SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 23
Downloaden Sie, um offline zu lesen
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคา
( Spelling Correcting )
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
หลักการเขียนสะกดคา
1. การเขียนคาผิดเพราะคาเหล่านั้นออกเสียงเหมือนกัน แต่มีความหมายคน
ละอย่างและเขียนต่างกัน ทาให้ผู้ใช้ภาษามักสับสนและใช้คาปนกัน เพราะจาความหมาย
ของคาที่ต้องการเขียนไม่ได้ เช่น
คาว่า ขั้น และ คั่น
สิน " สินธุ์
ฉัน " ฉันท์
พัน " พันธุ์
2. ค าที่ อ อกเสี ย งต่ า งกั น เพี ย งเล็ ก น้ อ ย และมี ค วามหมายต่ า งกั น ไม่ ม ากนั ก หากไม่
ระมัดระวัง ก็อาจเกิดปัญหาในการเขียนได้ เช่น
คาว่า ราด และ ลาด
รัก " ลัก
3. เขียนผิดเพราะไม่รู้หลักเกณฑ์ในการเขียน เช่น ไม่รู้หลักการใช้ ณ-น
หลักการประ- วิสรรชนีย์และไม่ประวิสรรชนีย์ หรือการใช้ ใอ และไอ เป็นต้น
4. ใช้ แ นวเที ย บผิ ด เช่ น ค าว่ า ญาติ และอนุ ญ าต สั ญ ชาติ และ
สัญชาตญาณ บุคคล และบุคลิก เป็นต้น
5. เขียนผิดเพราะมีการเปลี่ยนแปลงกฎเกณฑ์ในการเขียน แต่ผู้เขียนติด
รูปเดิมของคาบางคา เช่น คาว่า พงศ์ เดิมใช้ ษ์ ปัจจุบันใช้ ศ์ คาว่า เบียดเบียน เคย
ใช้ ฬ สะกด คือเขียน เบียดเบียฬ
6. คาบางคามีความหมายอย่างเดียวกัน ออกเสียงเหมือนกันหรือคล้ายกัน
แต่เขียนต่างกัน คาเหล่านี้ถึงแม้ว่าจะมีความหมายอย่างเดียวกันแต่มีที่ใช้ต่างกัน ผู้ใช้
ภาษาต้องรู้ว่า เมื่อใดจะใช้รูปใด คือรู้ว่าจะเขียนรูปใดในคาแวดล้อมอย่างใด ทั้งนี้
ขึ้นอยู่กับความนิยมของสังคม เช่น
คาว่า ศูนย์
และ สูญ
มารยาท
"
มรรยาท
ภริยา
"
ภรรยา
วิชา
"
วิทยา
7. คาบางคาเขียนได้มากกว่า 1 รูป เช่น กรรไกร อาจจะใช้ว่า กรรไกร กรรไตร
หรือตะไกร ก็ได้
คาว่า ระบัด ระบบ ระบือ ระลอก อาจใช้ ละ และ ระ ได้ดังนี้ ละบัด ละบือ
และละลอก
ดังนั้น ผู้ใช้ภาษาควรจะรู้จักการเขียนทุกๆ รูป เพื่อจะได้ไม่ทึกทักว่าคนอื่นใช้
ผิด เพราะใช้รูปผิดไปจากที่เราใช้
8. เขียนผิดเพราะเขียนตามเสียงอ่าน เช่น
ปรารถนา ออกเสียงว่า ปราด-ถะ-หนา มักเขียนผิดเป็น ปราถนา
ศีรษะ " สี-สะ มักเขียนผิดเป็น ศรีษะ
หลักการเขียนคาสมาส
คาสมาสซึ่งเกิดจากการนาคาบาลีกับบาลี หรือคาบาลีกับสันสกฤต หรือ
สันสกฤตกับสันสกฤต มารวมกันเพื่อสร้างคาใหม่ในภาษา เช่น
วิสาขะ (บาลี) + บูชา (บาลี) = วิสาขบูชา
ศัลยะ (สันสกฤต) + กรรม (สันสกฤต) = ศัลยกรรม
กิตติ (บาลี) + ศัพท์ (สันสกฤต) = กิตติศัพท์
การเขียนคาสมาสจึงมีหลัก ดังนี้
1. ถ้าพยางค์สุดท้ายของคาแรกมีประวิสรรชนีย์ (ะ) เวลาเขียนให้ตัด ออก
ดังตัวอย่างต่อไปนี้
อิสรภาพ ธนสมบัติ ศิลปศาสตร์ พันธกิจ รัตนโกสินทร์ ภารกิจ ศิลปกรรม
พลศึกษา คณบดี กาญจนบุรี
2. ถ้าพยางค์สุดท้ายของคาแรกของคาสมาสมีเครื่องหมายทัณฑฆาต ( ์ )
เวลาเขียนให้ตัดออก ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ทรัพยสิทธิ ครุศาสตรบัณฑิต แพทยศาสตร์
มนุษยชาติ ไปรษณียภัณฑ์ สัมพันธภาพ อนุรักษนิยม
หลักการเขียนคาที่ออกเสียง อะ
การเขียนคาที่ออกเสียง อะ เขียนได้ 2 วิธี คือ ประวิสรรชนีย์ เช่น สะดวก
สะอาด และไม่ประวิสรรชนีย์ เช่น ตวาด ชอุ่ม สบู่ เป็นต้น คาที่ประวิสรรชนีย์มีหลัก
ในการสังเกต ดังนี้
1. คาไทยแท้ทุกคาที่ออกเสียง อะ ให้ประวิสรรชนีย์ เช่น กะทิ กระพรวน
กระทะ ปะขาว ทะนง ทะนาน มะลิ กระชับ ตะแคง ชะลอ ละไม คะมา ตะโกน ขยะ
ขะมุกขะมอม
2. คาซึ่งเกิดจากการกร่อนเสียงมาเป็นเสียง อะ ให้ประวิสรรชนีย์ ดังนี้
2.1 กร่อนเสียงจาก ต้น เป็น ตะ เช่น ต้นเคียน เป็น ตะเคียน ต้นไคร้เป็น
ตะไคร้ ต้นแบก เป็น ตะแบก ต้นคร้อ เป็น ตะคร้อ
2.4 คา 2 พยางค์ อื่น ๆ ซึ่งเกิดจากการกร่อนเสียงก็ให้ประวิสรรชนีย์ทั้งสิ้น
เช่น ตะปู (ตาปู) ตะวัน (ตาวัน) สะดือ (สายดือ) สะใภ้ (สาวใภ้) ฉะนั้น (ฉันนั้น) ฉะนี้
(ฉันนี้)
นอกจากนี้คากร่อนจากคาซ้า (อัพภาส) เป็นเสียงอะในคาแรก ซึ่งเป็นคาซ้า
ในคาประพันธ์ ให้ประวิสรรชนีย์ เช่น ยะยิบ (ยิบยิบ) ระเรื่อย (เรื่อยเรื่อย) ระรัว (รัว
รัว) ฯลฯ
2.5 คาที่มี 3 พยางค์ ซึ่งออกเสียง อะ ในพยางค์ที่ 2 มักประวิสรรชนีย์ เช่น
รัดประคด บาดทะยัก เจียระไน สับปะรด คุดทะราด เป็นต้น
2.6 คาที่ยืมจากภาษาบาลี - สันสกฤต ถ้าออกเสียงอะที่พยางค์ท้ายของคา
ให้ ป ระวิ ส รรชนี ย์ ที่ พ ยางค์ ท้ า ยของค านั้ น เช่ น สาธารณะ ลั ก ษณะ สรณะ อิ ส ระ
สัมปชัญญะ พละ อักขระ ภาชนะ ฯลฯ
