SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 96
การพัฒนา​เว็บไซต์ที่สะดวก​ใน​การ​เข้า​ถึง
ตามมาตรฐาน​​Web Accessibility
บุญเลิศ อรุณพิบูลย์
ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
boonlert@nstda.or.th
http://www.stks.or.th
มาตรฐานเว็บไซต์
• ด้านเทคโนโลยี
• ด้านการใช้
• ด้านการเข้าถึง
ด้านเทคโนโลยี
• การแสดงผลบนเบราว์เซอร์
• ระบบปฏิบัติการ
• ความเร็วในการโอนถ่ายข้อมูล
• การนาเสนอด้วยเสียง
• การนาเสนอด้วยวีดิทัศน์
• ความต้องการ Plug-ins
• ฮาร์ดแวร์
ด้านการใช้
• ความสม่าเสมอเกี่ยวกับข้อความ และสื่อประกอบต่างๆ
• ความสม่าเสมอในส่วน Interface
– Layout
– Navigator
– Icon & Symbol
• ความสม่าเสมอในการติดต่อสื่อสาร
ด้านการเข้าถึง
• การเข้าถึงที่ไม่จากัดด้วยความแตกต่างเรื่อง
– เวลา
– สถานที่
– อุปกรณ์
– กายภาพของผู้เข้าชม
ความเข้าใจผิดบางประการ
Accessibility web คือ เว็บที่คนที่มีปัญหาทางสายตาเข้าถึงได้
ทั้งที่ๆ ควรจะสนับสนุนทั้ง
• ผู้ที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
• ผู้ที่มีความบกพร่องทางสายตา
• ผู้ที่มีความบกพร่องทางร่างกาย
• ผู้ที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
• บุคคลปกติที่ไม่มีความพร้อม​ณ​เวลานั้นๆ
ความเข้าใจผิดบางประการ
• ควรทาหรือไม่
• สิ้นเปลืองงบประมาณ
• เสียเวลา
• ไม่คุ้มค่า
Accessibility ไม่ได้เน้นเฉพาะผู้ที่มีความบกพร่องต่างๆ​เท่านั้น​
แต่หมายถึงโอกาสในการเข้าถึงของทุกคน​(All users)
Server & Client
WindowsXP
IE
Windows2000
IE
Macintosh
Windows98
Netscape
พัฒนาเว็บด้วย
HTML Editor,
HTML Generator
บน
Windows
Server :
Unix/NT
upload
Server & Client
Text Browser
คนพิการ
Mobile Phone
PDA
พัฒนาเว็บด้วย
HTML Editor,
HTML Generator
บน
Windows
Server :
Unix/NT
upload
มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง
• มาตรฐานการตั้งชื่อไฟล์และ Directory
• มาตรฐานทางด้านเนื้อหา
• มาตรฐานทางด้านรูปแบบการใช้ภาษาบนเว็บ
• มาตรฐานทางด้านเทคนิค
• มาตรฐานการรักษาความปลอดภัย
การตั้งชื่อไฟล์และ​Directory
• สื่อความหมาย-เข้าใจตรงกัน
• สั้นกระชับ
• ไม่เกิดความสับสน
• ช่วยให้ Search engine ให้ค่าความสาคัญของเว็บไซต์สูงสุด
หากคาสาคัญพบเป็นชื่อไฟล์และชื่อ Directory โดยตรง
การตั้งชื่อไฟล์และ​Directory
• ภาษาอังกฤษ ผสมตัวเลข
• ใช้เครื่องหมายเฉพาะ –
• ไม่ควรมีช่องว่าง
• ไม่ควรยาวมากเกินไป
แบบอักษร (Fonts)
• เลือกใช้ฟอนต์มาตรฐาน
– Tahoma
– Tahoma, MS Sans Serif, Thonburi
– ตระกูล NEW
Tahoma & MS Sans Serif
ภาษาไทย​กับการพัฒนาเว็บเพจ
• ด้านพัฒนาเว็บ
– HTML Editor, Generator แสดงผลภาษาไทย ?
– HTML Editor, Generator เข้ารหัสภาษาไทย ?
• ด้านเรียกดูเว็บ
– ฟอนต์ ไม่ควรสร้างภาระให้กับผู้ใช้งาน
– แสดงผลอักขระได้ถูกต้อง ทุก (เกือบทุก) platform
HTML Editor กับการเข้ารหัสภาษาไทย
กรณีศึกษา​Macromedia Dreamweaver
กรณีศึกษา​Macromedia Dreamweaver
Decoding ภาษาไทยถูกต้องหรือไม่
<meta http-equiv=“content-type” content=“text/html; charset=………..”>
TIS-620/Windows-874
• ประเทศไทยมีมาตรฐานอักขระซึ่งกาหนดโดย สานักงานมาตรฐาน
อุตสาหกรรม ดังที่เรียกกันโดยทั่วไปว่ารหัส สมอ. แต่รหัส สมอ. หรือที่มีชื่อ
ทางการว่า มอก.620 หรือ TIS-620 นี้ เป็นมาตรฐานของประเทศไทย ซึ่งเมื่อ
