SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 9
บทนา
เชื้อเพลงเป็นทรัยกากรที่มีความสาคัญที่มีส่วนในการพัฒนาประเภทเป็นอย่างมาก เนื่องจากประเทศไทยเป็น
ประเทศที่กาลังพัฒนา มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างรวดเร็วมีการนาเชื้อเพลงมาใช้งานต่าง ๆ มากขึ้น เช่น ใน
งานอุตสาหกรรม การขนส่งคมนาคม และนามาใช้ในกิกรรมอื่น ๆ เชื้อเพลิงเป็นทรัพยากรที่มีค่า และมีอยู่อย่างจากัดการ
นามาใช้งานจึงต้องประหยัด และให้เกิดประโยชน์สูงสุด
8.1 ความหมายของเชื้อเพลิง
เชื้อเพลิง หมายถึง วัสดุที่มีองค์ประกอบของธาตุคาร์บอน และไฮโดรเจน เชื้อเพลิงเมื่อเผาไหม้จะทาปฏิกิริยา
ทางเคมีกับออกซิเจนทาให้เกิดพลังงานสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ เชื้อเพลิงบางอย่างสามารถนามาใช้งานได้ทันที
บางอย่างต้องนาไปผ่านกระบวนการแปรสภาพก่อนจึงจะสามารถนามาใช้ประโยชน์ได้
8.2 ประเภทของเชื้อเพลิง
เชื้อเพลิงที่นามาใช้กันอยู่ทั่วไปทั้งเพื่อการคมนาคม การอุตสาหกรรมและการนามาใช้ในกิจกรรมอื่น ๆ
สามารถแยกตามลักษณะได้ 3 ชนิด คือ ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ
เชื้อเพลิงที่เป็นของแข็ง (Solid Fuel)
เชื้อเพลิงที่เป็นของแข็งสามารถแบ่งออกได้ดังนี้
1. ถ่านไม้ (Charcoal)
2. ถ่านหิน (Coal)
เชื้อเพลิงที่เป็นของเหลว (Liquid Fuel)
เชื้อเพลิงที่เของเหลวสามารถแบ่งออกได้ดังนี้
1. น้ามันเบนซิน (Gasoline Oill)
2. น้ามันก๊าด (Kerosene Oil)
3. น้ามันดีเซล (Diesel Oil)
4. น้ามันเตา (Heavy Fuel or Furnace Oil)
เชื้อเพลิงที่เป็นก๊าซ (Gas Fuel)
เชื้อเพลิงที่เป็นก๊าซสามารถแบ่งออกได้ดังนี้
1. ก๊าซธรรมชาติ (Natural Gas)
2. ก๊าซอะเซทิลีน (Acetylene Gas)
3. ก๊าซเตาสูง (Blast Furnace Gas)
 เชื้อเพลิงที่เป็นของแข็ง (Solid Fuel)
เป็นเชื้อเพลิงที่มีสถานะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิปกติ ประกอบด้วยธาตุที่สาคัญ คือ คาร์บอนไฮโดรเจน ไนโตรเจน
และกามะถัน เมื่อทาปฏิกิริยาเคมีกับออกซิเจนจะเกิดการเผาไหม้ให้พลังงานความร้อนนักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่า มนุษย์รู้
จัดการนาเชื้อเพลิงแข็งมาใช้งานก่อนเชื้อเพลิงอย่างยิ่ง เพราะเป็นเชื้อเพลิงที่นามาใช้งานได้ทันที ไม่ต้องนามาผ่านกรรมวิธี
ในการปรับปรุง หรือแปรสภาพก่อนใช้งานเชื้อเพลิงแข็งมีหลายชนิด
เป็นเชื้อเพลิงที่มีสถานะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิปกติ ได้แก่
1. ถ่านไม้หรือพืช เป็นเชื้อเพลิงที่ได้มาจากไม้ยืนต้นและซากพืชที่แห้งไม่ว่าจะเป็นใบ ลาต้น ราก เช่น ไม้
เบญจพรรณ ไม้โกงกาง ต้นสะแก นามาใช้ได้ทันทีไม่ต้องนาไปผ่านขยวนการในการแปรรูป เช่น งาน
อุตสาหกรรมย้อมผ้า หุงต้มอาหาร
2. ถ่านหิน (Coal) นักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่าเกิดจากซากพืช พันธุ์ไม้ต่าง ๆ ตายทับถมกันในบริเวณ
นั้น ภายใต้อุณหภูมิและความกดดันเป็นระยะเวลานับล้านปี เกิดการจับตัวเป็นของแข็ง สามารถนามา
จุดติดไฟให้พลังงานความร้อนได้ ถ่านหินมีหลายชนิดคือ
2.1 พีต (Peat) เกิดจากซากพืชพวกตะไคร่ มอสส์ และพรรณไม้อื่น ๆ มีคาร์บอนประมาณ 60% มี
ความชื้นสูง เมื่อแห้งจะติดไฟได้ดี
2.2 ลิกไนต์ (Lignite) เป็นถ่านหินมีสีน้าตาลดา เนื้อแข็ง มีคาร์บอนประมาณ 55-65% เมื่อนามาเผา
ไหม้จะให้ความร้อนประมาณ 8,300 BTU4
/ปอนด์ พบที่ ต. คลองขนาน อ. เมือง จ. กระบี่ และ อ.
แม่เมาะ จ. ลาปาง ซึ่งนามาใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้าที่โรงจัดกรแม่เมาะ จ. ลาปาง
2.3 บิทูมินัส (Bituminous) มีสีน้าตาลดา มีคาร์บอนประมาณ 80-90% เมื่อนามาเผาไหม้จะให้ความ
ร้อนประมาณ 10,500 BTU / ปอนด์ พบที่ ต. ดงดา อ. ลี้ จ. ลาพูน และ ต. แม่ตื่น อ. แม่ระมาด จ.
ตาก
2.4 แอนทราไซต์ (Anthracite) เป็นถ่านหินสีดา เสื้อแข็งวาว มีคาร์บอนประมาณ 86% ขึ้นไป ติด
ไฟยาก เมื่อติดไฟแล้วให้เปลวไฟสีน้าเงิน ไม่มีควัน ให้ค่าความร้อนสูงสุดที่สุดในบรรดาถ่านหิน
คือ ประมาณ 15,500 BTU/ปอนด์ พบที่ ต. นาด้วง จ. เลย
3. ถ่านโค้ก (Coke) เนื่องจากถ้านาถ่านหินไปใช้เป็นเชื้อเพลิง จะเกิดปัญหากับสภาพแวดล้อม เนื่องจากจะ
เกิดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์จากการเผาไหม้ จึงมีการแก้ปัญหาโดยการผลิตถ่านโค้กขึ้นมาใช้งานแทน