ตัวอย่างคาที่ประวิสรรชนีย์ ได้แก่
ชะตา ชะงัก สะคราญ ทะนง คะนึง สะอื้น สะดุด สับปะรด สะอาด สะพาน
ชะล่า สะกด จะละเม็ด ฉะนั้น มักกะสัน ประณีต พะทามะรง สะเพร่า สะพัด สะบัด
สะระตะ สะระแหน่ สะอิดสะเอียน สะลึมสะลือ จระเข้ สะตอ ตะลีตะลาน ตะลุมบอน
ตะขิดตะขวง ชะรอย ซังกะตาย ธุระ ศิลปะ อารยะ สัจจะ ละเอียด รามะนาด อังกะลุง
ตัวอย่างคาที่ไม่ประวิสรรชนีย์ ได้แก่
อารยธรรม ศิ ล ปกรรม ธุ ร กิ จ คณบดี อิ ส รภาพ ปิ ย มหาราช พลศึ ก ษา
อาชีวศึกษา จริต จรุง ลออ สบาย สูบ่ ขมา ปรัมปรา พนัน ทมิฬ ตวัด ฉบับ ฉบัง ฉมัง
ฉวั ด เฉวี ย น สลั ว สลอน สลอด สลวย สลั ก สราญ สลุ ต สว่ า น เสนาะ อหั ง การ
อสรพิษ ทวาร ฉลาด ถวิล ชโลม
หลักการเขียนคาที่ใช้ ใอ, ไอ, อัย, ไอย
1. คาที่ใช้สระ ใอ (ไม้ม้วน) แต่โบราณกาหนดว่าคาไทยแท้เพียง ๒๐ คาเท่านั้น
ที่เขียนด้วยสระ ใ ดังที่โบราณาจารย์ผูกไว้เป็นคาประพันธ์เพื่อช่วยความจา ดังนี้
ผู้ใหญ่หาผ้าใหม่ ให้สะใภ้ใช้คล้องคอ
ใฝ่ใจเอาใส่ห่อ
มิหลงใหลใครขอดู
จักใคร่ลงเรือใบ ดูน้าใสและปลาปู
สิ่งใดอยู่ในตู้
มิใช่อยู่ใต้ตั่งเตียง
บ้าใบ้ถือใยบัว
หูตามัวมาใกล้เคียง
เล่าท่องอย่าละเลี่ยง ยี่สิบม้วนจาจงดี
ปัจจุบันมีคาที่ใช้สระ ใ เพิ่มขึ้น ได้แก่ หมาใน เหล็กใน เยื่อใย ใยบัว ใยแมงมุม
2. คาที่ใช้สระ ไอ (ไม้มลาย) มีหลักการใช้ ดังนี้
2.1 ใช้กับคาไทยทั่วไปนอกจากคาที่ใช้สระ ใ (ไม้ม้วน) 20 คา
2.2 ใช้กับคาที่แผลงจากคาเดิมที่เขียนด้วย สระ อิ อี และ เอ ใน
ภาษาบาลี สันสกฤต เช่น ระวิ แผลงเป็น ราไพ วิจิตร แผลงเป็น ไพจิตร ตริ " ไตร
วิหาร " ไพหาร
2.3 ใช้กับคาที่ยืมมาจากคาต่างประเทศทุกภาษา เช่น ไอศกรีม
ไมล์ สไลด์ ไวโอลิน ไต้ฝุ่น ไผท อะไหล่ ฯลฯ
ตัวอย่างคาที่ใช้สระ ไอ (ไม้มลาย) ได้แก่ ไจไหม ร้องไห้ ไนกรอด้าย ปลาไน
เสือกไส ไสไม้ ตะไคร่ ตะไคร้ ใส่ไคล้ ไยไพ ไยดี ลาไย หยากไย่ สลัดได เหลวไหล น้า
ไหล จุดไต้ ตะไบ ลาไส้ ไขกุญแจ ไดโนเสาร์
3. คาที่ใช้สระ อัย (อัย) ใช้กับคาที่ยืมจากภาษาบาลี - สันสกฤต ซึ่งเดิมออก
เสียง อะ และมี ย ตามหลังเท่านั้น เช่น
ชย ไทยใช้ ชัย ภย ไทยใช้ ภัย
อาลย " อาลัย อุทย " อุทัย
อภย " อภัย นย " นัย
4. คาที่ใช้สระ ไอย (ไอย) ใช้กับคายืมจากภาษาบาลี - สันสกฤต ที่คาเดิมเป็น
เสียง เอยย และ เอย เท่านั้น เช่น
เวเนยย ไทยใช้ เวไนย (เวไนยสัตว์) อสังเขยย ไทยใช้ อสังไขย
อธิปเตยย " อธิปไตย
เทยยทาน " ไทยทาน
หลักการเขียนคาที่ใช้ ศ ,ษ และ ส
การใช้พยัญชนะเสียง /สอ/ ในภาษาไทยมีหลักเกณฑ์การเขียน ดังนี้
1. คาไทยแท้ทั่วไปนิยมเขียนด้วย ส เช่น เสื้อ เสือ สดใส เสียม เป็นต้น ยกเว้น
คาไทย และคายืมบางคาที่เขียนมาแต่โบราณใช้ ศ และ ษ บ้าง จึงยังคงใช้รูปเขียน
เหล่านั้นอยู่ในปัจจุบัน เช่น
ศ : ศอ ศอก เศิก ศึก เศร้า บาราศ ปราศจาก ฝรั่งเศส เลิศ ไอศกรีม
ษ : กระดาษ โจษจัน ดาษดา ดาษดื่น ฝีดาษ เดียรดาษ อังกฤษ
2. คาที่มาจากภาษาบาลีใช้ ส ทั้งหมด เช่น พระสงฆ์ มเหสี สัจจะ รังสี สิริ
โสภา สโมสร สาธิต สุสาน สาวก ฯลฯ
3. คาที่มาจากภาษาสันสกฤต มีหลักเกณฑ์ ดังนี้
3.1 พยัญชนะ ศ เขียนหน้าพยัญชนะวรรค จะ และ หน้าพยัญชนะเศษวรรค
บางรูป ดังนี้
3.1.1 เขียนหน้าพยัญชนะวรรค จะ เช่น พฤศจิกายน อัศจรรย์ อัศเจรีย์
3.1.2 เขียนหน้าพยัญชนะเศษวรรค เช่น เทเวศร พิฆเนศวร์ แพศยา
โศลก อัศวิน อาศรม
3.2 พยัญชนะ ษ ใช้เขียนหน้าพยัญชนะวรรค ฏะ และ หน้าพยัญชนะวรรค
อื่น และพยัญชนะเศษวรรคบางรูปได้ ดังนี้
3.2.1 เขียนหน้าพยัญชนะวรรค ฏะ เช่น กนิษฐา โฆษณา ดุษฎี ราษฎร
3.2.2 เขียนหน้าพยัญชนะวรรคอื่น เช่น เกษตร บุษกร บุษบก บุษบา
3.2.3 เขียนหน้าพยัญชนะเศษวรรคบางรูป เช่น บุษยา ศิษย์ บุษยมาส
3.3 พยัญชนะ ส ใช้เขียนหน้าพยัญชนะวรรค ตะ และพยัญชนะเศษวรรค
บางรูปได้ ดังนี้
3.3.1 เขียนหน้าพยัญชนะวรรค ตะ เช่น พัสดุ พิสดาร ภัสดา วาสนา
สถาน สัสดี สวัสดี สตรี อัสดง
3.3.2 เขียนหน้าพยัญชนะเศษวรรค เช่น ประภัสสร มัสลิน สุรัสวดี
คาพ้องเสียง คือ คาที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกัน และมีความหมาย
แตกต่างกันด้วย การเขียนคาพ้องเสียงจึงอยู่ที่การสังเกตและจดจาความหมายของคา
เป็นหลัก คาพ้องเสียงในภาษาไทยมีอยู่เป็นจานวนมาก จึงยกตัวอย่างมาเป็นเครื่อง
สังเกต ดังนี้
• /กาน/ เมืองกาญจน์ กานไม้(ตัดไม้) กิจการ แถลงการณ์ ประสบการณ์ ฤดูกาล กาฬ
โรค มหากาฬ กลอนกานท์(บทกลอน)
•
•
•
•
•

