SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 234
Downloaden Sie, um offline zu lesen
หนวยงานที่เผยแพร สํานักสถิติพยากรณ
สํานักงานสถิติแหงชาติ
ศูนยราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ
อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น 2
ถนนแจงวัฒนะ เขตหลักสี่ กทม. 10210
โทรศัพท 0 2141 7498
โทรสาร 0 2143 8132
ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส : services@nso.go.th
Distributed by Statistical Forecasting Bureau
National Statistical Office,
The Government Complex,
Building B, 2nd
Floor, Chaeng Watthana Rd.,
Laksi, Bangkok 10210, THAILAND
Tel. : + 66 2141 7498
Fax : + 66 2143 8132
E-mail : services@nso.go.th
ปที่จัดพิมพ 2555
Published 2012
คํานํา
ผลการสํารวจเกี่ยวกับการอานหนังสือของประชากรนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางาน ซึ่งรวม
การอานหนังสือทุกประเภท และการอานทางสื่ออิเล็กทรอนิกสอื่น ๆ เชน อินเทอรเน็ต ซีดี ฯลฯ ยกเวน
SMS หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส (E-mail) พบประเด็นที่สําคัญดังนี้ เด็กเล็กอายุต่ํากวา 6 ป ที่อานเอง
หรือผูใหญอานใหฟงมีรอยละ 53.5 เด็กผูหญิงมีอัตราการอานหนังสือมากกวาผูชายเล็กนอย (รอยละ
54.3 และ 52.7 ตามลําดับ) โดยเด็กเล็กในกรุงเทพมหานครมีอัตราการอานหนังสือสูงสุด (รอยละ 63.0)
สวนผูที่มีอายุ 6 ปขึ้นไปมีอัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางานรอยละ 68.6 โดยผูชายมี
อัตราการอานหนังสือสูงกวาผูหญิงเล็กนอย และกลุมวัยเด็กมีอัตราการอานหนังสือสูงกวาวัยอื่น รองลงมา
คือ กลุมเยาวชน กลุมวัยทํางาน และกลุมวัยสูงอายุ และในการสํารวจครั้งนี้ผูที่มีอายุ 6 ปขึ้นไปไดให
ขอเสนอแนะในการรณรงคใหคนรักการอานหนังสือในหลายประเด็นที่นาสนใจ เชน หนังสือควรมี
ราคาถูกลง และมีเนื้อหาสาระนาสนใจ รวมทั้งควรมีหองสมุดประจําหมูบาน/ชุมชน เปนตน
เมื่อเปรียบเทียบอัตราการอานหนังสือของประชากร ซึ่งสํารวจไวในป 2551 พบวา ประชากร
มีอัตราการอานหนังสือเพิ่มขึ้น โดยจะเห็นไดชัดในกลุมเด็กเล็กอายุต่ํากวา 6 ปที่มีอัตราการอานหนังสือ
เพิ่มขึ้นมาก คือ จากรอยละ 36.0 เปนรอยละ 53.5 สําหรับกลุมผูที่มีอายุ 6 ปขึ้นไปมีอัตราการอาน
หนังสือเพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอย จากรอยละ 66.3 เปนรอยละ 68.6 ทั้งนี้อาจเนื่องจากมีการรณรงคสงเสริม
การอานรวมกันหลายภาคสวน สืบเนื่องมาจากเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2552 คณะรัฐมนตรีไดอนุมัติใหการอาน
เปนวาระแหงชาติ โดยกําหนดใหวันที่ 2 เมษายน ของทุกปเปนวันรักการอาน และป 2552 -2561 เปน
ทศวรรษแหงการอาน
57.1
49.1
53.3
53.8
63.0
50.6
59.2
54.3
52.7
53.5
31.3
39.9
43.0
32.4
45.3
34.1
40.8
35.2
36.7
0 10 20 30 40 50 60 70
บทสรุปผูบริหาร
สํานักงานสถิติแหงชาติ ดําเนินการสํารวจ
การอานหนังสือของประชากรพ.ศ.2554โดยเก็บรวบรวม
ขอมูลในระหวางเดือนพฤษภาคม-มิถุนายนพ.ศ.2554
จากจํานวนครัวเรือนตัวอยางประมาณ53,000ครัวเรือน
การสํารวจที่ผานมาในป 2546 -2548 สํารวจ
เฉพาะการอานหนังสือของประชากรที่มีอายุตั้งแต
6 ปขึ้นไป และตั้งแตป 2551 ไดสํารวจเพิ่มเรื่อง
การอานหนังสือของเด็กเล็ก(ผูที่มีอายุต่ํากวา6ป)ดวย
ผลการสํารวจที่สําคัญในป 2554 สรุปไดดังนี้
1. การอานหนังสือของเด็กเล็ก
การอานหนังสือของเด็กเล็ก ในที่นี้หมายถึง
การอานหนังสือของเด็กเล็กที่อานในชวงนอกเวลาเรียน
ดวยตัวเอง และรวมทั้งที่ผูใหญอานใหฟงดวย
1.1 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน
จากผลการสํารวจป 2554 พบวา เด็กเล็กมี
อัตราการอานหนังสือรอยละ 53.5 เด็กผูหญิงมีอัตรา
การอานหนังสือสูงกวาเด็กผูชายเล็กนอย (รอยละ 54.3
และรอยละ 52.7 ตามลําดับ) นอกจากนี้อัตราการอาน
หนังสือของเด็กเล็กมีความแตกตางกันระหวาง
เขตการปกครองและภาค โดยในเขตเทศบาลมีอัตรา
การอานหนังสือสูงกวานอกเขตเทศบาล เด็กเล็กใน
กรุงเทพมหานครมีอัตราการอานหนังสือสูงสุด
(รอยละ63.0) ขณะที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเด็กเล็ก
มีอัตราการอานหนังสือต่ําสุด (รอยละ 49.1)
เมื่อเปรียบเทียบกับการสํารวจป 2551 พบวา
เด็กเล็กเกินครึ่งหนึ่ง (รอยละ 53.5) มีการอานหนังสือ
นอกเวลาเรียนโดยมีอัตราการอานเพิ่มขึ้นรอยละ17.5
เด็กหญิงมีอัตราการอานหนังสือเพิ่มขึ้นมากกวา
เด็กผูชาย เด็กเล็กที่อาศัยในเขตเทศบาลและภาคกลาง
มีอัตราการอานหนังสือเพิ่มขึ้นมากกวาพื้นที่อื่น
แผนภูมิ 1 อัตราการอานหนังสือของเด็กเล็กนอกเวลาเรียน1/
จําแนกตามเพศเขตการปกครองและภาคพ.ศ.2551และ2554
การอานหนังสือ หมายถึง การอานหนังสือทุกประเภทนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางาน รวมทั้งการอานทางสื่ออิเล็กทรอนิกสอื่น ๆ เชน
อินเทอรเน็ต ซีดี ฯลฯ ยกเวน SMS หรือ จดหมายอิเล็กทรอนิกส (E-mail)
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ทั่วราชอาณาจักร
ชาย
หญิง
ในเขตเทศบาล
นอกเขตเทศบาล
กรุงเทพมหานคร
กลาง
เหนือ
ใต
36.0
รอยละ
2551 2554
1/ อัตราการอานหนังสือหมายถึงรอยละของจํานวนประชากรที่อานหนังสือ
ตอจํานวนประชากรทั้งสิ้นในแตละกลุม
77.2
64.1
84.2
71.3 65.9
63.0
69.7
0
20
40
60
80
100
68.8
67.5
71.6
64.8
68.4
65.166.7
57.7
68.666.369.1
61.2
0
10
20
30
40
50
60
70
80
1.2 ความถี่ของการอานหนังสือนอกเวลาเรียน
เด็กเล็กที่อานหนังสือมีประมาณ 2.7 ลานคน
ในจํานวนนี้เปนผูที่อานหนังสือสัปดาหละ 2 – 3 วัน
มากที่สุด(รอยละ 42.0) รองลงมาคือ อานทุกวันและ
อานสัปดาหละ 4 – 6 วัน ใกลเคียงกัน (รอยละ 22.0
และ19.7ตามลําดับ)และพบวามีเด็กเล็กที่อานหนังสือ
แตอานนาน ๆ ครั้งอยูรอยละ 6.2
เด็กเล็กมีความถี่ในการอานหนังสือเพิ่มขึ้นคือ
เด็กเล็กที่อานอยางนอย 1 วันตอสัปดาหมีเพิ่มมากขึ้น
ในขณะที่รอยละของเด็กเล็กที่อานนาน ๆ ครั้ง
มีแนวโนมลดลง
แผนภูมิ 2 รอยละของเด็กเล็กที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน จําแนกตาม
ความถี่ของการอานหนังสือ พ.ศ. 2551 และ 2554
18.5 22.0
17.3 19.7
39.6
42.0
9.7
10.114.9 6.2
0
20
40
60
80
100
2. การอานหนังสือของประชากร(อายุตั้งแต6ปขึ้นไป)
2.1 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลา
ทํางาน
จากผลการสํารวจป 2554 พบวา คนไทยอายุ
ตั้งแต 6 ปขึ้นไป มีอัตราการอานหนังสือรอยละ 68.6
ผูชายมีอัตราการอานหนังสือสูงกวาผูหญิงเล็กนอย
(รอยละ68.8 และ 68.4 ตามลําดับ)และเมื่อเปรียบเทียบ
กับการสํารวจที่ผานมา พบวา อัตราการอานหนังสือ
เพิ่มขึ้นเล็กนอยจากป 2551 ทั้งผูชายและผูหญิง
แผนภูมิ 3 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางาน
ของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไป จําแนกตามเพศ
พ.ศ. 2546 – 2554
เมื่อพิจารณาอัตราการอานหนังสือตาม
เขตการปกครองและภาค พบวา ประชากรที่อาศัยอยู
ในเขตเทศบาลมีอัตราการอานหนังสือสูงกวา
นอกเขตเทศบาล (รอยละ 77.2 และ 64.1 ตามลําดับ)
กรุงเทพมหานคร มีอัตราการอานหนังสือสูงที่สุด
(รอยละ 84.2) และภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีอัตรา
การอานหนังสือต่ําสุด (รอยละ 63.0)
แผนภูมิ 4 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางานของ
ประชากรอายุตั้งแต 6ปขึ้นไป จําแนกตามเขตการปกครอง
และภาค พ.ศ. 2554
รอยละ
รวม
ชาย
หญิง
2546 2548 2551
พ.ศ.
รอยละ
นอกเขต
เทศบาล
กรุงเทพ กลาง เหนือ ตะวันออก
เฉียงเหนือ
ใต
ทั่วราชอาณาจักร รอยละ 68.6
ในเขต
เทศบาล มหานคร
2554
ทุกวัน
สัปดาหละ 1 วัน
สัปดาหละ 2-3 วัน
สัปดาหละ 4-6 วัน
นาน ๆ ครั้ง
รอยละ
พ.ศ.
2551 2554
2.2 อายุ
การอานหนังสือของประชากรมีความแตกตางกัน
ตามวัย กลุมวัยเด็กมีอัตราการอานหนังสือสูงสุดถึง
รอยละ 91.6 รองลงมาคือ กลุมเยาวชน กลุมวัยทํางาน
และต่ําสุดคือ กลุมวัยสูงอายุ (รอยละ 78.6 65.7 และ
44.3ตามลําดับ)และเมื่อเปรียบเทียบระหวางการสํารวจ
ที่ผานมา พบวา ป 2554 การอานหนังสือของประชากร
เกือบทุกกลุมวัย มีอัตราการอานหนังสือเพิ่มขึ้นจาก
ป2551 มีเพียงกลุมเยาวชนเทานั้นที่มีอัตราการอานคงที่
แผนภูมิ 5 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางานของ
ประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไป จําแนกตามกลุมวัย
พ.ศ. 2546 – 2554
2.3 ระดับการศึกษา
จากผลการสํารวจ พบวา การศึกษาและอัตรา
การอานหนังสือ มีความสัมพันธกันเชิงบวก กลาวคือ
ผูมีระดับการศึกษาที่สูงกวา มีอัตราการอานหนังสือสูง
กวาผูมีการศึกษาระดับต่ํากวา
แผนภูมิ 6 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6ปขึ้นไป จําแนกตาม
การอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางาน และ
ระดับการศึกษาสูงสุดพ.ศ. 2554
2.4 ประเภทของหนังสือที่อานนอกเวลาเรียน/
นอกเวลาทํางาน
หนังสือพิมพเปนประเภทของหนังสือที่มีผูอาน
สูงสุด คือ รอยละ 63.4 รองลงมาคือ ตํารา/หนังสือ/
เอกสารที่ใหความรู นวนิยาย/การตูน/หนังสืออานเลน
นิตยสาร และแบบเรียน/ตําราเรียนตามหลักสูตรซึ่งมี
สัดสวนใกลเคียงกันคือรอยละ 32.4 - 36.6 สําหรับ
วารสาร/เอกสารประเภทอื่นๆที่ออกเปนประจํา และ
หนังสือ/เอกสารเกี่ยวกับคําสอนทางศาสนา มีผูอาน
นอยกวารอยละ30(รอยละ29.7และ 27.2ตามลําดับ)
และหนังสือประเภทอื่น ๆ มีผูอานเพียงรอยละ 2.0
คนที่มีวัยแตกตางกัน มีความสนใจเลือก
ประเภทหนังสือที่อานแตกตางกัน โดยวัยเด็กอาน
แบบเรียน/ตําราเรียนตามหลักสูตรสูงสุดรอยละ 93.4
รองลงมาคือนวนิยาย/การตูน/หนังสืออานเลน สําหรับ
วัยเยาวชนและวัยทํางานสวนใหญอานหนังสือพิมพ
แตลําดับรองลงมา มีความแตกตางกันคือวัยเยาวชน
ชอบอานนวนิยาย/การตูน/หนังสืออานเลนตาง ๆ
และแบบเรียน/ตําราเรียนตามหลักสูตร สวนวัยทํางาน
ชอบอานนิตยสาร สําหรับวัยสูงอายุสวนใหญอาน
หนังสือ/เอกสารเกี่ยวกับคําสอนทางศาสนา รองลงมา
คือ หนังสือพิมพ
68.6
91.6
78.6
44.3
61.2 69.1 66.3
81.587.784.5
78.683.180.4
65.0
54.3
64.3
65.7
39.3
37.4
24.4
0
20
40
60
80
100
รอยละ
2546 2548 2551
พ.ศ.
