ – ร้อยละ ๑
 มีนโยบายกาหนดให้แต่ละครอบครัวมีบุตรได้ ๑ คน ตั้งแต่ปี ๒๕๒๑
๕) การพัฒนาวิทยาศาสตร์ มีตัวชี้วัดที่สาคัญได้แก่
 ค่าใช่จ่ายสาหรับการทาการวิจัยและพัฒนาร้อยละ ๒.๕-๕ ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
 มูลค่าเพิ่มของอุตสาหกรรมที่ทันสมัยในมูลค่าเพิ่มของภาคอุตสาหกรรมร้อยละ ๒o-๕o
๖) คุณภาพของประชากร มีตัวชี้วัดที่สาคัญได้แก่
 จานวนนักศึกษาระดับวิทยาลัย ๑๕o-๑,ooo คน ต่อประชากร ๑o,ooo คน
 ค่าใช้จ่ายเพื่อการศึกษาสาธารณะร้อยละ ๕-๑o ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
 อัตราการรู้หนังสือของผู้ใหญ่ร้อยละ ๙๕-๙๘
 จานวนปีการศึกษาเฉลี่ย ๑o-๑๒ ปี
 กาหนดนโยบายให้หนึ่งครอบครัวมีบุตรได้หนึ่งคนตั้งแต่ปี ๒๕๒๑
 อัตราการเรียนชั้นประถมศึกษาร้อยละ ๙๕
 อัตราการับนักศึกษาเพื่อเรียนต่อระดับปริญญาตรีร้อยละ ๗๒.๓ (ปี ๒๕๕๔)
๗) คุณภาพชีวิต มีตัวชี้วัดที่สาคัญได้แก่
 Engel’s coefficient <๓o - <๒o
 อายุเฉลี่ย ๗๕-๗๗ ปี
 พื้นที่บ้านอยู่อาศัยต่อคน ๒o-๔o ตารางเมตร
 สัดส่วนของงบประมาณเพื่อปกปูองสิ่งแวดล้อมร้อยละ ๑๕-๓o ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
๓.๕ ความท้าทายสาหรับการทาให้ประเทศจีนมีความทันสมัย ประกอบด้วย
 แรงกดดันที่เกิดจากประชากร ๓ ด้าน ได้แก่ จานวนประชากรรวมของประเทศ ประชากรที่มีงานทา
ทั้งหมด จานวนประชากรผู้สูงอายุรวมทั้งประเทศซึ่งอีก ๒ o ปีข้างหน้าประเทศจีนจะมีประชากร
สูงอายุประมาณ ๑ ใน ๓ ของประชากรทั้งประเทศ และปัญหาขาดแคลนแรงงานมีฝีมือ
๑๐
 การใช้พลังงานและและทรัพยากรธรรมชาติอย่างฟุุมเฟือย และการขาดแคลนพลังงาน
 การเร่งใช้ประโยชน์ของทรัพยากรทางนิเวศน์และการขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ
 ความยุ่งยากในการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ความเป็นเมือง ซึ่งก่อนปี ๒๕๙๓ ความเป็นเมืองของ
ประเทศจีนจะขยายตัวเป็น ๗o % เทียบกับปัจจุบันที่ ๕o % โดยเมื่อการเป็นเมืองขยายตัวปีละ ๑ %
จึงจะทาให้บรรลุเปูาหมายการทาให้ประเทศจีนมีความทันสมัย เช่น ประชาชนมากกว่า ๑o ล้านคนที่
อาศัยอยู่ในชนบทของทุกๆ ปีจะเปลี่ยนแปลงสภาพเป็นประชากรเมือง
 การเร่งสร้างความสมดุลของการพัฒนาภูมิภาคและการบรรลุเปูาหมายความอยู่ดีกินดีร่วมกันและเท่า
เทียมกัน
 การส่งเสริมการใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวางจากข้อมูลข่าวสารในยุคโลกาภิวัตน์และการเสริมสร้างขีด
ความสามารถในการแข่งขันระดับนานาชาติ
๔.สถานการณ์เศรษฐกิจมหภาคและปัญหาของระบบปฏิรูปภาษีของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
บรรยายโดย Liu Zuntao จาก State Administration of Taxation
๔.๑ ภาพรวมของระบบภาษีในประเทศจีน หน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการเก็บภาษีประกอบด้วย
 กระทรวงการคลัง มีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทานโยบายภาษีและการวางแผนระบบภาษี
 หน่วยงานบริหารการภาษีของรัฐ มีหน้าที่เก็บภาษีและการบริหารภาษีและมีส่วนร่วมในการกาหนด
นโยบายภาษีและระบบและกาหนดการวางแผนปฏิรูประบบภาษี
 หน่วยงานบริหารภาษีศุลกากรทั่วไป มีหน้าที่จัดการอัตราภาษีและ เก็บ ภาษีนาเข้าสินค้า
(ภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีการบริโภค)
๔.๒ โครงสร้างของระบบภาษี จาแนกออกเป็น ๓ ระดับคือ
 ภาษีที่จัดเก็บโดยส่วนกลาง ประกอบด้วยภาษีการบริโภค ภาษีนาเข้า ภาษีนาเข้าที่เพิ่มขึ้นและภาษี
การบริโภค ภาษีธุรกิจจากการขนส่งทางรถไฟ ธนาคารของรัฐและสานักงานใหญ่ของบริษัทประกันภัย
ภาษีทรัพยากรปิโตรเลียมในทะเล ภาษีการขนส่งทางเรือ และภาษีรถยนต์
 ภาษีทีจัดเก็บร่วมกัน ประกอบด้วยภาษีมูลค่าเพิ่ม (ยกเว้นภาษีนาเข้าที่จัดเก็บโดยศุลกากร โดย
ส่วนกลางจัดเก็บ ๗๕ % และท้องถิ่นจัดเก็บ ๒๕ %) ภาษีรายได้ธุรกิจ (ส่วนกลางจัดเก็บ ๖o % และ
ท้องถิ่นจัดเก็บ ๔o %) ภาษีเงินได้ส่วนบุคคล (ส่วนกลางจัดเก็บ ๖o % และท้องถิ่นจัดเก็บ ๔o %)
ภาษีแสตมป์การค้าหลักทรัพย์ (ส่วนกลางจัดเก็บ ๙๗ % และส่วนท้องถิ่นจัดเก็บ ๓ %)
 ภาษีที่จัดเก็บโดยส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วยภาษีธุรกิจ ภาษีการบารุงรักษาเมือง ภาษีก่อสร้าง ภาษี
อสังหาริมทรัพย์ ภาษีการใช้ประโยชน์ทีดินใน เขตเมือง ภาษีการถือครองที่ดิน ภาษีรถยนต์ ภาษีที่ดิน
อัตราก้าวหน้า ภาษีบุหรี่ ภาษีทรัพยากร และภาษีอากรแสตมป์
ในปี ๒๕๓๗ มีการปฏิรูระบบภาษีในประเทศจีนอย่างกว้างขวางทั้งเชิงกว้างและเชิงลึกเพื่อสนับสนุนระบบ
เศรษฐกิจการตลาดแบบสังคมนิยม หลังจากนั้นในช่วงแผนพัฒนาแห่งชาติฉบับที่ ๑๑ ได้มีการปรับปรุงระบบ
ภาษีเพิ่มเติม
๑๑
๔.๓ สภาพเศรษฐกิจมหภาคในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๕๔-
๒๕๕๘) พื้นฐานของเศรษฐกิจประเทศจีนโดยทั่วๆ ไปแล้วมีความมั่นคง อย่างไรก็ตามต้นทุนของแรงงาน ที่ดิน
ทรัพยากรต่างๆ และสิ่งแวดล้อมเพิ่มสูงขึ้น และการใช้ประโยชน์จากโครงสร้างประชากรกาลังลดลงเนื่องจาก
ประเทศจีนกาลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ตลอดทั้งค่อยๆ สูญเสียขีดความสามารถทางการแข่งขัน ในช่วง
แผนพัฒนาแห่งชาติฉบับที่ ๑๒ ขีดความสามารถในการแข่งขันที่เคยใช้ต้นทุนต่าแบบดั้งเดิมจะใช้ไม่ได้ อีกต่อไป
ดังนั้นจึงมีความจาเป็นเร่งด่วน ที่จะต้องปรับรูปแบบการพัฒนา เพื่อเน้นการใช้เทคโนโลยีชั้นสูง การจัดการ
นวัตกรรมและปรับปรุงขีดความสามารถของกาลังแรงงาน จากวิกฤตการเงินโลกอาจทาให้เกิดความต้องการ
สินค้าจากประเทศจีนลดน้อยลงตามไปด้วยในระยะยาว แต่เศรษฐกิจภายในประเทศยังสามารถขยายตัวได้
อย่างต่อเนื่อง แต่ขณะเดียวกันก็ยังประสบปัญหาที่สาคัญหลายอย่าง เช่น ความเหลื่อมล้าด้านการพัฒนา
ระหว่างเมืองและชนบทและระหว่างภาค การลงทุนและการบริโภค โครงสร้างทางอุตสาหกรรม ความ
ต้องการสินค้าทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ การขยายตัวทางเศรษฐกิจและการกระจายความเจริญ
ทางเศรษฐกิจ
เปูาหมายการปฏิรูประบบภาษีในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๒
ประกอบด้วย การใช้ประโยชน์สูงสุดจากโครงสร้างระบบภาษี การกระจายภาระทางภาษีให้เกิดความเท่าเทียม
และเป็นธรรม การกระจายอานาจให้จังหวัดจัดเก็บและจัดการภาษี จัดทามาตรฐานการกระจายงบประมาณไป
ยังพื้นที่ที่กาลังพัฒนาเพื่อส่งเสริมการขยายตัวทางเศรษฐกิจระดับภาค โดยมีกิจกรรมหลักที่ควรทาการปฏิรูป
ระบบภาษีได้แก่ การขยายการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มและการลดภาษีธุรกิจ การจัดทารูปแบบระบบการจาแนก
ภาษีแบบภาพรวม จัดเก็บภาษีการบริโภคโดยการเพิ่มการเก็บภาษีสาหรับสินค้าที่ใช้พลังงานสูงและมีมลพิษสูง
และลดภาษีสาหรับสินค้าที่ให้พลังงานต่าและมีมลพิษต่า เพื่อทาให้เกิดการใช้ปะโยชน์สูงสุดจากโครงสร้างภาษี
และการขยายกรอบการจัดเก็บภาษีทรัพยากรโดยการปรับปรุงระบบฐานการจัดเก็บภาษี ผสมผสานราคาและ
ปริมาณและจัดตั้งกลไกที่ยืดหยุ่นเพื่อผสมผสานรายได้จากภาษีทรัพยากรและราคา
สาหรับยุทธศาสตร์การพัฒนาเชิงพื้นที่ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนได้กาหนดนโยบายการพัฒนา
ที่แตกต่างกัน ในช่วงปี ๒๕๓๓-๒๕๔๓ มีการเร่งพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ ในจังหวัดกวางดอง จังหวัดฟูเจี้ยน
จังหวัดซินเจียงและจังหวัดไห่หนาน และพื้นที่พัฒนา ชายฝั่งทะเล ได้แก่ จังหวัดเหอเปุย จังหวัดเทียนจิน
จังหวัดชานดอง จังหวัดเจียงซู จังหวัดเซี่ยงไฮ้ จังหวัดซีเจียง จังหวัดฟูเจี้ยนและจังหวัดกว่างสีโดยการให้สิทธิ
พิเศษทางภาษีแก่การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ หลังจากนั้นตั้งแต่ปี ๒๕๓๘ กาหนดให้มียุทธศาสตร์การ
พัฒนาภาคตะวันตกของประเทศ ครอบคลุม ๑๔ จังหวัด โดยการยกเว้นการเก็บภาษีเงินได้ระหว่าง๕-๘ ปี
หลังจากนั้นจะเก็บภาษีเงินได้ธุรกิจร้อยละ ๑๔ ต่อปี จากปกติที่จัดเก็บในพื้นที่อื่นๆ ร้อยละ ๓o ต่อปี แก่การ
พัฒนาอุตสาหกรรมเปูาหมาย ได้แก่ การปกปูองสิ่งแวดล้อม การจัดการโลจิสติกส์สมัยใหม่ และวิสาหกิจที่
เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม และในช่วง ศตวรรษที่ ๒๑ ให้ความสาคัญกับการกระตุ้นการพัฒนาฐานการผลิต
อุตสาหกรรมที่เคยมีอยู่เดิมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศและสร้างความมั่งคั่งในพื้นที่ภาคกลางของ
ประเทศ โดยปัจจุบันรัฐบาลจีนได้มีนโยบายยกเลิกการให้สิทธิพิเศษทางภาษีแก่การลงทุนโดยตรงจาก