/เกียด/ มีเกียรติ เกียรติยศ รังเกียจ ขี้เกียจ เกียจคร้าน เกียดกัน
/สูด/ สูดดม สูตรคูณ ชันสูตร พหูสูต พิสูจน์
/น่า/ หน้าร้อน หน้าหนาว หน้าต่างน่ารัก น่ายกย่อง น่ากิน
/โจด/ โจทก์จาเลย โจทย์เลข พูดโจษ โจษขาน
/พัน/ พันผ้า ผูกพัน ละครพันทาง บทประพันธ์ ผิวพรรณ เผ่าพันธุ์ พรรณนา
กรรมพันธุ์ ผลิตภัณฑ์ พิพิธภัณฑ์ พรรดึก ภรรยา
•
•
•
•
•

/มุก/ ไข่มุก หน้ามุข ประมุข มุกดา
/เพด/ อาเพศ เพศชาย ลักเพศ เบญจเพส สมเพช ประเภท สามัคคีเภท
/ขัน/ ขันน้า ขันธ์๕ ประจวบคีรีขันธ์ พระขรรค์ เขตขันฑ์ ขัณฑสกร แข่งขัน ขาขัน
/นาด/ ระนาด นวยนาด สีหนาท นาถ(ที่พึ่ง) วรนาถ นงนาฏ นาฏศิลป์ พินาศ
/ดิด/ บัณฑิต ประดิษฐ์ ประดิดประดอย อุตรดิตถ์ กาญจนดิษฐ์(ชื่ออาเภอ)
คาที่มักเขียนผิด
การเขียนภาษาไทยให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ไทย เป็นสิ่งจาเป็นพื้นฐานที่
คนไทยทุกคนต้องเรียนรู้ ถ้าเกิดเป็นคนไทยแล้วเขียนภาษาไทยไม่ถูกต้อง นับว่าเป็นสิ่งที่
น่าละอายและถือเป็นการทาลายวัฒนธรรมทางภาษาของชาติอีกด้วย ดังนั้นเราจึงต้อง
สร้างความตระหนักในการเขียนภาษาไทยทุกครั้งให้ถูกต้อง ถ้าไม่ทราบก็ควรถามผู้รู้หรือ
ค้นหาจากพจนานุกรม ไม่ควรเขียนตามใจชอบ หรือ ”ดาน้า” เขียน เพราะไม่เห็น
ความสาคัญ ในที่นี้จะรวบรวมคาที่มักเขียนผิดที่พบเห็นบ่อย ๆ ดังนี้
1. กฎ, กฎหมาย สะกดด้วย ฎ แต่มักเขียนเป็นตัว ฏ
2. ปรากฏการณ์ สะกดด้วย ฏ แต่มักเขียนเป็นตัว ฎ
3. กรวดน้า (แผ่ส่วนบุญด้วยวิธีหลั่งน้า) มักเขียนเป็น ตรวจน้า
4. กระจิริด (เล็กน้อย) มักเขียนเป็น กระจิ๊ดริด
5. กระจุกกระจิก (เล็ก ๆ น้อย ๆ คละกัน) มักเขียนเป็น กะจุกกะจิก
6. ขึ้นฉ่าย (ผักชนิดหนึ่ง) มักเขียนเป็น คึ่นไช่
7. เข็ญใจ (ยากจนข้นแค้น) มักเขียนเป็น เข็นใจ
8. คงกระพัน (ทนทานต่อศาสตราวุธ) มักเขียนเป็น คงกะพัน
9. คนโท (หม้อน้า) มักเขียนเป็น คนโฑ
10. คลินิก (สถานพยาบาล) มักเขียนเป็น คลินิค
11. เจตคติ (ท่าทีหรือความรู้สึกที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง) มักเขียนเป็น เจตนคติ
12. ฉันมิตร (เป็นเพื่อน) มักเขียนเป็น ฉันท์มิตร
13. ช็อก (สลบแน่นิ่งโดยกระทันหัน) มักเขียนเป็น ช็อค
14. เชิ้ต (เสื้อคอปกแบบหนึ่ง) มักเขียนเป็น เชิ๊ต
15. ซอส (เครื่องปรุงรส) มักเขียนเป็น ซ้อส
- http://nomkungmwit.blogspot.com/2011/11/blogpost_6652.html
- http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=
10433&Key=news_research
- http://kmkrupuk.blogspot.com/2011/02/blog-post.html