นาไปใช้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ก็อาจเกิดความเข้าใจไม่ตรงกันได้ ดังนั้นจึง
มีความพยายามที่จะจดทะเบียน รหัส สมอ. ที่ Internet Assigned Numbers
Authority (IANA) ซึ่งเป็นผู้ควบคุมมาตรฐานของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และ
ได้ดาเนินการจดทะเบียนจนสาเร็จ เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2541
TIS-620/Windows-874/UTF-8
• windows-874 เป็น character Set ที่ใช้ภายในระบบปฏิบัติการที่ผลิต
โดยบริษัท ไมโครซอฟต์ เท่านั้น ไม่ได้เป็น character Set ที่ใช้ใน
การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเครื่อง
– มีส่วนขยายเพื่อการแสดงผล เช่น bullet, smart quote, dash ฯลฯ
• tis-620 เป็น character Set ที่จดทะเบียนถูกต้อง เป็นที่รับรู้กันทั่วโลก
ทุกระบบปฏิบัติการ (แม้แต่ระบบปฏิบัติการของไมโครซอฟต์เอง)
ฐานข้อมูลกับภาษาไทย
• ต้องรู้ Character Set ของฐานข้อมูล
Format
• รูปแบบของไฟล์ภาพที่ใช้ในการจัดเก็บภาพ
• การเลือกรูปแบบที่เหมาะสมต่อการนาเสนอจะช่วยให้ภาพมีขนาด
(File Size) เล็กลง โดยคงความคมชัดไว้ในระดับดี
• เป็นการประหยัดพื้นที่ของสื่อบันทึกข้อมูลได้เป็นอย่างดี
เว็บกราฟิก
รูปภาพที่แสดงในโหมดปกติ
การแสดงผลภาพแบบ​Interlaced
การแสดงผลภาพ
แบบ​Progressive
Interlaced GIF
JPEG Quality & Progressive
• ภาพฟอร์แมต JPG ค่า Quality
ไม่ควรต่า หรือสูงเกินไป
• กาหนดรูปแบบการแสดงผล
เป็นแบบ Progressive ด้วย
สาหรับภาพที่มีขนาดโต
GIF
• Graphics Interlace File
• จานวนสีและความละเอียดของภาพไม่สูงมากนัก
• ต้องการพื้นแบบโปร่งใส
• ต้องการแสดงผลแบบโครงร่างก่อน แล้วค่อยแสดงผลแบบละเอียด
• ต้องการนาเสนอภาพแบบภาพเคลื่อนไหว
• ส่วนขยายคือ .gif
Bit depth drastically affects file size
24 bit color
16 millioncolors
1.55 MB
8 bit color
256 colors
518k
8 bit
gray scale
256 shades
of gray
518k
1 bit dithered
image
64k
Transparent GIFs
Animation GIF
JPEG
• Joint Photographer's Experts Group
• เหมาะสมกับการนาเสนอทั้งระบบสื่อมัลติมีเดีย และเว็บไซต์
• สามารถกาหนดขนาดของไฟล์ได้ตามความเหมาะสม (File Compression)
• สามารถกาหนดคุณสมบัติการแสดงผลแบบหยาบ แล้วค่อยๆ ละเอียดเมื่อเวลา
ผ่านไป ที่เรียกว่าคุณสมบัติ Progressive
• ส่วนขยายของไฟล์รูปแบบนี้คือ .jpg หรือ .jpeg
JPEG File Format
JPEG - 19K
Low Quality
JPEG - 60K
Max Quality
PNG
• Portable Network Graphics
• รูปแบบล่าสุดในการนาเสนอภาพผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
• สามารถแสดงผลได้ในระบบสีเต็มพิกัด (True Color), มีขนาดไฟล์เล็ก และ
ควบคุมคุณภาพได้ตามที่ต้องการ มีการกาหนดให้พื้นภาพเป็นพื้นโปร่งใสได้
(Transparent) รวมทั้งการแสดงผลแบบหยาบสู่ละเอียด (Interlaced)
• ส่วนขยายของไฟล์รูปแบบนี้คือ .png
TIFF
• Tagged-Image File Format
• รูปแบบที่ใช้เก็บภาพพร้อมรายละเอียดต่างๆ เช่น เลเยอร์ (Layer),
Annotation, โหมดภาพทั้งระบบ CMYK, RGB, Lab Color ตลอดจนข้อมูล
ประกอบอื่นๆ ตามต้นฉบับเดิมของภาพ
• เหมาะสมต่อการเก็บบันทึกภาพต้นฉบับ และภาพสาหรับใช้ประกอบการ
สร้างสื่อสิ่งพิมพ์
• ส่วนขยายของไฟล์รูปแบบนี้คือ .tif
สรุปการเลือกใช้ฟอร์แมตภาพ
– ไฟล์สกุล GIF (Graphics Interlace File)
• ภาพที่ไม่ต้องการความคมชัดมากนัก สีไม่มาก