ต่างประเทศในพื้นที่พัฒนาชายฝั่งทะเลแล้วเพื่อเป็นมาตรการลดความเหลื่อมล้าด้านการพัฒนาระหว่างภูมิภาค
๑๒
๕.การพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดเล็กและขนาดกลาง (Small and Medium Sized Enterprises: SMEs)
ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน บรรยายโดย Lin Wenying จาก Commissioner, China
International Cooperation, Association of Small and Medium Enterprises (CICASME) และ Vice
President and Executive Chief Editor of China SME Magazine
๕.๑ ความเป็นมาของการพัฒนา ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนมีการพัฒนาเศรษฐกิจแบบการตลาดได้
ประมาณ ๓๕ ปี โดยอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจในปี ๒๕๕๔ ร้อยละ ๙.๒ ปี ๒๕๔๓ ร้อยละ ๑o.o๓ ปี
๒๕๔๒ ร้อยละ ๘.๗ และในช่วง ๑o ปี ( ๒๕๔๔-๒๕๕๔) ค่าเฉลี่ยร้อยละ ๑o.๖ และผลิตภัณฑ์มวลรวม
ภายในประเทศในปี ๒๕๕๔ ประมาณ ๗ ,๒๖๑ พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งรายได้ต่อหัวของรายได้ประชาชาติ
รวมจัดเป็นลาดับที่ ๑๒๑ จาก ๒๑๕ ประเทศ ประชากรที่อาศัยอยู่ในเมืองร้อยละ ๔๙.๗ และประชากรที่อาศัย
อยู่ในชนบทร้อยละ ๕ o.๓ อัตราการขยายตัวของประชากรในปี ๒๕๕๓ ร้อยละ ๔ .๗๙ รายได้ต่อหัวของ
ประชาชนที่อาศัยอยู่ในเมือง ๑๙ ,๑o๙ หยวน/ปี (อัตราแลกเปลี่ยน ๑ หยวนของจีน เท่ากับประมาณ ๕ บาท
ไทย) และรายได้ต่อหัวของประชาชนที่อาศัยอยู่ในชนบท ๕ ,๙๑๗ หยวน/ปี โครงสร้างอุตสาหกรรมในปัจจุบัน
ขงประเทศจีนประกอบด้วยอุตสาหกรรมเสาหลัก ได้แก่ อุตสาหกรรมประหยัดพลังงานและปกปูองสิ่งแวดล้อม
เทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ ชีวภาพและการผลิตเครื่องจักรเครื่องมือระดับสูง และอุตสาหกรรมชั้นนา ได้แก่
อุตสาหกรรมพลังงาน วัสดุใหม่และยานยนต์ที่ใช้พลังงานรูปแบบใหม่ เป็นต้น
๕.๒ ลักษณะเฉพาะของการพัฒนาอุตสาหกรรม SMEs ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เริ่มต้น
ขยายตัวพร้อมกับการปฏิรูปเศรษฐกิจตั้งแต่ปี ๒๕๒๒ และเริ่มการพัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่ชนบทก่อนใน
ลักษณะ “เมืองวิสาหกิจ (Township Enterprises)” และได้กลายเป็นพลังผลักดันของภาคเอกชน ตลอด
ทั้งเป็นพลังขับดันระบบเศรษฐกิจการตลาดและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ซึ่งการพัฒนา
อุตสาหกรรมขนาดจี๋ว ขนาดเล็กและขนาดกลางจาแนกออกเป็น ๑๖ สาขาคือ เกษตรกรรม ปุาไม้ ปศุสัตว์และ
ประมง อุตสาหกรรม ก่อสร้าง ค้าส่ง ค้าปลีก การขนส่งและโลจิสติกส์ การเก็บรักษา ไปรษณีย์ โรงแรม อาหาร
การเผยแพร่ข่าวสาร ซอฟแวร์และบริการเทคโนโลยีข่าวสาร อสังหาริมทรัพย์ การจัดการทรัพย์สิน การให้เช่า
และบริการทางธุรกิจ และอื่นๆ โดยมีตัวชี้วัดที่สาคัญคือ จานวนพนักงาน เงินทุนหมุนเวียน และทรัพย์สินรวม
ซึ่งประกอบด้วยสิ่งก่อสร้าง อสังหาริมทรัพย์ การให้เช่าและบริการพาณิชย์ต่างๆ ในปี ๒๕๕๓ มีวิสาหกิจที่
สร้างงานให้ตนเองในเมือง ๔๔ .๗ ล้านราย ในชนบท ๒๕ .๖ ล้านราย หน่วยธุรกิจ ๖ .๕๑๘ ล้านหน่วย โดย
ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมที่มีรายได้เกินกว่า ๕ ล้านหยวน มีจานวนทั้งสิ้น ๔๕๒,๘๗๒ ราย โดยแบ่งออกเป็น
ขนาดใหญ่ ๓,๗๔๒ ราย ขนาดกลาง ๔๒.๙o๖ ราย และขนาดเล็ก ๔o๖,๒๒๔ ราย
๕.๓ บทบาทของวิสาหกิจขนาดเล็กและขนาดกลาง มี ๓ ด้านคือ
๑) บทบาทต่อการพัฒนาสังคม จากปี ๒๕๑๙ มีประชากรจากชนบท ๒๓o ล้านคน เปลี่ยนแปลงการ
ประกอบอาชีพจากภาคเกษตรไปเป็นภาคอุตสาหกรรมหรือภาคบริการส่วนใหญ่ทางานในวิสาหกิจขนาดเล็ก
และขนาดกลางหรือสร้างงานเป็นของตนเอง และ SMEs ได้เป็นแหล่งการจ้างงานร้อยละ ๘o สาหรับแรงงานที่
อาศัยอยู่ในเมือง และร้อยละ ๘๓ สาหรับแรงงานที่อาศัยอยู่ในชนบท โดยในช่วง ๕ ปี (ระหว่างปี ๒๕๔๖ -
๒๕๕o) มีงานใหม่เพิ่มขึ้นกว่า ๑o ล้านตาแหน่งสาหรับแรงงานที่อาศัยอยู่ในเมืองในแต่ละปี มีแรงงานภาค
เกษตรกรรมจานวน ๘ ล้านคนเปลี่ยนแปลงไปทางานในภาคอุตสาหกรรมหรือภาคบริการต่อปี และเป็นแหล่ง
จ้างงานกว่าร้อยละ ๗๕ ของตาแหน่งงานสาหรับแรงงานที่เพิ่มขึ้นใหม่
๑๓
๒) บทบาทต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ความสาคัญของ SMEs เกิดจากวิกฤตการเงินระหว่างประเทศและ
มีบทบาทในการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ สร้างความมั่นคงในชีวิตของประชาชนและส่งเสริมการพัฒนา
อุตสาหกรรม โดยสินค้าและบริการที่ผลิตโดยวิสาหกิจขนาดเล็กและขนาดกลางคิดเป็นร้อยละ ๖ o ของ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ในปี ๒๕๕๓ ร้อยละ ๗๔ ของมูลค่าผลผลิตอุตสาหกรรมที่เพิ่มขึ้น ร้อยละ
๕๘.๙ ของสินค้าทางสังคมที่ขายทั้งหมด ร้อยละ ๖๘ .๓ ของมูลค่าส่งออกทั้งหมด ร้อยละ ๖๙ ของมูลค่าการ
นาเข้าทั้งหมด และร้อยละ ๕ o ของภาษีที่จัดเก็บได้ทั้งหมด รวมทั้งวิสาหกิจของสาธารณรัฐประชาชนจีนที่ไป
ลงทุนต่างประเทศมากกว่าร้อยละ ๘o เป็น SMEs (จากทั้งสิ้นประมาณ ๓o,ooo ผู้ประกอบการ)
๓) บทบาทต่อการพัฒนาเทคโนโลยี มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ร้อยละ ๘๒ จัดทาโครงการด้าน
นวัตกรรมทางวิชาการร้อยละ ๗๔ จดทะเบียนสิทธิบัตรร้อยละ ๖๖ และมีบทบาทนาในการใช้ความรู้อย่าง
เข้มข้นเพื่อการผลิตสินค้าและบริการ
๕.๔ โครงสร้างและการกระจายตัวของวิสาหกิจขนาดเล็กและขนาดกลาง มี ๔ ด้านคือ
๑) โครงสร้างของขนาด ภาคอุตสาหกรรมประกอบด้วยวิสาหกิจขนาดเล็กและขนาดกลาง ๓ ขนาด
โดยมีรายละเอียดปรากฏตามตารางที่ ๑ ด้านล่าง
ตารางที่ ๑: โครงสร้างขนาดของ SMEs ของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
ขนาด จานวน SMEs จานวนทรัพย์สินทั้งสิ้น
(พันล้านหยวน)
มูลค่าผลผลิตอุตสาหกรรมรวม
(พันล้านหยวน)
ใหญ่ ๓,๗๔๒ ๒๓,๖๒๕.๗ ๒๒,๙๙๓.๗
กลาง ๔,๒๙o๖ ๑๙,๑๑๙.๕ ๒o,๓๙๒.๕
เล็ก ๔o๖,๒๒๔ ๒๕,๘๗๓ ๒๖,๔๗๑.๕
รวม ๔๕๒,๘๗๒ ๕๙,๒๘๘.๒ ๖๙,๘๕๙.๑
ที่มา: China Statistical Yearbook ๒๕๕๔
๒) รูปแบบการจดทะเบียน ในปี ๒๕๕๓ มีการจดทะเบียนทางธุรกิจหลายรูปแบบซึ่งมีรายได้ธุรกิจเกิน
กว่า ๕ ล้านหยวนต่อปี มีรายละเอียดดังตารางที่ ๒
๑๔
ตารางที่ ๒: รูปแบบการจดทะเบียนธุรกิจและมูลค่าการลงทุนของ SMEs ของประเทศสาธารณรัฐ
ประชาชนจีน
ประเภทรูปแบบการจดทะเบียน จานวน SMEs มูลค่าผลผลิต
อุตสาหกรรมรวม
(พันล้านหยวน)
สัดส่วนตาม
จานวน
(%)
สัดส่วนตามมูลค่า
ผลผลิต
อุตสาหกรรม (%)
๑.รัฐบาลเป็นเจ้าของ
๒.รวมตัวเป็นเจ้าของร่วมกัน
๓.สหกรณ์
๔.การเป็นเจ้าของร่วมกัน
๕.บริษัทจากัด
๖.ถือหุ้นร่วมกัน
๗.เอกชน
๘.อื่นๆ
๙.วิสาหกิจที่เงินลงทุนมาจากฮ่องกง
มาเก๊าและไต้หวัน
๑o.เงินลงทุนจากต่างประเทศ
๘,๗๒๖
๙,๑๖๖
๔,๔๘๑
๗o๔
๗o,o๗๘
๙,๕๖๒
๒๗๓,๒๕๙
๒,๘๕๑
๓๔,o๖๙
๓๙,๙๗๖
๖,o๖๗.๓
๑,o๓๘.๓
๓๗๘.๙
๑๒๓.๗
๑๕,๖๒๓.๒
๖,๘๓o.๔
๒๑,๓๓๓.๙
๒๘๗.๖
๖,๕๓๕.๘
๑๒,๓๕๖
๒.๓
๒.๘
๑.๓
o.๒
๑๔.๗
๒.๒
๕๘.๒
๘.๔
๙.๙
๙.๒
๑.๘
o.๖๕
o.๓๕
๒๑.๔
๙.๙
๒๗.๒
๑o.๑
๑๙.๔
จานวนทั้งสิ้น ๔๕๒,๘๗๒ ๖๙,๘๕๙.๑ ๑oo ๑oo
ที่มา: China Statistical Yearbook ๒๕๕๔
๓) สาขาการผลิตที่สาคัญ SMEs ส่วนใหญ่เป็นการพัฒนาเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเบา สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม
การบริการต่างๆ เช่น อาหาร ค้าส่งและค้าปลีก เฟอร์นิเจอร์ เครื่องหนัง พลาสติก สินค้าเหล็ก สินค้ากีฬา การ
ผลิตกระดาษ และการพิมพ์
๔) การกระจายตัวทางภูมิศาสตร์ของอุตสาหกรรม ในพื้นที่ ๙ จังหวัดที่มีการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่าง
ก้าวหน้าปรากฏดังตารางที่ ๓ ด้านล่าง
ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศจีน (Progress of Economic and Regional Development of China)
ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศจีน (Progress of Economic and Regional Development of China)
ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศจีน (Progress of Economic and Regional Development of China)
ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศจีน (Progress of Economic and Regional Development of China)
ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศจีน (Progress of Economic and Regional Development of China)
ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศจีน (Progress of Economic and Regional Development of China)
ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศจีน (Progress of Economic and Regional Development of China)