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศssuser456899
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
แผ่นผับอักษร3 หมู่
แผ่นผับอักษร3 หมู่แผ่นผับอักษร3 หมู่
แผ่นผับอักษร3 หมู่sakass74
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีWatcharapol Wiboolyasarin
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑พัน พัน
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการNapadon Yingyongsakul
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4Itt Bandhudhara
 

Was ist angesagt? (20)

ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
แผ่นผับอักษร3 หมู่
แผ่นผับอักษร3 หมู่แผ่นผับอักษร3 หมู่
แผ่นผับอักษร3 หมู่
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 

Andere mochten auch

เฉลยไทย 53
เฉลยไทย 53เฉลยไทย 53
เฉลยไทย 53Nook Kanokwan
 
เฉลยสุขะ53
เฉลยสุขะ53เฉลยสุขะ53
เฉลยสุขะ53Nook Kanokwan
 
เฉลยOnetสุขะ51
เฉลยOnetสุขะ51เฉลยOnetสุขะ51
เฉลยOnetสุขะ51Nook Kanokwan
 
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)Milky' __
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมปยล วชย.
 
O net53-สุขะ
O net53-สุขะO net53-สุขะ
O net53-สุขะNook Kanokwan
 
เฉลยOnetสุขะ52
เฉลยOnetสุขะ52เฉลยOnetสุขะ52
เฉลยOnetสุขะ52Nook Kanokwan
 
O net52 สุขะ
O net52 สุขะO net52 สุขะ
O net52 สุขะNook Kanokwan
 
เฉลยOnetสุขะ50
เฉลยOnetสุขะ50เฉลยOnetสุขะ50
เฉลยOnetสุขะ50Nook Kanokwan
 
ใบงานที่ 2 8 g
ใบงานที่ 2 8 gใบงานที่ 2 8 g
ใบงานที่ 2 8 gjumboguide
 
O net51-สุขะ
O net51-สุขะO net51-สุขะ
O net51-สุขะNook Kanokwan
 
O net50-สุขะ
O net50-สุขะO net50-สุขะ
O net50-สุขะNook Kanokwan
 
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 3 เล่ม 2
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 3 เล่ม 2หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 3 เล่ม 2
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 3 เล่ม 2kanidta vatanyoo
 