• มีลักษณะพื้นโปร่งใส
– ไฟล์สกุล JPG (Joint Photographer’s Experts Group)
• ภาพที่ต้องการความคมชัดสูง มีสีมาก
– ไฟล์สกุล PNG (Portable Network Graphics)
• ภาพที่ต้องการความคมชัดสูง มีสีมากทาพื้นโปร่งใสได้
GIF / JPEG
GIF or JPEG?
Example of an image at 72-ppi and 300-ppi
• 72 ppi = 72 pixels high x 72 pixelswide = 5184 pixels in a square inch
• 300 ppi = 300 pixels high x 300 pixels wide = 90,000 pixels in a square inch
Color Mode
• A color mode determines the color model used to display and print
images.
• Common models include
– RGB (red, green, blue)
– CMYK (cyan, magenta, yellow, black)
– …
RGB model
• RGB model used for lighting, video, and monitors
• So, computer’s monitor only has 3 colors
Red
Green
Blue
CMYK model
• The CMYK model is based on the light-absorbing quality of ink
printed on paper.
Metadata
• Data about data
• ข้อมูลแสดงคุณสมบัติของ
ไฟล์หรือวัตถุต่างๆ
• แสดงข้อมูลสรุปเกี่ยวกับ
รายละเอียดของไฟล์
• แสดงลิขสิทธิ์ความเป็นเจ้าของ
• แยกกลุ่มได้ตามประเภทของ
ไฟล์หรือวัตถุ
• Subject Metadata
• Title Metadata
• Category Metadata
• Keyword Metadata
• Author Metadata
• Description Metadata
• Publisher Metadata
• Resource Metadata
บัตรรายการหนังสือ
613 สาทิศ อินทรกาแหง
ส762ช ชีวจิต : การใช้ชีวิตอย่างเข้าใจธรรมชาติ/
สาทิศ อินทรกาแหง. –พิมพ์ครั้งที่ 10.– กรุงเทพฯ:
คลินิกบ้านและสวน, 2541.
130 หน้า ; 21 ซม.
ISBN 974-8368-42-4
1. สุขศาสตร์. 2. อาหารธรรมชาติ. 3. ชื่อเรื่อง.
การกาหนดคุณสมบัติของเอกสาร
• MS – Office
– File, Properties..
• OpenOffice.org
– File, Properties…
• Acrobat Professional
– File, Document Properties…
ประโยชน์ของ​Metadata
• เพิ่มประสิทธิภาพการสืบค้นเอกสาร
• เป็นข้อมูลให้กับ Search Engine ต่างๆ
• การเผยแพร่ในระบบอินเทอร์เน็ต เป็นไปอย่างรวดเร็ว
Web Metadata
• Web Title
• URL :Uniform Resource
Locator
• H1, H2, H3 Tag
• Contents
• Alternate Text for
Image/Multimedia
• Meta Tag
– Description
• เนื้อหา 1 – 2 Kb ของ
เอกสารเว็บ
– Authors
– Keyword
– Generator
Web Title
<head>
<title>NECTEC : Thailand : National Electronics and
Computer Technology Center</title>
</head>
เปิดดูด ้วยคำสั่ง View, Source
Web Title & Google
ไม่ระบุ Web Title
allintitle:tiac
URL
• Uniform Resource Locator
• ตาแหน่งที่อยู่ของเว็บไซต์
• http://www.nectec.or.th/courseware/index.html
Protocol Domain-name Directory Path File
allinurl:tiac
Meta tag: Description
<head>
<META NAME="Description" CONTENT="มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์เป็นสถำบันอุดมศึกษำที่
เปิดสอนหลักสูตรทำงกำรเกษตรแห่งแรกของประเทศไทย ถือกำเนิดมำจำกโรงเรียนฝึกหัดครู
ประถมกสิกรรม เมื่อ พ.ศ. 2460 ต่อมำได ้ขยำยและยกฐำนะขึ้นเป็นวิทยำลัยเกษตรศำสตร์และ
พัฒนำจนกระทั่งก่อตั้งเป็นมหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ โดยพระรำชบัญญัติ
มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ เมื่อวันที่ 2 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2486 ปัจจุบันมหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์