ประถมศึกษา
ปริญญาตรี/สูงกวา
อนุปริญญา
มัธยมศึกษาตอนปลาย
มัธยมศึกษาตอนตน
กอนประถมศึกษา
ไมไดรับการศึกษา
94.6
85.8
79.3
76.0
66.5
60.3
12.4
5.4
14.2
20.7
24.0
33.5
39.7
87.6
รอยละ
อาน ไมอาน
2554
รวม วัยเด็ก (6-14 ป) วัยเยาวชน (15-24 ป)
วัยทํางาน (25-59 ป) วัยสูงอายุ (60 ปขึ้นไป)
ระดับการศึกษาสูงสุด
0 20 40 60 80 100
0
10
20
30
40
50
60
ตาราง 1 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไปที่อานหนังสือ
นอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางาน จําแนกตามประเภท
ของหนังสือที่อาน และกลุมวัย พ.ศ. 2554
1/ ตอบไดมากกวา 1 ประเภท
2.5 ประเภทเนื้อหาสาระของหนังสือที่อานนอกเวลา
เรียน/นอกเวลาทํางาน
เนื้อหาสาระที่ผูอานหนังสือชอบอานมากที่สุด
คือ ขาว รองลงมาคือ สารคดี/ความรูทั่วไป บันเทิง
และความรูวิชาการ (รอยละ 48.0 39.2 35.1 และ 27.8
ตามลําดับ) สวนเนื้อหาสาระประเภทความคิดเห็น/
วิเคราะห โฆษณา และอื่น ๆ มีผูอานเพียงเล็กนอย
แผนภูมิ 7 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไปที่อานหนังสือ
นอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางาน จําแนกตามประเภท
เนื้อหาสาระของหนังสือที่อาน1/
พ.ศ.2554
2.6 เวลาเฉลี่ยที่ใชอานหนังสือนอกเวลาเรียน/
นอกเวลาทํางาน
สําหรับผูอานหนังสือที่มีอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไป
ทั้งหมด ใชเวลาอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลา
ทํางานเฉลี่ย 35 นาทีตอวัน โดยกลุมเด็กและเยาวชน
ใชเวลาอานหนังสือฯเฉลี่ย39-43นาทีตอวันมากกวา
กลุมวัยทํางานและสูงอายุที่ใชเวลาอานหนังสือฯ เฉลี่ย
ประมาณ 31 - 32 นาทีตอวัน
เมื่อเปรียบเทียบกับป 2551 พบวา กลุมเด็กที่
อานหนังสือใชเวลาอานเพิ่มขึ้นเล็กนอย ในขณะที่
กลุมวัยอื่นใชเวลาอานหนังสือลดลง
แผนภูมิ 8 เวลาที่ใชอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางาน
เฉลี่ยตอวันของประชากรอายุตั้งแต 6ปขึ้นไปที่อาน
หนังสือ จําแนกตามกลุมวัยพ.ศ.2551 และ2554
2.7 วิธีการรณรงคใหคนรักการอานหนังสือ
จากการสํารวจความคิดเห็นของประชากรที่มี
อายุตั้งแต 6 ปขึ้นไป เกี่ยวกับวิธีการรณรงคใหคนรัก
การอานหนังสือพบวาวิธีการรณรงคที่ไดรับการเสนอแนะ
มากที่สุด 5 ลําดับแรกคือ หนังสือควรมีราคาถูกลง
(รอยละ 31.3) หนังสือควรมีเนื้อหาสาระนาสนใจ
(รอยละ21.8) ควรมีหองสมุดประจําหมูบานหรือชุมชน
(รอยละ 20.5) สงเสริมใหพอแมปลูกฝงใหเด็กรัก
การอานหนังสือ (รอยละ 17.8) และรูปเลมกะทัดรัด/
ปกสวยงามนาอาน/มีรูปภาพประกอบ (รอยละ 13.3)
ขาว บันเทิงสารคดี/
ความรูทั่วไป
ความรู
วิชาการ
ความคิดเห็น/
วิเคราะห
โฆษณา อื่น ๆ
48.0
39.2
35.1
27.8
3.6 1.5 0.3
รอยละ
46
37 393839
43
31 32
39
35
0
10
20
30
40
50
รวม
(6-14 ป)
วัยเยาวชน
(15-24 ป)
วัยทํางาน
(25-59 ป)
วัยสูงอายุ
กลุมวัย
(60 ปขึ้นไป)
เวลา (นาที) 2551
2554
1/ ตอบไดไมเกิน 2 ประเภท
ประเภทของหนังสือ
ที่อาน รวม วัยเด็ก วัยเยาวชน วัยทํางาน วัยสูงอายุ
(6 – 14 ป) (15 – 24 ป) (25 – 59 ป) (60 ปขึ้นไป)
รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0
(42,925,164) (7,867,638) (8,173,565) (23,223,671) (3,660,290)
หนังสือพิมพ 63.4 17.1 63.8 80.5 53.9
ตํารา/หนังสือ/เอกสาร 36.6 47.3 50.3 30.9 19.2
ที่ใหความรู
นวนิยาย/การตูน/ 35.8 65.3 56.5 23.0 7.1
หนังสืออานเลนตาง ๆ
นิตยสาร 35.6 12.0 49.6 41.8 15.7
แบบเรียน/ตําราเรียน 32.4 93.4 56.4 8.1 2.0
ตามหลักสูตร
วารสาร/เอกสารประเภทอื่นๆ 29.7 12.5 34.1 35.1 22.2
ที่ออกเปนประจํา
หนังสือ/เอกสารเกี่ยวกับ 27.2 13.0 15.1 29.0 72.8
คําสอนทางศาสนา
อื่น ๆ 2.0 1.2 3.1 2.0 1.1
กลุมวัย
1/
วัยเด็ก
สารบัญแผนภูมิ
แผนภูมิ 1 อัตราการอานหนังสือของเด็กเล็กนอกเวลาเรียนจําแนกตามเพศ เขตการปกครอง
และภาค พ.ศ. 2551 และ 2554
แผนภูมิ 2 รอยละของเด็กเล็กที่มีผูใหญอานหนังสือใหฟงจําแนกตามเหตุผลที่ผูใหญ
อานหนังสือใหฟง พ.ศ. 2554
แผนภูมิ 3 รอยละของเด็กเล็กที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน จําแนกตามความถี่
ของการอานหนังสือพ.ศ.2551และ2554
แผนภูมิ 4 เวลาที่ใชอานหนังสือนอกเวลาเรียนเฉลี่ยตอวันของเด็กเล็กที่อานหนังสือ
จําแนกตามเพศ เขตการปกครอง และภาค พ.ศ.2554
แผนภูมิ 5 รอยละของเด็กเล็กที่อานหนังสือนอกเวลาเรียนจําแนกตามการซื้อหนังสือให
เด็กเล็กในรอบปที่แลว และผูเลือกหนังสือ พ.ศ. 2554
แผนภูมิ 6 รอยละของเด็กเล็กที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน จําแนกตามจํานวนหนังสือ
ที่ซื้อในรอบปที่แลว เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2554
แผนภูมิ 7 รอยละของเด็กเล็กที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน จําแนกตามคาใชจายสําหรับ
ซื้อหนังสือใหเด็กเล็กเฉลี่ยตอเดือน เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2554
แผนภูมิ 8 รอยละของเด็กเล็กที่ไมอานหนังสือนอกเวลาเรียน จําแนกตามสาเหตุที่
เด็กเล็กไมอานหนังสือ พ.ศ. 2554
แผนภูมิ 9 รอยละของเด็กเล็กที่ไมอานหนังสือนอกเวลาเรียนจําแนกตามสาเหตุที่
ผูใหญไมอานหนังสือใหเด็กเล็กฟง 5 ลําดับแรก พ.ศ. 2554
แผนภูมิ 10 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางานของประชากรอายุ
ตั้งแต 6 ปขึ้นไป จําแนกตามเพศ พ.ศ. 2546 - 2554
แผนภูมิ 11 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางานของประชากรอายุ
ตั้งแต 6 ปขึ้นไป จําแนกตามเขตการปกครอง และภาคพ.ศ. 2554
แผนภูมิ 12 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางานของประชากรอายุ
ตั้งแต 6 ปขึ้นไป จําแนกตามกลุมวัย พ.ศ. 2546 – 2554
แผนภูมิ 13 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไป จําแนกตามการอานหนังสือ
นอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางานและระดับการศึกษาสูงสุด พ.ศ. 2554
สารบัญแผนภูมิ (ตอ)
แผนภูมิ 14 อัตราการอานหนังสือของประชากรอายุตั้งแต15ปขึ้นไปจําแนกตาม
การทํางานในรอบปที่แลว พ.ศ. 2554
แผนภูมิ 15 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาทํางานของผูทํางานอายุตั้งแต 15 ปขึ้นไป
จําแนกตามอาชีพ พ.ศ. 2554
แผนภูมิ 16 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาทํางานของผูทํางานอายุตั้งแต15ปขึ้นไป
จําแนกตามกลุมอุตสาหกรรมและสถานภาพการทํางาน พ.ศ. 2554
แผนภูมิ 17 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไปที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลา
ทํางานจําแนกตามประเภทหนังสือที่อานและความถี่ของการอานหนังสือพ.ศ. 2554
แผนภูมิ 18 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไปที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน/
นอกเวลาทํางานจําแนกตามประเภทเนื้อหาสาระของหนังสือที่อาน พ.ศ. 2554
แผนภูมิ 19 เวลาที่ใชอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางานเฉลี่ยตอวัน
ของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไปที่อานหนังสือ จําแนกตามเพศ กลุมวัย
เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2554
แผนภูมิ 20 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไปที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน/
นอกเวลาทํางานจําแนกตามประเภทหองสมุดที่ไปใชบริการยืมหรือ
อานหนังสือพ.ศ. 2554
แผนภูมิ 21 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไปที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน/
นอกเวลาทํางานจําแนกตามจํานวนหนังสือที่ซื้อในรอบปที่แลว พ.ศ. 2554
แผนภูมิ 22 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไปที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน/
นอกเวลาทํางาน จําแนกตามคาใชจายในการซื้อหนังสือเฉลี่ยตอเดือน
เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2554
สารบัญตาราง
ตาราง 1 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไปที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน/
นอกเวลาทํางาน จําแนกตามประเภทของหนังสือที่อานและกลุมวัยพ.ศ. 2554
ตาราง 2 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไปที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน/
นอกเวลาทํางาน จําแนกตามประเภทเนื้อหาสาระของหนังสือที่อาน
และกลุมวัยพ.ศ. 2554
ตาราง 3 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไปที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน/
นอกเวลาทํางาน จําแนกตามสถานที่อานหนังสือ และกลุมวัย พ.ศ. 2554
ตาราง 4 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไปที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน/
นอกเวลาทํางานจําแนกตามเหตุผลที่อานหนังสือ และกลุมอายุพ.ศ. 2554
ตาราง 5 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6ปขึ้นไปที่ไมอานหนังสือนอกเวลาเรียน/
นอกเวลาทํางานจําแนกตามสาเหตุที่ไมอานหนังสือและกลุมอายุพ.ศ. 2554
บทที่ 1
บทนํา
1. ความเปนมา
เนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายสงเสริมให
ประชาชนรักการอานอยางจริงจัง และเมื่อวันที่
5 สิงหาคม 2552 มีมติคณะรัฐมนตรีใหการสงเสริม
การอานเปนวาระแหงชาติ โดยกําหนดใหวันที่
2 เมษายนของทุกปเปนวันรักการอาน และในป
2552-2561 เปนทศวรรษแหงการอานของประเทศ
รวมทั้งใหมีคณะกรรมการสงเสริมการอานเพื่อสราง
สังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิต ดังนั้นจึงมีความจําเปน
ตองการทราบขอมูลสถิติเกี่ยวกับพฤติกรรมการอาน
หนังสือของประชากร สําหรับนําไปใชกําหนด
ทิศทางและมาตรการตางๆ ของหนวยงานที่เกี่ยวของ
เพื่อใหเปนไปตามนโยบายขางตน สํานักงานสถิติ
แหงชาติ ไดจัดทําโครงการสํารวจการอานหนังสือ
ของประชากรมาแลว 3 ครั้ง ในป 2546 2548 และ
2551 และการสํารวจ ป 2554 นี้นับเปนครั้งที่ 4
เพื่อใหมีขอมูลสําหรับใชพัฒนาและสงเสริมให
ประชาชนรักการอาน ตลอดจนติดตามประเมินผล
การดําเนินงานเรื่องดังกลาว ซึ่งมีความจําเปนและ
สําคัญยิ่ง เนื่องจากการอานหนังสือทําใหผูอานมี
ความรอบรู เปนการเพิ่มพูนศักยภาพในการดําเนินชีวิต
และการทํางาน สามารถเรียนรูไดตลอดชีวิต จึง
นับเปนการพัฒนาทรัพยากรมนุษยที่สําคัญอยางหนึ่ง
ซึ่งสงผลตอการพัฒนาประเทศโดยตรง
2. วัตถุประสงค
เพื่อเก็บรวบรวมขอมูลดังตอไปนี้
1. จํานวนผูอานหนังสือและไมอานหนังสือ
พรอมทั้งลักษณะทางประชากร
2. รายละเอียดเกี่ยวกับการอานหนังสือ เชน
ประเภทหนังสือที่อาน ความถี่ในการอาน เวลาที่ใชอาน
หนังสือเฉลี่ยตอวัน สถานที่ที่อาน เปนตน
3. ความคิดเห็นในเรื่องของวิธีการจูงใจให
ประชาชนรักการอานหนังสือ
3. ประโยชน
1. เพื่อใหมีขอมูลสถิติพื้นฐานเรื่องการอาน
หนังสือของประชากร
2. เพื่อใหหนวยงานภาครัฐและเอกชนที่
เกี่ยวของนําขอมูลไปใชกําหนดนโยบาย และสงเสริม
การอานหนังสือใหมากขึ้น และเหมาะสม เชน
• ทําการรณรงคหรือจัดการสงเสริมการอาน
ในรูปแบบที่เหมาะสมกับกลุมวัย
• จัดหาหนังสือที่มีเนื้อหาสาระสอดคลอง
กับความตองการของประชาชน
• จัดหาสถานที่อานหนังสือใหแพรหลายและ
เพียงพอกับประชาชนในทองที่ตาง ๆ
4. ขอบขายของการสํารวจ
ครัวเรือนที่อยูในขอบขายของการสํารวจ ไดแก
ครัวเรือนสวนบุคคล ทั้งในเขตเทศบาลและนอกเขต
เทศบาลทั่วประเทศ
5. เวลาอางอิง
ในรอบ 12 เดือนที่แลว
หมายถึง ระยะเวลานับจากเดือนกอนเดือน
สัมภาษณยอนหลังไป 12 เดือน เชน เดือนที่สัมภาษณ
คือ พฤษภาคม 2554 “ในรอบ 12 เดือนที่แลว” คือ
พฤษภาคม 2553 – เมษายน 2554
6. รายการขอมูลที่เก็บรวบรวม
1.ลักษณะทั่วไปของสมาชิกในครัวเรือน
2.การอานหนังสือของเด็กเล็ก(อายุต่ํากวา6ป)
3. การอานหนังสือของประชากร (อายุตั้งแต
6 ปขึ้นไป)
4. สภาพที่อยูอาศัยและการเปนเจาของทรัพยสิน
7. ระเบียบวิธีการสํารวจ
สํารวจนี้เปนการสํารวจดวยตัวอยาง (Sample
Survey Method) โดยใชแผนการสุมตัวอยางแบบ
Stratified Two Stage Sampling โดยมีจังหวัดเปน
สตราตัม (Stratum) ซึ่งมีทั้งสิ้น 76 สตราตัม และใน
แตละสตราตัม (จังหวัด) ไดแบงออกเปน 2สตราตัมยอย
ตามลักษณะการปกครองคือในเขตเทศบาลและนอกเขต
เทศบาล โดยมีชุมรุมอาคาร (สําหรับในเขตเทศบาล)
และหมูบาน (สําหรับนอกเขตเทศบาล) เปนตัวอยาง
ขั้นที่หนึ่ง ครัวเรือนสวนบุคคลเปนตัวอยางขั้นที่สอง
ซึ่งมีจํานวนครัวเรือนตัวอยางทั้งสิ้น 53,000ครัวเรือน
การเก็บรวบรวมขอมูล โดยใหเจาหนาที่ของ
สํานักงานสถิติแหงชาติ ไปสัมภาษณสมาชิกของ
ครัวเรือนตัวอยางในเดือนพฤษภาคม และมิถุนายน
พ.ศ. 2554
8. คํานิยาม
8.1 การอานหนังสือ
หมายถึง การอานหนังสือทุกประเภทนอกเวลา
เรียน/นอกเวลาทํางาน แตรวมการอานในชวงเวลาพัก
การอานหนังสือรวมทั้งการอานทางสื่ออิเล็กทรอนิกส
อื่น ๆ เชน อินเทอรเน็ต ซีดี e-book reader ฯลฯ
ยกเวน SMS หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส (E-mail)
สําหรับการอานหนังสือของเด็กเล็ก (อายุต่ํากวา
6ป) ในที่นี้หมายถึงการอานหนังสือในชวงนอกเวลาเรียน
ซึ่งเด็กเล็กอานดวยตนเอง รวมทั้งการที่ผูใหญอาน
หนังสือใหฟงดวย
8.2 หนังสือพิมพ
หมายถึง สิ่งพิมพที่ออกเปนระยะ ๆ อยาง
สม่ําเสมอ มีเนื้อหาสวนใหญเปนเรื่องเกี่ยวกับขาว
และสถานการณปจจุบัน มักจะออกเปนรายวัน แต
อาจออกเปนราย2วัน5วัน7วัน10วันหรืออื่นๆก็ได
แตไมทิ้งชวงนานเกินไป ไมเย็บเลม และไมมีปก
ขนาดของหนังสือพิมพ มีขนาดไมแนนอน
สวนใหญมีขนาดประมาณ 40 X 55 ซม.