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5ปวริศา
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2Rung Kru
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์jumboguide
 

Andere mochten auch (20)

เฉลยไทย 53
เฉลยไทย 53เฉลยไทย 53
เฉลยไทย 53
 
เฉลยสุขะ53
เฉลยสุขะ53เฉลยสุขะ53
เฉลยสุขะ53
 
Onet ไทย 53
Onet ไทย 53Onet ไทย 53
Onet ไทย 53
 
เฉลยOnetสุขะ51
เฉลยOnetสุขะ51เฉลยOnetสุขะ51
เฉลยOnetสุขะ51
 
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
การสังเกตลักษณะของคำไทยแท้
การสังเกตลักษณะของคำไทยแท้การสังเกตลักษณะของคำไทยแท้
การสังเกตลักษณะของคำไทยแท้
 
O net53-สุขะ
O net53-สุขะO net53-สุขะ
O net53-สุขะ
 
ใบงานที่ 9-16
ใบงานที่ 9-16ใบงานที่ 9-16
ใบงานที่ 9-16
 
เฉลยOnetสุขะ52
เฉลยOnetสุขะ52เฉลยOnetสุขะ52
เฉลยOnetสุขะ52
 
O net52 สุขะ
O net52 สุขะO net52 สุขะ
O net52 สุขะ
 
เฉลยOnetสุขะ50
เฉลยOnetสุขะ50เฉลยOnetสุขะ50
เฉลยOnetสุขะ50
 
ใบงานที่ 2 8 g
ใบงานที่ 2 8 gใบงานที่ 2 8 g
ใบงานที่ 2 8 g
 
O net51-สุขะ
O net51-สุขะO net51-สุขะ
O net51-สุขะ
 
O net50-สุขะ
O net50-สุขะO net50-สุขะ
O net50-สุขะ
 
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 3 เล่ม 2
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 3 เล่ม 2หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 3 เล่ม 2
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 3 เล่ม 2
 
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Ähnlich wie สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ

ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856Rose'zll LD
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
Kam
KamKam
Kamsa
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 

Ähnlich wie สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ (20)

ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Kam
KamKam
Kam
 
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทยการจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
ระบบคำยืมเสนอ
ระบบคำยืมเสนอระบบคำยืมเสนอ
ระบบคำยืมเสนอ
 

สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ

  • 3. หลักการเขียนสะกดคา 1. การเขียนคาผิดเพราะคาเหล่านั้นออกเสียงเหมือนกัน แต่มีความหมายคน ละอย่างและเขียนต่างกัน ทาให้ผู้ใช้ภาษามักสับสนและใช้คาปนกัน เพราะจาความหมาย ของคาที่ต้องการเขียนไม่ได้ เช่น คาว่า ขั้น และ คั่น สิน " สินธุ์ ฉัน " ฉันท์ พัน " พันธุ์ 2. ค าที่ อ อกเสี ย งต่ า งกั น เพี ย งเล็ ก น้ อ ย และมี ค วามหมายต่ า งกั น ไม่ ม ากนั ก หากไม่ ระมัดระวัง ก็อาจเกิดปัญหาในการเขียนได้ เช่น คาว่า ราด และ ลาด รัก " ลัก
  • 4. 3. เขียนผิดเพราะไม่รู้หลักเกณฑ์ในการเขียน เช่น ไม่รู้หลักการใช้ ณ-น หลักการประ- วิสรรชนีย์และไม่ประวิสรรชนีย์ หรือการใช้ ใอ และไอ เป็นต้น 4. ใช้ แ นวเที ย บผิ ด เช่ น ค าว่ า ญาติ และอนุ ญ าต สั ญ ชาติ และ สัญชาตญาณ บุคคล และบุคลิก เป็นต้น 5. เขียนผิดเพราะมีการเปลี่ยนแปลงกฎเกณฑ์ในการเขียน แต่ผู้เขียนติด รูปเดิมของคาบางคา เช่น คาว่า พงศ์ เดิมใช้ ษ์ ปัจจุบันใช้ ศ์ คาว่า เบียดเบียน เคย ใช้ ฬ สะกด คือเขียน เบียดเบียฬ
  • 5. 6. คาบางคามีความหมายอย่างเดียวกัน ออกเสียงเหมือนกันหรือคล้ายกัน แต่เขียนต่างกัน คาเหล่านี้ถึงแม้ว่าจะมีความหมายอย่างเดียวกันแต่มีที่ใช้ต่างกัน ผู้ใช้ ภาษาต้องรู้ว่า เมื่อใดจะใช้รูปใด คือรู้ว่าจะเขียนรูปใดในคาแวดล้อมอย่างใด ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความนิยมของสังคม เช่น คาว่า ศูนย์ และ สูญ มารยาท " มรรยาท ภริยา " ภรรยา วิชา " วิทยา
  • 6. 7. คาบางคาเขียนได้มากกว่า 1 รูป เช่น กรรไกร อาจจะใช้ว่า กรรไกร กรรไตร หรือตะไกร ก็ได้ คาว่า ระบัด ระบบ ระบือ ระลอก อาจใช้ ละ และ ระ ได้ดังนี้ ละบัด ละบือ และละลอก ดังนั้น ผู้ใช้ภาษาควรจะรู้จักการเขียนทุกๆ รูป เพื่อจะได้ไม่ทึกทักว่าคนอื่นใช้ ผิด เพราะใช้รูปผิดไปจากที่เราใช้ 8. เขียนผิดเพราะเขียนตามเสียงอ่าน เช่น ปรารถนา ออกเสียงว่า ปราด-ถะ-หนา มักเขียนผิดเป็น ปราถนา ศีรษะ " สี-สะ มักเขียนผิดเป็น ศรีษะ
  • 7. หลักการเขียนคาสมาส คาสมาสซึ่งเกิดจากการนาคาบาลีกับบาลี หรือคาบาลีกับสันสกฤต หรือ สันสกฤตกับสันสกฤต มารวมกันเพื่อสร้างคาใหม่ในภาษา เช่น วิสาขะ (บาลี) + บูชา (บาลี) = วิสาขบูชา ศัลยะ (สันสกฤต) + กรรม (สันสกฤต) = ศัลยกรรม กิตติ (บาลี) + ศัพท์ (สันสกฤต) = กิตติศัพท์ การเขียนคาสมาสจึงมีหลัก ดังนี้ 1. ถ้าพยางค์สุดท้ายของคาแรกมีประวิสรรชนีย์ (ะ) เวลาเขียนให้ตัด ออก ดังตัวอย่างต่อไปนี้ อิสรภาพ ธนสมบัติ ศิลปศาสตร์ พันธกิจ รัตนโกสินทร์ ภารกิจ ศิลปกรรม พลศึกษา คณบดี กาญจนบุรี
  • 8. 2. ถ้าพยางค์สุดท้ายของคาแรกของคาสมาสมีเครื่องหมายทัณฑฆาต ( ์ ) เวลาเขียนให้ตัดออก ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ทรัพยสิทธิ ครุศาสตรบัณฑิต แพทยศาสตร์ มนุษยชาติ ไปรษณียภัณฑ์ สัมพันธภาพ อนุรักษนิยม
  • 9. หลักการเขียนคาที่ออกเสียง อะ การเขียนคาที่ออกเสียง อะ เขียนได้ 2 วิธี คือ ประวิสรรชนีย์ เช่น สะดวก สะอาด และไม่ประวิสรรชนีย์ เช่น ตวาด ชอุ่ม สบู่ เป็นต้น คาที่ประวิสรรชนีย์มีหลัก ในการสังเกต ดังนี้ 1. คาไทยแท้ทุกคาที่ออกเสียง อะ ให้ประวิสรรชนีย์ เช่น กะทิ กระพรวน กระทะ ปะขาว ทะนง ทะนาน มะลิ กระชับ ตะแคง ชะลอ ละไม คะมา ตะโกน ขยะ ขะมุกขะมอม 2. คาซึ่งเกิดจากการกร่อนเสียงมาเป็นเสียง อะ ให้ประวิสรรชนีย์ ดังนี้ 2.1 กร่อนเสียงจาก ต้น เป็น ตะ เช่น ต้นเคียน เป็น ตะเคียน ต้นไคร้เป็น ตะไคร้ ต้นแบก เป็น ตะแบก ต้นคร้อ เป็น ตะคร้อ