ถ่านหิน ถ่านโค้กทาได้โดยการนาถ่านหินมาเผาให้ร้อนในเตาที่ปิดมิดชิด เมื่อถ่านหินเด้รับความร้อนจะ
คายก๊าซเชื้อเพลิงออกมา เรียกว่า โพรดิวเซอร์ก๊าซ (Producer Gas) และจะคายก๊าซซัลเฟอร์ได
ออกไซด์ออกมาด้วย ถ่านหินที่อยู่ภายในเตาจะนาไปทาให้เย็นตัวลง เรียกว่า ถ่านโค้ก มีลักษณะเป็น
ก้อนสีเทา มีรูพรุน นาไปเป็นเชื้อเพลิงได้โดยไม่ทาให้สภาพแวดล้อม เป็นพิษ
4. หินน้ามัน (Oil Shale) มีลักษณะคล้ายหินดินดานสีน้าตาล มีอินทรียสารที่ เรียกว่า เคโรเจน
(Kerogen) เป็นสารน้ามันแทรกอยู่ในเนื้อ นาไปจุดติดไฟได้คล้ายถ่านหิน และสามารถนามากลั่นเป็น
เชื้อเพลิงเหลวได้ แต่ต้องใช้ค่าใช้จ่ายสูงมาก ยังไม่คุ้มกับการลงทุน พบที่ อ. แม่สอด อ. ระมาด อ. อุ้ม
ผาง จ. ตาก
5. วัสดุเหลือจากการเกษตร เช่น แกลบ กะลามะพร้าว เปลือกถั่ว ซังข้าโพด ขี้เลื่อยเมื่อนามาอัดให้เป็น
แท่งจะสามารถให้พลังงานความร้อนได้สูงมาก ซึ่งสามารถนามาใช้งานเป็นเชื้อเพลิงหุงต้มในครัวเรือน
ได้เป็นอย่างดี
 เชื้อเพลิงที่เป็นของเหลว
เชื้อเพลิงที่เหลวได้จากน้ามันดิบหรือน้ามันปิโตรเลียม น้ามันดิบเกิดจากซากพืช ซากสัตว์ที่ตายทับถมกันเป็นเวลา
ล้าน ๆ ปี มีชั้นหินปกคลุมชั้นน้ามันดิบอยู่ น้ามันดิบเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนหลายชนิดรวมกัน โดยมีองค์ประกอบ
ทั่ว ๆ ไป ดังนี้คือ คาร์บอน 83-87% ไฮโดรเจน 11-15% ออกซิเจน 5% กามะถัน 6% ไนโตรเจน 0.05% ในการนา
น้ามันดิบหรือน้ามันปิโตรเลียมมาใช้ต้องมาผ่านกรรมวิธีการกลั่น
การกลั่น หมายถึง การแปรสภาพน้ามันดิบให้เป็นผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป เช่น แก๊สหุงต้ม น้ามันเบนซิน น้ามัน
เครื่องบิน น้ามันก๊าด น้ามันดีเซล น้ามันเตาและน้ามันหล่อลื่น เคมีภัณฑ์ต่าง ๆ
ในกระบวนการกลุ่นน้ามันปิโตรเลียม อาศัยหลักการของจุดเดือดที่ไม่เท่ากับของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด แยก
ผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ออกจากกัน จากนั้นนามากรองแปรสภาพให้เหมาะสมกับการใช้งาน บางทีก็เติมสารอื่น ๆ ลงไปอีกเพื่อ
คุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่กลั่นได้
ในการแยกผลิตภัณฑ์เริ่มจากจุดเดือดต่าไปหาจุดเดือดสูงดังนี้
- อุณหภูมิ 30-700
C ได้ก๊าซหุงต้ม
- อุณหภูมิ 40-2000
C ได้น้ามันเบนซิน
- อุณหภูมิ 150-3000
C ได้น้ามันก๊าซ
- อุณหภูมิ 300-3500
C ได้น้ามันดีเซล
- อุณหภูมิ 3500
C ขึ้นไปได้น้ามันเตา
ที่เหลือเป็นยางมะตอยหรือขี้ผึ้ง
เราสามารถพิจาณาแผนผังกระบวนการกลั่นน้ามันปิโตรเลียมได้ดังนี้
แผนผังกระบวนการกลั่นน้ามันปิโตรเลียม
1. น้ามันเบนซิน (Gasolines)
น้ามันเบนซิน เป็นเชื้อเพลิงสาหรับเครื่องยนต์เบนซินได้จากการกลั่นน้ามันดิบในโรงกลั่นน้ามัน และอาจผสมสาร
เพิ่มคุณภาพ เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งาน เช่น สารเพิ่มค่าออกเทน สารเคมีป้ องกันสนิม สารเคมีช่วยทาความสะอาด
คาร์บูเรเตอร์ ซึ่งน้ามันเบนซินที่ผลิตขึ้นแต่ละบริษัทจะมีการผสมสารเคมีเพิ่มคุณภาพแตกต่างกัน ซึ่งเป็นความลับทางการค้า
คุณสมบัติทั่วไปของน้ามันเบนซิน
1.1 มีค่าออกเทนนัมเบอร์สูงไม่ทาให้เกิดอาการน็อกในขณะเผาไหม้
1.2 มีอัตราการระเหยที่ดี ระเหยเป็นไอที่อุณหภูมิปกติ
1.3 เก็บไว้ได้นานไม่สลายหรือแปรสภาพ
1.4 ไม่มียางหรือกามะพันในน้ามัน เพราะจะทาให้เกิดการกัดกร่อนในเครื่องยนต์ และอุดตัน
ค่าออกเทน คือ ค่าความความต้านทานการจุดระเบิดของน้ามันเบนซิน ก่อนเวลากาหนดของเครื่องยนต์ การทางาน
ของเครื่องยนต์เบนซินนั้น คาร์บูเรเตอร์จะทาหน้าที่ผสมน้ามันกับอากาศแล้วส่งไปในกระบอกสูบ และหัวเทียนจะจุดประกาย
ไฟฟ้าให้ส่วนผสมในกระบอกสูบจุดระเบิดขึ้น แต่บางส่วนของเชื้อเพลิงเกิดการจุดระเบิดเอง เนื่องจากความร้อนและกาลังอัดก็
จะเกิดอาการน็อกขึ้น ซึ่งสามารถได้ยินอย่างชัดเจนในขณะที่เร่งเครื่องยนต์อย่างกะทันหัน น้ามันที่มีค่าออกเทนสูงจะมีความ
ต้านทานการน็อกของเครื่องยนต์สูง การอกแบบเครื่องยนต์เบนซินทั้งของรถยนต์และจักรยายนต์แต่ละรุ่น มีความแตกต่างกันจึง
ต้องใช้น้ามันเบนซินที่มีค่าออกเทนแตกต่างกัน โดยศึกษาได้จากคู่มือการใช้รถแต่ละรุ่น
ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2541 รัฐบาลกาหนดให้น้ามันเบนซินที่มีจาหน่ายในประเทศไทยจะต้องเป็นน้ามันที่ไม่ผสม
สารตะกั่วในน้ามัน และเรียกชื่อน้ามันตามค่าออกเทน คือ
น้ามันเบนซิน ออกเทน 87 สีเขียว
น้ามันเบนซิน ออกเทน 91 สีแดง
น้ามันเบนซิน ออกเทน 95 สีเหลือง
หมายเหตุ การเติมน้ามันที่มีค่าออกเทนสูงเกินความต้องการของเครื่องยนต์ ไม่มีผลต่อความแรงของเครื่องยนต์
ลักษณะการทางานของเครื่องยนต์แบนซิน
กาลังอัดของเครื่องยนต์
กาลังอัด หมายถึง อัตราส่วนของปริมาณของห้องเผาไหม้ ขณะที่ลูกสูบเคลื่อนที่ลงถึงศูนย์ตายล่าง เทียบ
กับห้องเผาไหม้ขณะที่ลูกสูบเคลื่อนที่ถึงศูนย์ตายบน เครื่องยนต์ที่มีกาลังอัดสูงจะทาให้เครื่องยนต์มีกาลังสูงด้วย แต่เครื่องยนต์
มีโอกาสเกิดการน็อกได้ ฉะนั้นถ้าเครื่องยนต์มีอัตราส่วนกาลังอัดสูงก็ต้องใช้น้ามันที่มีค่าออกเทนสูง
อัตราการระเหย
น้ามันเบนซินที่ดีต้องสามารถระเหยได้ดีในขณะอากาศเย็น ซึ่งทาให้เครื่องยนต์ติดง่าย แต่ถ้าน้ามันเบนซิน
ระเหยง่ายเกินไป ซึ่งมักเกิดขึ้นขณะที่อากาศร้อนอาจจะทาให้เครื่องยนต์กระตุกหรือดับเนื่องจากน้ามันกลายเป็นไอภายในระบบ
การไหลของน้ามันเชื้อเพลิง
น้ามันเครื่องบิน (Aviation Fuels)
น้ามันเชื้อเพลิงที่ใช้กับเครื่องบินมี 2 ประเภทตามลักษณะเครื่องยนต์ คือ
1. น้ามันเบนซินเครื่องบินใบพัด (Aviation Gasoline)
ระบบเครื่องยนต์เครื่องบินใบพัดมีลักษณะคล้ายคลึงกับเครื่องยนต์เบนซินที่ใช้กับยานพาหนะ ฉะนั้น
น้ามันเชื้อเพลิงที่ใช้กับเครื่องบินใบพัดจึงมีองค์ประกอบที่เหมือนกับน้ามันเบนซิน แต่ต้องมีความสะอาดบริสุทธิ์เป็นพิเศษ
น้ามันเบนซินเครื่องบินใบพัดมีค่าออกเทนสูงกว่าน้ามันเบนซินปกติ เพื่อเหมาะสมกับการใช้งาน
2. น้ามันเครื่องบินไอพ่น (Jet Fuels)
เครื่องยนต์เครื่องบินไอพ่น มีหลักการทางานแตกต่างจากเครื่องยนต์เครื่องบินใบพัดโดยสิ้นเชิง น้ามัน
เชื้อเพลิงที่ใช้กับเครื่องบินไอพ่นมีองค์ประกอบใกล้เคียงกับน้ามันก๊าดมาก ภายในเครื่องยนต์ไอพ่น น้ามันจะถูกฉีดเป็นฝอย
สันดาปเป็นแก๊สร้อน ไปหมุนใบพัดเทอร์ไบน์ในการขับเคลื่อนน้ามันเครื่องบินไอพ่นยังแบ่งออกเป็น 2 กรด คือ
2.1 น้ามันเครื่องบินไอพ่นทหาร (JP-4) ใช้ในกิจกรรมการทหาร ได้แก่ เครื่องบินรบ เครื่องบินขับ
ไล่ ซึ่งต้องการอัตราเร่งและความเร็วสูง จะมีองค์ประกอบของไฮโดรคาร์บอนเบาที่ระเหยอยู่
มาก ทาให้เครื่องบินสามารถเร่งอัตราความเร็วได้สูงและเร็ว
2.2 น้ามันเครื่องบินไอพ่นพาณิชย์ (JP-1) ใช้ในการบินพาณิชย์ เครื่องบินมีความเร็วไม่สูง
เช่นเดียวกับเครื่องบินใบพัด น้ามันเครื่องบินไอพ่นต้องการความบริสุทธิ์สูง และมีคุณสมบัติ
อื่น ๆ ที่เหมาะสมต่อการใช้งานในสภาพวะที่ความกดดันและอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงในช่วงกว้าง
มาก
3. น้ามันก๊าด (Kerosene)
น้ามันก๊าดเป็นที่รู้จักกันมานาน เป็นเชื้อเพลิงที่ให้แสงสว่างตามครัวเรือน ในปัจจุบันการนาน้ามันก๊าด
มาใช้เพื่อแสงสว่าง มีปริมาณลดลงตามความเติบโตของการใช้กระแสไฟฟ้า อย่างไรก็ดีน้ามันก๊าดก็ยังมีบทบาทสาคัญในแง่ที่
เป็นเชื้อเพลิงที่สะอาด มีกามะถันต่า ซึ่งเป็นที่นิยมในอุตสาหกรรมบางประเภท เช่น โรงงานกระเบื้อง อุตสาหกรรมอาหาร
เบื้องต้น
ในกรณีที่ใช้น้ามันชนิดอื่นเป็นเชื้อเพลิงจุดตะเกียงจะพบว่ามีคุณสมบัติไม่เหมาะ เช่น การใช้น้ามันโซ
ล่าจะก่อให้เกิดควันและเปลืองไส้ตะเกียง ส่วนการใช้เบนซินจะมีอัตราการระเหยเร็วมาก อาจเกิดอันตรายจากสารในน้ามัน
เบนซินหรือเกิดการระเบิดรุนแรง
สีของน้ามันก๊าด
น้ามันก๊าดโดยปกติที่จะได้จากกระบวนการกลั่นน้ามันจะปราศจากสี แต่ทางผู้ผลิตได้เติมสีน้าเงินลง
ไป เพื่อเป็นการป้ องกันการนาน้ามันไปปลอมปนกับน้ามันโซล่าหรือเบนซิน เนื่องจากมีราคาถูกกว่า
4. น้ามันดีเซล (Diesel Fuel)
น้ามันดีเซลเป็นผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิงที่ได้จากากรกลั่นน้ามันดิบ สามารถนามาใช้เป็นเชื้อเพลิงสาหรับ
เครื่องยนต์ดีเซล เครื่องยนต์ดีเซลหลักการทางานแตกต่างจากเครื่องยนต์เบนซิน การจุดระเบิดของเครื่องยนต์ดีเซลใช้ความร้อน
ซึ่งเกิดขึ้นจากการอัดอากาศภายในกระบอกสูบ จากนั้นหัวฉีดจะฉีดน้ามันเป็นละอองเข้าไปในกระบอกสูบจะเกิดการจุดระเบิด
ขึ้น
ลักษณะการทางานของเครื่องยนต์ดีเซล
ค่าซีเทน
ค่าซีเทนของน้ามันดีเซลจะบ่งบอกถึงคุณภาพของการจุดระเบิดของน้ามัน ค่าซีเทนของน้ามันยิ่งสูงจะ