8.3 นิตยสาร
หมายถึง สิ่งพิมพที่ออกเปนระยะ ๆ อยาง
สม่ําเสมอ สวนใหญจะออกเปนรายสัปดาห รายปกษ
หรือรายเดือน มักจะมีขนาดเล็กกวาหนังสือพิมพ มีปก
เย็บเลม มีการจัดหนา โดยใชสีสันและรูปภาพสวยงาม
พิถีพิถันกวาหนังสือพิมพ เนื้อหาอาจเกี่ยวกับขาวสาร
ความรู สารคดี นิยาย หรืออื่น ๆ
8.4 วารสารหรือเอกสารประเภทอื่น ๆ ที่ออก
เปนประจํา
หมายถึง สิ่งพิมพที่ออกเปนประจําแตมีรูปราง
ลักษณะที่ไมสามารถจัดประเภทเปนหนังสือพิมพหรือ
นิตยสารได วารสารสวนใหญมักจะมีเนื้อหาทางวิชาการ
แตอาจมีวารสารบางประเภทที่เนนในเรื่องขาว และ
ความคิดเห็นแตไมมีการตกแตงรูปเลมเหมือนนิตยสาร
วารสาร สวนใหญจะมีคําวา “วารสาร”
นําหนาชื่อหนังสือ และเนื้อหาจะหนักกวานิตยสาร
ตัวอยางหนังสือวารสาร เชน วารสารขาราชการ
วารสารที่ดิน วารสารบริหารธุรกิจ เปนตน
สวนเอกสารประเภทอื่น ๆ ที่ออกเปนประจํา
อาจออกมาในลักษณะของแผนพับ แผนปลิว จุลสาร
(Bulletin) จดหมายขาว(Newsletter)หรืออื่นๆ สวนใหญ
จะจัดทําโดยสถาบันหรือองคการตาง ๆ โดยมีวัตถุประสงค
เพื่อการประชาสัมพันธ หรือสงเสริมกิจกรรมของ
หนวยงานนั้นโดยเฉพาะ เชน สารสถิติ สารผูใหญ
ขาวสารการเกษตร ขาวสารการบินพาณิชย จุลสาร
การทองเที่ยวจุลสารดาวเทียมจดหมายขาวไทยคดีศึกษา
เปนตน
8.5 นวนิยาย การตูน หรือหนังสืออานเลนตาง ๆ
หมายถึง สิ่งพิมพที่มักออกไมมีระยะเวลาที่
แนนอน มุงใหอานเพื่อความเพลิดเพลินใจ เชน
หนังสือนวนิยาย นิทาน การตูน เปนตน
หนังสือนวนิยายหรือเรื่องอานเลนตาง ๆ ในที่นี้
ตองพิมพเปนเลม ไมใชนวนิยายหรือเรื่องอานเลนที่
พิมพเปนตอน ๆ ในหนังสือประเภทอื่น ตัวอยางหนังสือ
นวนิยายเชนเพชรพระอุมาคาของคน คูกรรมเปนตน
หนังสือการตูน ไดแก ขายหัวเราะ และ
การตูนญี่ปุน เปนตน
8.6 แบบเรียนหรือตําราเรียนตามหลักสูตรหรือ
เอกสาร/หนังสือ/คูมือที่อานเพิ่มเติมเพื่อสอบ
หรือการเรียน
หมายถึง สิ่งพิมพ หนังสือ หรือตําราที่
โรงเรียนมหาวิทยาลัย หรือสถาบันการศึกษากําหนดให
ใชในการเรียนการสอนตามหลักสูตร รวมทั้ง เอกสาร
หนังสือ หรือคูมือที่ใชอานเพิ่มเติมเพื่อสอบหรือ
การเรียนดวย เชน คูมือเตรียมสอบ หนังสือแนวขอสอบ
และหนังสือประกอบการเรียนพิเศษ เปนตน
8.7 ตํารา หนังสือ หรือเอกสารที่ใหความรูตาง ๆ
ความรูทั่วไป
หมายถึง สิ่งพิมพหรือเอกสารที่มุงใหความรู
ตาง ๆ แกผูอานเปนประการสําคัญ สวนใหญมักจะ
ออกในลักษณะของหนังสือ (Book) มีการเย็บเลม
ไมรวมแบบเรียนหรือตําราเรียนตามหลักสูตร หรือ
เอกสาร/หนังสือ/คูมือเพิ่มเติมเพื่อสอบหรือการเรียน
ตํารา หนังสือ หรือเอกสารที่ใหความรู ในที่นี้
ตองใชในวัตถุประสงคอานเพื่อใหมีความรูทั่ว ๆ ไป
เพื่อเสริมความรู ไมใชมุงเพื่อสอบหรือการเรียน
8.8 หนังสือหรือเอกสารเกี่ยวกับคําสอนทางศาสนา
หมายถึง หนังสือหรือเอกสารที่นําเสนอเรื่อง
เกี่ยวกับหลักหรือคําสอนทางศาสนา หลักการปฏิบัติ
ทางศาสนา ประวัติบุคคลสําคัญทางศาสนา และเรื่องเลา
ทางศาสนา
8.9 ขาว
หมายถึง การรายงานเหตุการณปจจุบันหรือ
ขาวสารที่นาสนใจ เพื่อใหประชาชนไดรับทราบ
ขาวสารที่เสนอ โดยลักษณะของขาวนั้นจะตองเปน
ขอมูล ขอเท็จจริงหรือเรื่องราวใหม ๆ และทันตอเวลา
โดยเฉพาะอยางยิ่งในทัศนะของผูรับสาร การเสนอขาว
อาจใชการพูด การเขียนการใชภาพแถบบันทึกวีดีทัศน
หรือภาพยนตร หรือสื่ออื่น ๆ ที่สามารถเขาถึงประชาชน
ไดอยางทั่วถึง ทั้งนี้ตองไมมีการแสดงความคิดเห็นใน
การเสนอขาว
ขาวอาจจําแนกเปน ขาวที่นาสนใจทั่ว ๆ ไป
ในประเทศ ขาวในประเทศ ขาวตางประเทศและ
ขาวระหวางประเทศ ขาวและความเคลื่อนไหวใน
วงการกีฬา ความเคลื่อนไหวในวงการธุรกิจบันเทิง
และขาวประเภทอื่น ๆ
8.10 สารคดีหรือความรูทั่วไป
หมายถึง เนื้อหาที่เกี่ยวกับความรูหรือสารคดี
โดยมีจุดประสงคใหผูอานไดรับความรูในเรื่องตาง ๆ
ไดแก ความรูเกี่ยวกับการเมืองการปกครองการดําเนินงาน
ของรัฐ เศรษฐกิจ การประกอบอาชีพ ศาสนา จริยศึกษา
สุขภาพ อนามัย ศิลปะ วัฒนธรรม ประวัติศาสตร
รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวของกับเด็ก สตรี และแมบาน
8.11 ความคิดเห็นหรือวิเคราะห
หมายถึง บทความ บทบรรณาธิการ หรือ
ขอเขียนแบบอื่น ๆ ที่แสดงทัศนะหรือความคิดเห็น
ตลอดจนการวิเคราะหวิจารณในเรื่องตาง ๆ เชน
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเมือง การปกครอง
การดําเนินงานของรัฐ เศรษฐกิจ การประกอบอาชีพ
ศาสนา จริยศึกษา สุขภาพ อนามัย ศิลปะ วัฒนธรรม
ประวัติศาสตร รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวของกับเด็ก สตรี และ
แมบาน นอกจากนี้ยังรวมถึงบทความที่เสนอความคิดเห็น
วิพากษ วิจารณเกี่ยวกับเรื่องทั่วๆไปเชนการพยากรณ
ชีวิต การวิเคราะหขาวและเหตุการณตางประเทศ
การวิเคราะหและวิจารณขาวแบบชาวบาน เปนตน
8.12 บันเทิง
หมายถึง เนื้อหาที่มีจุดมุงหมายใหผูอานไดรับ
ความเพลิดเพลิน แบงออกเปน 2 ประเภท คือ
1) แสดงดวยภาพไดแก ภาพเขียนหรือภาพถาย
เชน การตูนสําหรับเด็ก ภาพลอทางการเมือง เปนตน
2) บรรยายดวยขอเขียน ไดแก เรื่องสนุก ๆ
เชน นวนิยาย เรื่องแปล เรื่องสั้น เปนตน
8.13 ธุรกิจหรือโฆษณา
หมายถึง เนื้อหาที่เกี่ยวของกับธุรกิจการคา
อุตสาหกรรม รวมถึงขาวเพื่อการเผยแพร และ
การประชาสัมพันธ (Publicity and public relations)
และเนื้อหาที่เปนประกาศสรรพคุณ คุณภาพ หรือ
คุณประโยชนของสินคาและบริการ (Advertisements)
57.1
49.1
53.3
53.8
63.0
50.6
59.2
54.3
52.7
53.5
31.3
39.9
43.0
32.4
45.3
34.1
40.8
35.2
36.7
0 10 20 30 40 50 60 70
บทที่ 2
สรุปผลการสํารวจ
การสํารวจการอานหนังสือของประชากร พ.ศ. 2554
เปนการเก็บรวบรวมขอมูล เกี่ยวกับการอานหนังสือ
ทุกประเภทเฉพาะนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางานของ
ประชากร รวมทั้งการอานทางสื่ออิเล็กทรอนิกส
อื่น ๆ เชน อินเทอรเน็ต ซีดี ฯลฯ ยกเวน SMS
หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส (E-mail)
การสํารวจที่ผานมาในป 2546 - 2548 สํานักงาน
สถิติแหงชาติ สํารวจเฉพาะการอานหนังสือของ
ประชากรที่มีอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไป และตั้งแตป 2551
ไดสํารวจเพิ่มเรื่องการอานหนังสือของเด็กเล็ก (ผูที่มี
อายุต่ํากวา 6 ป) ดวย ผลการสํารวจที่สําคัญในป 2554
สรุปไดดังนี้
1. การอานหนังสือของเด็กเล็ก
การอานหนังสือของเด็กเล็ก ในที่นี้หมายถึง
การอานหนังสือของเด็กเล็กที่อานในชวงนอกเวลาเรียน
ดวยตัวเอง และรวมทั้งที่ผูใหญอานใหฟงดวย
1.1 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน
จากผลการสํารวจป 2554 พบวา เด็กเล็กมี
อัตราการอานหนังสือรอยละ 53.5 เด็กผูหญิงมีอัตรา
การอานหนังสือสูงกวาเด็กผูชายเล็กนอย (รอยละ 54.3
และรอยละ 52.7 ตามลําดับ) นอกจากนี้อัตราการอาน
หนังสือของเด็กเล็กมีความแตกตางกันระหวาง
เขตการปกครองและภาค โดยในเขตเทศบาลมีอัตรา
การอานหนังสือสูงกวานอกเขตเทศบาล เด็กเล็กใน
กรุงเทพมหานครมีอัตราการอานหนังสือสูงสุด (รอยละ
63.0) ขณะที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เด็กเล็กมี
อัตราการอานหนังสือต่ําสุด (รอยละ 49.1)
เมื่อเปรียบเทียบกับการสํารวจป 2551 พบวา
เด็กเล็กเกินครึ่งหนึ่ง (รอยละ 53.5) มีการอานหนังสือ
นอกเวลาเรียน โดยมีอัตราการอานเพิ่มขึ้นรอยละ 17.5
เด็กหญิงมีอัตราการอานหนังสือเพิ่มขึ้นมากกวา
เด็กผูชาย เด็กเล็กที่อาศัยในเขตเทศบาลและภาคกลาง
มีอัตราการอานหนังสือเพิ่มขึ้นมากกวาพื้นที่อื่น
แผนภูมิ 1 อัตราการอานหนังสือของเด็กเล็กนอกเวลาเรียน1/
จําแนกตามเพศ เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2551
และ 2554
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ทั่วราชอาณาจักร
ชาย
หญิง
ในเขตเทศบาล
นอกเขตเทศบาล
กรุงเทพมหานคร
กลาง
เหนือ
ใต
36.0
รอยละ
2551 2554
1/ อัตราการอานหนังสือหมายถึงรอยละของจํานวนประชากร
ที่อานหนังสือตอจํานวนประชากรทั้งสิ้นในแตละกลุม
66.2
55.1
37.9
20.3
0.2
0 10 20 30 40 50 60 70
18.5 22.0
17.3 19.7
39.6
42.0
9.7
10.114.9 6.2
0
20
40
60
80
100
1.2 เหตุผลที่ผูใหญอานหนังสือใหเด็กเล็กฟง
สําหรับเด็กเล็กที่อานหนังสือนั้น เกือบ
ทั้งหมด (รอยละ 96.8) มีผูใหญอานหนังสือใหฟง
และมีเพียงรอยละ3.2เทานั้นที่เด็กเล็กอานดวยตนเอง
โดยไมมีผูใหญอานหนังสือใหฟง เมื่อสอบถาม
ผูใหญถึงเหตุผลที่อานหนังสือใหเด็กเล็กฟง พบวา
ผูใหญสวนใหญอานใหฟงเพื่อเพิ่มพูนความฉลาด
หรือความรูใหกับเด็กเล็กรอยละ 66.2 รองลงมา คือ
เพื่อทําใหเด็กเพลิดเพลินหรืออารมณดีรอยละ 55.1
เพื่อสงเสริมใหเด็กเล็กรักการอานรอยละ 37.9 และ
เพื่อทําใหเกิดความอบอุนในครอบครัวรอยละ 20.3
สวนเหตุผลอื่น ๆ มีเพียงรอยละ 0.2 เทานั้น
แผนภูมิ 2 รอยละของเด็กเล็กที่มีผูใหญอานหนังสือใหฟง
จําแนกตามเหตุผลที่ผูใหญอานหนังสือใหฟง
พ.ศ. 2554
1.3 ความถี่ของการอานหนังสือนอกเวลาเรียน
เด็กเล็กที่อานหนังสือมีประมาณ 2.7 ลานคน
ในจํานวนนี้เปนผูที่อานหนังสือสัปดาหละ 2 – 3 วัน
มากที่สุด (รอยละ 42.0) รองลงมาคือ อานทุกวัน และ
อานสัปดาหละ 4 – 6 วัน ใกลเคียงกัน (รอยละ 22.0
และ 19.7 ตามลําดับ) และพบวา มีเด็กเล็กที่อาน
หนังสือแตอานนาน ๆ ครั้งอยูรอยละ 6.2
เด็กเล็กมีความถี่ในการอานหนังสือเพิ่มขึ้น
คือเด็กเล็กที่อานอยางนอย1วันตอสัปดาหมีเพิ่มมากขึ้น
ในขณะที่รอยละของเด็กเล็กที่อานนาน ๆ ครั้ง มี
แนวโนมลดลง
แผนภูมิ 3 รอยละของเด็กเล็กที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน
จําแนกตามความถี่ของการอานหนังสือพ.ศ.2551
และ 2554
1.4 เวลาเฉลี่ยที่ใชอานหนังสือนอกเวลาเรียน
เด็กเล็กที่อานหนังสือใชเวลาอานหนังสือ
นอกเวลาเรียนเฉลี่ย 26 นาทีตอวัน โดยเด็กชายและ
เด็กหญิงใชเวลาอานหนังสือฯเฉลี่ยในแตละวันเทากัน
(ประมาณ 26 นาที) เมื่อพิจารณาตามพื้นที่อยูอาศัย
พบวาเด็กเล็กที่อาศัยในเขตเทศบาลใชเวลาอานหนังสือฯ
มากกวานอกเขตเทศบาล (28 นาที และ 25 นาที
ตามลําดับ) เด็กเล็กที่อาศัยอยูในกรุงเทพมหานคร
ใชเวลาอานหนังสือฯ เฉลี่ยสูงสุด คือ 35 นาทีตอวัน
รองลงมาคือภาคใต (27 นาทีตอวัน) สวนเด็กเล็กที่
อาศัยอยูภาคอื่นใชเวลาอานหนังสือฯ ต่ํากวาคาเฉลี่ย
ของทั้งประเทศโดยเด็กเล็กที่อาศัยอยูภาคเหนือใชเวลา
อานหนังสือฯ เฉลี่ยต่ําสุด (23 นาทีตอวัน)
รอยละ
ความรู
เพิ่มพูนความฉลาด/
อารมณดี
ทําใหเด็กเพลิดเพลิน/
สงเสริมใหเด็ก
รักการอาน
เพื่อใหเกิดความอบอุน
ในครอบครัว
อื่น ๆ
ทุกวัน
สัปดาหละ 1 วัน
สัปดาหละ 2-3 วัน
สัปดาหละ 4-6 วัน
นาน ๆ ครั้ง
รอยละ
พ.ศ.