  • 10. 2.4 คา 2 พยางค์ อื่น ๆ ซึ่งเกิดจากการกร่อนเสียงก็ให้ประวิสรรชนีย์ทั้งสิ้น เช่น ตะปู (ตาปู) ตะวัน (ตาวัน) สะดือ (สายดือ) สะใภ้ (สาวใภ้) ฉะนั้น (ฉันนั้น) ฉะนี้ (ฉันนี้) นอกจากนี้คากร่อนจากคาซ้า (อัพภาส) เป็นเสียงอะในคาแรก ซึ่งเป็นคาซ้า ในคาประพันธ์ ให้ประวิสรรชนีย์ เช่น ยะยิบ (ยิบยิบ) ระเรื่อย (เรื่อยเรื่อย) ระรัว (รัว รัว) ฯลฯ 2.5 คาที่มี 3 พยางค์ ซึ่งออกเสียง อะ ในพยางค์ที่ 2 มักประวิสรรชนีย์ เช่น รัดประคด บาดทะยัก เจียระไน สับปะรด คุดทะราด เป็นต้น 2.6 คาที่ยืมจากภาษาบาลี - สันสกฤต ถ้าออกเสียงอะที่พยางค์ท้ายของคา ให้ ป ระวิ ส รรชนี ย์ ที่ พ ยางค์ ท้ า ยของค านั้ น เช่ น สาธารณะ ลั ก ษณะ สรณะ อิ ส ระ สัมปชัญญะ พละ อักขระ ภาชนะ ฯลฯ
  • 11. ตัวอย่างคาที่ประวิสรรชนีย์ ได้แก่ ชะตา ชะงัก สะคราญ ทะนง คะนึง สะอื้น สะดุด สับปะรด สะอาด สะพาน ชะล่า สะกด จะละเม็ด ฉะนั้น มักกะสัน ประณีต พะทามะรง สะเพร่า สะพัด สะบัด สะระตะ สะระแหน่ สะอิดสะเอียน สะลึมสะลือ จระเข้ สะตอ ตะลีตะลาน ตะลุมบอน ตะขิดตะขวง ชะรอย ซังกะตาย ธุระ ศิลปะ อารยะ สัจจะ ละเอียด รามะนาด อังกะลุง ตัวอย่างคาที่ไม่ประวิสรรชนีย์ ได้แก่ อารยธรรม ศิ ล ปกรรม ธุ ร กิ จ คณบดี อิ ส รภาพ ปิ ย มหาราช พลศึ ก ษา อาชีวศึกษา จริต จรุง ลออ สบาย สูบ่ ขมา ปรัมปรา พนัน ทมิฬ ตวัด ฉบับ ฉบัง ฉมัง ฉวั ด เฉวี ย น สลั ว สลอน สลอด สลวย สลั ก สราญ สลุ ต สว่ า น เสนาะ อหั ง การ อสรพิษ ทวาร ฉลาด ถวิล ชโลม
  • 12. หลักการเขียนคาที่ใช้ ใอ, ไอ, อัย, ไอย 1. คาที่ใช้สระ ใอ (ไม้ม้วน) แต่โบราณกาหนดว่าคาไทยแท้เพียง ๒๐ คาเท่านั้น ที่เขียนด้วยสระ ใ ดังที่โบราณาจารย์ผูกไว้เป็นคาประพันธ์เพื่อช่วยความจา ดังนี้ ผู้ใหญ่หาผ้าใหม่ ให้สะใภ้ใช้คล้องคอ ใฝ่ใจเอาใส่ห่อ มิหลงใหลใครขอดู จักใคร่ลงเรือใบ ดูน้าใสและปลาปู สิ่งใดอยู่ในตู้ มิใช่อยู่ใต้ตั่งเตียง บ้าใบ้ถือใยบัว หูตามัวมาใกล้เคียง เล่าท่องอย่าละเลี่ยง ยี่สิบม้วนจาจงดี ปัจจุบันมีคาที่ใช้สระ ใ เพิ่มขึ้น ได้แก่ หมาใน เหล็กใน เยื่อใย ใยบัว ใยแมงมุม
  • 13. 2. คาที่ใช้สระ ไอ (ไม้มลาย) มีหลักการใช้ ดังนี้ 2.1 ใช้กับคาไทยทั่วไปนอกจากคาที่ใช้สระ ใ (ไม้ม้วน) 20 คา 2.2 ใช้กับคาที่แผลงจากคาเดิมที่เขียนด้วย สระ อิ อี และ เอ ใน ภาษาบาลี สันสกฤต เช่น ระวิ แผลงเป็น ราไพ วิจิตร แผลงเป็น ไพจิตร ตริ " ไตร วิหาร " ไพหาร 2.3 ใช้กับคาที่ยืมมาจากคาต่างประเทศทุกภาษา เช่น ไอศกรีม ไมล์ สไลด์ ไวโอลิน ไต้ฝุ่น ไผท อะไหล่ ฯลฯ ตัวอย่างคาที่ใช้สระ ไอ (ไม้มลาย) ได้แก่ ไจไหม ร้องไห้ ไนกรอด้าย ปลาไน เสือกไส ไสไม้ ตะไคร่ ตะไคร้ ใส่ไคล้ ไยไพ ไยดี ลาไย หยากไย่ สลัดได เหลวไหล น้า ไหล จุดไต้ ตะไบ ลาไส้ ไขกุญแจ ไดโนเสาร์
  • 14. 3. คาที่ใช้สระ อัย (อัย) ใช้กับคาที่ยืมจากภาษาบาลี - สันสกฤต ซึ่งเดิมออก เสียง อะ และมี ย ตามหลังเท่านั้น เช่น ชย ไทยใช้ ชัย ภย ไทยใช้ ภัย อาลย " อาลัย อุทย " อุทัย อภย " อภัย นย " นัย 4. คาที่ใช้สระ ไอย (ไอย) ใช้กับคายืมจากภาษาบาลี - สันสกฤต ที่คาเดิมเป็น เสียง เอยย และ เอย เท่านั้น เช่น เวเนยย ไทยใช้ เวไนย (เวไนยสัตว์) อสังเขยย ไทยใช้ อสังไขย อธิปเตยย " อธิปไตย เทยยทาน " ไทยทาน
  • 15. หลักการเขียนคาที่ใช้ ศ ,ษ และ ส การใช้พยัญชนะเสียง /สอ/ ในภาษาไทยมีหลักเกณฑ์การเขียน ดังนี้ 1. คาไทยแท้ทั่วไปนิยมเขียนด้วย ส เช่น เสื้อ เสือ สดใส เสียม เป็นต้น ยกเว้น คาไทย และคายืมบางคาที่เขียนมาแต่โบราณใช้ ศ และ ษ บ้าง จึงยังคงใช้รูปเขียน เหล่านั้นอยู่ในปัจจุบัน เช่น ศ : ศอ ศอก เศิก ศึก เศร้า บาราศ ปราศจาก ฝรั่งเศส เลิศ ไอศกรีม ษ : กระดาษ โจษจัน ดาษดา ดาษดื่น ฝีดาษ เดียรดาษ อังกฤษ 2. คาที่มาจากภาษาบาลีใช้ ส ทั้งหมด เช่น พระสงฆ์ มเหสี สัจจะ รังสี สิริ โสภา สโมสร สาธิต สุสาน สาวก ฯลฯ