ยิ่งจุดระเบิดได้ง่าย เครื่องยนต์หมุนรอบได้เร็วโดยไม่สะดุด และไม่เกิดควันขาว ถ้าค่าซีเทนของน้ามันสูงเกินไปจะทาให้เกิด
การเผาไหม้ไม่สมบูรณ์และเกิดควันได้
น้ามันดีเซลแบ่งออกไป 2 ประเภท คือ
1. น้ามันดีเซลหมุนเร็ว (Automotive Diesel Oil) เป็นน้ามันที่มีค่าซีเทนอย่างต่า 47 นาไปใช้เป็น
เชื้อเพลิงกับเครื่องยนต์ดีเซล ที่มีความเร็วรอบเกิน 1,000 รอบต่อนาที
2. น้ามันดีเซลหมุนช้า (Industrial Diesel Oil) เป็นน้ามันที่มีค่าซีเทนอย่างต่า 45 นาไปใช้เป็น
เชื้อเพลิงกับเครื่องยนต์ดีเซล ที่มีความเร็วรอบต่ากว่า 1,000 รอบต่อนาที
คุณสมบัติทั่วไปของน้ามันดีเซล
1. เมื่อเผาไหม้หมดไม่ควรมีกากเหลือ
2. ระเหยได้ดีพอสมควร
3. มีความหนืดพอเหมาะ
4. มีค่าซีเทนนัมเบอร์ไม่ต่ากว่า 45
5. ไม่กักกร่อนหรือทาให้ห้องสูบเกิดการสึกหรอ
สีของน้ามันดีเซล
โดยธรรมชาติน้ามันดีเซลมีสีชาอ่อน แต่บางครั้งสีอาจจะเปลี่ยนไปบ้าง เนื่องจากการเลือกใช้นามัน
ดิบจากแหล่งต่างกันในกระบวนการกลั่น ซึ่งอาจให้น้ามันดีเซลมีสีอ่อนหรือเข้มไป แต่คุณสมบัติในการเผาไหม้ยังคงเดิม
ในกรณีที่สีของน้ามันดีเซลเปลี่ยนแปลงไปมาก เช่น เป็นสีเขียวหรือสีดาคล้า ควรสงสัยการปลอมปนโดยน้ามันก๊าด (สีน้า
เงิน) หรือน้ามันเตาหรือน้ามันเครื่องใช้แล้ว (สีดา)
5. น้ามันเตา (Fuel Oils)
น้ามันเตาเป็นผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิงที่มีองค์ประกอบหนัก ได้จากตอนล่างของหอกลั่นอันเป็นส่วนที่เหลือ
ตกค้างอยู่และไม่สามารถระเหยในหอกลั่นบรรยากาศ แม้ว่าน้ามันเตาจะเป็นพวกกากน้ามัน (Residual Fuel) เหลือจากการกลั่น
และมีสิ่งตกค้างต่าง ๆ ปนอยู่มากก็ตาม น้ามันเตาก็ยังเป็นประโยชน์อย่างมหาศาลต่ออุตสาหกรรมการผลิตกระแสฟ้า และการ
คมนาคมขนส่งเนื่องจากเป็นน้ามันเชื้อเพลิงที่มีราคาถูกที่สุด
 เชื้อเพลิงก๊าซ (Gas Fuel)
เชื้อเพลิงก๊าซ หมายถึง ก๊าซทุกชนิดที่ทาปฏิกิริยากับออกซิเจน แล้วเกิดการเผาไหม้ทาให้ได้พลังงานความ
ร้อนที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ เชื้อเพลิงก๊าซส่วนใหญ่เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนเชื้อเพลิงก๊าซที่สาคัญคือ
1. ก๊าซธรรมชาติ (Natural Gas)
เป็นเชื้อเพลิงที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติอยู่เหนือน้ามันดิบ แบ่งออกได้2 ชนิด
1.1 ก๊าซธรรมชาติแห้ง (Dry Natural Gas) ประกอบด้วยก๊าซมีเทน มีสถานะเป็นไอที่อุณหภูมิและความ
ดันบรรยากาศ นาไปใช้เป็นเชื้อเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรม โรงานผลิตกระแสไฟฟ้า นอกจากนี้ยังเป็นวัตถุดิบในโรงาน
อุตสาหกรรมปุ๋ ยยูเรีย
1.2 ก๊าซธรรมชาติชื้น (Wet Natural Gas) ประกอบด้วยโพรเทนและบิวเทนก๊าซชนิดนี้จะนาไปใช้
ประโยชน์เป็นเชื้อเพลิงสาหรบเครื่องยนต์ เป็นเชื้อเพลิงหุงต้มในครัวเรือน
แผนภูมิแสดงผลผลิตชองก๊าซธรรมชาติ
2. ก๊าซที่ได้จากการกลั่นน้ามันดิบ (Liquid Petroleum Gas)
เป็นก๊าซที่ได้มาจากการกลั่นน้ามันดิบ เรียกย่อว่า ก๊าซ L.P.G. โดยทั่วไปจะถูกจัดเก็บอยู่ในของเหลว
บรรจุในถังเหล็กขนาดต่าง ๆ กันเพื่อนาไปใช้เป็นเชื้อเพลิงสาหรับหุงต้ม นอกจากนี้ยังใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม เป็น
เชื้อเพลิงแทนถ่านหิน หรือน้ามันซึ่งมีราคาแพงกว่าอีกด้วย
3. โพรดิวเซอร์ก๊าซ (Producer Gas)
เป็นก๊าซเชื้อเพลิงที่ผลิตได้จากการใช้ถ่านหินคุณภาพสูง นามาใส่ในเตาปิดมิดชิดแล้วให้อากาศร้อนไหล
ผ่านถ่านหินในเตา อากาศร้อนจะทาปฏิกิริยากับคาร์บอนในถ่านหินแล้วให้โพรดิวเซอร์ก๊าซออกมา ซึ่งนาไปใช้ใน
อุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น ทาปูนซีเมนต์ ทาแก้ว ทาเซรามิก เป็นต้น
4. ก๊าซชีวภาพ (Bio-Gas)
เป็นก๊าซที่เกิดจากการหมักและการย่อยสลายของสารอินทรีย์ เช่น มูลสัตว์ต่าง ๆ และวัสดุเหลือใช้จาก
การเกษตร วัชพืชต่าง ๆ ก๊าซที่ได้จากการหมัก คือ ก๊าซมีเทน ซึ่งสามารถนาไปประยุกต์ทาเป็นเชื้อเพลิงในการหุงต้มใน
ครัวเรือนได้
5. ก๊าซอะเซทิลีน (Acetylene Gas)
ก๊าซอะเซทิลีน (C2H4) ได้จากการนาเอาน้าหยดลงบนก้อนแคลเซียมคาร์ไบด์ นาไปใช้ประโยชน์เป็น
เชื้อเพลิงใช้สาหรับงานเชื่อมประสานโลหะ ใช้เป็นเชื้อเพลิงให้แสงสว่าง และยังนามาใช้ประโยชน์ในการบ่มผลไม้ด้วย