2551 2554
0.1
0.4
0.1
26 26
28
25
35
25
23
24 27
0
5
10
15
20
25
30
35
40
0.1 0.1
แผนภูมิ 4 เวลาที่ใชอานหนังสือนอกเวลาเรียนเฉลี่ยตอวันของ
เด็กเล็กที่อานหนังสือจําแนกตามเพศเขตการปกครอง
และภาค พ.ศ. 2554
1.5 การซื้อหนังสือใหเด็กเล็กในรอบปที่แลว
เมื่อสอบถามผูตอบสัมภาษณเกี่ยวกับการซื้อ
หนังสือใหเด็กเล็กอานนอกเหนือจากซื้อหนังสือเรียน
ตามหลักสูตรที่เด็กนักเรียนทุกคนจําเปนตองซื้อ
ในรอบปที่แลวพบวารอยละ79.0 ของเด็กเล็กที่อาน
หนังสือ มีผูใหญซื้อหนังสือใหอานเพิ่มเติมจาก
หนังสือเรียนตามหลักสูตรโดยสวนใหญรอยละ60.9
ผูใหญเปนผูเลือกหนังสือเหลานี้ใหเองและมีรอยละ18.1
ที่เด็กเล็กเปนผูเลือกหนังสือเอง
แผนภูมิ 5 รอยละของเด็กเล็กที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน
จําแนกตามการซื้อหนังสือใหเด็กเล็กในรอบปที่แลว
และผูเลือกหนังสือ พ.ศ. 2554
เมื่อพิจารณาการซื้อหนังสือใหเด็กเล็กที่อาน
หนังสือ จําแนกตามเขตการปกครองและภาค พบวา
ในเขตเทศบาลมีอัตราการซื้อหนังสือใหเด็กเล็กสูงกวา
นอกเขตเทศบาล (รอยละ 81.5 และ 77.5 ตามลําดับ)
ภาคกลางมีอัตราการซื้อหนังสือใหเด็กเล็กสูงสุด
(รอยละ 85.6) สวนภาคเหนือต่ําสุด (รอยละ 75.8)
สําหรับจํานวนหนังสือที่ซื้อใหเด็กเล็กพบวาในรอบป
ที่แลวเด็กเล็กที่อานหนังสือมีผูใหญซื้อหนังสือให
1 –5 เลมสัดสวนสูงที่สุด(รอยละ44.8) รองลงมาคือ
ซื้อหนังสือ6–10เลม(รอยละ19.1) และมากกวา10เลม
(รอยละ15.1) มีเพียงรอยละ0.1ที่จําไมไดหรือไมทราบ
จํานวนหนังสือที่ซื้อใหเด็กเล็ก ในเขตเทศบาลมีอัตรา
การซื้อหนังสือใหเด็กเล็กอานเพิ่มเติมจํานวนหลายเลม
คือ ตั้งแต 6 เลมขึ้นไป มากกวานอกเขตเทศบาลและ
กรุงเทพมหานครมากกวาภาคอื่น
แผนภูมิ 6 รอยละของเด็กเล็กที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน
จําแนกตามจํานวนหนังสือที่ซื้อในรอบปที่แลว
เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2554
19.1 23.98.1
3.1
14.5
13.5
6.5 8.8
39.2
45.9
26.636.0
42.0
55.8
50.0
44.8
18.2
13.2
16.2
22.4
22.5
5.25.1
7.1
5.8 10.0 4.719.5
6.19.2 4.3
0
20
40
60
80
100
เด็กเลือกเอง18.1%
60.9%
ไมซื้อ
21.0%
ซื้อ
79.0%
การซื้อหนังสือใหเด็กเล็ก
ผูเลือกหนังสือ
ผูใหญเลือกให
ในรอบปที่แลว
รอยละ
กรุงเทพ
มหานคร
กลาง เหนือ ตะวันออก
เฉียงเหนือ
ใตนอกเขต
เทศบาล
ในเขต
เทศบาล
ทั่วราช
อาณาจักร
ทั่วราชอาณาจักร 26 นาทีตอวันเวลา (นาที)
ชาย หญิง ในเขต
เทศบาล
นอกเขต
เทศบาล
กรุงเทพ
มหานคร
กลาง เหนือตะวันออก
เฉียงเหนือ
ใต
79.0 81.5
77.5
76.6
85.6
75.8 76.4
79.5
ไมทราบ
> 15 เลม
11-15 เลม
6-10 เลม
1-5 เลม
23.8
63.2 58.6
65.9
44.5
68.7
62.2 67.0 61.6
8.6 9.4
6.2 2.3
3.9
1.9
4.7
4.5
4.58.5
17.0
6.6 6.5
6.312.0 8.6
6.53.7 1.36.5
2.03.3 2.5 1.60.2 0.2 0.9
0
20
40
60
80
100
1 – 100 บาท/เดือน 101 – 200 บาท/เดือน
201 – 300 บาท/เดือน มากกวา 300 บาท/เดือน
ไมทราบ (มีเฉพาะทั่วราชอาณาจักร (0.2) นอกเขตเทศบาล (0.2) เหนือ (0.9))
1/ ตอบไดไมเกิน 2 ประเภท
1.6 คาใชจายสําหรับซื้อหนังสือใหเด็กเล็กเฉลี่ย
ตอเดือน
สําหรับเด็กเล็กที่อานหนังสือมีผูใหญซื้อ
หนังสือใหอานเพิ่มเติมจากหนังสือเรียนตามหลักสูตรนั้น
สวนใหญรอยละ63.2เสียคาใชจายในการซื้อหนังสือ
เหลานี้เฉลี่ยเดือนละไมเกิน 100 บาท และมีเพียง
รอยละ3.3ที่เสียคาใชจายเฉลี่ยตอเดือนมากกวา300บาท
กลุมที่เสียคาใชจายสําหรับซื้อหนังสือฯ ใหเด็กเล็ก
คอนขางสูงคือมากกวา100บาทตอเดือนนั้นในเขตเทศบาล
คอนขางสูงกวานอกเขตเทศบาลและกรุงเทพมหานคร
สูงกวาภาคอื่น
แผนภูมิ 7 รอยละของเด็กเล็กที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน
จําแนกตามคาใชจายสําหรับซื้อหนังสือใหเด็กเล็ก
เฉลี่ยตอเดือนเขตการปกครองและภาคพ.ศ.2554
1.7 สาเหตุที่เด็กเล็กไมอานหนังสือนอกเวลาเรียน
เด็กเล็กที่ไมอานหนังสือนอกเวลาเรียน คือ
เด็กเล็กที่ไมไดอานหนังสือดวยตนเองและไมมีผูใหญ
อานหนังสือใหฟง มีประมาณ 2.3 ลานคน คิดเปน
รอยละ46.5ของเด็กเล็กทั้งสิ้นพบวาสาเหตุที่เด็กเล็ก
กลุมนี้ไมอานหนังสือ เพราะวายังเปนเด็กเกินไปคือ
มีอายุต่ํากวา 2 ป รอยละ 64.8 สาเหตุรองลงมา คือ
อานหนังสือไมออกรอยละ 19.5 ชอบดูโทรทัศน
รอยละ10.2ไมชอบอานหนังสือหรือไมสนใจรอยละ4.1
และสาเหตุอื่นอีกเพียงรอยละ 1.4
แผนภูมิ 8 รอยละของเด็กเล็กที่ไมอานหนังสือนอกเวลาเรียน
จําแนกตามสาเหตุที่เด็กเล็กไมอานหนังสือพ.ศ.2554
สวนสาเหตุที่ผูใหญไมอานหนังสือให
เด็กเล็กฟง 5 ลําดับแรก คือ ไมมีเวลาอานใหฟง
(รอยละ46.9) ผูใหญคิดวาเด็กยังเล็กเกินไป(รอยละ28.6)
ผูใหญชอบดูโทรทัศน (รอยละ18.1) ผูใหญที่ไมชอบ
อานหนังสือหรือไมสนใจอานใหเด็กเล็กฟง(รอยละ11.6)
และมีผูใหญที่อานหนังสือไมออก (รอยละ 5.0)
แผนภูมิ 9 รอยละของเด็กเล็กที่ไมอานหนังสือนอกเวลาเรียน
จําแนกตามสาเหตุที่ผูใหญไมอานหนังสือให
เด็กเล็กฟง1/
5ลําดับแรก พ.ศ. 2554
46.9
28.6
18.1
11.6
5.0
0 10 20 30 40 50
อานหนังสือไมออก
เด็กยังเล็กเกินไป
ชอบดูโทรทัศน
ไมชอบอานหนังสือ
หรือไมสนใจ
รอยละ
ไมมีเวลาอาน
กรุงเทพ
มหานคร
กลาง เหนือ ตะวันออก
เฉียงเหนือ
ใตนอกเขต
เทศบาล
ในเขต
เทศบาล
ทั่วราช
อาณาจักร
รอยละ
79.0 81.5
77.5 76.6
85.6
75.8 76.4
79.5
2,326,810 คน
อานหนังสือไมออก
19.5% ชอบ
ดูโทรทัศน
10.2%
ไมชอบอานหนังสือ
หรือไมสนใจ 4.1%
อื่น ๆ 1.4%
เด็กยังเล็กเกินไป
64.8%
64.8
71.6
67.5
68.8
57.7
66.7 65.1
68.4
61.2
69.1 66.3 68.6
0
20
40
60
80
77.2
64.1
84.2
71.3 65.9 63.0
69.7
0
20
40
60
80
100
2554
2. การอานหนังสือของประชากร (อายุตั้งแต6ปขึ้นไป)
2.1 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอก
เวลาทํางาน
จากผลการสํารวจป 2554 พบวา คนไทย
อายุตั้งแต6ปขึ้นไป มีอัตราการอานหนังสือรอยละ68.6
ผูชายมีอัตราการอานหนังสือสูงกวาผูหญิงเล็กนอย
(รอยละ68.8และ68.4ตามลําดับ)และเมื่อเปรียบเทียบ
กับการสํารวจที่ผานมา พบวา อัตราการอานหนังสือ
เพิ่มขึ้นเล็กนอยจากป 2551 ทั้งผูชายและผูหญิง
แผนภูมิ 10 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลา
ทํางานของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไป จําแนก
ตามเพศ พ.ศ. 2546 – 2554
เมื่อพิจารณาอัตราการอานหนังสือตาม
เขตการปกครองและภาค พบวา ประชากรที่อาศัยอยู
ในเขตเทศบาลมีอัตราการอานหนังสือสูงกวานอก
เขตเทศบาล (รอยละ 77.2 และ 64.1 ตามลําดับ)
กรุงเทพมหานคร มีอัตราการอานหนังสือสูงที่สุด
(รอยละ 84.2) และภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีอัตรา
การอานหนังสือต่ําสุด (รอยละ 63.0)
แผนภูมิ 11 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลา
ทํางานของประชากรอายุตั้งแต6ปขึ้นไป จําแนก
ตามเขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2554
2.2 อายุ
การอานหนังสือของประชากรมีความแตกตางกัน
ตามวัย กลุมวัยเด็กมีอัตราการอานหนังสือสูงสุดถึง
รอยละ91.6 รองลงมาคือกลุมเยาวชนกลุมวัยทํางาน
และต่ําสุดคือกลุมวัยสูงอายุ(รอยละ78.6 65.7 และ 44.3
ตามลําดับ) และเมื่อเปรียบเทียบระหวางการสํารวจ
ที่ผานมาพบวาป 2554การอานหนังสือของประชากร
เกือบทุกกลุมวัย มีอัตราการอานหนังสือเพิ่มขึ้นจาก
ป2551 มีเพียงกลุมเยาวชนเทานั้นที่มีอัตราการอานคงที่
แผนภูมิ 12 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางาน
ของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไป จําแนกตาม
กลุมวัย พ.ศ. 2546 – 2554
รอยละ
ชาย
หญิง
2546 2548 2551
พ.ศ.
2554
64.8
รอยละ ทั่วราชอาณาจักร รอยละ 68.6
ในเขต
เทศบาล
นอกเขต
เทศบาล
กรุงเทพ
มหานคร
กลาง เหนือ ตะวันออก
เฉียงเหนือ
ใต
68.6
78.6
44.3
61.2 69.1 66.3
91.681.587.784.5
78.683.180.4
65.0
54.3
64.3 65.7
39.337.4
24.4
0
20
40
60
80
100
รอยละ
2546 2548 2551 พ.ศ.
รวม วัยเด็ก (6-14 ป) วัยเยาวชน (15-24 ป)
วัยทํางาน (25-59 ป) วัยสูงอายุ (60 ปขึ้นไป)
รวม
2.3 ระดับการศึกษา
จากผลการสํารวจ พบวา การศึกษาและ
อัตราการอานหนังสือ มีความสัมพันธกันเชิงบวก
กลาวคือ ผูมีระดับการศึกษาที่สูงกวา มีอัตราการอาน
หนังสือสูงกวาผูมีการศึกษาระดับต่ํากวา
แผนภูมิ 13 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไป จําแนก
ตามการอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางาน
และระดับการศึกษาสูงสุด พ.ศ. 2554
2.4 การทํางาน
จากจํานวนประชากรอายุตั้งแต 15 ปขึ้นไป
ทั้งสิ้นประมาณ 54.0 ลานคน พบวามีผูอานหนังสือ
จํานวน 35.1 ลานคน หรือคิดเปนรอยละ 64.9 เมื่อ
จําแนกตามการทํางานในรอบปที่แลว พบวา อัตรา
การอานหนังสือของผูไมทํางานและผูทํางาน
ใกลเคียงกัน (รอยละ 65.2 และ 64.8 ตามลําดับ)
โดยผูหญิงมีอัตราการอานหนังสือสูงกวาผูชายเล็กนอย
ในกลุมผูทํางาน ซึ่งแตกตางจากกลุมผูไมทํางานที่
ผูชายมีอัตราการอานหนังสือสูงกวาผูหญิง
แผนภูมิ 14 อัตราการอานหนังสือของประชากรอายุตั้งแต 15 ป
ขึ้นไป จําแนกตามการทํางานในรอบปที่แลวพ.ศ.2554
เมื่อพิจารณาอัตราการอานหนังสือของผูทํางาน
ในรอบปที่แลว จําแนกตามอาชีพ พบวา ทหาร
ผูประกอบวิชาชีพดานตาง ๆ เจาหนาที่เทคนิคและ
ผูประกอบวิชาชีพที่เกี่ยวของกับดานตาง ๆ รวมทั้ง
เสมียน มีอัตราผูอานหนังสือมากกวารอยละ 90.0
ซึ่งสูงกวาผูทํางานอาชีพอื่น ๆ สวนอาชีพที่มีอัตรา
การอานต่ําที่สุด คือ ผูปฏิบัติงานที่มีฝมือใน
ดานการเกษตรและประมง (รอยละ 51.2)
แผนภูมิ 15 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาทํางานของผูทํางาน
อายุตั้งแต15ปขึ้นไปจําแนกตามอาชีพพ.ศ.2554
เมื่อเปรียบเทียบอัตราการอานหนังสือของ
ผูทํางานตามกลุมอุตสาหกรรมและสถานภาพ
การทํางาน พบวา ผูทํางานนอกภาคเกษตรกรรมมี
อัตราการอานหนังสือสูงกวาผูทํางานในภาคเกษตรกรรม
(รอยละ75.9และ50.8ตามลําดับ)ลูกจางรัฐวิสาหกิจ
และลูกจางรัฐบาลมีอัตราการอานหนังสือถึงรอยละ93.7
และ 92.4 ตามลําดับ ซึ่งสูงกวาผูที่มีสถานภาพ
การทํางานประเภทอื่น
ประถมศึกษา
ปริญญาตรี/สูงกวา
อนุปริญญา
มัธยมศึกษา
มัธยมศึกษา
กอนประถมศึกษา
ไมไดรับการศึกษา
รอยละ
อาน ไมอาน
ระดับการศึกษาสูงสุด
60.3
66.5
76.0
79.3
85.8
94.6
87.6
39.7
33.5
24.0
20.7
14.2
12.4
ตอนปลาย
ตอนตน
1000 20 40 60 80
5.4
65.2
64.864.9
69.1
64.2
65.1
62.9
65.6
64.7
0
10
20
30
40
50
60
70
รวม ผูทํางาน ผูไมทํางาน
รอยละ
รวม
ชาย
หญิง
98.3
51.2
53.5
67.4
74.3
74.7
89.7
92.5
92.8
96.6
0 20 40 60 80 100
ผูประกอบวิชาชีพดานตาง ๆ
เจาหนาที่เทคนิคและ
เสมียน
พนักงานบริการและขาย
ผูปฏิบัติงานที่มีฝมือดานการเกษตร
ชางฝมือและผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของ
ผูคุมเครื่องจักรโรงงาน เครื่องจักร
ผูประกอบอาชีพขั้นพื้นฐาน
รอยละ
ทหาร
อาชีพ
ผูประกอบวิชาชีพเกี่ยวของดานตาง ๆ
และผูบัญญัติกฎหมาย
ผูปฏิบัติงานดานการประกอบ
ในรานคาและตลาด
ปาไมและประมง
ผูจัดการ ขาราชการระดับอาวุโส
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 

The Reading of Population Survey 2011

  • 1.