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von Dr.Choen Krainara

Certificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk SupervisionCertificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk SupervisionDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective LeaderCertificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective LeaderDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project ManagementCertificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project ManagementDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management LeadershipCertificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management LeadershipDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk ManagementCertificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk ManagementDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict SettingsCertificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict SettingsDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in EmergenciesCertificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in EmergenciesDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and SecurityCertificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and SecurityDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian ActionCertificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian ActionDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in PartnershipsCertificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in PartnershipsDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding EssentialsCertificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding EssentialsDr.Choen Krainara
 

Mehr von Dr.Choen Krainara (20)

Certificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk SupervisionCertificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk Supervision
 
Certificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective LeaderCertificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective Leader
 
Certificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project ManagementCertificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project Management
 
Certificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management LeadershipCertificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management Leadership
 
Certificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk ManagementCertificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk Management
 
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict SettingsCertificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
 
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
 
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
 
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in EmergenciesCertificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
 
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
 
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and SecurityCertificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
 
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
 
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian ActionCertificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
 
Certificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in PartnershipsCertificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in Partnerships
 
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
 
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding EssentialsCertificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
 

ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศจีน (Progress of Economic and Regional Development of China)

  • 1. ๑ รายงานการสัมมนาระดับนานาชาติเรื่อง Regional Economic Development Promotion for Developing Countries ระหว่างวันที่ ๗-๒๗ กันยายน ๒๕๕๕ ณ กรุงปักกิ่ง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน รัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีนโดยผ่านกระทรวงพาณิชย์ได้อนุมัติทุนสัมมนาระดับนานาชาติเรื่อง Regional Economic Development Promotion for Developing Countries ให้แก่ นายเชิญ ไกรนรา นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชานาญการ สังกัดสานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง สานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เพื่อเป็นผู้แทนฝุายไทยเข้าร่วมสัมมนา ณ Academy for International Business Officials (AIBO) ระหว่างวันที่ ๗-๒๗ กันยายน ๒๕๕๕ ณ กรุงปักกิ่ง ประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจีน และศึกษาดูงานการพัฒนาที่จังหวัดซานซีและเขตปกครองพิเศษเซี่ยงไฮ้ โดยมี ผู้เข้าร่วมสัมมนาจานวน ๔๑ คน จาก ๒o ประเทศ ซึ่งเป็นตัวแทนประเทศกาลังพัฒนาจากภูมิภาคเอเชีย แอฟริกา ยุโรปตะวันออก อมริกาใต้และหมู่เกาะแปซิฟิก ผลการสัมมนาสรุปได้ดังนี้ ๑.สภาพทั่วไปของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน บรรยายโดยอดีตนักการทูตอาวุโสของกระทรวงการ ต่างประเทศของจีน ๑.๑ สภาพภูมิประเทศและทรัพยากร ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนมีพื้นที่ ๙.๖ ล้าน ตร.กม. หรือคิด เป็น ๑ ใน ๔ ของพื้นที่ทั้งทวีปเอเชีย หรือ ๑ ใน ๕ ของพื้นที่ทั้งโลก มีขนาดพื้นที่ใหญ่กว่าประเทศไทย ๑๘ เท่า มีประชากร ๑,๓๗๑ ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ ๒ o ของประชากรโลก มีชนกลุ่มน้อยจานวน ๕๖ เผ่า ความหนาแน่นของประชากร ๑๑๗ คน ต่อ ตร.กม.ประชากรที่อาศัยอยู่ในเมืองเพิ่มจากร้อยละ ๒๙ .o๔ ในปี ๒๕๓๘ เป็นร้อยละ ๔๖.๖o ในปี ๒๕๕๒ พื้นที่ทาการเกษตรมีประมาณ ๑๒๒ ล้านเฮกตาร์ หรือคิดเป็นร้อยละ ๑๒ ของพื้นที่เกษตรทั้งโลก พื้นที่ปุาไม้ มีประมาณร้อยละ ๒ o.๓๖ ของทั้งโลก มีแม่น้าแยงซีมีความยาวมาก ที่สุดในประเทศประมาณ ๖,๔o๓ กม. ตามด้วยแม่น้าเหลืองระยะทางยาวประมาณ ๕,๔๖๔ กม. ความยาวของ ชายฝั่งทะเลประมาณ ๑๘,ooo กม. มีเกาะในทะเลประมาณ ๖,๕oo เกาะ มีการนาเข้าพลังงานประมาณร้อย ละ ๑o ของความต้องการพลังงานทั้งประเทศ และมี ๕ เขตเวลา ๑.๒ ระบบการเมือง คณะกรรมการประชาชนเป็นระบบการเมืองที่เป็นพื้นฐานที่สาคัญที่สุดของประเทศ โดยมีคณะกรรมการที่ประชุมสภาประชาชน เป็นองค์กรการบริหารที่มีอานาจมากที่สุดในประเทศ และมี คณะทางานแต่ละฝุายช่วยบริหารจัดการ โดยมีพรรคคอมมิวนิสต์จีนเป็นพรรคการเมืองหลักและมีการ ปรึกษาหารือกับพรรคการเมืองประชาธิปไตยอื่นๆอีกหลายพรรค หน้าที่หลักของคณะกรรมการที่ประชุมสภา ประชาชนคือการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ติดตามการดาเนินงานตามรัฐธรรมนูญ กาหนดและแก้ไขกฎหมายพื้นฐานที่ เกี่ยวกับอาญา กิจการพลเรือน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของภาครัฐ ทบทวนและอนุมัติแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ และรายงานการวางแผนที่เกี่ยวกับการดาเนินงาน ทบทวนและอนุมัติงบประมาณภาครัฐ และรายงานการใช้จ่ายงบประมาณ เลือกตั้งประธานธิบดีของประเทศ ประธาน คณะกรรมาธิการทหารกลาง ประธานศาลสูงประชาชนกลาง โดยประธานอัยการสูงสุดที่ทาหน้าที่ เสนอชื่อผู้สมควรได้รับการ เลือกเป็น ประธานาธิบดี