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

1 görög építészet
1 görög építészet1 görög építészet
1 görög építészetbicbara
 
UF3 La salud y la enfermedad
UF3 La salud y la enfermedadUF3 La salud y la enfermedad
UF3 La salud y la enfermedadMónica
 
Registering Joint Venture Company in Myanmar
Registering Joint Venture Company in MyanmarRegistering Joint Venture Company in Myanmar
Registering Joint Venture Company in MyanmarLawPlus Ltd.
 
The Social Value Chain Ytzik Aranov Feb 2010 V2
The Social Value Chain   Ytzik Aranov   Feb 2010 V2The Social Value Chain   Ytzik Aranov   Feb 2010 V2
The Social Value Chain Ytzik Aranov Feb 2010 V2Ytzik Aranov
 
Literary Devices
Literary DevicesLiterary Devices
Literary Devicesnawalnader
 

Andere mochten auch (8)

CURRICULUM VITAE
CURRICULUM VITAECURRICULUM VITAE
CURRICULUM VITAE
 
1 görög építészet
1 görög építészet1 görög építészet
1 görög építészet
 
UF3 La salud y la enfermedad
UF3 La salud y la enfermedadUF3 La salud y la enfermedad
UF3 La salud y la enfermedad
 
5 1
5 15 1
5 1
 
Registering Joint Venture Company in Myanmar
Registering Joint Venture Company in MyanmarRegistering Joint Venture Company in Myanmar
Registering Joint Venture Company in Myanmar
 
The Social Value Chain Ytzik Aranov Feb 2010 V2
The Social Value Chain   Ytzik Aranov   Feb 2010 V2The Social Value Chain   Ytzik Aranov   Feb 2010 V2
The Social Value Chain Ytzik Aranov Feb 2010 V2
 
Literary Devices
Literary DevicesLiterary Devices
Literary Devices
 
The human body and interaction
The human body and interactionThe human body and interaction
The human body and interaction
 