  • 2.
  • 3. หนวยงานที่เผยแพร สํานักสถิติพยากรณ สํานักงานสถิติแหงชาติ ศูนยราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น 2 ถนนแจงวัฒนะ เขตหลักสี่ กทม. 10210 โทรศัพท 0 2141 7498 โทรสาร 0 2143 8132 ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส : services@nso.go.th Distributed by Statistical Forecasting Bureau National Statistical Office, The Government Complex, Building B, 2nd Floor, Chaeng Watthana Rd., Laksi, Bangkok 10210, THAILAND Tel. : + 66 2141 7498 Fax : + 66 2143 8132 E-mail : services@nso.go.th ปที่จัดพิมพ 2555 Published 2012
  • 4. คํานํา ผลการสํารวจเกี่ยวกับการอานหนังสือของประชากรนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางาน ซึ่งรวม การอานหนังสือทุกประเภท และการอานทางสื่ออิเล็กทรอนิกสอื่น ๆ เชน อินเทอรเน็ต ซีดี ฯลฯ ยกเวน SMS หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส (E-mail) พบประเด็นที่สําคัญดังนี้ เด็กเล็กอายุต่ํากวา 6 ป ที่อานเอง หรือผูใหญอานใหฟงมีรอยละ 53.5 เด็กผูหญิงมีอัตราการอานหนังสือมากกวาผูชายเล็กนอย (รอยละ 54.3 และ 52.7 ตามลําดับ) โดยเด็กเล็กในกรุงเทพมหานครมีอัตราการอานหนังสือสูงสุด (รอยละ 63.0) สวนผูที่มีอายุ 6 ปขึ้นไปมีอัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางานรอยละ 68.6 โดยผูชายมี อัตราการอานหนังสือสูงกวาผูหญิงเล็กนอย และกลุมวัยเด็กมีอัตราการอานหนังสือสูงกวาวัยอื่น รองลงมา คือ กลุมเยาวชน กลุมวัยทํางาน และกลุมวัยสูงอายุ และในการสํารวจครั้งนี้ผูที่มีอายุ 6 ปขึ้นไปไดให ขอเสนอแนะในการรณรงคใหคนรักการอานหนังสือในหลายประเด็นที่นาสนใจ เชน หนังสือควรมี ราคาถูกลง และมีเนื้อหาสาระนาสนใจ รวมทั้งควรมีหองสมุดประจําหมูบาน/ชุมชน เปนตน เมื่อเปรียบเทียบอัตราการอานหนังสือของประชากร ซึ่งสํารวจไวในป 2551 พบวา ประชากร มีอัตราการอานหนังสือเพิ่มขึ้น โดยจะเห็นไดชัดในกลุมเด็กเล็กอายุต่ํากวา 6 ปที่มีอัตราการอานหนังสือ เพิ่มขึ้นมาก คือ จากรอยละ 36.0 เปนรอยละ 53.5 สําหรับกลุมผูที่มีอายุ 6 ปขึ้นไปมีอัตราการอาน หนังสือเพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอย จากรอยละ 66.3 เปนรอยละ 68.6 ทั้งนี้อาจเนื่องจากมีการรณรงคสงเสริม การอานรวมกันหลายภาคสวน สืบเนื่องมาจากเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2552 คณะรัฐมนตรีไดอนุมัติใหการอาน เปนวาระแหงชาติ โดยกําหนดใหวันที่ 2 เมษายน ของทุกปเปนวันรักการอาน และป 2552 -2561 เปน ทศวรรษแหงการอาน
  • 5. 57.1 49.1 53.3 53.8 63.0 50.6 59.2 54.3 52.7 53.5 31.3 39.9 43.0 32.4 45.3 34.1 40.8 35.2 36.7 0 10 20 30 40 50 60 70 บทสรุปผูบริหาร สํานักงานสถิติแหงชาติ ดําเนินการสํารวจ การอานหนังสือของประชากรพ.ศ.2554โดยเก็บรวบรวม ขอมูลในระหวางเดือนพฤษภาคม-มิถุนายนพ.ศ.2554 จากจํานวนครัวเรือนตัวอยางประมาณ53,000ครัวเรือน การสํารวจที่ผานมาในป 2546 -2548 สํารวจ เฉพาะการอานหนังสือของประชากรที่มีอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไป และตั้งแตป 2551 ไดสํารวจเพิ่มเรื่อง การอานหนังสือของเด็กเล็ก(ผูที่มีอายุต่ํากวา6ป)ดวย ผลการสํารวจที่สําคัญในป 2554 สรุปไดดังนี้ 1. การอานหนังสือของเด็กเล็ก การอานหนังสือของเด็กเล็ก ในที่นี้หมายถึง การอานหนังสือของเด็กเล็กที่อานในชวงนอกเวลาเรียน ดวยตัวเอง และรวมทั้งที่ผูใหญอานใหฟงดวย 1.1 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน จากผลการสํารวจป 2554 พบวา เด็กเล็กมี อัตราการอานหนังสือรอยละ 53.5 เด็กผูหญิงมีอัตรา การอานหนังสือสูงกวาเด็กผูชายเล็กนอย (รอยละ 54.3 และรอยละ 52.7 ตามลําดับ) นอกจากนี้อัตราการอาน หนังสือของเด็กเล็กมีความแตกตางกันระหวาง เขตการปกครองและภาค โดยในเขตเทศบาลมีอัตรา การอานหนังสือสูงกวานอกเขตเทศบาล เด็กเล็กใน กรุงเทพมหานครมีอัตราการอานหนังสือสูงสุด (รอยละ63.0) ขณะที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเด็กเล็ก มีอัตราการอานหนังสือต่ําสุด (รอยละ 49.1) เมื่อเปรียบเทียบกับการสํารวจป 2551 พบวา เด็กเล็กเกินครึ่งหนึ่ง (รอยละ 53.5) มีการอานหนังสือ นอกเวลาเรียนโดยมีอัตราการอานเพิ่มขึ้นรอยละ17.5 เด็กหญิงมีอัตราการอานหนังสือเพิ่มขึ้นมากกวา เด็กผูชาย เด็กเล็กที่อาศัยในเขตเทศบาลและภาคกลาง มีอัตราการอานหนังสือเพิ่มขึ้นมากกวาพื้นที่อื่น แผนภูมิ 1 อัตราการอานหนังสือของเด็กเล็กนอกเวลาเรียน1/ จําแนกตามเพศเขตการปกครองและภาคพ.ศ.2551และ2554 การอานหนังสือ หมายถึง การอานหนังสือทุกประเภทนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางาน รวมทั้งการอานทางสื่ออิเล็กทรอนิกสอื่น ๆ เชน อินเทอรเน็ต ซีดี ฯลฯ ยกเวน SMS หรือ จดหมายอิเล็กทรอนิกส (E-mail) ตะวันออกเฉียงเหนือ ทั่วราชอาณาจักร ชาย หญิง ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล กรุงเทพมหานคร กลาง เหนือ ใต 36.0 รอยละ 2551 2554 1/ อัตราการอานหนังสือหมายถึงรอยละของจํานวนประชากรที่อานหนังสือ ตอจํานวนประชากรทั้งสิ้นในแตละกลุม
  • 6. 77.2 64.1 84.2 71.3 65.9 63.0 69.7 0 20 40 60 80 100 68.8 67.5 71.6 64.8 68.4 65.166.7 57.7 68.666.369.1 61.2 0 10 20 30 40 50 60 70 80 1.2 ความถี่ของการอานหนังสือนอกเวลาเรียน เด็กเล็กที่อานหนังสือมีประมาณ 2.7 ลานคน ในจํานวนนี้เปนผูที่อานหนังสือสัปดาหละ 2 – 3 วัน มากที่สุด(รอยละ 42.0) รองลงมาคือ อานทุกวันและ อานสัปดาหละ 4 – 6 วัน ใกลเคียงกัน (รอยละ 22.0 และ19.7ตามลําดับ)และพบวามีเด็กเล็กที่อานหนังสือ แตอานนาน ๆ ครั้งอยูรอยละ 6.2 เด็กเล็กมีความถี่ในการอานหนังสือเพิ่มขึ้นคือ เด็กเล็กที่อานอยางนอย 1 วันตอสัปดาหมีเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่รอยละของเด็กเล็กที่อานนาน ๆ ครั้ง มีแนวโนมลดลง แผนภูมิ 2 รอยละของเด็กเล็กที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน จําแนกตาม ความถี่ของการอานหนังสือ พ.ศ. 2551 และ 2554 18.5 22.0 17.3 19.7 39.6 42.0 9.7 10.114.9 6.2 0 20 40 60 80 100 2. การอานหนังสือของประชากร(อายุตั้งแต6ปขึ้นไป) 2.1 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลา ทํางาน จากผลการสํารวจป 2554 พบวา คนไทยอายุ ตั้งแต 6 ปขึ้นไป มีอัตราการอานหนังสือรอยละ 68.6 ผูชายมีอัตราการอานหนังสือสูงกวาผูหญิงเล็กนอย (รอยละ68.8 และ 68.4 ตามลําดับ)และเมื่อเปรียบเทียบ กับการสํารวจที่ผานมา พบวา อัตราการอานหนังสือ เพิ่มขึ้นเล็กนอยจากป 2551 ทั้งผูชายและผูหญิง แผนภูมิ 3 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางาน ของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไป จําแนกตามเพศ พ.ศ. 2546 – 2554 เมื่อพิจารณาอัตราการอานหนังสือตาม เขตการปกครองและภาค พบวา ประชากรที่อาศัยอยู ในเขตเทศบาลมีอัตราการอานหนังสือสูงกวา นอกเขตเทศบาล (รอยละ 77.2 และ 64.1 ตามลําดับ) กรุงเทพมหานคร มีอัตราการอานหนังสือสูงที่สุด (รอยละ 84.2) และภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีอัตรา การอานหนังสือต่ําสุด (รอยละ 63.0) แผนภูมิ 4 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางานของ ประชากรอายุตั้งแต 6ปขึ้นไป จําแนกตามเขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2554 รอยละ รวม ชาย หญิง 2546 2548 2551 พ.ศ. รอยละ นอกเขต เทศบาล กรุงเทพ กลาง เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต ทั่วราชอาณาจักร รอยละ 68.6 ในเขต เทศบาล มหานคร 2554 ทุกวัน สัปดาหละ 1 วัน สัปดาหละ 2-3 วัน สัปดาหละ 4-6 วัน นาน ๆ ครั้ง รอยละ พ.ศ. 2551 2554
  • 7. 2.2 อายุ การอานหนังสือของประชากรมีความแตกตางกัน ตามวัย กลุมวัยเด็กมีอัตราการอานหนังสือสูงสุดถึง รอยละ 91.6 รองลงมาคือ กลุมเยาวชน กลุมวัยทํางาน และต่ําสุดคือ กลุมวัยสูงอายุ (รอยละ 78.6 65.7 และ 44.3ตามลําดับ)และเมื่อเปรียบเทียบระหวางการสํารวจ ที่ผานมา พบวา ป 2554 การอานหนังสือของประชากร เกือบทุกกลุมวัย มีอัตราการอานหนังสือเพิ่มขึ้นจาก ป2551 มีเพียงกลุมเยาวชนเทานั้นที่มีอัตราการอานคงที่ แผนภูมิ 5 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางานของ ประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไป จําแนกตามกลุมวัย พ.ศ. 2546 – 2554 2.3 ระดับการศึกษา จากผลการสํารวจ พบวา การศึกษาและอัตรา การอานหนังสือ มีความสัมพันธกันเชิงบวก กลาวคือ ผูมีระดับการศึกษาที่สูงกวา มีอัตราการอานหนังสือสูง กวาผูมีการศึกษาระดับต่ํากวา แผนภูมิ 6 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6ปขึ้นไป จําแนกตาม การอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางาน และ ระดับการศึกษาสูงสุดพ.ศ. 2554 2.4 ประเภทของหนังสือที่อานนอกเวลาเรียน/ นอกเวลาทํางาน หนังสือพิมพเปนประเภทของหนังสือที่มีผูอาน สูงสุด คือ รอยละ 63.4 รองลงมาคือ ตํารา/หนังสือ/ เอกสารที่ใหความรู นวนิยาย/การตูน/หนังสืออานเลน นิตยสาร และแบบเรียน/ตําราเรียนตามหลักสูตรซึ่งมี สัดสวนใกลเคียงกันคือรอยละ 32.4 - 36.6 สําหรับ วารสาร/เอกสารประเภทอื่นๆที่ออกเปนประจํา และ หนังสือ/เอกสารเกี่ยวกับคําสอนทางศาสนา มีผูอาน นอยกวารอยละ30(รอยละ29.7และ 27.2ตามลําดับ) และหนังสือประเภทอื่น ๆ มีผูอานเพียงรอยละ 2.0 คนที่มีวัยแตกตางกัน มีความสนใจเลือก ประเภทหนังสือที่อานแตกตางกัน โดยวัยเด็กอาน แบบเรียน/ตําราเรียนตามหลักสูตรสูงสุดรอยละ 93.4 รองลงมาคือนวนิยาย/การตูน/หนังสืออานเลน สําหรับ วัยเยาวชนและวัยทํางานสวนใหญอานหนังสือพิมพ แตลําดับรองลงมา มีความแตกตางกันคือวัยเยาวชน ชอบอานนวนิยาย/การตูน/หนังสืออานเลนตาง ๆ และแบบเรียน/ตําราเรียนตามหลักสูตร สวนวัยทํางาน ชอบอานนิตยสาร สําหรับวัยสูงอายุสวนใหญอาน หนังสือ/เอกสารเกี่ยวกับคําสอนทางศาสนา รองลงมา คือ หนังสือพิมพ 68.6 91.6 78.6 44.3 61.2 69.1 66.3 81.587.784.5 78.683.180.4 65.0 54.3 64.3 65.7 39.3 37.4 24.4 0 20 40 60 80 100 รอยละ 2546 2548 2551 พ.ศ. ประถมศึกษา ปริญญาตรี/สูงกวา อนุปริญญา มัธยมศึกษาตอนปลาย มัธยมศึกษาตอนตน กอนประถมศึกษา ไมไดรับการศึกษา 94.6 85.8 79.3 76.0 66.5 60.3 12.4 5.4 14.2 20.7 24.0 33.5 39.7 87.6 รอยละ อาน ไมอาน 2554 รวม วัยเด็ก (6-14 ป) วัยเยาวชน (15-24 ป) วัยทํางาน (25-59 ป) วัยสูงอายุ (60 ปขึ้นไป) ระดับการศึกษาสูงสุด 0 20 40 60 80 100