ประกอบด ้วยวิทยำเขตที่เปิดเรียนแล ้ว 5 วิทยำเขต และโครงกำร จัดตั้ง 2 วิทยำเขต">
</head>
เปิดดูด ้วยคำสั่ง View, Source
Meta tag: Description
• กรณีที่ไม่ได้ระบุ Description Meta Tag โปรแกรมจะดึงข้อความ 1
– 2 KB จากเว็บไซต์มาแสดงผลแทน
Meta tag อื่นๆ
• Authors, Creator
• Keyword
• Generator
• Robot
– จะระบุไว้ใน Head Section ของเอกสารเว็บ
– ไม่ปรากฏบนเว็บเบราว์เซอร์หรือในเอกสาร
– Search Engine เข้าถึงได้
Author & Keyword
<META NAME="Author" CONTENT="Kasetsart University, Thailand,
Bangkok">
<META NAME="Keywords" CONTENT="Kasetsart University, Thailand,
University, Bangkok, Higher Education, Equality in Education, Colleges,
School, Campuses, Faculty, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, เกษตรศาสตร์ ศาสตร์
ของแผ่นดิน">
Web Meta Tags
• บรรจุไว้ใน Head
• รูปแบบทั่วไป
<META NAME=“dataname” CONTENT=“datavalue”>
http://www.submitexpress.com/analyzer/
Image Search
• Google ค้นหาภาพได้จาก
– คาที่อยู่ใกล้ภาพ/ข้างเคียงภาพ (adjacent)
– Image Caption
– Links
– Alt Attribute ของ Image Tag
– Embedded Metadata
<img src=“aaa.jpg” alt=“Computer System”>
Image Metadata
• Exchangeable Image File Format (Exif) Metadata
– ระบุอัตโนมัติเมื่อมีการถ่ายภาพด้วยกล้องดิจิทัล
– พัฒนาโดย Japan Electronic IndustriesDevelopment Association(JEIDA)
• International Press Telecommunications Council (IPTC) Metadata
– Metadata ที่ผู้ใช้สามารถบันทึกเพิ่มเติมได้
– พัฒนาโดย International Press TelecommunicationsCouncil
XNView
Exif Metadata
โปรแกรมกรำฟิกต่ำงๆ
สำมำรถเปิดดูได ้ เช่น ACDSee,
XnView โดยคลิกปุ่ มขวำแล ้ว
เลือกคำสั่ง Properties…
IPTC Metadata
โปรแกรมกรำฟิกต่ำงๆ
อนุญำตให ้เพิ่มข ้อมูลต่ำงๆ ได ้
เช่น ACDSee, XnView
ตัวอย่ำงกำรตรวจสอบ Metadata ของเอกสำรฟอร์แมตต่ำงๆ ทั้ง .doc, .ppt, .pdf,
และรูปภำพ .jpg ด ้วยโปรแกรม Catalogue
http://www.download.com/Catalogue/3000-7241_4-10260395.html?tag=lst-0-4
Web Accessibility
• เว็บไซต์ที่รองรับความสามารถในการเข้าถึงได้ในทุกรูปแบบที่เป็น
มาตรฐาน
• เพื่อเป็นหลักประกันได้ว่าข้อมูลสารสนเทศที่เผยแพร่นั้น ทุกคน
สามารถเข้าถึงได้อย่างเท่าเทียมกัน
• ใช้เทคโนโลยีที่เป็นมาตรฐานสากล HTML, XHTML, CSS, XML,
DOM เป็นต้น
ผลที่ได้จาก Web Accessibility
• กลุ่มผู้ใช้ผ่านเครื่อง PDA หรืออุปกรณ์ Mobile
• กลุ่มคนพิการ
– บกพร่องทางการเห็น
– บกพร่องทางการได้ยิน
– บกพร่องทางการเคลื่อนไหว
• กลุ่มผู้ใช้Browser ที่แตกต่างกัน
• กลุ่มผู้ใช้อินเทอร์เน็ตความเร็วต่า
กลุ่มผู้พิการ
• ผู้พิการทางการเห็น
– โปรแกรมช่วยอ่านหน้าจอ – เสียง (TTS), Braille
– โปรแกรมขยายหน้าจอ
– โปรแกรม Web Browser
กลุ่มผู้พิการทางการเห็น
• ตัวอย่างโปรแกรมขยายหน้าจอ
Alternate Text
Alternate Text
• <IMG SRC=“ชื่อไฟล์ภาพ” ALT=“คาอธิบายภาพ”>
• คาอธิบายภาพควรสื่อความหมายชัดเจน
– Firefox ไม่แสดงคาอธิบายภาพ แต่ทางานกับ Attribute TITLEฃ
1. "Image of George Washington"
2. "George Washington, the first president of the United States"
3. An empty alt attribute (alt="​") will suffice.
4. "George Washington"
1. An empty alt attribute (alt="​") will suffice.