Mehr von Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

8 1 2

  • 1. บทนา เชื้อเพลงเป็นทรัยกากรที่มีความสาคัญที่มีส่วนในการพัฒนาประเภทเป็นอย่างมาก เนื่องจากประเทศไทยเป็น ประเทศที่กาลังพัฒนา มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างรวดเร็วมีการนาเชื้อเพลงมาใช้งานต่าง ๆ มากขึ้น เช่น ใน งานอุตสาหกรรม การขนส่งคมนาคม และนามาใช้ในกิกรรมอื่น ๆ เชื้อเพลิงเป็นทรัพยากรที่มีค่า และมีอยู่อย่างจากัดการ นามาใช้งานจึงต้องประหยัด และให้เกิดประโยชน์สูงสุด 8.1 ความหมายของเชื้อเพลิง เชื้อเพลิง หมายถึง วัสดุที่มีองค์ประกอบของธาตุคาร์บอน และไฮโดรเจน เชื้อเพลิงเมื่อเผาไหม้จะทาปฏิกิริยา ทางเคมีกับออกซิเจนทาให้เกิดพลังงานสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ เชื้อเพลิงบางอย่างสามารถนามาใช้งานได้ทันที บางอย่างต้องนาไปผ่านกระบวนการแปรสภาพก่อนจึงจะสามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ 8.2 ประเภทของเชื้อเพลิง เชื้อเพลิงที่นามาใช้กันอยู่ทั่วไปทั้งเพื่อการคมนาคม การอุตสาหกรรมและการนามาใช้ในกิจกรรมอื่น ๆ สามารถแยกตามลักษณะได้ 3 ชนิด คือ ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ เชื้อเพลิงที่เป็นของแข็ง (Solid Fuel) เชื้อเพลิงที่เป็นของแข็งสามารถแบ่งออกได้ดังนี้ 1. ถ่านไม้ (Charcoal) 2. ถ่านหิน (Coal) เชื้อเพลิงที่เป็นของเหลว (Liquid Fuel) เชื้อเพลิงที่เของเหลวสามารถแบ่งออกได้ดังนี้ 1. น้ามันเบนซิน (Gasoline Oill) 2. น้ามันก๊าด (Kerosene Oil) 3. น้ามันดีเซล (Diesel Oil) 4. น้ามันเตา (Heavy Fuel or Furnace Oil) เชื้อเพลิงที่เป็นก๊าซ (Gas Fuel) เชื้อเพลิงที่เป็นก๊าซสามารถแบ่งออกได้ดังนี้ 1. ก๊าซธรรมชาติ (Natural Gas) 2. ก๊าซอะเซทิลีน (Acetylene Gas) 3. ก๊าซเตาสูง (Blast Furnace Gas)
  • 2.  เชื้อเพลิงที่เป็นของแข็ง (Solid Fuel) เป็นเชื้อเพลิงที่มีสถานะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิปกติ ประกอบด้วยธาตุที่สาคัญ คือ คาร์บอนไฮโดรเจน ไนโตรเจน และกามะถัน เมื่อทาปฏิกิริยาเคมีกับออกซิเจนจะเกิดการเผาไหม้ให้พลังงานความร้อนนักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่า มนุษย์รู้ จัดการนาเชื้อเพลิงแข็งมาใช้งานก่อนเชื้อเพลิงอย่างยิ่ง เพราะเป็นเชื้อเพลิงที่นามาใช้งานได้ทันที ไม่ต้องนามาผ่านกรรมวิธี ในการปรับปรุง หรือแปรสภาพก่อนใช้งานเชื้อเพลิงแข็งมีหลายชนิด เป็นเชื้อเพลิงที่มีสถานะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิปกติ ได้แก่ 1. ถ่านไม้หรือพืช เป็นเชื้อเพลิงที่ได้มาจากไม้ยืนต้นและซากพืชที่แห้งไม่ว่าจะเป็นใบ ลาต้น ราก เช่น ไม้ เบญจพรรณ ไม้โกงกาง ต้นสะแก นามาใช้ได้ทันทีไม่ต้องนาไปผ่านขยวนการในการแปรรูป เช่น งาน อุตสาหกรรมย้อมผ้า หุงต้มอาหาร 2. ถ่านหิน (Coal) นักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่าเกิดจากซากพืช พันธุ์ไม้ต่าง ๆ ตายทับถมกันในบริเวณ นั้น ภายใต้อุณหภูมิและความกดดันเป็นระยะเวลานับล้านปี เกิดการจับตัวเป็นของแข็ง สามารถนามา จุดติดไฟให้พลังงานความร้อนได้ ถ่านหินมีหลายชนิดคือ 2.1 พีต (Peat) เกิดจากซากพืชพวกตะไคร่ มอสส์ และพรรณไม้อื่น ๆ มีคาร์บอนประมาณ 60% มี ความชื้นสูง เมื่อแห้งจะติดไฟได้ดี 2.2 ลิกไนต์ (Lignite) เป็นถ่านหินมีสีน้าตาลดา เนื้อแข็ง มีคาร์บอนประมาณ 55-65% เมื่อนามาเผา ไหม้จะให้ความร้อนประมาณ 8,300 BTU4 /ปอนด์ พบที่ ต. คลองขนาน อ. เมือง จ. กระบี่ และ อ. แม่เมาะ จ. ลาปาง ซึ่งนามาใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้าที่โรงจัดกรแม่เมาะ จ. ลาปาง 2.3 บิทูมินัส (Bituminous) มีสีน้าตาลดา มีคาร์บอนประมาณ 80-90% เมื่อนามาเผาไหม้จะให้ความ ร้อนประมาณ 10,500 BTU / ปอนด์ พบที่ ต. ดงดา อ. ลี้ จ. ลาพูน และ ต. แม่ตื่น อ. แม่ระมาด จ. ตาก 2.4 แอนทราไซต์ (Anthracite) เป็นถ่านหินสีดา เสื้อแข็งวาว มีคาร์บอนประมาณ 86% ขึ้นไป ติด ไฟยาก เมื่อติดไฟแล้วให้เปลวไฟสีน้าเงิน ไม่มีควัน ให้ค่าความร้อนสูงสุดที่สุดในบรรดาถ่านหิน คือ ประมาณ 15,500 BTU/ปอนด์ พบที่ ต. นาด้วง จ. เลย 3. ถ่านโค้ก (Coke) เนื่องจากถ้านาถ่านหินไปใช้เป็นเชื้อเพลิง จะเกิดปัญหากับสภาพแวดล้อม เนื่องจากจะ เกิดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์จากการเผาไหม้ จึงมีการแก้ปัญหาโดยการผลิตถ่านโค้กขึ้นมาใช้งานแทน ถ่านหิน ถ่านโค้กทาได้โดยการนาถ่านหินมาเผาให้ร้อนในเตาที่ปิดมิดชิด เมื่อถ่านหินเด้รับความร้อนจะ คายก๊าซเชื้อเพลิงออกมา เรียกว่า โพรดิวเซอร์ก๊าซ (Producer Gas) และจะคายก๊าซซัลเฟอร์ได ออกไซด์ออกมาด้วย ถ่านหินที่อยู่ภายในเตาจะนาไปทาให้เย็นตัวลง เรียกว่า ถ่านโค้ก มีลักษณะเป็น ก้อนสีเทา มีรูพรุน นาไปเป็นเชื้อเพลิงได้โดยไม่ทาให้สภาพแวดล้อม เป็นพิษ 4. หินน้ามัน (Oil Shale) มีลักษณะคล้ายหินดินดานสีน้าตาล มีอินทรียสารที่ เรียกว่า เคโรเจน (Kerogen) เป็นสารน้ามันแทรกอยู่ในเนื้อ นาไปจุดติดไฟได้คล้ายถ่านหิน และสามารถนามากลั่นเป็น เชื้อเพลิงเหลวได้ แต่ต้องใช้ค่าใช้จ่ายสูงมาก ยังไม่คุ้มกับการลงทุน พบที่ อ. แม่สอด อ. ระมาด อ. อุ้ม ผาง จ. ตาก