  • 16. 3. คาที่มาจากภาษาสันสกฤต มีหลักเกณฑ์ ดังนี้ 3.1 พยัญชนะ ศ เขียนหน้าพยัญชนะวรรค จะ และ หน้าพยัญชนะเศษวรรค บางรูป ดังนี้ 3.1.1 เขียนหน้าพยัญชนะวรรค จะ เช่น พฤศจิกายน อัศจรรย์ อัศเจรีย์ 3.1.2 เขียนหน้าพยัญชนะเศษวรรค เช่น เทเวศร พิฆเนศวร์ แพศยา โศลก อัศวิน อาศรม 3.2 พยัญชนะ ษ ใช้เขียนหน้าพยัญชนะวรรค ฏะ และ หน้าพยัญชนะวรรค อื่น และพยัญชนะเศษวรรคบางรูปได้ ดังนี้ 3.2.1 เขียนหน้าพยัญชนะวรรค ฏะ เช่น กนิษฐา โฆษณา ดุษฎี ราษฎร 3.2.2 เขียนหน้าพยัญชนะวรรคอื่น เช่น เกษตร บุษกร บุษบก บุษบา 3.2.3 เขียนหน้าพยัญชนะเศษวรรคบางรูป เช่น บุษยา ศิษย์ บุษยมาส
  • 17. 3.3 พยัญชนะ ส ใช้เขียนหน้าพยัญชนะวรรค ตะ และพยัญชนะเศษวรรค บางรูปได้ ดังนี้ 3.3.1 เขียนหน้าพยัญชนะวรรค ตะ เช่น พัสดุ พิสดาร ภัสดา วาสนา สถาน สัสดี สวัสดี สตรี อัสดง 3.3.2 เขียนหน้าพยัญชนะเศษวรรค เช่น ประภัสสร มัสลิน สุรัสวดี
  • 18. คาพ้องเสียง คือ คาที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกัน และมีความหมาย แตกต่างกันด้วย การเขียนคาพ้องเสียงจึงอยู่ที่การสังเกตและจดจาความหมายของคา เป็นหลัก คาพ้องเสียงในภาษาไทยมีอยู่เป็นจานวนมาก จึงยกตัวอย่างมาเป็นเครื่อง สังเกต ดังนี้ • /กาน/ เมืองกาญจน์ กานไม้(ตัดไม้) กิจการ แถลงการณ์ ประสบการณ์ ฤดูกาล กาฬ โรค มหากาฬ กลอนกานท์(บทกลอน)
  • 19. • • • • • /เกียด/ มีเกียรติ เกียรติยศ รังเกียจ ขี้เกียจ เกียจคร้าน เกียดกัน /สูด/ สูดดม สูตรคูณ ชันสูตร พหูสูต พิสูจน์ /น่า/ หน้าร้อน หน้าหนาว หน้าต่างน่ารัก น่ายกย่อง น่ากิน /โจด/ โจทก์จาเลย โจทย์เลข พูดโจษ โจษขาน /พัน/ พันผ้า ผูกพัน ละครพันทาง บทประพันธ์ ผิวพรรณ เผ่าพันธุ์ พรรณนา กรรมพันธุ์ ผลิตภัณฑ์ พิพิธภัณฑ์ พรรดึก ภรรยา
  • 20. • • • • • /มุก/ ไข่มุก หน้ามุข ประมุข มุกดา /เพด/ อาเพศ เพศชาย ลักเพศ เบญจเพส สมเพช ประเภท สามัคคีเภท /ขัน/ ขันน้า ขันธ์๕ ประจวบคีรีขันธ์ พระขรรค์ เขตขันฑ์ ขัณฑสกร แข่งขัน ขาขัน /นาด/ ระนาด นวยนาด สีหนาท นาถ(ที่พึ่ง) วรนาถ นงนาฏ นาฏศิลป์ พินาศ /ดิด/ บัณฑิต ประดิษฐ์ ประดิดประดอย อุตรดิตถ์ กาญจนดิษฐ์(ชื่ออาเภอ)
  • 21. คาที่มักเขียนผิด การเขียนภาษาไทยให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ไทย เป็นสิ่งจาเป็นพื้นฐานที่ คนไทยทุกคนต้องเรียนรู้ ถ้าเกิดเป็นคนไทยแล้วเขียนภาษาไทยไม่ถูกต้อง นับว่าเป็นสิ่งที่ น่าละอายและถือเป็นการทาลายวัฒนธรรมทางภาษาของชาติอีกด้วย ดังนั้นเราจึงต้อง สร้างความตระหนักในการเขียนภาษาไทยทุกครั้งให้ถูกต้อง ถ้าไม่ทราบก็ควรถามผู้รู้หรือ ค้นหาจากพจนานุกรม ไม่ควรเขียนตามใจชอบ หรือ ”ดาน้า” เขียน เพราะไม่เห็น ความสาคัญ ในที่นี้จะรวบรวมคาที่มักเขียนผิดที่พบเห็นบ่อย ๆ ดังนี้ 1. กฎ, กฎหมาย สะกดด้วย ฎ แต่มักเขียนเป็นตัว ฏ 2. ปรากฏการณ์ สะกดด้วย ฏ แต่มักเขียนเป็นตัว ฎ 3. กรวดน้า (แผ่ส่วนบุญด้วยวิธีหลั่งน้า) มักเขียนเป็น ตรวจน้า 4. กระจิริด (เล็กน้อย) มักเขียนเป็น กระจิ๊ดริด 5. กระจุกกระจิก (เล็ก ๆ น้อย ๆ คละกัน) มักเขียนเป็น กะจุกกะจิก
  • 22. 6. ขึ้นฉ่าย (ผักชนิดหนึ่ง) มักเขียนเป็น คึ่นไช่ 7. เข็ญใจ (ยากจนข้นแค้น) มักเขียนเป็น เข็นใจ 8. คงกระพัน (ทนทานต่อศาสตราวุธ) มักเขียนเป็น คงกะพัน 9. คนโท (หม้อน้า) มักเขียนเป็น คนโฑ 10. คลินิก (สถานพยาบาล) มักเขียนเป็น คลินิค 11. เจตคติ (ท่าทีหรือความรู้สึกที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง) มักเขียนเป็น เจตนคติ 12. ฉันมิตร (เป็นเพื่อน) มักเขียนเป็น ฉันท์มิตร 13. ช็อก (สลบแน่นิ่งโดยกระทันหัน) มักเขียนเป็น ช็อค 14. เชิ้ต (เสื้อคอปกแบบหนึ่ง) มักเขียนเป็น เชิ๊ต 15. ซอส (เครื่องปรุงรส) มักเขียนเป็น ซ้อส