  • 2. ๒ ๑.๓ ระบบการบริหาร คณะกรรมการแห่งรัฐ ประกอบด้วย ประธานาธิบดี รองประธานาธิบดี ที่ปรึกษาแห่งรัฐ และ หน่วยงานภาครัฐต่างๆ โดยคณะกรรมการแห่งรัฐมีอานาจหน้าที่ออก กฎระเบียบด้านการบริหาร คาตัดสินใจ และประกาศต่างๆ กากับดูแลองค์การบริหารภาครัฐระดับท้องถิ่น จัดเตรียมและดาเนินการ ตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนงบประมาณแห่งชาติ การดาเนินงานด้านเศรษฐกิจ การก่อสร้างทั้งในพื้นที่ เมืองและชนบท การศึกษา วิทยาศาสตร์ วัฒนธรรม สาธารณสุข การวางแผนครอบครัว กิจการพลเรือน การ รักษาความมั่นคงแห่งรัฐ การบริหารงานยุติธรรม กิจการต่างประเทศและทาความตกลงด้านสนธิสัญญาและ ข้อตกลงกับต่างประเทศ และการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ โดยกฎหมายกาหนดให้ประชาชนทุก คนเป็นกาลังพลสารองทางทหารของประเทศ ปัจจุบันประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน มีความสัมพันธ์ทางการ ทูตกับ ๑๗๑ ประเทศทั่วโลก เขตการปกครองของจีนแบ่งการบริหารออกเป็น ๕ ระดับ คือ (๑) ระดับมณฑล ประกอบด้วย ๒๒ มณฑล (แต่ละมณฑลมีจานวนประชากรอยู่ระหว่าง ๘-๙o ล้าน คน) ถ้ารวมไต้หวันเป็น ๒๓ มณฑล ๕ เขตปกครองตนเองคือ กว่างสีจ้วง มองโกเลียใน หนิงเซี่ย ซินเจียง และ ทิเบต ๔ เทศบาลนคร (แต่ละเทศบาลนครมีจานวนประชากรอยู่ระหว่าง ๑ o-๓o ล้านคน) คือ ปักกิ่ง จุงกิง เซี่ยงไฮ้ และเทียนสิน ๒ เขตบริหารพิเศษคือ ฮ่องกงและมาเก๊า (๒) ระดับจังหวัด ประกอบด้วย ๑๗ จังหวัด ๓o เขตปกครองตนเอง (จังหวัด) ๒๘๓ Prefecture- Level Cities และ ๓ Leagues (๓) ระดับอาเภอ ประกอบด้วย ๑,๔๖๔ เทศบาลมณฑล ๑๑๗ เขตปกครองตนเอง (เทศบาลมณฑล) ๓๗๔ County-level cities ๘๕๒ เขต ๔๙ Banners ๓ Autonomous banners ๑ พื้นที่ปุา และ ๒ เขต พิเศษ (๔) ระดับตาบล ประกอบด้วย ๑๔,๖๗๗ ตาบล ๑,o๙๒ หมู่บ้านชนเผ่า ๑๙,๕๒๒ เมือง ๖,๑๕๒ Sub- district ๑๑ District public office ๑๘๑ Sumu และ ๑ Ethnic sumu (๕) ระดับหมู่บ้าน ประกอบด้วย คณะกรรมการละแวกบ้าน (ละแวกบ้านและชุมชน ) และ คณะกรรมการหมู่บ้านหรือกลุ่มหมู่บ้าน (การบริหารหมู่บ้านและหมู่บ้านธรรมชาติ ) ซึ่งรัฐบาลสาธารณรัฐประ ชานจีนมีนโยบายจะยุบรวมการปกครองระดับตาบลและระดับหมู่บ้านเข้าด้วยกันในอนาคต ๑.๔ การปฏิรูปและการเปิดประเทศ ๑) การปฏิรูปภายในประเทศ โดยการตั้งและการพัฒนาระบบเศรษฐกิจการตลาดแบบสังคมนิยม ซึ่งมี ลักษณะเฉพาะตัวที่สาคัญคือการบูรณาการของหลักการระบบการเมืองแบบสังคมนิยมกับระบบเศรษฐกิจ การตลาด ปัจจุบันระบบเศรษฐกิจของภาคเอกชนได้ขยายตัวอย่างรวดเร็วและมีบทบาทสาคัญที่สุดต่อระบบ เศรษฐกิจของประเทศ และหลักการของระบบการกระจายรายได้ตั้งแต่ขั้นตอนพื้นฐานของสังคมนิยมที่เน้นการ กระจายของงานและการมีความหลากหลายของรูปแบบการกระจายรายได้ ๒) การสร้างระบบเศรษฐกิจแบบเปิด ซึ่งประเทศจีนได้ประสบความสาเร็จอย่างสูงและทาให้เป็น ต้นแบบของเศรษฐกิจแบบเปิดในโลกที่ใช้วิธีการแบบก้าวหน้าในพื้นที่เปิด เปูาหมายต่างๆ การเปิดในทุกมิติให้ มากขึ้นทั้งในเชิงกว้างและเชิงลึก การใช้ประโยชน์จากการลงทุนจากต่างประเทศให้มีประสิทธิภาพ โดยเมื่อปี
  • 3. ๓ ๒๕๔๑ ได้กาหนดนโยบายการ ก้าวออกไปทั่วโลก (Go Global) ซึ่งเป็นการใช้ประโยชน์สูงสุดของการ ผสมผสานกันระหว่างเงินทุน เทคโนโลยี การจัดการ วัตถุดิบ และทรัพยากรการตลาดในระดับระหว่างประเทศ และความสอดคล้องอย่างลงตัวของความได้เปรียบอย่างสมบูรณ์และความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ การ เชื่อมโยงโดยตรงเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับโลก ซึ่งมีโอกาสใหญ่ ๒ โอกาสที่ประเทศจีนเสนอให้ ตลาดโลกคือ การเป็นตลาดการรับจ้างผลิตสินค้า (Out-sourcing market) ที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพสูง แต่ต้นทุนต่า และตลาดภายในประเทศจีนที่มีศักยภาพขนาดใหญ่ซึ่งมีประชากร ๑.๓ พันล้านคน ซึ่งประเทศจีน ได้ใช้ยุทธศาสตร์ ๓ แนวทางในการส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการค้ากับประเทศอื่นๆ คือการ สนับสนุนความร่วมมือการค้าเสรีระดับภูมิภาคและระดับทวิภาคีคู่ขนานไปกับความร่วมมือการค้า ระดับพหุ ภาคี การพัฒนาการค้าต่างประเทศโดยมูลค่าการค้าระหว่างประเทศของจีนในปี ๒๕๕๒ มีมูลค่าประมาณ ๒ ,๒ oo พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ตลอดทั้งการให้ความช่วยเหลือต่างประเทศประมาณ ๒ ,๒oo โครงการ และได้เชิญ เจ้าหน้าที่จากต่างประเทศเข้ารับการฝึกอบรม ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ประมาณ ๑oo,ooo คน และได้ส่งผู้เชี่ยวชาญจากประเทศสาธารณรัฐประชาชน จีนไปต่างประเทศจานวน ๒o,ooo คน โดยนโยบาย การต่างประเทศของจีนอยู่บนพื้นฐานของ ๕ หลักการ คือ การเคารพบูรณภาพอย่างเสมอภาค การไม่ แทรกแซงกิจการภายใน ความเสมอภาค ผลประโยชน์ที่เท่าเทียมกัน และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ และ ประเทศจีนเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกอย่างสมบูรณ์เมื่อปี ๒๕๔๔ ๒.ลักษณะเฉพาะของเศรษฐกิจและการค้าโลกในปัจจุบัน บรรยายโดย Liang Yanfen จาก Chinese Academy of International Trade and Economic Cooperation ประกอบด้วย ๔ ลักษณะคือ ๒.๑ ความเสี่ยงต่อความซบเซาของเศรษฐกิจโลกเพิ่มสูงขึ้น ตั้งแต่ปี ๒๕๕๔ เศรษฐกิจโลกได้พื้นตัวอย่าง ต่อเนื่องแต่ ฟื้นตัวอย่างช้าๆ แต่ปัญหาพื้นฐานของวิกฤตการเงินทั่วโลกยังไม่ได้รับการแก้ปัญหาอย่างมี ประสิทธิภาพ และยังมีปัญหาที่พัฒนาขึ้นใหม่ๆและมีปัจจัยที่ไม่แน่นอนเพิ่มมากขึ้น ทาให้กระบวนการฟื้นตัว เกิดความไม่สมดุล เปราะบาง และทาให้เกิดความเสี่ยง ที่จะเกิดปัญหาเศรษฐกิจซบเซาเพิ่มสูงขึ้น ในปี ๒๕๕๕ มีการคาดการณ์ว่าเศรษฐกิจโลกจะพื้นตัวอย่างต่อเนื่องแต่จะเติบโตอย่างช้าๆ ปัญหาวิกฤตการเงินกิจโลกได้ เกิดขึ้นมาแล้ว ๓ ปี ทาให้เกิดผลกระทบอย่างรุนแรงและยังคงประสบอยู่อย่างต่อเนื่อง จากผลกระทบจาก ปัญหาเก่าและใหม่เศรษฐกิจโลกจะขยายตัวในอัตราที่ต่าในระยะยาว โดยมีเหตุผลหลักคือ ๑) ความเสี่ยงด้านปัญหาวิกฤตหนี้สาธารณะสาหรับ ประเทศพัฒนาแล้วมีมากขึ้น โดยเฉพาะหนี้ สาธารณะจานวนมากที่ไม่เคยมีมาก่อนในประเทศแถบยุโรป ความเชื่อมั่นทางการตลาดทาให้เกิดความ สั่นสะเทือนเป็นอย่างมากต่อตลาดการเงิน ห่วงโซ่หนี้สินของประเทศสมาชิกมีความเชื่อมโยงกันทางเศรษฐกิจ อย่างใกล้ชิด ทาให้มีแนวโน้มที่จะทาให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจมากยิ่งขึ้นและฉุดรั้งระบบการเงินและเศรษฐกิจที่ แท้จริงให้ชะลอตัว สาเหตุของปัญหาวิกฤตหนี้ของประเทศแถบยุโรปเกิดมาจากนโยบาย “รายได้สูงและ สวัสดิการสูง” ในช่วงเริ่มต้นนโยบายดังกล่าวเป็นผลดีต่อการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจและเสถียรภาพทางสังคม อย่างไรก็ตามก็ทาให้เกิดปัญหาภาระทางงบประมาณอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้จากการเพิ่มขึ้นของจานวน ประชากรผู้สูงอายุ บางประเทศไม่สามารถตอบสนองความต้องการได้อย่างเพียงพอและจาเป็นต้องพึ่งพาการ ก่อหนี้ ปัญหาวิกฤตการเงินโลกกลายเป็นสาเหตุโดยตรงของวิกฤตและจะเกิดผลกระทบสะสมไปอีกหลายสิบปี ๒) การขาดการขับเคลื่อนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก อัตราการว่างงานที่มีอยู่สูงในประเทศที่พัฒนา
  • 4. ๔ แล้วหลายประเทศ ความเสื่อมถอยของตลาดอสังหาริมทรัพย์และความต้องการที่ลดลงสาหรับการบริโภคและ การลงทุน จุดการเติบโตที่เกิดจากนวัตกรรมทางเทคโนโลยียังไม่มีการก่อตัว ในปัจจุบันช่องทางสาหรับ นโยบายงบประมาณและนโยบายการเงินมีจากัด ในขณะที่เศรษฐกิจของประเทศที่เป็นตลาดใหม่ๆประสบ ปัญหาความกดดันจากอัตราเงินเฟูอที่เพิ่มสูงขึ้นและเศรษฐกิจมีการขยายตัวที่ลดลง รูปแบบของการขาดดุล งบประมาณ การมีหนี้สินจานวนมาก การลงทุนที่มีความเสียงสูงและมีการบริโภคสูงซึ่งเกิดขึ้นในประเทศ พัฒนาแล้วไม่สามารถเกิดขึ้นได้อีกต่อไป จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการปรับตัวในระยะยาว และประเทศ ที่เป็นตลาดใหม่ก็จะประสบปัญหาการปรับตัวที่ยุ่งยากและซับซ้อนมากกว่า ๓) มีความยากในการบรรเทาปัญหาเงินเฟ้อของโลก ประเทศพัฒนาแล้วส่วนใหญ่ส่งเสริมการผ่อน คลายนโยบายด้านการเงิน ธนาคารกลางของยุโรปรักษาระดับอัตราดอกเบี้ยต่าและจะเปิดเผยแผนปฏิบัติการ ด้านการเงินระยะยาว ส่วนสหรัฐอเมริกาได้ประกาศว่าจะรักษาอัตราดอกเบี้ยต่าจนถึงปี ๒๕๕๗ ในอนาคต ความเสี่ยงของการเคลื่อนย้ายเงินทุนทั่วโลกขนาดใหญ่และผิดปกติจะเพิ่มขึ้น ซึ่งตลาดสินค้าจะมีการ เคลื่อนไหวบ่อยๆและแนวโน้มเงินเฟูอของโลกจะเป็นไปในทางลบ ๔) ปัจจัยที่ไม่เกี่ยวข้องทางด้านเศรษฐกิจมีเพิ่มขึ้น ปัญหาวิกฤตการเงินโลกที่กาลังเกิดขึ้นจะส่งผล กระทบมากขึ้นต่อเสถียรภาพทางสังคมและปัญหาต่างๆ เช่น เงินเฟูอ การว่างงาน ความมั่นคงทางสังคมและ ความเหลื่อมล้าจะเป็นสาเหตุให้เกิดความไร้เสถียรภาพทางการเมืองและความขัดแย้งทางสังคมอย่างรุนแรง รวมทั้งเพิ่มจุดความเสี่ยงมากขึ้น ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้จะเป็นสาเหตุให้เกิดผลกระทบอย่างรุนแรงต่อเศรษฐกิจ โลก สถานการณ์เศรษฐกิจของแต่ละภูมิภาคที่สาคัญมีดังนี้  เศรษฐกิจอเมริกา ในปี ๒๕๕๔ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาหดตัวอย่างเห็นได้ชัด อัตราการ ขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศทั้งปีร้อยละ ๑.