  • 3. 5. วัสดุเหลือจากการเกษตร เช่น แกลบ กะลามะพร้าว เปลือกถั่ว ซังข้าโพด ขี้เลื่อยเมื่อนามาอัดให้เป็น แท่งจะสามารถให้พลังงานความร้อนได้สูงมาก ซึ่งสามารถนามาใช้งานเป็นเชื้อเพลิงหุงต้มในครัวเรือน ได้เป็นอย่างดี  เชื้อเพลิงที่เป็นของเหลว เชื้อเพลิงที่เหลวได้จากน้ามันดิบหรือน้ามันปิโตรเลียม น้ามันดิบเกิดจากซากพืช ซากสัตว์ที่ตายทับถมกันเป็นเวลา ล้าน ๆ ปี มีชั้นหินปกคลุมชั้นน้ามันดิบอยู่ น้ามันดิบเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนหลายชนิดรวมกัน โดยมีองค์ประกอบ ทั่ว ๆ ไป ดังนี้คือ คาร์บอน 83-87% ไฮโดรเจน 11-15% ออกซิเจน 5% กามะถัน 6% ไนโตรเจน 0.05% ในการนา น้ามันดิบหรือน้ามันปิโตรเลียมมาใช้ต้องมาผ่านกรรมวิธีการกลั่น การกลั่น หมายถึง การแปรสภาพน้ามันดิบให้เป็นผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป เช่น แก๊สหุงต้ม น้ามันเบนซิน น้ามัน เครื่องบิน น้ามันก๊าด น้ามันดีเซล น้ามันเตาและน้ามันหล่อลื่น เคมีภัณฑ์ต่าง ๆ ในกระบวนการกลุ่นน้ามันปิโตรเลียม อาศัยหลักการของจุดเดือดที่ไม่เท่ากับของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด แยก ผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ออกจากกัน จากนั้นนามากรองแปรสภาพให้เหมาะสมกับการใช้งาน บางทีก็เติมสารอื่น ๆ ลงไปอีกเพื่อ คุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่กลั่นได้ ในการแยกผลิตภัณฑ์เริ่มจากจุดเดือดต่าไปหาจุดเดือดสูงดังนี้ - อุณหภูมิ 30-700 C ได้ก๊าซหุงต้ม - อุณหภูมิ 40-2000 C ได้น้ามันเบนซิน - อุณหภูมิ 150-3000 C ได้น้ามันก๊าซ - อุณหภูมิ 300-3500 C ได้น้ามันดีเซล - อุณหภูมิ 3500 C ขึ้นไปได้น้ามันเตา ที่เหลือเป็นยางมะตอยหรือขี้ผึ้ง เราสามารถพิจาณาแผนผังกระบวนการกลั่นน้ามันปิโตรเลียมได้ดังนี้ แผนผังกระบวนการกลั่นน้ามันปิโตรเลียม
  • 4. 1. น้ามันเบนซิน (Gasolines) น้ามันเบนซิน เป็นเชื้อเพลิงสาหรับเครื่องยนต์เบนซินได้จากการกลั่นน้ามันดิบในโรงกลั่นน้ามัน และอาจผสมสาร เพิ่มคุณภาพ เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งาน เช่น สารเพิ่มค่าออกเทน สารเคมีป้ องกันสนิม สารเคมีช่วยทาความสะอาด คาร์บูเรเตอร์ ซึ่งน้ามันเบนซินที่ผลิตขึ้นแต่ละบริษัทจะมีการผสมสารเคมีเพิ่มคุณภาพแตกต่างกัน ซึ่งเป็นความลับทางการค้า คุณสมบัติทั่วไปของน้ามันเบนซิน 1.1 มีค่าออกเทนนัมเบอร์สูงไม่ทาให้เกิดอาการน็อกในขณะเผาไหม้ 1.2 มีอัตราการระเหยที่ดี ระเหยเป็นไอที่อุณหภูมิปกติ 1.3 เก็บไว้ได้นานไม่สลายหรือแปรสภาพ 1.4 ไม่มียางหรือกามะพันในน้ามัน เพราะจะทาให้เกิดการกัดกร่อนในเครื่องยนต์ และอุดตัน ค่าออกเทน คือ ค่าความความต้านทานการจุดระเบิดของน้ามันเบนซิน ก่อนเวลากาหนดของเครื่องยนต์ การทางาน ของเครื่องยนต์เบนซินนั้น คาร์บูเรเตอร์จะทาหน้าที่ผสมน้ามันกับอากาศแล้วส่งไปในกระบอกสูบ และหัวเทียนจะจุดประกาย ไฟฟ้าให้ส่วนผสมในกระบอกสูบจุดระเบิดขึ้น แต่บางส่วนของเชื้อเพลิงเกิดการจุดระเบิดเอง เนื่องจากความร้อนและกาลังอัดก็ จะเกิดอาการน็อกขึ้น ซึ่งสามารถได้ยินอย่างชัดเจนในขณะที่เร่งเครื่องยนต์อย่างกะทันหัน น้ามันที่มีค่าออกเทนสูงจะมีความ ต้านทานการน็อกของเครื่องยนต์สูง การอกแบบเครื่องยนต์เบนซินทั้งของรถยนต์และจักรยายนต์แต่ละรุ่น มีความแตกต่างกันจึง ต้องใช้น้ามันเบนซินที่มีค่าออกเทนแตกต่างกัน โดยศึกษาได้จากคู่มือการใช้รถแต่ละรุ่น ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2541 รัฐบาลกาหนดให้น้ามันเบนซินที่มีจาหน่ายในประเทศไทยจะต้องเป็นน้ามันที่ไม่ผสม สารตะกั่วในน้ามัน และเรียกชื่อน้ามันตามค่าออกเทน คือ น้ามันเบนซิน ออกเทน 87 สีเขียว น้ามันเบนซิน ออกเทน 91 สีแดง น้ามันเบนซิน ออกเทน 95 สีเหลือง หมายเหตุ การเติมน้ามันที่มีค่าออกเทนสูงเกินความต้องการของเครื่องยนต์ ไม่มีผลต่อความแรงของเครื่องยนต์ ลักษณะการทางานของเครื่องยนต์แบนซิน
  • 5. กาลังอัดของเครื่องยนต์ กาลังอัด หมายถึง อัตราส่วนของปริมาณของห้องเผาไหม้ ขณะที่ลูกสูบเคลื่อนที่ลงถึงศูนย์ตายล่าง เทียบ กับห้องเผาไหม้ขณะที่ลูกสูบเคลื่อนที่ถึงศูนย์ตายบน เครื่องยนต์ที่มีกาลังอัดสูงจะทาให้เครื่องยนต์มีกาลังสูงด้วย แต่เครื่องยนต์ มีโอกาสเกิดการน็อกได้ ฉะนั้นถ้าเครื่องยนต์มีอัตราส่วนกาลังอัดสูงก็ต้องใช้น้ามันที่มีค่าออกเทนสูง อัตราการระเหย น้ามันเบนซินที่ดีต้องสามารถระเหยได้ดีในขณะอากาศเย็น ซึ่งทาให้เครื่องยนต์ติดง่าย แต่ถ้าน้ามันเบนซิน ระเหยง่ายเกินไป ซึ่งมักเกิดขึ้นขณะที่อากาศร้อนอาจจะทาให้เครื่องยนต์กระตุกหรือดับเนื่องจากน้ามันกลายเป็นไอภายในระบบ การไหลของน้ามันเชื้อเพลิง น้ามันเครื่องบิน (Aviation Fuels) น้ามันเชื้อเพลิงที่ใช้กับเครื่องบินมี 2 ประเภทตามลักษณะเครื่องยนต์ คือ 1. น้ามันเบนซินเครื่องบินใบพัด (Aviation Gasoline) ระบบเครื่องยนต์เครื่องบินใบพัดมีลักษณะคล้ายคลึงกับเครื่องยนต์เบนซินที่ใช้กับยานพาหนะ ฉะนั้น น้ามันเชื้อเพลิงที่ใช้กับเครื่องบินใบพัดจึงมีองค์ประกอบที่เหมือนกับน้ามันเบนซิน แต่ต้องมีความสะอาดบริสุทธิ์เป็นพิเศษ น้ามันเบนซินเครื่องบินใบพัดมีค่าออกเทนสูงกว่าน้ามันเบนซินปกติ เพื่อเหมาะสมกับการใช้งาน 2. น้ามันเครื่องบินไอพ่น (Jet Fuels) เครื่องยนต์เครื่องบินไอพ่น มีหลักการทางานแตกต่างจากเครื่องยนต์เครื่องบินใบพัดโดยสิ้นเชิง น้ามัน เชื้อเพลิงที่ใช้กับเครื่องบินไอพ่นมีองค์ประกอบใกล้เคียงกับน้ามันก๊าดมาก ภายในเครื่องยนต์ไอพ่น น้ามันจะถูกฉีดเป็นฝอย สันดาปเป็นแก๊สร้อน ไปหมุนใบพัดเทอร์ไบน์ในการขับเคลื่อนน้ามันเครื่องบินไอพ่นยังแบ่งออกเป็น 2 กรด คือ 2.1 น้ามันเครื่องบินไอพ่นทหาร (JP-4) ใช้ในกิจกรรมการทหาร ได้แก่ เครื่องบินรบ เครื่องบินขับ ไล่ ซึ่งต้องการอัตราเร่งและความเร็วสูง จะมีองค์ประกอบของไฮโดรคาร์บอนเบาที่ระเหยอยู่ มาก ทาให้เครื่องบินสามารถเร่งอัตราความเร็วได้สูงและเร็ว 2.2 น้ามันเครื่องบินไอพ่นพาณิชย์ (JP-1) ใช้ในการบินพาณิชย์ เครื่องบินมีความเร็วไม่สูง เช่นเดียวกับเครื่องบินใบพัด น้ามันเครื่องบินไอพ่นต้องการความบริสุทธิ์สูง และมีคุณสมบัติ อื่น ๆ ที่เหมาะสมต่อการใช้งานในสภาพวะที่ความกดดันและอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงในช่วงกว้าง มาก 3. น้ามันก๊าด (Kerosene) น้ามันก๊าดเป็นที่รู้จักกันมานาน เป็นเชื้อเพลิงที่ให้แสงสว่างตามครัวเรือน ในปัจจุบันการนาน้ามันก๊าด มาใช้เพื่อแสงสว่าง มีปริมาณลดลงตามความเติบโตของการใช้กระแสไฟฟ้า อย่างไรก็ดีน้ามันก๊าดก็ยังมีบทบาทสาคัญในแง่ที่ เป็นเชื้อเพลิงที่สะอาด มีกามะถันต่า ซึ่งเป็นที่นิยมในอุตสาหกรรมบางประเภท เช่น โรงงานกระเบื้อง อุตสาหกรรมอาหาร เบื้องต้น ในกรณีที่ใช้น้ามันชนิดอื่นเป็นเชื้อเพลิงจุดตะเกียงจะพบว่ามีคุณสมบัติไม่เหมาะ เช่น การใช้น้ามันโซ ล่าจะก่อให้เกิดควันและเปลืองไส้ตะเกียง ส่วนการใช้เบนซินจะมีอัตราการระเหยเร็วมาก อาจเกิดอันตรายจากสารในน้ามัน เบนซินหรือเกิดการระเบิดรุนแรง