  • 8. 0 10 20 30 40 50 60 ตาราง 1 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไปที่อานหนังสือ นอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางาน จําแนกตามประเภท ของหนังสือที่อาน และกลุมวัย พ.ศ. 2554 1/ ตอบไดมากกวา 1 ประเภท 2.5 ประเภทเนื้อหาสาระของหนังสือที่อานนอกเวลา เรียน/นอกเวลาทํางาน เนื้อหาสาระที่ผูอานหนังสือชอบอานมากที่สุด คือ ขาว รองลงมาคือ สารคดี/ความรูทั่วไป บันเทิง และความรูวิชาการ (รอยละ 48.0 39.2 35.1 และ 27.8 ตามลําดับ) สวนเนื้อหาสาระประเภทความคิดเห็น/ วิเคราะห โฆษณา และอื่น ๆ มีผูอานเพียงเล็กนอย แผนภูมิ 7 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไปที่อานหนังสือ นอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางาน จําแนกตามประเภท เนื้อหาสาระของหนังสือที่อาน1/ พ.ศ.2554 2.6 เวลาเฉลี่ยที่ใชอานหนังสือนอกเวลาเรียน/ นอกเวลาทํางาน สําหรับผูอานหนังสือที่มีอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไป ทั้งหมด ใชเวลาอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลา ทํางานเฉลี่ย 35 นาทีตอวัน โดยกลุมเด็กและเยาวชน ใชเวลาอานหนังสือฯเฉลี่ย39-43นาทีตอวันมากกวา กลุมวัยทํางานและสูงอายุที่ใชเวลาอานหนังสือฯ เฉลี่ย ประมาณ 31 - 32 นาทีตอวัน เมื่อเปรียบเทียบกับป 2551 พบวา กลุมเด็กที่ อานหนังสือใชเวลาอานเพิ่มขึ้นเล็กนอย ในขณะที่ กลุมวัยอื่นใชเวลาอานหนังสือลดลง แผนภูมิ 8 เวลาที่ใชอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางาน เฉลี่ยตอวันของประชากรอายุตั้งแต 6ปขึ้นไปที่อาน หนังสือ จําแนกตามกลุมวัยพ.ศ.2551 และ2554 2.7 วิธีการรณรงคใหคนรักการอานหนังสือ จากการสํารวจความคิดเห็นของประชากรที่มี อายุตั้งแต 6 ปขึ้นไป เกี่ยวกับวิธีการรณรงคใหคนรัก การอานหนังสือพบวาวิธีการรณรงคที่ไดรับการเสนอแนะ มากที่สุด 5 ลําดับแรกคือ หนังสือควรมีราคาถูกลง (รอยละ 31.3) หนังสือควรมีเนื้อหาสาระนาสนใจ (รอยละ21.8) ควรมีหองสมุดประจําหมูบานหรือชุมชน (รอยละ 20.5) สงเสริมใหพอแมปลูกฝงใหเด็กรัก การอานหนังสือ (รอยละ 17.8) และรูปเลมกะทัดรัด/ ปกสวยงามนาอาน/มีรูปภาพประกอบ (รอยละ 13.3) ขาว บันเทิงสารคดี/ ความรูทั่วไป ความรู วิชาการ ความคิดเห็น/ วิเคราะห โฆษณา อื่น ๆ 48.0 39.2 35.1 27.8 3.6 1.5 0.3 รอยละ 46 37 393839 43 31 32 39 35 0 10 20 30 40 50 รวม (6-14 ป) วัยเยาวชน (15-24 ป) วัยทํางาน (25-59 ป) วัยสูงอายุ กลุมวัย (60 ปขึ้นไป) เวลา (นาที) 2551 2554 1/ ตอบไดไมเกิน 2 ประเภท ประเภทของหนังสือ ที่อาน รวม วัยเด็ก วัยเยาวชน วัยทํางาน วัยสูงอายุ (6 – 14 ป) (15 – 24 ป) (25 – 59 ป) (60 ปขึ้นไป) รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 (42,925,164) (7,867,638) (8,173,565) (23,223,671) (3,660,290) หนังสือพิมพ 63.4 17.1 63.8 80.5 53.9 ตํารา/หนังสือ/เอกสาร 36.6 47.3 50.3 30.9 19.2 ที่ใหความรู นวนิยาย/การตูน/ 35.8 65.3 56.5 23.0 7.1 หนังสืออานเลนตาง ๆ นิตยสาร 35.6 12.0 49.6 41.8 15.7 แบบเรียน/ตําราเรียน 32.4 93.4 56.4 8.1 2.0 ตามหลักสูตร วารสาร/เอกสารประเภทอื่นๆ 29.7 12.5 34.1 35.1 22.2 ที่ออกเปนประจํา หนังสือ/เอกสารเกี่ยวกับ 27.2 13.0 15.1 29.0 72.8 คําสอนทางศาสนา อื่น ๆ 2.0 1.2 3.1 2.0 1.1 กลุมวัย 1/ วัยเด็ก
  • 9. สารบัญแผนภูมิ แผนภูมิ 1 อัตราการอานหนังสือของเด็กเล็กนอกเวลาเรียนจําแนกตามเพศ เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2551 และ 2554 แผนภูมิ 2 รอยละของเด็กเล็กที่มีผูใหญอานหนังสือใหฟงจําแนกตามเหตุผลที่ผูใหญ อานหนังสือใหฟง พ.ศ. 2554 แผนภูมิ 3 รอยละของเด็กเล็กที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน จําแนกตามความถี่ ของการอานหนังสือพ.ศ.2551และ2554 แผนภูมิ 4 เวลาที่ใชอานหนังสือนอกเวลาเรียนเฉลี่ยตอวันของเด็กเล็กที่อานหนังสือ จําแนกตามเพศ เขตการปกครอง และภาค พ.ศ.2554 แผนภูมิ 5 รอยละของเด็กเล็กที่อานหนังสือนอกเวลาเรียนจําแนกตามการซื้อหนังสือให เด็กเล็กในรอบปที่แลว และผูเลือกหนังสือ พ.ศ. 2554 แผนภูมิ 6 รอยละของเด็กเล็กที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน จําแนกตามจํานวนหนังสือ ที่ซื้อในรอบปที่แลว เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2554 แผนภูมิ 7 รอยละของเด็กเล็กที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน จําแนกตามคาใชจายสําหรับ ซื้อหนังสือใหเด็กเล็กเฉลี่ยตอเดือน เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2554 แผนภูมิ 8 รอยละของเด็กเล็กที่ไมอานหนังสือนอกเวลาเรียน จําแนกตามสาเหตุที่ เด็กเล็กไมอานหนังสือ พ.ศ. 2554 แผนภูมิ 9 รอยละของเด็กเล็กที่ไมอานหนังสือนอกเวลาเรียนจําแนกตามสาเหตุที่ ผูใหญไมอานหนังสือใหเด็กเล็กฟง 5 ลําดับแรก พ.ศ. 2554 แผนภูมิ 10 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางานของประชากรอายุ ตั้งแต 6 ปขึ้นไป จําแนกตามเพศ พ.ศ. 2546 - 2554 แผนภูมิ 11 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางานของประชากรอายุ ตั้งแต 6 ปขึ้นไป จําแนกตามเขตการปกครอง และภาคพ.ศ. 2554 แผนภูมิ 12 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางานของประชากรอายุ ตั้งแต 6 ปขึ้นไป จําแนกตามกลุมวัย พ.ศ. 2546 – 2554 แผนภูมิ 13 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไป จําแนกตามการอานหนังสือ นอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางานและระดับการศึกษาสูงสุด พ.ศ. 2554
  • 10. สารบัญแผนภูมิ (ตอ) แผนภูมิ 14 อัตราการอานหนังสือของประชากรอายุตั้งแต15ปขึ้นไปจําแนกตาม การทํางานในรอบปที่แลว พ.ศ. 2554 แผนภูมิ 15 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาทํางานของผูทํางานอายุตั้งแต 15 ปขึ้นไป จําแนกตามอาชีพ พ.ศ. 2554 แผนภูมิ 16 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาทํางานของผูทํางานอายุตั้งแต15ปขึ้นไป จําแนกตามกลุมอุตสาหกรรมและสถานภาพการทํางาน พ.ศ. 2554 แผนภูมิ 17 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไปที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลา ทํางานจําแนกตามประเภทหนังสือที่อานและความถี่ของการอานหนังสือพ.ศ. 2554 แผนภูมิ 18 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไปที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน/ นอกเวลาทํางานจําแนกตามประเภทเนื้อหาสาระของหนังสือที่อาน พ.ศ. 2554 แผนภูมิ 19 เวลาที่ใชอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางานเฉลี่ยตอวัน ของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไปที่อานหนังสือ จําแนกตามเพศ กลุมวัย เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2554 แผนภูมิ 20 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไปที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน/ นอกเวลาทํางานจําแนกตามประเภทหองสมุดที่ไปใชบริการยืมหรือ อานหนังสือพ.ศ. 2554 แผนภูมิ 21 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไปที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน/ นอกเวลาทํางานจําแนกตามจํานวนหนังสือที่ซื้อในรอบปที่แลว พ.ศ. 2554 แผนภูมิ 22 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไปที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน/ นอกเวลาทํางาน จําแนกตามคาใชจายในการซื้อหนังสือเฉลี่ยตอเดือน เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2554
  • 11. สารบัญตาราง ตาราง 1 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไปที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน/ นอกเวลาทํางาน จําแนกตามประเภทของหนังสือที่อานและกลุมวัยพ.ศ. 2554 ตาราง 2 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไปที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน/ นอกเวลาทํางาน จําแนกตามประเภทเนื้อหาสาระของหนังสือที่อาน และกลุมวัยพ.ศ. 2554 ตาราง 3 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไปที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน/ นอกเวลาทํางาน จําแนกตามสถานที่อานหนังสือ และกลุมวัย พ.ศ. 2554 ตาราง 4 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไปที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน/ นอกเวลาทํางานจําแนกตามเหตุผลที่อานหนังสือ และกลุมอายุพ.ศ. 2554 ตาราง 5 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6ปขึ้นไปที่ไมอานหนังสือนอกเวลาเรียน/ นอกเวลาทํางานจําแนกตามสาเหตุที่ไมอานหนังสือและกลุมอายุพ.ศ. 2554
  • 12. บทที่ 1 บทนํา 1. ความเปนมา เนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายสงเสริมให ประชาชนรักการอานอยางจริงจัง และเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2552 มีมติคณะรัฐมนตรีใหการสงเสริม การอานเปนวาระแหงชาติ โดยกําหนดใหวันที่ 2 เมษายนของทุกปเปนวันรักการอาน และในป 2552-2561 เปนทศวรรษแหงการอานของประเทศ รวมทั้งใหมีคณะกรรมการสงเสริมการอานเพื่อสราง สังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิต ดังนั้นจึงมีความจําเปน ตองการทราบขอมูลสถิติเกี่ยวกับพฤติกรรมการอาน หนังสือของประชากร สําหรับนําไปใชกําหนด ทิศทางและมาตรการตางๆ ของหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อใหเปนไปตามนโยบายขางตน สํานักงานสถิติ แหงชาติ ไดจัดทําโครงการสํารวจการอานหนังสือ ของประชากรมาแลว 3 ครั้ง ในป 2546 2548 และ 2551 และการสํารวจ ป 2554 นี้นับเปนครั้งที่ 4 เพื่อใหมีขอมูลสําหรับใชพัฒนาและสงเสริมให ประชาชนรักการอาน ตลอดจนติดตามประเมินผล การดําเนินงานเรื่องดังกลาว ซึ่งมีความจําเปนและ สําคัญยิ่ง เนื่องจากการอานหนังสือทําใหผูอานมี ความรอบรู เปนการเพิ่มพูนศักยภาพในการดําเนินชีวิต และการทํางาน สามารถเรียนรูไดตลอดชีวิต จึง นับเปนการพัฒนาทรัพยากรมนุษยที่สําคัญอยางหนึ่ง ซึ่งสงผลตอการพัฒนาประเทศโดยตรง 2. วัตถุประสงค เพื่อเก็บรวบรวมขอมูลดังตอไปนี้ 1. จํานวนผูอานหนังสือและไมอานหนังสือ พรอมทั้งลักษณะทางประชากร 2. รายละเอียดเกี่ยวกับการอานหนังสือ เชน ประเภทหนังสือที่อาน ความถี่ในการอาน เวลาที่ใชอาน หนังสือเฉลี่ยตอวัน สถานที่ที่อาน เปนตน 3. ความคิดเห็นในเรื่องของวิธีการจูงใจให ประชาชนรักการอานหนังสือ 3. ประโยชน 1. เพื่อใหมีขอมูลสถิติพื้นฐานเรื่องการอาน หนังสือของประชากร 2. เพื่อใหหนวยงานภาครัฐและเอกชนที่ เกี่ยวของนําขอมูลไปใชกําหนดนโยบาย และสงเสริม การอานหนังสือใหมากขึ้น และเหมาะสม เชน • ทําการรณรงคหรือจัดการสงเสริมการอาน ในรูปแบบที่เหมาะสมกับกลุมวัย • จัดหาหนังสือที่มีเนื้อหาสาระสอดคลอง กับความตองการของประชาชน • จัดหาสถานที่อานหนังสือใหแพรหลายและ เพียงพอกับประชาชนในทองที่ตาง ๆ 4. ขอบขายของการสํารวจ ครัวเรือนที่อยูในขอบขายของการสํารวจ ไดแก ครัวเรือนสวนบุคคล ทั้งในเขตเทศบาลและนอกเขต เทศบาลทั่วประเทศ 5. เวลาอางอิง ในรอบ 12 เดือนที่แลว หมายถึง ระยะเวลานับจากเดือนกอนเดือน สัมภาษณยอนหลังไป 12 เดือน เชน เดือนที่สัมภาษณ คือ พฤษภาคม 2554 “ในรอบ 12 เดือนที่แลว” คือ พฤษภาคม 2553 – เมษายน 2554