๗ น้อยกว่าร้อยละ ๓ เมื่อเปรียบเทียบกับปี ๒๕๕๓ และเศรษฐกิจอเมริกามีแนวโน้มฟื้นตัวโดยเฉพาะในภาคอสังหาริมทรัพย์ เหตุผลหลักที่ทาให้เศรษฐกิจ ของอเมริกามีความอ่อนแอคือ (๑) การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจที่มีรัฐบาลให้การสนับสนุนเป็นหลักไม่สามารถ หลีกเลี่ยงการถูกฉุดรั้งโดยการผ่อนหรือการถอนความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องของรัฐบาล (๒) อัตราการว่างงาน ที่สูงขึ้น การเพิ่มขึ้นของอัตราการออมและลดลงของการบริโภค (๓) อุตสาหกรรมการผลิตและการขยายตัว ทางเศรษฐกิจทั้งหมดมีอุปสรรคอย่างต่อเนื่องจากความความเสื่อมถอยของตลาดอสังหาริมทรัพย์ (๔) วิกฤต หนี้ยุโรปที่ควบคุมไม่ได้ ความไร้เสถียรภาพของตลาดการเงิน ความเชื่อมั่นของนักลงทุนที่ลดลงและมูลค่า การค้าที่ลดลงในตลาดหุ้นสหรัฐฯ  Eurozone ได้รับผลกระทบจากวิกฤตหนี้สาธารณะของยุโรป เศรษฐกิจในเขต Eurozone ไม่มี เสถียรภาพในปี ๒๕๕๔ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศขยายตัวร้อยละ ๒.๔ เมื่อเทียบกับปี ๒๕๕๓ โดยมี ประเทศเยอรมันและฝรั่งเศสเป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ปัจจุบันมีความจาเป็นเร่งด่วนในการเสริมสร้างความ เชื่อมั่นของตลาด แต่กระนั้นก็ตามก็มีความสาคัญสาหรับประเทศอื่นๆและสหภาพยุโรปเพื่อหามาตรการในการ จัดการกับวิกฤตการเงิน ซึ่งสมาชิกสหภาพยุโรป ๒๕ ประเทศ ได้ลงนามใน “สัญญาทางการเงิน ” เพื่อสร้าง ความเชื่อมั่นทางการตลาด และคาดการณ์ว่าสหภาพยุโรปจะจัดการปัญหาวิกฤตหนี้สาธารณะได้และเศรษฐกิจ
  • 5. ๕ ของสภาพยุโรปจะมีความยุ่งยากและถดถอยแต่จะไม่พังทลาย ซึ่งสหภาพยุโรปจะไม่ลดการบูรณาการ ทาง เศรษฐกิจแต่การบูรณาการจะทาได้ช้าลง และสหภาพยุโรปจะยังคงเป็นมหาอานาจทางการเมืองและเศรษฐกิจ ของโลก  ญี่ปุ่น เนื่องจากได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สึนามิและการรั่วไหล ของนิวเคลียร์ ทาให้เศรษฐกิจญี่ปุุนถดถอยอีกครั้งตั้งแต่เดือนมีนาคม ๒๕๕๔ ภาคธุรกิจได้รับผลกระทบอย่าง รุนแรงเนื่องจากการส่งออกลดลงอย่างมาก จากข้อมูลของ OECD เมื่อปี ๒๕๕๔ การส่งออกในรอบสี่ไตรมาส เปรียบเทียบกับปี ๒๕๕๓ ลดลงร้อยละ o.๑ % ๑.๗ % o.๖% และ ๑.o % ตามลาดับ  ประเทศที่เป็นตลาดใหม่ (Emerging Markets) และประเทศกาลังพัฒนา ในปี ๒๕๕๔ เศรษฐกิจ ของประเทศที่เป็นตลาดใหม่และประเทศกาลังพัฒนาสามารถรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจได้ เศรษฐกิจของ ประเทศจีนขยายตัวร้อยละ ๙.๒ % และรัสเซียร้อยละ ๔.๑ ในระยะสองปีข้างหน้า จีน อินเดีย บราซิล จะนา การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก อย่างไรก็ตามเศรษฐกิจของประเทศที่เป็นตลาดใหม่ก็ประสบกับแรงกดดันมากขึ้น ต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ รวมทั้งการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าหลัก แรงกดดันมากขึ้นจากเงินเฟูอ และความ เป็นไปได้ของการไหลเข้าของเงินร้อนที่เกิดจากนโยบายทางการเงินที่เข้มงวดและการเพิ่มอัตราดอกเบี้ย ปัญหาทางเศรษฐกิจในประเทศพัฒนาแล้วได้ฉุดรั้งการส่งออกจากประเทศกาลังพัฒนาของภูมิภาคเอเชียให้ ลดลง ซึ่ง IMF ได้คาดการณ์ว่าการส่งออกจากเศรษฐกิจกลุ่มนี้จะขยายตัวร้อยละ ๖.๒ ในปี ๒๕๕๔ ซึ่งลดลง ร้อยละ ๗.๓ จากปี ๒๕๕๓ และขยายตัวร้อยละ ๕.๔ ในปี ๒๕๕๕ และร้อยละ ๕.๙ ในปี ๒๕๕๖ ๒.๒ ช่องว่างที่แคบลงสาหรับเครื่องมือทางนโยบายในประเทศพัฒนาแล้ว ระหว่างปี ๒๕๕๑-๒๕๕๓ ประเทศพัฒนาแล้วส่วนใหญ่ทางานด้วยกันเพื่อพยุงตลาด แต่ปัจจุบันช่องว่างของนโยบายโดยทั่วๆ ไปแคบลง ธนาคารกลางของยุโรปและคณะกรรมาธิการยุโรปไม่สามารถบรรลุข้อตกลงเกี่ยวกับข้อเสนอแผนการฟื้นฟู ประกอบกับแผนงบประมาณของรัฐบาลสหรัฐฯและแผนสิ่งจูงใจทางเศรษฐกิจใหม่ๆก็มีความยุ่งยากในการ จัดทา ประเทศที่เป็นตลาดใหม่จึงได้หารือที่จะซื้อหนี้ของยุโรปเพื่อปรับปรุงความเชื่อมั่นของตลาด เพื่อให้ ประเทศเหล่านั้นหลุดพ้นจากวิกฤตด้วย สิ่งเหล่านี้เกิดจากปัญหาต่างๆ จากนโยบายรัฐบาลและนโยบายด้าน การคลัง เมื่อปัญหาวิกฤตการเงินภาคอสังหาริมทรัพย์เริ่มต้นขึ้น จานวนเงินกู้รวมของรัฐบาลสหรัฐฯ มี ประมาณ ๘.๙ ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยมีอัตราหนี้สินประมาณร้อยละ ๖๕ ขณ ะที่ปัจจุบันมีจานวนเงินกู้ ๑๔ ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ มีอัตราหนี้สินเกือบ ๑oo % ซึ่งมีความคล้ายคลึงกันกับกรณีของยุโรปและญี่ปุุน ด้วยเหตุนี้ปัจจุบันหลายๆ ประเทศจาเป็นต้องลดการขาดดุลงบประมาณและเพิ่มการเก็บภาษี ๒.๓ ความท้าทายใหม่ๆ ในวิกฤตหนี้สาธารณะของยุโรป ตั้งแต่ปี ๒๕๕๔ วิกฤตหนี้สาธารณะของกรีซ ไอร์แลนด์และโปรตุเกสทาให้เกิดความเสื่อมถอย และวิกฤตหนี้ในประเทศอิตาลีและสเปนเกิดขึ้นตามมา ซึ่งทา ให้เกิดความสั่นสะเทือนอย่างรุนแรงต่อตลาดการเงิน ห่วงโซ่หนี้สินของประเทศสมาชิกต่างๆถูกเชื่อมโยงเข้าหา กันและมีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจอย่างใกล้ชิด ซึ่งทาให้เกิดความเป็นไปได้ของวิกฤตจะมีมากขึ้นและฉุดรั้ง ระบบธนาคารและเศรษฐกิจที่แท้จริงมากขึ้น ปัจจุบันภารกิจที่สาคัญอย่างหนึ่งของประเทศพัฒนาแล้วคือการ ลดงบประมาณรัฐบาลและการขาดดุลงบประมาณเพื่อปรับปรุงความเชื่อมั่นของตลาดและกระตุ้นการขยายตัว ทางเศรษฐกิจ นโยบายหลักคือ การลดหนี้สาธารณะและการขาดดุลงบประมาณ ส่งเสริมการขยายตัวทาง เศรษฐกิจและโอกาสในการสร้างงาน ปัญหาวิกฤตหนี้สาธารณะของยุโรปซึ่งขาดการตัดสินใจเพื่อหาทางออก
  • 6. ๖ อย่างเด็ดขาดและบั่นทอนตลาดเงินกู้ทั่วโลก จะทาให้เกิดผลกระทบภายนอกและกระทบต่อเศรษฐกิจของ ประเทศที่เป็นตลาดใหม่ อย่างไรก็ตามการปรับนโยบายด้านการคลังของสหรัฐฯในช่วงแรกจะส่งผลให้เกิดผล กระทบต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจและจะลดความเชื่อมั่นของตลาดในระยะปานกลาง ซึ่งการขยายตัวของ เศรษฐกิจโลกในปี ๒๕๕๕ จะขึ้นอยู่กับว่าประเทศพัฒนาแล้วสามารถควบคุมปัญหาวิกฤตหนี้สาธารณะได้มาก แค่ไหน ๒.๔ การปกป้องทางการค้ามีมากขึ้น เศรษฐกิจโลกถดถอยส่งผลกระทบต่อการค้าโลก เมื่อเศรษฐกิจโลกมี การฟื้นตัวความต้องการสินค้าในตลาดโลกก็เริ่มฟื้นตัว ทาให้การค้าโลกขยายตัวอย่างรวดเร็วในปี ๒๕๕๓ ซึ่งมี มูลค่าสินค้าส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ ๒๒ และคาดการณ์ว่าในปี ๒๕๕๔ ปริมาณการค้าของสินค้าจะเพิ่มขึ้นร้อย ละ ๕.๘ ตั้งแต่ปี ๒๕๕๑ วิกฤตการเงินได้แพร่กระจายไปทั่วโลก เพื่อเป็นการสนับสนุนและปกปูอง อุตสาหกรรมภายในประเทศและปูองกันการถ่ายโอนทางการค้าที่เกิดจากตลาดต่างประเทศที่หดตัว จึงมีการใช้ มาตรการเพื่อปกปูอง ทางการค้าและมีการเพิ่มมาตรการบรรเทาทางการค้า ซึ่งวิธีการที่นิยมใช้ได้แก่ ความ ช่วยเหลือของแต่ละประเทศแก่ผู้ประกอบการภายในประเทศ การบรรเทาทางการค้า มาตรการอุปสรรค ทาง การค้าที่เป็นภาษีและไม่ใช่ภาษี นอกจากนี้ยังมีมาตรการปกปูองที่ปฏิบัติต่อผู้ผลิตจากต่างประเทศ เช่น กระบวนการสอบสวนมาตรการบรรเทาทางการค้า ซึ่งปริมาณของภาษีและมาตรการการปกปูองทางการค้า เป็นที่นิยมใช้โดยรัฐบาลจากประเทศต่างๆ ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๑ มาตรการที่รัฐบาลประเทศต่างๆ นามาใช้ได้แก่ ภาษีการส่งออกหรือการจากัดการส่งออก การบรรเทา การอุดหนุนการส่งออกและอื่นๆ ที่มี เปูาหมายเพื่อเพิ่มการเก็บภาษีได้ทาให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ผลิตมากกว่า ๑๕o ประเทศและภูมิภาค มาตรการบรรเทาวิกฤตและผลกระทบ ได้แก่ (๑) การจัดทาแผนสิ่งจูงใจทางงบประมาณขนาดใหญ่ เช่น การซื้อหนี้เสียจากสถาบันการเงิน การรับประกันหนี้ กานสนับสนุนธนาคารกลางเพื่อเสริมสภาพคล่อง และการลดภาษีธุรกิจและ ภาษีส่วนบุคคล (๒) การจัดทานโยบายการเงินและการคลังแบบพิเศษ เช่น มาตรการบรรเทาขนาดใหญ่ การลดอัตราดอกเบี้ยจานวนมากและบ่อยๆ และการช่วยเสริมสภาพคล่อง ซึ่งเป็น เครื่องมือของธนาคารกลางเพื่อบรรเทาวิกฤต และ (๓) นโยบายการค้าที่ส่งเสริมการบริโภคสินค้าที่ผลิต ภายในประเทศและลดการนาเข้า การเพิ่มภาษีนาเข้า การลดมูลค่าเงิน การเพิ่มการอุดหนุนในรูปแบบต่างๆ การเพิ่มอุปสรรคทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี และมาตรการที่เป็นอุปสรรคทางการค้าและการปกปูองอื่นๆ ๒.