  • 6. สีของน้ามันก๊าด น้ามันก๊าดโดยปกติที่จะได้จากกระบวนการกลั่นน้ามันจะปราศจากสี แต่ทางผู้ผลิตได้เติมสีน้าเงินลง ไป เพื่อเป็นการป้ องกันการนาน้ามันไปปลอมปนกับน้ามันโซล่าหรือเบนซิน เนื่องจากมีราคาถูกกว่า 4. น้ามันดีเซล (Diesel Fuel) น้ามันดีเซลเป็นผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิงที่ได้จากากรกลั่นน้ามันดิบ สามารถนามาใช้เป็นเชื้อเพลิงสาหรับ เครื่องยนต์ดีเซล เครื่องยนต์ดีเซลหลักการทางานแตกต่างจากเครื่องยนต์เบนซิน การจุดระเบิดของเครื่องยนต์ดีเซลใช้ความร้อน ซึ่งเกิดขึ้นจากการอัดอากาศภายในกระบอกสูบ จากนั้นหัวฉีดจะฉีดน้ามันเป็นละอองเข้าไปในกระบอกสูบจะเกิดการจุดระเบิด ขึ้น ลักษณะการทางานของเครื่องยนต์ดีเซล ค่าซีเทน ค่าซีเทนของน้ามันดีเซลจะบ่งบอกถึงคุณภาพของการจุดระเบิดของน้ามัน ค่าซีเทนของน้ามันยิ่งสูงจะ ยิ่งจุดระเบิดได้ง่าย เครื่องยนต์หมุนรอบได้เร็วโดยไม่สะดุด และไม่เกิดควันขาว ถ้าค่าซีเทนของน้ามันสูงเกินไปจะทาให้เกิด การเผาไหม้ไม่สมบูรณ์และเกิดควันได้ น้ามันดีเซลแบ่งออกไป 2 ประเภท คือ 1. น้ามันดีเซลหมุนเร็ว (Automotive Diesel Oil) เป็นน้ามันที่มีค่าซีเทนอย่างต่า 47 นาไปใช้เป็น เชื้อเพลิงกับเครื่องยนต์ดีเซล ที่มีความเร็วรอบเกิน 1,000 รอบต่อนาที 2. น้ามันดีเซลหมุนช้า (Industrial Diesel Oil) เป็นน้ามันที่มีค่าซีเทนอย่างต่า 45 นาไปใช้เป็น เชื้อเพลิงกับเครื่องยนต์ดีเซล ที่มีความเร็วรอบต่ากว่า 1,000 รอบต่อนาที คุณสมบัติทั่วไปของน้ามันดีเซล 1. เมื่อเผาไหม้หมดไม่ควรมีกากเหลือ 2. ระเหยได้ดีพอสมควร 3. มีความหนืดพอเหมาะ 4. มีค่าซีเทนนัมเบอร์ไม่ต่ากว่า 45 5. ไม่กักกร่อนหรือทาให้ห้องสูบเกิดการสึกหรอ สีของน้ามันดีเซล
  • 7. โดยธรรมชาติน้ามันดีเซลมีสีชาอ่อน แต่บางครั้งสีอาจจะเปลี่ยนไปบ้าง เนื่องจากการเลือกใช้นามัน ดิบจากแหล่งต่างกันในกระบวนการกลั่น ซึ่งอาจให้น้ามันดีเซลมีสีอ่อนหรือเข้มไป แต่คุณสมบัติในการเผาไหม้ยังคงเดิม ในกรณีที่สีของน้ามันดีเซลเปลี่ยนแปลงไปมาก เช่น เป็นสีเขียวหรือสีดาคล้า ควรสงสัยการปลอมปนโดยน้ามันก๊าด (สีน้า เงิน) หรือน้ามันเตาหรือน้ามันเครื่องใช้แล้ว (สีดา) 5. น้ามันเตา (Fuel Oils) น้ามันเตาเป็นผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิงที่มีองค์ประกอบหนัก ได้จากตอนล่างของหอกลั่นอันเป็นส่วนที่เหลือ ตกค้างอยู่และไม่สามารถระเหยในหอกลั่นบรรยากาศ แม้ว่าน้ามันเตาจะเป็นพวกกากน้ามัน (Residual Fuel) เหลือจากการกลั่น และมีสิ่งตกค้างต่าง ๆ ปนอยู่มากก็ตาม น้ามันเตาก็ยังเป็นประโยชน์อย่างมหาศาลต่ออุตสาหกรรมการผลิตกระแสฟ้า และการ คมนาคมขนส่งเนื่องจากเป็นน้ามันเชื้อเพลิงที่มีราคาถูกที่สุด  เชื้อเพลิงก๊าซ (Gas Fuel) เชื้อเพลิงก๊าซ หมายถึง ก๊าซทุกชนิดที่ทาปฏิกิริยากับออกซิเจน แล้วเกิดการเผาไหม้ทาให้ได้พลังงานความ ร้อนที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ เชื้อเพลิงก๊าซส่วนใหญ่เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนเชื้อเพลิงก๊าซที่สาคัญคือ 1. ก๊าซธรรมชาติ (Natural Gas) เป็นเชื้อเพลิงที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติอยู่เหนือน้ามันดิบ แบ่งออกได้2 ชนิด 1.1 ก๊าซธรรมชาติแห้ง (Dry Natural Gas) ประกอบด้วยก๊าซมีเทน มีสถานะเป็นไอที่อุณหภูมิและความ ดันบรรยากาศ นาไปใช้เป็นเชื้อเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรม โรงานผลิตกระแสไฟฟ้า นอกจากนี้ยังเป็นวัตถุดิบในโรงาน อุตสาหกรรมปุ๋ ยยูเรีย 1.2 ก๊าซธรรมชาติชื้น (Wet Natural Gas) ประกอบด้วยโพรเทนและบิวเทนก๊าซชนิดนี้จะนาไปใช้ ประโยชน์เป็นเชื้อเพลิงสาหรบเครื่องยนต์ เป็นเชื้อเพลิงหุงต้มในครัวเรือน
  • 8. แผนภูมิแสดงผลผลิตชองก๊าซธรรมชาติ 2. ก๊าซที่ได้จากการกลั่นน้ามันดิบ (Liquid Petroleum Gas) เป็นก๊าซที่ได้มาจากการกลั่นน้ามันดิบ เรียกย่อว่า ก๊าซ L.P.G. โดยทั่วไปจะถูกจัดเก็บอยู่ในของเหลว บรรจุในถังเหล็กขนาดต่าง ๆ กันเพื่อนาไปใช้เป็นเชื้อเพลิงสาหรับหุงต้ม นอกจากนี้ยังใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม เป็น เชื้อเพลิงแทนถ่านหิน หรือน้ามันซึ่งมีราคาแพงกว่าอีกด้วย 3. โพรดิวเซอร์ก๊าซ (Producer Gas) เป็นก๊าซเชื้อเพลิงที่ผลิตได้จากการใช้ถ่านหินคุณภาพสูง นามาใส่ในเตาปิดมิดชิดแล้วให้อากาศร้อนไหล ผ่านถ่านหินในเตา อากาศร้อนจะทาปฏิกิริยากับคาร์บอนในถ่านหินแล้วให้โพรดิวเซอร์ก๊าซออกมา ซึ่งนาไปใช้ใน อุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น ทาปูนซีเมนต์ ทาแก้ว ทาเซรามิก เป็นต้น
  • 9. 4. ก๊าซชีวภาพ (Bio-Gas) เป็นก๊าซที่เกิดจากการหมักและการย่อยสลายของสารอินทรีย์ เช่น มูลสัตว์ต่าง ๆ และวัสดุเหลือใช้จาก การเกษตร วัชพืชต่าง ๆ ก๊าซที่ได้จากการหมัก คือ ก๊าซมีเทน ซึ่งสามารถนาไปประยุกต์ทาเป็นเชื้อเพลิงในการหุงต้มใน ครัวเรือนได้ 5. ก๊าซอะเซทิลีน (Acetylene Gas) ก๊าซอะเซทิลีน (C2H4) ได้จากการนาเอาน้าหยดลงบนก้อนแคลเซียมคาร์ไบด์ นาไปใช้ประโยชน์เป็น เชื้อเพลิงใช้สาหรับงานเชื่อมประสานโลหะ ใช้เป็นเชื้อเพลิงให้แสงสว่าง และยังนามาใช้ประโยชน์ในการบ่มผลไม้ด้วย