  • 13. 6. รายการขอมูลที่เก็บรวบรวม 1.ลักษณะทั่วไปของสมาชิกในครัวเรือน 2.การอานหนังสือของเด็กเล็ก(อายุต่ํากวา6ป) 3. การอานหนังสือของประชากร (อายุตั้งแต 6 ปขึ้นไป) 4. สภาพที่อยูอาศัยและการเปนเจาของทรัพยสิน 7. ระเบียบวิธีการสํารวจ สํารวจนี้เปนการสํารวจดวยตัวอยาง (Sample Survey Method) โดยใชแผนการสุมตัวอยางแบบ Stratified Two Stage Sampling โดยมีจังหวัดเปน สตราตัม (Stratum) ซึ่งมีทั้งสิ้น 76 สตราตัม และใน แตละสตราตัม (จังหวัด) ไดแบงออกเปน 2สตราตัมยอย ตามลักษณะการปกครองคือในเขตเทศบาลและนอกเขต เทศบาล โดยมีชุมรุมอาคาร (สําหรับในเขตเทศบาล) และหมูบาน (สําหรับนอกเขตเทศบาล) เปนตัวอยาง ขั้นที่หนึ่ง ครัวเรือนสวนบุคคลเปนตัวอยางขั้นที่สอง ซึ่งมีจํานวนครัวเรือนตัวอยางทั้งสิ้น 53,000ครัวเรือน การเก็บรวบรวมขอมูล โดยใหเจาหนาที่ของ สํานักงานสถิติแหงชาติ ไปสัมภาษณสมาชิกของ ครัวเรือนตัวอยางในเดือนพฤษภาคม และมิถุนายน พ.ศ. 2554 8. คํานิยาม 8.1 การอานหนังสือ หมายถึง การอานหนังสือทุกประเภทนอกเวลา เรียน/นอกเวลาทํางาน แตรวมการอานในชวงเวลาพัก การอานหนังสือรวมทั้งการอานทางสื่ออิเล็กทรอนิกส อื่น ๆ เชน อินเทอรเน็ต ซีดี e-book reader ฯลฯ ยกเวน SMS หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส (E-mail) สําหรับการอานหนังสือของเด็กเล็ก (อายุต่ํากวา 6ป) ในที่นี้หมายถึงการอานหนังสือในชวงนอกเวลาเรียน ซึ่งเด็กเล็กอานดวยตนเอง รวมทั้งการที่ผูใหญอาน หนังสือใหฟงดวย 8.2 หนังสือพิมพ หมายถึง สิ่งพิมพที่ออกเปนระยะ ๆ อยาง สม่ําเสมอ มีเนื้อหาสวนใหญเปนเรื่องเกี่ยวกับขาว และสถานการณปจจุบัน มักจะออกเปนรายวัน แต อาจออกเปนราย2วัน5วัน7วัน10วันหรืออื่นๆก็ได แตไมทิ้งชวงนานเกินไป ไมเย็บเลม และไมมีปก ขนาดของหนังสือพิมพ มีขนาดไมแนนอน สวนใหญมีขนาดประมาณ 40 X 55 ซม. 8.3 นิตยสาร หมายถึง สิ่งพิมพที่ออกเปนระยะ ๆ อยาง สม่ําเสมอ สวนใหญจะออกเปนรายสัปดาห รายปกษ หรือรายเดือน มักจะมีขนาดเล็กกวาหนังสือพิมพ มีปก เย็บเลม มีการจัดหนา โดยใชสีสันและรูปภาพสวยงาม พิถีพิถันกวาหนังสือพิมพ เนื้อหาอาจเกี่ยวกับขาวสาร ความรู สารคดี นิยาย หรืออื่น ๆ 8.4 วารสารหรือเอกสารประเภทอื่น ๆ ที่ออก เปนประจํา หมายถึง สิ่งพิมพที่ออกเปนประจําแตมีรูปราง ลักษณะที่ไมสามารถจัดประเภทเปนหนังสือพิมพหรือ นิตยสารได วารสารสวนใหญมักจะมีเนื้อหาทางวิชาการ แตอาจมีวารสารบางประเภทที่เนนในเรื่องขาว และ ความคิดเห็นแตไมมีการตกแตงรูปเลมเหมือนนิตยสาร วารสาร สวนใหญจะมีคําวา “วารสาร” นําหนาชื่อหนังสือ และเนื้อหาจะหนักกวานิตยสาร ตัวอยางหนังสือวารสาร เชน วารสารขาราชการ วารสารที่ดิน วารสารบริหารธุรกิจ เปนตน สวนเอกสารประเภทอื่น ๆ ที่ออกเปนประจํา อาจออกมาในลักษณะของแผนพับ แผนปลิว จุลสาร (Bulletin) จดหมายขาว(Newsletter)หรืออื่นๆ สวนใหญ จะจัดทําโดยสถาบันหรือองคการตาง ๆ โดยมีวัตถุประสงค เพื่อการประชาสัมพันธ หรือสงเสริมกิจกรรมของ หนวยงานนั้นโดยเฉพาะ เชน สารสถิติ สารผูใหญ
  • 14. ขาวสารการเกษตร ขาวสารการบินพาณิชย จุลสาร การทองเที่ยวจุลสารดาวเทียมจดหมายขาวไทยคดีศึกษา เปนตน 8.5 นวนิยาย การตูน หรือหนังสืออานเลนตาง ๆ หมายถึง สิ่งพิมพที่มักออกไมมีระยะเวลาที่ แนนอน มุงใหอานเพื่อความเพลิดเพลินใจ เชน หนังสือนวนิยาย นิทาน การตูน เปนตน หนังสือนวนิยายหรือเรื่องอานเลนตาง ๆ ในที่นี้ ตองพิมพเปนเลม ไมใชนวนิยายหรือเรื่องอานเลนที่ พิมพเปนตอน ๆ ในหนังสือประเภทอื่น ตัวอยางหนังสือ นวนิยายเชนเพชรพระอุมาคาของคน คูกรรมเปนตน หนังสือการตูน ไดแก ขายหัวเราะ และ การตูนญี่ปุน เปนตน 8.6 แบบเรียนหรือตําราเรียนตามหลักสูตรหรือ เอกสาร/หนังสือ/คูมือที่อานเพิ่มเติมเพื่อสอบ หรือการเรียน หมายถึง สิ่งพิมพ หนังสือ หรือตําราที่ โรงเรียนมหาวิทยาลัย หรือสถาบันการศึกษากําหนดให ใชในการเรียนการสอนตามหลักสูตร รวมทั้ง เอกสาร หนังสือ หรือคูมือที่ใชอานเพิ่มเติมเพื่อสอบหรือ การเรียนดวย เชน คูมือเตรียมสอบ หนังสือแนวขอสอบ และหนังสือประกอบการเรียนพิเศษ เปนตน 8.7 ตํารา หนังสือ หรือเอกสารที่ใหความรูตาง ๆ ความรูทั่วไป หมายถึง สิ่งพิมพหรือเอกสารที่มุงใหความรู ตาง ๆ แกผูอานเปนประการสําคัญ สวนใหญมักจะ ออกในลักษณะของหนังสือ (Book) มีการเย็บเลม ไมรวมแบบเรียนหรือตําราเรียนตามหลักสูตร หรือ เอกสาร/หนังสือ/คูมือเพิ่มเติมเพื่อสอบหรือการเรียน ตํารา หนังสือ หรือเอกสารที่ใหความรู ในที่นี้ ตองใชในวัตถุประสงคอานเพื่อใหมีความรูทั่ว ๆ ไป เพื่อเสริมความรู ไมใชมุงเพื่อสอบหรือการเรียน 8.8 หนังสือหรือเอกสารเกี่ยวกับคําสอนทางศาสนา หมายถึง หนังสือหรือเอกสารที่นําเสนอเรื่อง เกี่ยวกับหลักหรือคําสอนทางศาสนา หลักการปฏิบัติ ทางศาสนา ประวัติบุคคลสําคัญทางศาสนา และเรื่องเลา ทางศาสนา 8.9 ขาว หมายถึง การรายงานเหตุการณปจจุบันหรือ ขาวสารที่นาสนใจ เพื่อใหประชาชนไดรับทราบ ขาวสารที่เสนอ โดยลักษณะของขาวนั้นจะตองเปน ขอมูล ขอเท็จจริงหรือเรื่องราวใหม ๆ และทันตอเวลา โดยเฉพาะอยางยิ่งในทัศนะของผูรับสาร การเสนอขาว อาจใชการพูด การเขียนการใชภาพแถบบันทึกวีดีทัศน หรือภาพยนตร หรือสื่ออื่น ๆ ที่สามารถเขาถึงประชาชน ไดอยางทั่วถึง ทั้งนี้ตองไมมีการแสดงความคิดเห็นใน การเสนอขาว ขาวอาจจําแนกเปน ขาวที่นาสนใจทั่ว ๆ ไป ในประเทศ ขาวในประเทศ ขาวตางประเทศและ ขาวระหวางประเทศ ขาวและความเคลื่อนไหวใน วงการกีฬา ความเคลื่อนไหวในวงการธุรกิจบันเทิง และขาวประเภทอื่น ๆ 8.10 สารคดีหรือความรูทั่วไป หมายถึง เนื้อหาที่เกี่ยวกับความรูหรือสารคดี โดยมีจุดประสงคใหผูอานไดรับความรูในเรื่องตาง ๆ ไดแก ความรูเกี่ยวกับการเมืองการปกครองการดําเนินงาน ของรัฐ เศรษฐกิจ การประกอบอาชีพ ศาสนา จริยศึกษา สุขภาพ อนามัย ศิลปะ วัฒนธรรม ประวัติศาสตร รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวของกับเด็ก สตรี และแมบาน
  • 15. 8.11 ความคิดเห็นหรือวิเคราะห หมายถึง บทความ บทบรรณาธิการ หรือ ขอเขียนแบบอื่น ๆ ที่แสดงทัศนะหรือความคิดเห็น ตลอดจนการวิเคราะหวิจารณในเรื่องตาง ๆ เชน แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเมือง การปกครอง การดําเนินงานของรัฐ เศรษฐกิจ การประกอบอาชีพ ศาสนา จริยศึกษา สุขภาพ อนามัย ศิลปะ วัฒนธรรม ประวัติศาสตร รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวของกับเด็ก สตรี และ แมบาน นอกจากนี้ยังรวมถึงบทความที่เสนอความคิดเห็น วิพากษ วิจารณเกี่ยวกับเรื่องทั่วๆไปเชนการพยากรณ ชีวิต การวิเคราะหขาวและเหตุการณตางประเทศ การวิเคราะหและวิจารณขาวแบบชาวบาน เปนตน 8.12 บันเทิง หมายถึง เนื้อหาที่มีจุดมุงหมายใหผูอานไดรับ ความเพลิดเพลิน แบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1) แสดงดวยภาพไดแก ภาพเขียนหรือภาพถาย เชน การตูนสําหรับเด็ก ภาพลอทางการเมือง เปนตน 2) บรรยายดวยขอเขียน ไดแก เรื่องสนุก ๆ เชน นวนิยาย เรื่องแปล เรื่องสั้น เปนตน 8.13 ธุรกิจหรือโฆษณา หมายถึง เนื้อหาที่เกี่ยวของกับธุรกิจการคา อุตสาหกรรม รวมถึงขาวเพื่อการเผยแพร และ การประชาสัมพันธ (Publicity and public relations) และเนื้อหาที่เปนประกาศสรรพคุณ คุณภาพ หรือ คุณประโยชนของสินคาและบริการ (Advertisements)
  • 16. 57.1 49.1 53.3 53.8 63.0 50.6 59.2 54.3 52.7 53.5 31.3 39.9 43.0 32.4 45.3 34.1 40.8 35.2 36.7 0 10 20 30 40 50 60 70 บทที่ 2 สรุปผลการสํารวจ การสํารวจการอานหนังสือของประชากร พ.ศ. 2554 เปนการเก็บรวบรวมขอมูล เกี่ยวกับการอานหนังสือ ทุกประเภทเฉพาะนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางานของ ประชากร รวมทั้งการอานทางสื่ออิเล็กทรอนิกส อื่น ๆ เชน อินเทอรเน็ต ซีดี ฯลฯ ยกเวน SMS หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส (E-mail) การสํารวจที่ผานมาในป 2546 - 2548 สํานักงาน สถิติแหงชาติ สํารวจเฉพาะการอานหนังสือของ ประชากรที่มีอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไป และตั้งแตป 2551 ไดสํารวจเพิ่มเรื่องการอานหนังสือของเด็กเล็ก (ผูที่มี อายุต่ํากวา 6 ป) ดวย ผลการสํารวจที่สําคัญในป 2554 สรุปไดดังนี้ 1. การอานหนังสือของเด็กเล็ก การอานหนังสือของเด็กเล็ก ในที่นี้หมายถึง การอานหนังสือของเด็กเล็กที่อานในชวงนอกเวลาเรียน ดวยตัวเอง และรวมทั้งที่ผูใหญอานใหฟงดวย 1.1 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน จากผลการสํารวจป 2554 พบวา เด็กเล็กมี อัตราการอานหนังสือรอยละ 53.5 เด็กผูหญิงมีอัตรา การอานหนังสือสูงกวาเด็กผูชายเล็กนอย (รอยละ 54.3 และรอยละ 52.7 ตามลําดับ) นอกจากนี้อัตราการอาน หนังสือของเด็กเล็กมีความแตกตางกันระหวาง เขตการปกครองและภาค โดยในเขตเทศบาลมีอัตรา การอานหนังสือสูงกวานอกเขตเทศบาล เด็กเล็กใน กรุงเทพมหานครมีอัตราการอานหนังสือสูงสุด (รอยละ 63.0) ขณะที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เด็กเล็กมี อัตราการอานหนังสือต่ําสุด (รอยละ 49.1) เมื่อเปรียบเทียบกับการสํารวจป 2551 พบวา เด็กเล็กเกินครึ่งหนึ่ง (รอยละ 53.5) มีการอานหนังสือ นอกเวลาเรียน โดยมีอัตราการอานเพิ่มขึ้นรอยละ 17.5 เด็กหญิงมีอัตราการอานหนังสือเพิ่มขึ้นมากกวา เด็กผูชาย เด็กเล็กที่อาศัยในเขตเทศบาลและภาคกลาง มีอัตราการอานหนังสือเพิ่มขึ้นมากกวาพื้นที่อื่น แผนภูมิ 1 อัตราการอานหนังสือของเด็กเล็กนอกเวลาเรียน1/ จําแนกตามเพศ เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2551 และ 2554 ตะวันออกเฉียงเหนือ ทั่วราชอาณาจักร ชาย หญิง ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล กรุงเทพมหานคร กลาง เหนือ ใต 36.0 รอยละ 2551 2554 1/ อัตราการอานหนังสือหมายถึงรอยละของจํานวนประชากร ที่อานหนังสือตอจํานวนประชากรทั้งสิ้นในแตละกลุม
  • 17. 66.2 55.1 37.9 20.3 0.2 0 10 20 30 40 50 60 70 18.5 22.0 17.3 19.7 39.6 42.0 9.7 10.114.9 6.2 0 20 40 60 80 100 1.2 เหตุผลที่ผูใหญอานหนังสือใหเด็กเล็กฟง สําหรับเด็กเล็กที่อานหนังสือนั้น เกือบ ทั้งหมด (รอยละ 96.8) มีผูใหญอานหนังสือใหฟง และมีเพียงรอยละ3.2เทานั้นที่เด็กเล็กอานดวยตนเอง โดยไมมีผูใหญอานหนังสือใหฟง เมื่อสอบถาม ผูใหญถึงเหตุผลที่อานหนังสือใหเด็กเล็กฟง พบวา ผูใหญสวนใหญอานใหฟงเพื่อเพิ่มพูนความฉลาด หรือความรูใหกับเด็กเล็กรอยละ 66.2 รองลงมา คือ เพื่อทําใหเด็กเพลิดเพลินหรืออารมณดีรอยละ 55.1 เพื่อสงเสริมใหเด็กเล็กรักการอานรอยละ 37.9 และ เพื่อทําใหเกิดความอบอุนในครอบครัวรอยละ 20.3 สวนเหตุผลอื่น ๆ มีเพียงรอยละ 0.2 เทานั้น แผนภูมิ 2 รอยละของเด็กเล็กที่มีผูใหญอานหนังสือใหฟง จําแนกตามเหตุผลที่ผูใหญอานหนังสือใหฟง พ.ศ. 2554 1.3 ความถี่ของการอานหนังสือนอกเวลาเรียน เด็กเล็กที่อานหนังสือมีประมาณ 2.7 ลานคน ในจํานวนนี้เปนผูที่อานหนังสือสัปดาหละ 2 – 3 วัน มากที่สุด (รอยละ 42.0) รองลงมาคือ อานทุกวัน และ อานสัปดาหละ 4 – 6 วัน ใกลเคียงกัน (รอยละ 22.0 และ 19.7 ตามลําดับ) และพบวา มีเด็กเล็กที่อาน หนังสือแตอานนาน ๆ ครั้งอยูรอยละ 6.2 เด็กเล็กมีความถี่ในการอานหนังสือเพิ่มขึ้น คือเด็กเล็กที่อานอยางนอย1วันตอสัปดาหมีเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่รอยละของเด็กเล็กที่อานนาน ๆ ครั้ง มี แนวโนมลดลง แผนภูมิ 3 รอยละของเด็กเล็กที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน จําแนกตามความถี่ของการอานหนังสือพ.ศ.2551 และ 2554 1.4 เวลาเฉลี่ยที่ใชอานหนังสือนอกเวลาเรียน เด็กเล็กที่อานหนังสือใชเวลาอานหนังสือ นอกเวลาเรียนเฉลี่ย 26 นาทีตอวัน โดยเด็กชายและ เด็กหญิงใชเวลาอานหนังสือฯเฉลี่ยในแตละวันเทากัน (ประมาณ 26 นาที) เมื่อพิจารณาตามพื้นที่อยูอาศัย พบวาเด็กเล็กที่อาศัยในเขตเทศบาลใชเวลาอานหนังสือฯ มากกวานอกเขตเทศบาล (28 นาที และ 25 นาที ตามลําดับ) เด็กเล็กที่อาศัยอยูในกรุงเทพมหานคร ใชเวลาอานหนังสือฯ เฉลี่ยสูงสุด คือ 35 นาทีตอวัน รองลงมาคือภาคใต (27 นาทีตอวัน) สวนเด็กเล็กที่ อาศัยอยูภาคอื่นใชเวลาอานหนังสือฯ ต่ํากวาคาเฉลี่ย ของทั้งประเทศโดยเด็กเล็กที่อาศัยอยูภาคเหนือใชเวลา อานหนังสือฯ เฉลี่ยต่ําสุด (23 นาทีตอวัน) รอยละ ความรู เพิ่มพูนความฉลาด/ อารมณดี ทําใหเด็กเพลิดเพลิน/ สงเสริมใหเด็ก รักการอาน เพื่อใหเกิดความอบอุน ในครอบครัว อื่น ๆ ทุกวัน สัปดาหละ 1 วัน สัปดาหละ 2-3 วัน สัปดาหละ 4-6 วัน นาน ๆ ครั้ง รอยละ พ.ศ. 2551 2554