2. "Wikipedia entry for George Washington"
3. "Read More"
4. "George Washington"
1. "George Washington"
2. "Painting of George Washington"
3. "Painting of George Washington crossingthe Delaware River"
4. "Painting of George Washington crossingthe Delaware River. Swirling waves surround the
boat where the majestic George Washington looks forward out of the storm and into the
rays of light across the river as he leads his wary troops to battle."
1. "Employment Application"
2. "PDF File"
3. "PDF icon"
4. The content of the image is presented in context, so (alt="​") is
appropriate.
1. "decorative line"
2. "Beginning of footer"
3. "separator"
4. alt="​" will suffice
สิ่งที่ไม่ควรทา
1. "next"
2. "next page"
3. "George Washington's Presidency"
4. "Continue to George Washington's Presidency"
Empty Alt (alt=“”)
• ภาพที่ไม่สื่อความหมาย
• ภาพที่ถูกตัดเป็นหลายชิ้น แต่ไม่มีผลต่อการทางาน
• ภาพ Background
Long Description
• คาอธิบายแบบยาว
– เพิ่ม Attribute LONGDESC=“ชื่อไฟล์คาอธิบาย.txt”
– ให้พิมพ์ด้วย Notepad
แล้วบันทึกเป็น .txt
คานึงถึง Thai Encoding
& Decoding ด้วย
คาอธิบายแบบยาว​Long Description
Alt สาหรับ​Flash
• ระบุ Alt
• Description & Shortcut
สีนั้นสาคัญไฉน​?
• ใช้สีพื้นและสีตัวอักษรที่แตกต่างกัน
สีนั้นสาคัญไฉน​?
http://www.accesskeys.org/tools/color-contrast.html
การลงรหัสที่ไม่ถูกต้อง
<p><font size=“+3”><b>This is a heading</b></font></p>
<p>Blah blah blah</p>
<p><font size=“+3”><b>This is another heading</b></font></p>
<p>Blah blah blah</p>
<p><font size=“+2”><b>A sub-section</b></font></p>
<p>Blah blah blah</p>
การลงรหัสที่ถูกต้อง
Use markup and style sheets and do so properly
<h1>This is a heading</h1>
<p>Blah blah blah</p>
<h1>This is another heading</h1>
<p>Blah blah blah</p>
<h2>A sub-section</h2>
<p>Blah blah blah</p>
Outline:
•This is a heading
•This is another heading
–A sub-section
สร้างเอกสาร​HTML ที่ได้มาตรฐาน
<!DOCTYPE HTML PUBLIC "-//W3C//DTD HTML 4.01
Transitional//EN" "http://www.w3.org/TR/html4/loose.dtd">
ระบุภาษาให้ชัดเจน
<p>เมื่อวานมีชาวต่างชาติพูดกับฉันว่า<span lang=“en”>I love
you</span></p>
และระบุภาษาหลักในแท็ก <HTML>
<html lang="th">
กากับคาย่อ
<acronym title="World Wide Web Consortium">W3C</acronym>
<abbr title="World Wide Web Consortium">W3C</abbr>
ระบุ​id ให้กับหัวเรื่องตาราง
<tr>
<th id="t1">ชื่อ</th>
<th id="t2">อายุ</th>
<th id="t3">สถานที่เกิด</th>
<th id="t4">สถานที่ทางาน</th>
</tr>
<tr>
<td headers="t1">น้าหนึ่ง</td>
<td headers="t2">29</td>
<td headers="t3">กรุงเทพฯ</td>
<td headers="t4">เนคเทค</td>
</tr>
<tr>
<td headers="t1">ยุทธการ</td>
<td headers="t2">28</td>
<td headers="t3">หนองคาย</td>
<td headers="t4">เนคเทค</td>
</tr>
กลุ่มผู้พิการทางการได้ยิน
• สามารถอ่านหนังสือได้
• เข้าใจเนื้อหาจากการอ่าน ?
Captions
• สร้าง caption ให้ Movie
Movie
Caption
ระบุ​Shortcut Key
ลาดับการเลื่อนในแบบฟอร์ม
Automated validators
http://webxact.watchfire.com