๕ เหตุผล บทเรียนและแนวคิดในการทาความเข้าใจกับปัญหาวิกฤตทางการเงิน วิกฤตทางการเงินของ โลกเกิดจากความซับซ้อนของ สาเหตุ การปรับตัวตามห้วงเวลาซึ่งก็คือการเกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจเป็นช่วง ระยะเวลา (Cyclically economic crisis) การปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจให้เหมาะสมเนื่องจากเกิดเงินทุนที่ แท้จริงมีราคาแพง การขยายตัวอย่างรวดเร็วของอุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์ การขาดกฎระเบียบรองรับและ การมีนโยบายการเงินที่ไม่เหมาะสม สาหรับบทเรียนที่ได้รับในวิกฤตเศรษฐกิจครั้งนี้ประกอบด้วย การเกิด วิกฤตทางการเงินที่เกิดเป็นห้วงเวลาซึ่งมีการละเลยต่อสิ่งที่เกิดขึ้น ในแง่ของความรวดเร็ว ขนาด ขอบเขตและ ความเสียหายจากวิกฤต วิกฤตครั้งนี้ได้แสดงให้เห็นผลกระทบเชิงลบของโลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจและการเปิด เสรีทางการลงทุนรวมทั้งเป็นเครื่องเตือนถึงผลจากการยอมรับโลกาภิวัตน์ สาหรับในมุมมองของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นต้นตอของวิกฤตในครั้งนี้ว่าไม่สามารถหลีกเลี่ยงผลกระทบของความไม่ สมดุลของการขยายตัวทาง เศรษฐกิจและการเงิน ซึ่งประเทศที่พัฒนาแล้วควรตระหนัก ถึงความสาคัญในเรื่องนี้ และจากมุมมองของการ
  • 7. ๗ จัดการของรัฐบาลแสดงถึงการไม่ได้รับการควบคุมทางเศรษฐกิจและคาแนะนาทางการเงินจากรัฐบาลซึ่งไม่ สามารถหลีกเลี่ยงได้ทั้งจากรัฐบาล ของประเทศต่างๆรวมทั้งองค์การการเงินระหว่างประเทศ และจากมุมมอง ของวิธีการที่เศรษฐกิจขยายตัว ซึ่งเป็นอิทธิพลสาหรับการขยายตัวเกินขีดจากัดของเศรษฐกิจที่เสมือนจริงและ เครื่องมือทางการเงิน ซึ่งเป็นการลงโทษที่มีการแยกจากเศรษฐกิจที่แท้จริง และควรมีการเปลี่ยนแปลงใน อนาคต จากบทเรียนดังกล่าว จึงได้มีแนวคิดในการทาความเข้าใจกับปัญหาวิกฤตทางการเงินประกอบด้วย ปัญหาของโลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจและการปรับตัวของวงรอบเศรษฐกิจโลก เมื่อวงรอบของการขยายตัวทาง เศรษฐกิจยาวนานขึ้นทาให้คนละเลยถึงความเสี่ยงของวิกฤตเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นตามมา และผลกระทบของ โลกาภิวัตน์มีสองด้าน ทั้งด้านทั้งส่งเสริมการเคลื่อนย้ายเงินทุนเสรีและ ด้านการสร้างความขัดแย้งภายในและ สร้างความไม่สมดุลภายในของประเทศที่พัฒนาแล้วทั่วโลก จึงควรศึกษาอย่างรอบคอบของเศรษฐกิจเสมือน จริงและเศรษฐกิจที่แท้จริง เนื่องจากเกิดการขยายตัวเกินขนาดของเศรษฐกิจเสมือนจริง โดยการขยายตัวของ สินทรัพย์สังคมการเงิน เช่น ในปี ๒๕๔๓ ตลาดการเงินโลกขยายตัวมากกว่าผลิตภัณฑ์มวลรวมของโลก ประมาณ ๙o % และเศรษฐกิจที่แท้จริงของโลกอ่อนแอลง โดยเศรษฐกิจโลกขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ ๔ ในขณะที่ ตลาดเงินทุนโลกขยายตัวร้อยละ ๑๔ .๘๕ เมื่อเทียบกับปี ๒๕๔๒ ประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในโลก คือสหรัฐอเมริกาซึ่งมีสัดส่วนร้อยละ ๒๔ .๕ ของผลิตภัณฑ์มวลรวมของโลกมีเศรษฐกิจที่ไม่สมดุล ทาให้มี ช่องว่างระหว่างเศรษฐกิจเสมือนจริงและเศรษฐกิจที่แท้จริงมาก รวมทั้งควรกล่าวหาสหรัฐอเมริกาเนื่องจาก เกิดความถดถอยของภาคอุตสาหกรรมการผลิต ในขณะที่กาไรของภาคบริการการเงินและอสังหาริมทรัพย์ ขยายตัวสูงมากประมาณร้อยละ ๔o ของกาไรจากภาคธุรกิจ ซึ่งสูงขึ้นประมาณสองเท่าของ ๒o ปีที่ผ่านมา และเกิดจากการที่รัฐบาลไม่ควบคุม กฎระเบียบสาหรับอุตสาหกรรมการเงินโดยการฝุาฝืนหลักการของความ ระมัดระวัง เนื่องจากมีการปล่อยเงินกู้ในตลาดห่วงโซ่การเงินสหรัฐฯโดยไม่มีการพิสูจน์ความน่าเชื่อถือทางการ เงินทาให้เกิดปัญหากับระบบการเงินตามมา และความอ่อนแอของกฎระเบียบในตลาดการเงินรวมทั้งความไม่ เพียงพอของการควบคุมความเสี่ยงและการจัดการในบริษัททางการเงิน และการขาดประสิทธิภาพในการ จัดการกับการกู้ยืมเงินจานวนมากโดยรัฐบาล ตลอดทั้งธนาคารและธนาคารเพื่อการลงทุนต่างๆจัดทา ระบบ บัญชีสองระบบรวมทั้งการแยกการตรวจสอบซึ่งทาให้เกิดการปิดบังความเสี่ยงทางการตลาดมากยิ่งขึ้น ๓.กระบวนการทาให้ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนมีความทันสมัยในช่วง ๖o ปี ที่ผ่านมา บรรยายโดย Diao Zhiping Professor จาก Beijing Jiaotong University กระบวนการทาให้ประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจีนมีความทันสมัยแบ่งออกเป็น ๓ ระยะคือ ระยะจุดเริ่มต้นของพื้นฐานสาหรับประเทศจีนใหม่เมื่อปี ๒๔๙๒ ระยะการปฏิวัติสังคมนิยมและระยะการก่อสร้างประเทศ (ระยะ ๓o ปีแรก) ระยะการเปิดประเทศ และระยะปฏิรูปและการทาสังคมนิยมให้ทันสมัย (๓o ปีหลัง) ความสาเร็จสูงสุดคือมิติภายในโดยการทาให้ ประชาชนมีความทันสมัย และมิติภายนอกโดยการทาให้เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม และความความเป็น เมืองมีความทันสมัย ซึ่งการทาให้เศรษฐกิจมีความทันสมัยจะเน้นด้านการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โครงสร้าง เศรษฐกิจที่เน้นโครงสร้างการเป็นเจ้าของและโครงสร้างอุตสาหกรรม ตลอดทั้งการพัฒนาระบบเศรษฐกิจของ ประเทศโดยมุ่งเน้นด้านระบบการพัฒนาอุตสาหกรรม ๓.๑ ระยะจุดเริ่มต้นของพื้นฐานสาหรับประเทศจีนใหม่ เมื่อปี ๒๔๙๒ ซึ่งผลผลิตของอุตสาหกรรมที่ ทันสมัยคิดเป็นร้อยละ ๑๗ ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ ภาคเกษตรและอุตสาหกรรมหัตถกรรมคิดเป็น
  • 8. ๘ ร้อยละ ๘๓ ทาให้ประเทศจีนมีการพึ่งพาภาคเกษตรเป็นหลัก รายได้ต่อหัวของประชาชนคือ ๘๑ o บาท น้อย กว่า ๒ ใน ๓ ของประเทศในภูมิภาคเอเชีย และน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของประเทศอินเดียซึ่งมีรายได้ต่อหัวประมาณ ๑,๗๑o บาท ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติของประเทศจีนประมาณ ๑ ,๑๒๑ พันล้านเหรี ยญสหรัฐฯ ในปี ๒๕๑๕ ขยายตัวเป็นประมาณ ๕๘ ,๗๙o ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ สาหรับรายได้ต่อหัวของประชากรขยายตัว จาก ๕๑o เหรียญสหรัฐฯ ในปี ๒๕๓๖ เป็น ๔,๓๙๔ เหรียญสหรัฐฯ ในปี ๒๕๔๓ ซึ่งเศรษฐกิจของประเทศจีน มีขนาดใหญ่เป็นลาดับที่สองของโลกรองจากสหรัฐอเมริกา ๓.๒ การทาให้การเมืองของประเทศจีนมีความทันสมัยในช่วง ๖o ปีที่ผ่านมา มีการพัฒนาอย่างก้าว กระโดด ๒ ครั้งคือ ครั้งที่ ๑ จัดตั้งระบบโครงสร้างสังคมการเมืองใหม่และระบบมาตรฐานการเมือง การ ปรับตัวสู่ระบบธรรมชาติที่ให้ประชาชนเป็นศูนย์กลางประชาธิปไตย และจัดตั้งกรอบพื้นฐานสาหรับการเมืองที่ เป็นประชาธิปไตยแบบสังคมนิยม และก้าวกระโดดที่สองคือการปกครองโดยระบบ กฎหมายตามหลักการ การเมืองที่เป็นประชาธิปไตยแบบสังคมนิยม ซึ่งระบบกฎหมาย ที่บังคับใช้ได้แก่ รัฐธรรมนูญ กฎหมาย กฎระเบียบทางการบริหาร กฎระเบียบท้องถิ่น และเอกสารทางกฎหมายอื่นๆใน ๓ ระดับ ครอบคลุม ๗ กรม โดยมีกฎหมายที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ๒๓๙ ฉบับ ๓.๓ การทาให้ประชาชนมีความทันสมัยในช่วงในช่วง ๖o ปีที่ผ่านมา แบ่งออกเป็น ๓ ด้านคือ (๑) คุณภาพของประชากรครอบคลุมทั้งด้านกายภาพและจิตวิทยา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม แนวความคิด และมาตรฐานด้านจริยธรรม (๒) วิถีชีวิตครอบคลุมวิถีการบริโภคและการสื่อสาร และ (๓) วิธีการคิดที่เป็น นวัตกรรม การเปิดกว้างและการคิดเป็นระบบ ๓.๔ การประเมินมาตรฐานสาหรับการทาให้ประเทศจีนมีความทันสมัยในปัจจุบันและเป้าหมายที่ท้าทาย ในอนาคต สามารถจาแนกออกได้เป็น ๗ ด้าน จานวน ๒๗ ตัวชี้วัด ประกอบด้วย ๑) การขยายตัวทางเศรษฐกิจ มีตัวชี้วัดที่สาคัญได้แก่  ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศต่อหัว ระหว่าง ๖,ooo-๑๕,ooo เหรียญสหรัฐฯ  มูลค่าเพิ่มของอุตสาหกรรมสมัยใหม่คิดเป็นร้อยละ ๔๕-๗o ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ  มูคค่ารวมของการค้าระหว่างประเทศร้อยละ ๓o-๖o ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ  ความเป็นอิสระทางเศรษฐกิจโดยมีค่าใช้จ่ายงบประมาณของรัฐบาล <ร้อยละ ๒o ถึง <ร้อยละ ๑o ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ๒) ความเป็นเมือง มีตัวชี้วัดที่สาคัญได้แก่  กาลังแรงงานที่อยู่นอกภาคเกษตรร้อยละ ๗o-๙o ของกาลังแรงงานทั้งประเทศ  จานวนประชากรที่อาศัยอยู่ในเมืองร้อยละ ๕o-๙๕ ต่อประชากรทั้งประเทศ ๓) การเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีโทรคมนาคมและเทคโนโลยีข่าวสาร มีตัวชี้วัดที่สาคัญ ได้แก่  อัตราการมีโทรศัพท์ใช้ต่อประชากร ๑oo คน ร้อยละ ๕o-๘o