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

Pt Valentina Q
Pt Valentina QPt Valentina Q
Pt Valentina Qovruni
 
Social networksforschools
Social networksforschoolsSocial networksforschools
Social networksforschoolsBen Wilkoff
 
Planejamento Estrategico Pessoal
Planejamento Estrategico PessoalPlanejamento Estrategico Pessoal
Planejamento Estrategico PessoalArlen Xavier
 
SCarpenter EDU 363 Module 5 Assignment 1
SCarpenter EDU 363 Module 5 Assignment 1SCarpenter EDU 363 Module 5 Assignment 1
SCarpenter EDU 363 Module 5 Assignment 1ccarpen2
 
Elementary OL Teach
Elementary OL TeachElementary OL Teach
Elementary OL TeachBen Wilkoff
 
Palestra Sergio Buaiz
Palestra Sergio BuaizPalestra Sergio Buaiz
Palestra Sergio BuaizArlen Xavier
 

Andere mochten auch (8)

Pt Valentina Q
Pt Valentina QPt Valentina Q
Pt Valentina Q
 
Storyboard For Movie!
Storyboard For Movie!Storyboard For Movie!
Storyboard For Movie!
 
Social networksforschools
Social networksforschoolsSocial networksforschools
Social networksforschools
 
Planejamento Estrategico Pessoal
Planejamento Estrategico PessoalPlanejamento Estrategico Pessoal
Planejamento Estrategico Pessoal
 
SCarpenter EDU 363 Module 5 Assignment 1
SCarpenter EDU 363 Module 5 Assignment 1SCarpenter EDU 363 Module 5 Assignment 1
SCarpenter EDU 363 Module 5 Assignment 1
 
Elementary OL Teach
Elementary OL TeachElementary OL Teach
Elementary OL Teach
 
Palestra Sergio Buaiz
Palestra Sergio BuaizPalestra Sergio Buaiz
Palestra Sergio Buaiz
 
UP學
UP學UP學
UP學
 

Mehr von Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 

Web Accessibility