  • 9. ๙  อัตราการมีโทรทัศน์ใช้ต่อ ๑oo ครัวเรือน ร้อยละ ๒o-๕o  อัตราการมีคอมพิวเตอร์ใช้งาน ๒oo-๑,ooo คน ต่อประชากร ๑o,ooo คน  อัตราการเข้าถึงอินเตอร์เนตร้อยละ ๒.๕-๑o ต่อประชากรทั้งหมด ๔) การพัฒนาสังคม มีตัวชี้วัดที่สาคัญได้แก่  อัตราแพทย์ ๑๒-๒๕ คน ต่อประชากร ๑o,ooo คน  Geni coefficient <๓.๕-๒.o  ดัชนีความซื่อสัตย์ ๔-๘  อัตราความยากจน <ร้อยละ๓ – ร้อยละ ๑  มีนโยบายกาหนดให้แต่ละครอบครัวมีบุตรได้ ๑ คน ตั้งแต่ปี ๒๕๒๑ ๕) การพัฒนาวิทยาศาสตร์ มีตัวชี้วัดที่สาคัญได้แก่  ค่าใช่จ่ายสาหรับการทาการวิจัยและพัฒนาร้อยละ ๒.๕-๕ ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ  มูลค่าเพิ่มของอุตสาหกรรมที่ทันสมัยในมูลค่าเพิ่มของภาคอุตสาหกรรมร้อยละ ๒o-๕o ๖) คุณภาพของประชากร มีตัวชี้วัดที่สาคัญได้แก่  จานวนนักศึกษาระดับวิทยาลัย ๑๕o-๑,ooo คน ต่อประชากร ๑o,ooo คน  ค่าใช้จ่ายเพื่อการศึกษาสาธารณะร้อยละ ๕-๑o ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ  อัตราการรู้หนังสือของผู้ใหญ่ร้อยละ ๙๕-๙๘  จานวนปีการศึกษาเฉลี่ย ๑o-๑๒ ปี  กาหนดนโยบายให้หนึ่งครอบครัวมีบุตรได้หนึ่งคนตั้งแต่ปี ๒๕๒๑  อัตราการเรียนชั้นประถมศึกษาร้อยละ ๙๕  อัตราการับนักศึกษาเพื่อเรียนต่อระดับปริญญาตรีร้อยละ ๗๒.๓ (ปี ๒๕๕๔) ๗) คุณภาพชีวิต มีตัวชี้วัดที่สาคัญได้แก่  Engel’s coefficient <๓o - <๒o  อายุเฉลี่ย ๗๕-๗๗ ปี  พื้นที่บ้านอยู่อาศัยต่อคน ๒o-๔o ตารางเมตร  สัดส่วนของงบประมาณเพื่อปกปูองสิ่งแวดล้อมร้อยละ ๑๕-๓o ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ๓.๕ ความท้าทายสาหรับการทาให้ประเทศจีนมีความทันสมัย ประกอบด้วย  แรงกดดันที่เกิดจากประชากร ๓ ด้าน ได้แก่ จานวนประชากรรวมของประเทศ ประชากรที่มีงานทา ทั้งหมด จานวนประชากรผู้สูงอายุรวมทั้งประเทศซึ่งอีก ๒ o ปีข้างหน้าประเทศจีนจะมีประชากร สูงอายุประมาณ ๑ ใน ๓ ของประชากรทั้งประเทศ และปัญหาขาดแคลนแรงงานมีฝีมือ
  • 10. ๑๐  การใช้พลังงานและและทรัพยากรธรรมชาติอย่างฟุุมเฟือย และการขาดแคลนพลังงาน  การเร่งใช้ประโยชน์ของทรัพยากรทางนิเวศน์และการขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ  ความยุ่งยากในการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ความเป็นเมือง ซึ่งก่อนปี ๒๕๙๓ ความเป็นเมืองของ ประเทศจีนจะขยายตัวเป็น ๗o % เทียบกับปัจจุบันที่ ๕o % โดยเมื่อการเป็นเมืองขยายตัวปีละ ๑ % จึงจะทาให้บรรลุเปูาหมายการทาให้ประเทศจีนมีความทันสมัย เช่น ประชาชนมากกว่า ๑o ล้านคนที่ อาศัยอยู่ในชนบทของทุกๆ ปีจะเปลี่ยนแปลงสภาพเป็นประชากรเมือง  การเร่งสร้างความสมดุลของการพัฒนาภูมิภาคและการบรรลุเปูาหมายความอยู่ดีกินดีร่วมกันและเท่า เทียมกัน  การส่งเสริมการใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวางจากข้อมูลข่าวสารในยุคโลกาภิวัตน์และการเสริมสร้างขีด ความสามารถในการแข่งขันระดับนานาชาติ ๔.สถานการณ์เศรษฐกิจมหภาคและปัญหาของระบบปฏิรูปภาษีของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน บรรยายโดย Liu Zuntao จาก State Administration of Taxation ๔.๑ ภาพรวมของระบบภาษีในประเทศจีน หน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการเก็บภาษีประกอบด้วย  กระทรวงการคลัง มีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทานโยบายภาษีและการวางแผนระบบภาษี  หน่วยงานบริหารการภาษีของรัฐ มีหน้าที่เก็บภาษีและการบริหารภาษีและมีส่วนร่วมในการกาหนด นโยบายภาษีและระบบและกาหนดการวางแผนปฏิรูประบบภาษี  หน่วยงานบริหารภาษีศุลกากรทั่วไป มีหน้าที่จัดการอัตราภาษีและ เก็บ ภาษีนาเข้าสินค้า (ภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีการบริโภค) ๔.๒ โครงสร้างของระบบภาษี จาแนกออกเป็น ๓ ระดับคือ  ภาษีที่จัดเก็บโดยส่วนกลาง ประกอบด้วยภาษีการบริโภค ภาษีนาเข้า ภาษีนาเข้าที่เพิ่มขึ้นและภาษี การบริโภค ภาษีธุรกิจจากการขนส่งทางรถไฟ ธนาคารของรัฐและสานักงานใหญ่ของบริษัทประกันภัย ภาษีทรัพยากรปิโตรเลียมในทะเล ภาษีการขนส่งทางเรือ และภาษีรถยนต์  ภาษีทีจัดเก็บร่วมกัน ประกอบด้วยภาษีมูลค่าเพิ่ม (ยกเว้นภาษีนาเข้าที่จัดเก็บโดยศุลกากร โดย ส่วนกลางจัดเก็บ ๗๕ % และท้องถิ่นจัดเก็บ ๒๕ %) ภาษีรายได้ธุรกิจ (ส่วนกลางจัดเก็บ ๖o % และ ท้องถิ่นจัดเก็บ ๔o %) ภาษีเงินได้ส่วนบุคคล (ส่วนกลางจัดเก็บ ๖o % และท้องถิ่นจัดเก็บ ๔o %) ภาษีแสตมป์การค้าหลักทรัพย์ (ส่วนกลางจัดเก็บ ๙๗ % และส่วนท้องถิ่นจัดเก็บ ๓ %)  ภาษีที่จัดเก็บโดยส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วยภาษีธุรกิจ ภาษีการบารุงรักษาเมือง ภาษีก่อสร้าง ภาษี อสังหาริมทรัพย์ ภาษีการใช้ประโยชน์ทีดินใน เขตเมือง ภาษีการถือครองที่ดิน ภาษีรถยนต์ ภาษีที่ดิน อัตราก้าวหน้า ภาษีบุหรี่ ภาษีทรัพยากร และภาษีอากรแสตมป์ ในปี ๒๕๓๗ มีการปฏิรูระบบภาษีในประเทศจีนอย่างกว้างขวางทั้งเชิงกว้างและเชิงลึกเพื่อสนับสนุนระบบ เศรษฐกิจการตลาดแบบสังคมนิยม หลังจากนั้นในช่วงแผนพัฒนาแห่งชาติฉบับที่ ๑๑ ได้มีการปรับปรุงระบบ ภาษีเพิ่มเติม
  • 11. ๑๑ ๔.๓ สภาพเศรษฐกิจมหภาคในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๕๔- ๒๕๕๘) พื้นฐานของเศรษฐกิจประเทศจีนโดยทั่วๆ ไปแล้วมีความมั่นคง อย่างไรก็ตามต้นทุนของแรงงาน ที่ดิน ทรัพยากรต่างๆ และสิ่งแวดล้อมเพิ่มสูงขึ้น และการใช้ประโยชน์จากโครงสร้างประชากรกาลังลดลงเนื่องจาก ประเทศจีนกาลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ตลอดทั้งค่อยๆ สูญเสียขีดความสามารถทางการแข่งขัน ในช่วง แผนพัฒนาแห่งชาติฉบับที่ ๑๒ ขีดความสามารถในการแข่งขันที่เคยใช้ต้นทุนต่าแบบดั้งเดิมจะใช้ไม่ได้ อีกต่อไป ดังนั้นจึงมีความจาเป็นเร่งด่วน ที่จะต้องปรับรูปแบบการพัฒนา เพื่อเน้นการใช้เทคโนโลยีชั้นสูง การจัดการ นวัตกรรมและปรับปรุงขีดความสามารถของกาลังแรงงาน จากวิกฤตการเงินโลกอาจทาให้เกิดความต้องการ สินค้าจากประเทศจีนลดน้อยลงตามไปด้วยในระยะยาว แต่เศรษฐกิจภายในประเทศยังสามารถขยายตัวได้ อย่างต่อเนื่อง แต่ขณะเดียวกันก็ยังประสบปัญหาที่สาคัญหลายอย่าง เช่น ความเหลื่อมล้าด้านการพัฒนา ระหว่างเมืองและชนบทและระหว่างภาค การลงทุนและการบริโภค โครงสร้างทางอุตสาหกรรม ความ ต้องการสินค้าทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ การขยายตัวทางเศรษฐกิจและการกระจายความเจริญ ทางเศรษฐกิจ เปูาหมายการปฏิรูประบบภาษีในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๒ ประกอบด้วย การใช้ประโยชน์สูงสุดจากโครงสร้างระบบภาษี การกระจายภาระทางภาษีให้เกิดความเท่าเทียม และเป็นธรรม การกระจายอานาจให้จังหวัดจัดเก็บและจัดการภาษี จัดทามาตรฐานการกระจายงบประมาณไป ยังพื้นที่ที่กาลังพัฒนาเพื่อส่งเสริมการขยายตัวทางเศรษฐกิจระดับภาค โดยมีกิจกรรมหลักที่ควรทาการปฏิรูป ระบบภาษีได้แก่ การขยายการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มและการลดภาษีธุรกิจ การจัดทารูปแบบระบบการจาแนก ภาษีแบบภาพรวม จัดเก็บภาษีการบริโภคโดยการเพิ่มการเก็บภาษีสาหรับสินค้าที่ใช้พลังงานสูงและมีมลพิษสูง และลดภาษีสาหรับสินค้าที่ให้พลังงานต่าและมีมลพิษต่า เพื่อทาให้เกิดการใช้ปะโยชน์สูงสุดจากโครงสร้างภาษี และการขยายกรอบการจัดเก็บภาษีทรัพยากรโดยการปรับปรุงระบบฐานการจัดเก็บภาษี ผสมผสานราคาและ ปริมาณและจัดตั้งกลไกที่ยืดหยุ่นเพื่อผสมผสานรายได้จากภาษีทรัพยากรและราคา สาหรับยุทธศาสตร์การพัฒนาเชิงพื้นที่ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนได้กาหนดนโยบายการพัฒนา ที่แตกต่างกัน ในช่วงปี ๒๕๓๓-๒๕๔๓ มีการเร่งพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ ในจังหวัดกวางดอง จังหวัดฟูเจี้ยน จังหวัดซินเจียงและจังหวัดไห่หนาน และพื้นที่พัฒนา ชายฝั่งทะเล ได้แก่ จังหวัดเหอเปุย จังหวัดเทียนจิน จังหวัดชานดอง จังหวัดเจียงซู จังหวัดเซี่ยงไฮ้ จังหวัดซีเจียง จังหวัดฟูเจี้ยนและจังหวัดกว่างสีโดยการให้สิทธิ พิเศษทางภาษีแก่การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ หลังจากนั้นตั้งแต่ปี ๒๕๓๘ กาหนดให้มียุทธศาสตร์การ พัฒนาภาคตะวันตกของประเทศ ครอบคลุม ๑๔ จังหวัด โดยการยกเว้นการเก็บภาษีเงินได้ระหว่าง๕-๘ ปี หลังจากนั้นจะเก็บภาษีเงินได้ธุรกิจร้อยละ ๑๔ ต่อปี จากปกติที่จัดเก็บในพื้นที่อื่นๆ ร้อยละ ๓o ต่อปี แก่การ พัฒนาอุตสาหกรรมเปูาหมาย ได้แก่ การปกปูองสิ่งแวดล้อม การจัดการโลจิสติกส์สมัยใหม่ และวิสาหกิจที่ เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม และในช่วง ศตวรรษที่ ๒๑ ให้ความสาคัญกับการกระตุ้นการพัฒนาฐานการผลิต อุตสาหกรรมที่เคยมีอยู่เดิมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศและสร้างความมั่งคั่งในพื้นที่ภาคกลางของ ประเทศ โดยปัจจุบันรัฐบาลจีนได้มีนโยบายยกเลิกการให้สิทธิพิเศษทางภาษีแก่การลงทุนโดยตรงจาก ต่างประเทศในพื้นที่พัฒนาชายฝั่งทะเลแล้วเพื่อเป็นมาตรการลดความเหลื่อมล้าด้านการพัฒนาระหว่างภูมิภาค
  • 12. ๑๒ ๕.การพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดเล็กและขนาดกลาง (Small and Medium Sized Enterprises: SMEs) ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน บรรยายโดย Lin Wenying จาก Commissioner, China International Cooperation, Association of Small and Medium Enterprises (CICASME) และ Vice President and Executive Chief Editor of China SME Magazine ๕.๑ ความเป็นมาของการพัฒนา ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนมีการพัฒนาเศรษฐกิจแบบการตลาดได้ ประมาณ ๓๕ ปี โดยอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจในปี ๒๕๕๔ ร้อยละ ๙.๒ ปี ๒๕๔๓ ร้อยละ ๑o.o๓ ปี ๒๕๔๒ ร้อยละ ๘.๗ และในช่วง ๑o ปี ( ๒๕๔๔-๒๕๕๔) ค่าเฉลี่ยร้อยละ ๑o.๖ และผลิตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศในปี ๒๕๕๔ ประมาณ ๗ ,๒๖๑ พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งรายได้ต่อหัวของรายได้ประชาชาติ รวมจัดเป็นลาดับที่ ๑๒๑ จาก ๒๑๕ ประเทศ ประชากรที่อาศัยอยู่ในเมืองร้อยละ ๔๙.๗ และประชากรที่อาศัย อยู่ในชนบทร้อยละ ๕ o.๓ อัตราการขยายตัวของประชากรในปี ๒๕๕๓ ร้อยละ ๔ .๗๙ รายได้ต่อหัวของ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในเมือง ๑๙ ,๑o๙ หยวน/ปี (อัตราแลกเปลี่ยน ๑ หยวนของจีน เท่ากับประมาณ ๕ บาท ไทย) และรายได้ต่อหัวของประชาชนที่อาศัยอยู่ในชนบท ๕ ,๙๑๗ หยวน/ปี โครงสร้างอุตสาหกรรมในปัจจุบัน ขงประเทศจีนประกอบด้วยอุตสาหกรรมเสาหลัก ได้แก่ อุตสาหกรรมประหยัดพลังงานและปกปูองสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ ชีวภาพและการผลิตเครื่องจักรเครื่องมือระดับสูง และอุตสาหกรรมชั้นนา ได้แก่ อุตสาหกรรมพลังงาน วัสดุใหม่และยานยนต์ที่ใช้พลังงานรูปแบบใหม่ เป็นต้น ๕.๒ ลักษณะเฉพาะของการพัฒนาอุตสาหกรรม SMEs ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เริ่มต้น ขยายตัวพร้อมกับการปฏิรูปเศรษฐกิจตั้งแต่ปี ๒๕๒๒ และเริ่มการพัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่ชนบทก่อนใน ลักษณะ “เมืองวิสาหกิจ (Township Enterprises)” และได้กลายเป็นพลังผลักดันของภาคเอกชน ตลอด ทั้งเป็นพลังขับดันระบบเศรษฐกิจการตลาดและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ซึ่งการพัฒนา อุตสาหกรรมขนาดจี๋ว ขนาดเล็กและขนาดกลางจาแนกออกเป็น ๑๖ สาขาคือ เกษตรกรรม ปุาไม้ ปศุสัตว์และ ประมง อุตสาหกรรม ก่อสร้าง ค้าส่ง ค้าปลีก การขนส่งและโลจิสติกส์ การเก็บรักษา ไปรษณีย์ โรงแรม อาหาร การเผยแพร่ข่าวสาร ซอฟแวร์และบริการเทคโนโลยีข่าวสาร อสังหาริมทรัพย์ การจัดการทรัพย์สิน การให้เช่า และบริการทางธุรกิจ และอื่นๆ โดยมีตัวชี้วัดที่สาคัญคือ จานวนพนักงาน เงินทุนหมุนเวียน และทรัพย์สินรวม ซึ่งประกอบด้วยสิ่งก่อสร้าง อสังหาริมทรัพย์ การให้เช่าและบริการพาณิชย์ต่างๆ ในปี ๒๕๕๓ มีวิสาหกิจที่ สร้างงานให้ตนเองในเมือง ๔๔ .๗ ล้านราย ในชนบท ๒๕ .๖ ล้านราย หน่วยธุรกิจ ๖ .๕๑๘ ล้านหน่วย โดย ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมที่มีรายได้เกินกว่า ๕ ล้านหยวน มีจานวนทั้งสิ้น ๔๕๒,๘๗๒ ราย โดยแบ่งออกเป็น ขนาดใหญ่ ๓,๗๔๒ ราย ขนาดกลาง ๔๒.๙o๖ ราย และขนาดเล็ก ๔o๖,๒๒๔ ราย ๕.๓ บทบาทของวิสาหกิจขนาดเล็กและขนาดกลาง มี ๓ ด้านคือ ๑) บทบาทต่อการพัฒนาสังคม จากปี ๒๕๑๙ มีประชากรจากชนบท ๒๓o ล้านคน เปลี่ยนแปลงการ ประกอบอาชีพจากภาคเกษตรไปเป็นภาคอุตสาหกรรมหรือภาคบริการส่วนใหญ่ทางานในวิสาหกิจขนาดเล็ก และขนาดกลางหรือสร้างงานเป็นของตนเอง และ SMEs ได้เป็นแหล่งการจ้างงานร้อยละ ๘o สาหรับแรงงานที่ อาศัยอยู่ในเมือง และร้อยละ ๘๓ สาหรับแรงงานที่อาศัยอยู่ในชนบท โดยในช่วง ๕ ปี (ระหว่างปี ๒๕๔๖ - ๒๕๕o) มีงานใหม่เพิ่มขึ้นกว่า ๑o ล้านตาแหน่งสาหรับแรงงานที่อาศัยอยู่ในเมืองในแต่ละปี มีแรงงานภาค เกษตรกรรมจานวน ๘ ล้านคนเปลี่ยนแปลงไปทางานในภาคอุตสาหกรรมหรือภาคบริการต่อปี และเป็นแหล่ง จ้างงานกว่าร้อยละ ๗๕ ของตาแหน่งงานสาหรับแรงงานที่เพิ่มขึ้นใหม่
  • 13. ๑๓ ๒) บทบาทต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ความสาคัญของ SMEs เกิดจากวิกฤตการเงินระหว่างประเทศและ มีบทบาทในการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ สร้างความมั่นคงในชีวิตของประชาชนและส่งเสริมการพัฒนา อุตสาหกรรม โดยสินค้าและบริการที่ผลิตโดยวิสาหกิจขนาดเล็กและขนาดกลางคิดเป็นร้อยละ ๖ o ของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ในปี ๒๕๕๓ ร้อยละ ๗๔ ของมูลค่าผลผลิตอุตสาหกรรมที่เพิ่มขึ้น ร้อยละ ๕๘.๙ ของสินค้าทางสังคมที่ขายทั้งหมด ร้อยละ ๖๘ .๓ ของมูลค่าส่งออกทั้งหมด ร้อยละ ๖๙ ของมูลค่าการ นาเข้าทั้งหมด และร้อยละ ๕ o ของภาษีที่จัดเก็บได้ทั้งหมด รวมทั้งวิสาหกิจของสาธารณรัฐประชาชนจีนที่ไป ลงทุนต่างประเทศมากกว่าร้อยละ ๘o เป็น SMEs (จากทั้งสิ้นประมาณ ๓o,ooo ผู้ประกอบการ) ๓) บทบาทต่อการพัฒนาเทคโนโลยี มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ร้อยละ ๘๒ จัดทาโครงการด้าน นวัตกรรมทางวิชาการร้อยละ ๗๔ จดทะเบียนสิทธิบัตรร้อยละ ๖๖ และมีบทบาทนาในการใช้ความรู้อย่าง เข้มข้นเพื่อการผลิตสินค้าและบริการ ๕.๔ โครงสร้างและการกระจายตัวของวิสาหกิจขนาดเล็กและขนาดกลาง มี ๔ ด้านคือ ๑) โครงสร้างของขนาด ภาคอุตสาหกรรมประกอบด้วยวิสาหกิจขนาดเล็กและขนาดกลาง ๓ ขนาด โดยมีรายละเอียดปรากฏตามตารางที่ ๑ ด้านล่าง ตารางที่ ๑: โครงสร้างขนาดของ SMEs ของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ขนาด จานวน SMEs จานวนทรัพย์สินทั้งสิ้น (พันล้านหยวน) มูลค่าผลผลิตอุตสาหกรรมรวม (พันล้านหยวน) ใหญ่ ๓,๗๔๒ ๒๓,๖๒๕.๗ ๒๒,๙๙๓.๗ กลาง ๔,๒๙o๖ ๑๙,๑๑๙.๕ ๒o,๓๙๒.๕ เล็ก ๔o๖,๒๒๔ ๒๕,๘๗๓ ๒๖,๔๗๑.๕ รวม ๔๕๒,๘๗๒ ๕๙,๒๘๘.๒ ๖๙,๘๕๙.๑ ที่มา: China Statistical Yearbook ๒๕๕๔ ๒) รูปแบบการจดทะเบียน ในปี ๒๕๕๓ มีการจดทะเบียนทางธุรกิจหลายรูปแบบซึ่งมีรายได้ธุรกิจเกิน กว่า ๕ ล้านหยวนต่อปี มีรายละเอียดดังตารางที่ ๒
  • 14. ๑๔ ตารางที่ ๒: รูปแบบการจดทะเบียนธุรกิจและมูลค่าการลงทุนของ SMEs ของประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจีน ประเภทรูปแบบการจดทะเบียน จานวน SMEs มูลค่าผลผลิต อุตสาหกรรมรวม (พันล้านหยวน) สัดส่วนตาม จานวน (%) สัดส่วนตามมูลค่า ผลผลิต อุตสาหกรรม (%) ๑.รัฐบาลเป็นเจ้าของ ๒.รวมตัวเป็นเจ้าของร่วมกัน ๓.สหกรณ์ ๔.การเป็นเจ้าของร่วมกัน ๕.บริษัทจากัด ๖.ถือหุ้นร่วมกัน ๗.เอกชน ๘.อื่นๆ ๙.วิสาหกิจที่เงินลงทุนมาจากฮ่องกง มาเก๊าและไต้หวัน ๑o.เงินลงทุนจากต่างประเทศ ๘,๗๒๖ ๙,๑๖๖ ๔,๔๘๑ ๗o๔ ๗o,o๗๘ ๙,๕๖๒ ๒๗๓,๒๕๙ ๒,๘๕๑ ๓๔,o๖๙ ๓๙,๙๗๖ ๖,o๖๗.๓ ๑,o๓๘.๓ ๓๗๘.๙ ๑๒๓.๗ ๑๕,๖๒๓.๒ ๖,๘๓o.๔ ๒๑,๓๓๓.๙ ๒๘๗.๖ ๖,๕๓๕.๘ ๑๒,๓๕๖ ๒.๓ ๒.๘ ๑.๓ o.๒ ๑๔.๗ ๒.๒ ๕๘.๒ ๘.๔ ๙.๙ ๙.๒ ๑.๘ o.๖๕ o.๓๕ ๒๑.๔ ๙.๙ ๒๗.๒ ๑o.๑ ๑๙.๔ จานวนทั้งสิ้น ๔๕๒,๘๗๒ ๖๙,๘๕๙.๑ ๑oo ๑oo ที่มา: China Statistical Yearbook ๒๕๕๔ ๓) สาขาการผลิตที่สาคัญ SMEs ส่วนใหญ่เป็นการพัฒนาเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเบา สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม การบริการต่างๆ เช่น อาหาร ค้าส่งและค้าปลีก เฟอร์นิเจอร์ เครื่องหนัง พลาสติก สินค้าเหล็ก สินค้ากีฬา การ ผลิตกระดาษ และการพิมพ์ ๔) การกระจายตัวทางภูมิศาสตร์ของอุตสาหกรรม ในพื้นที่ ๙ จังหวัดที่มีการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่าง ก้าวหน้าปรากฏดังตารางที่ ๓ ด้านล่าง