  • 18. 0.1 0.4 0.1 26 26 28 25 35 25 23 24 27 0 5 10 15 20 25 30 35 40 0.1 0.1 แผนภูมิ 4 เวลาที่ใชอานหนังสือนอกเวลาเรียนเฉลี่ยตอวันของ เด็กเล็กที่อานหนังสือจําแนกตามเพศเขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2554 1.5 การซื้อหนังสือใหเด็กเล็กในรอบปที่แลว เมื่อสอบถามผูตอบสัมภาษณเกี่ยวกับการซื้อ หนังสือใหเด็กเล็กอานนอกเหนือจากซื้อหนังสือเรียน ตามหลักสูตรที่เด็กนักเรียนทุกคนจําเปนตองซื้อ ในรอบปที่แลวพบวารอยละ79.0 ของเด็กเล็กที่อาน หนังสือ มีผูใหญซื้อหนังสือใหอานเพิ่มเติมจาก หนังสือเรียนตามหลักสูตรโดยสวนใหญรอยละ60.9 ผูใหญเปนผูเลือกหนังสือเหลานี้ใหเองและมีรอยละ18.1 ที่เด็กเล็กเปนผูเลือกหนังสือเอง แผนภูมิ 5 รอยละของเด็กเล็กที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน จําแนกตามการซื้อหนังสือใหเด็กเล็กในรอบปที่แลว และผูเลือกหนังสือ พ.ศ. 2554 เมื่อพิจารณาการซื้อหนังสือใหเด็กเล็กที่อาน หนังสือ จําแนกตามเขตการปกครองและภาค พบวา ในเขตเทศบาลมีอัตราการซื้อหนังสือใหเด็กเล็กสูงกวา นอกเขตเทศบาล (รอยละ 81.5 และ 77.5 ตามลําดับ) ภาคกลางมีอัตราการซื้อหนังสือใหเด็กเล็กสูงสุด (รอยละ 85.6) สวนภาคเหนือต่ําสุด (รอยละ 75.8) สําหรับจํานวนหนังสือที่ซื้อใหเด็กเล็กพบวาในรอบป ที่แลวเด็กเล็กที่อานหนังสือมีผูใหญซื้อหนังสือให 1 –5 เลมสัดสวนสูงที่สุด(รอยละ44.8) รองลงมาคือ ซื้อหนังสือ6–10เลม(รอยละ19.1) และมากกวา10เลม (รอยละ15.1) มีเพียงรอยละ0.1ที่จําไมไดหรือไมทราบ จํานวนหนังสือที่ซื้อใหเด็กเล็ก ในเขตเทศบาลมีอัตรา การซื้อหนังสือใหเด็กเล็กอานเพิ่มเติมจํานวนหลายเลม คือ ตั้งแต 6 เลมขึ้นไป มากกวานอกเขตเทศบาลและ กรุงเทพมหานครมากกวาภาคอื่น แผนภูมิ 6 รอยละของเด็กเล็กที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน จําแนกตามจํานวนหนังสือที่ซื้อในรอบปที่แลว เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2554 19.1 23.98.1 3.1 14.5 13.5 6.5 8.8 39.2 45.9 26.636.0 42.0 55.8 50.0 44.8 18.2 13.2 16.2 22.4 22.5 5.25.1 7.1 5.8 10.0 4.719.5 6.19.2 4.3 0 20 40 60 80 100 เด็กเลือกเอง18.1% 60.9% ไมซื้อ 21.0% ซื้อ 79.0% การซื้อหนังสือใหเด็กเล็ก ผูเลือกหนังสือ ผูใหญเลือกให ในรอบปที่แลว รอยละ กรุงเทพ มหานคร กลาง เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใตนอกเขต เทศบาล ในเขต เทศบาล ทั่วราช อาณาจักร ทั่วราชอาณาจักร 26 นาทีตอวันเวลา (นาที) ชาย หญิง ในเขต เทศบาล นอกเขต เทศบาล กรุงเทพ มหานคร กลาง เหนือตะวันออก เฉียงเหนือ ใต 79.0 81.5 77.5 76.6 85.6 75.8 76.4 79.5 ไมทราบ > 15 เลม 11-15 เลม 6-10 เลม 1-5 เลม 23.8
  • 19. 63.2 58.6 65.9 44.5 68.7 62.2 67.0 61.6 8.6 9.4 6.2 2.3 3.9 1.9 4.7 4.5 4.58.5 17.0 6.6 6.5 6.312.0 8.6 6.53.7 1.36.5 2.03.3 2.5 1.60.2 0.2 0.9 0 20 40 60 80 100 1 – 100 บาท/เดือน 101 – 200 บาท/เดือน 201 – 300 บาท/เดือน มากกวา 300 บาท/เดือน ไมทราบ (มีเฉพาะทั่วราชอาณาจักร (0.2) นอกเขตเทศบาล (0.2) เหนือ (0.9)) 1/ ตอบไดไมเกิน 2 ประเภท 1.6 คาใชจายสําหรับซื้อหนังสือใหเด็กเล็กเฉลี่ย ตอเดือน สําหรับเด็กเล็กที่อานหนังสือมีผูใหญซื้อ หนังสือใหอานเพิ่มเติมจากหนังสือเรียนตามหลักสูตรนั้น สวนใหญรอยละ63.2เสียคาใชจายในการซื้อหนังสือ เหลานี้เฉลี่ยเดือนละไมเกิน 100 บาท และมีเพียง รอยละ3.3ที่เสียคาใชจายเฉลี่ยตอเดือนมากกวา300บาท กลุมที่เสียคาใชจายสําหรับซื้อหนังสือฯ ใหเด็กเล็ก คอนขางสูงคือมากกวา100บาทตอเดือนนั้นในเขตเทศบาล คอนขางสูงกวานอกเขตเทศบาลและกรุงเทพมหานคร สูงกวาภาคอื่น แผนภูมิ 7 รอยละของเด็กเล็กที่อานหนังสือนอกเวลาเรียน จําแนกตามคาใชจายสําหรับซื้อหนังสือใหเด็กเล็ก เฉลี่ยตอเดือนเขตการปกครองและภาคพ.ศ.2554 1.7 สาเหตุที่เด็กเล็กไมอานหนังสือนอกเวลาเรียน เด็กเล็กที่ไมอานหนังสือนอกเวลาเรียน คือ เด็กเล็กที่ไมไดอานหนังสือดวยตนเองและไมมีผูใหญ อานหนังสือใหฟง มีประมาณ 2.3 ลานคน คิดเปน รอยละ46.5ของเด็กเล็กทั้งสิ้นพบวาสาเหตุที่เด็กเล็ก กลุมนี้ไมอานหนังสือ เพราะวายังเปนเด็กเกินไปคือ มีอายุต่ํากวา 2 ป รอยละ 64.8 สาเหตุรองลงมา คือ อานหนังสือไมออกรอยละ 19.5 ชอบดูโทรทัศน รอยละ10.2ไมชอบอานหนังสือหรือไมสนใจรอยละ4.1 และสาเหตุอื่นอีกเพียงรอยละ 1.4 แผนภูมิ 8 รอยละของเด็กเล็กที่ไมอานหนังสือนอกเวลาเรียน จําแนกตามสาเหตุที่เด็กเล็กไมอานหนังสือพ.ศ.2554 สวนสาเหตุที่ผูใหญไมอานหนังสือให เด็กเล็กฟง 5 ลําดับแรก คือ ไมมีเวลาอานใหฟง (รอยละ46.9) ผูใหญคิดวาเด็กยังเล็กเกินไป(รอยละ28.6) ผูใหญชอบดูโทรทัศน (รอยละ18.1) ผูใหญที่ไมชอบ อานหนังสือหรือไมสนใจอานใหเด็กเล็กฟง(รอยละ11.6) และมีผูใหญที่อานหนังสือไมออก (รอยละ 5.0) แผนภูมิ 9 รอยละของเด็กเล็กที่ไมอานหนังสือนอกเวลาเรียน จําแนกตามสาเหตุที่ผูใหญไมอานหนังสือให เด็กเล็กฟง1/ 5ลําดับแรก พ.ศ. 2554 46.9 28.6 18.1 11.6 5.0 0 10 20 30 40 50 อานหนังสือไมออก เด็กยังเล็กเกินไป ชอบดูโทรทัศน ไมชอบอานหนังสือ หรือไมสนใจ รอยละ ไมมีเวลาอาน กรุงเทพ มหานคร กลาง เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใตนอกเขต เทศบาล ในเขต เทศบาล ทั่วราช อาณาจักร รอยละ 79.0 81.5 77.5 76.6 85.6 75.8 76.4 79.5 2,326,810 คน อานหนังสือไมออก 19.5% ชอบ ดูโทรทัศน 10.2% ไมชอบอานหนังสือ หรือไมสนใจ 4.1% อื่น ๆ 1.4% เด็กยังเล็กเกินไป 64.8%
  • 20. 64.8 71.6 67.5 68.8 57.7 66.7 65.1 68.4 61.2 69.1 66.3 68.6 0 20 40 60 80 77.2 64.1 84.2 71.3 65.9 63.0 69.7 0 20 40 60 80 100 2554 2. การอานหนังสือของประชากร (อายุตั้งแต6ปขึ้นไป) 2.1 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอก เวลาทํางาน จากผลการสํารวจป 2554 พบวา คนไทย อายุตั้งแต6ปขึ้นไป มีอัตราการอานหนังสือรอยละ68.6 ผูชายมีอัตราการอานหนังสือสูงกวาผูหญิงเล็กนอย (รอยละ68.8และ68.4ตามลําดับ)และเมื่อเปรียบเทียบ กับการสํารวจที่ผานมา พบวา อัตราการอานหนังสือ เพิ่มขึ้นเล็กนอยจากป 2551 ทั้งผูชายและผูหญิง แผนภูมิ 10 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลา ทํางานของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไป จําแนก ตามเพศ พ.ศ. 2546 – 2554 เมื่อพิจารณาอัตราการอานหนังสือตาม เขตการปกครองและภาค พบวา ประชากรที่อาศัยอยู ในเขตเทศบาลมีอัตราการอานหนังสือสูงกวานอก เขตเทศบาล (รอยละ 77.2 และ 64.1 ตามลําดับ) กรุงเทพมหานคร มีอัตราการอานหนังสือสูงที่สุด (รอยละ 84.2) และภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีอัตรา การอานหนังสือต่ําสุด (รอยละ 63.0) แผนภูมิ 11 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลา ทํางานของประชากรอายุตั้งแต6ปขึ้นไป จําแนก ตามเขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2554 2.2 อายุ การอานหนังสือของประชากรมีความแตกตางกัน ตามวัย กลุมวัยเด็กมีอัตราการอานหนังสือสูงสุดถึง รอยละ91.6 รองลงมาคือกลุมเยาวชนกลุมวัยทํางาน และต่ําสุดคือกลุมวัยสูงอายุ(รอยละ78.6 65.7 และ 44.3 ตามลําดับ) และเมื่อเปรียบเทียบระหวางการสํารวจ ที่ผานมาพบวาป 2554การอานหนังสือของประชากร เกือบทุกกลุมวัย มีอัตราการอานหนังสือเพิ่มขึ้นจาก ป2551 มีเพียงกลุมเยาวชนเทานั้นที่มีอัตราการอานคงที่ แผนภูมิ 12 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางาน ของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไป จําแนกตาม กลุมวัย พ.ศ. 2546 – 2554 รอยละ ชาย หญิง 2546 2548 2551 พ.ศ. 2554 64.8 รอยละ ทั่วราชอาณาจักร รอยละ 68.6 ในเขต เทศบาล นอกเขต เทศบาล กรุงเทพ มหานคร กลาง เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต 68.6 78.6 44.3 61.2 69.1 66.3 91.681.587.784.5 78.683.180.4 65.0 54.3 64.3 65.7 39.337.4 24.4 0 20 40 60 80 100 รอยละ 2546 2548 2551 พ.ศ. รวม วัยเด็ก (6-14 ป) วัยเยาวชน (15-24 ป) วัยทํางาน (25-59 ป) วัยสูงอายุ (60 ปขึ้นไป) รวม
  • 21. 2.3 ระดับการศึกษา จากผลการสํารวจ พบวา การศึกษาและ อัตราการอานหนังสือ มีความสัมพันธกันเชิงบวก กลาวคือ ผูมีระดับการศึกษาที่สูงกวา มีอัตราการอาน หนังสือสูงกวาผูมีการศึกษาระดับต่ํากวา แผนภูมิ 13 รอยละของประชากรอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไป จําแนก ตามการอานหนังสือนอกเวลาเรียน/นอกเวลาทํางาน และระดับการศึกษาสูงสุด พ.ศ. 2554 2.4 การทํางาน จากจํานวนประชากรอายุตั้งแต 15 ปขึ้นไป ทั้งสิ้นประมาณ 54.0 ลานคน พบวามีผูอานหนังสือ จํานวน 35.1 ลานคน หรือคิดเปนรอยละ 64.9 เมื่อ จําแนกตามการทํางานในรอบปที่แลว พบวา อัตรา การอานหนังสือของผูไมทํางานและผูทํางาน ใกลเคียงกัน (รอยละ 65.2 และ 64.8 ตามลําดับ) โดยผูหญิงมีอัตราการอานหนังสือสูงกวาผูชายเล็กนอย ในกลุมผูทํางาน ซึ่งแตกตางจากกลุมผูไมทํางานที่ ผูชายมีอัตราการอานหนังสือสูงกวาผูหญิง แผนภูมิ 14 อัตราการอานหนังสือของประชากรอายุตั้งแต 15 ป ขึ้นไป จําแนกตามการทํางานในรอบปที่แลวพ.ศ.2554 เมื่อพิจารณาอัตราการอานหนังสือของผูทํางาน ในรอบปที่แลว จําแนกตามอาชีพ พบวา ทหาร ผูประกอบวิชาชีพดานตาง ๆ เจาหนาที่เทคนิคและ ผูประกอบวิชาชีพที่เกี่ยวของกับดานตาง ๆ รวมทั้ง เสมียน มีอัตราผูอานหนังสือมากกวารอยละ 90.0 ซึ่งสูงกวาผูทํางานอาชีพอื่น ๆ สวนอาชีพที่มีอัตรา การอานต่ําที่สุด คือ ผูปฏิบัติงานที่มีฝมือใน ดานการเกษตรและประมง (รอยละ 51.2) แผนภูมิ 15 อัตราการอานหนังสือนอกเวลาทํางานของผูทํางาน อายุตั้งแต15ปขึ้นไปจําแนกตามอาชีพพ.ศ.2554 เมื่อเปรียบเทียบอัตราการอานหนังสือของ ผูทํางานตามกลุมอุตสาหกรรมและสถานภาพ การทํางาน พบวา ผูทํางานนอกภาคเกษตรกรรมมี อัตราการอานหนังสือสูงกวาผูทํางานในภาคเกษตรกรรม (รอยละ75.9และ50.8ตามลําดับ)ลูกจางรัฐวิสาหกิจ และลูกจางรัฐบาลมีอัตราการอานหนังสือถึงรอยละ93.7 และ 92.4 ตามลําดับ ซึ่งสูงกวาผูที่มีสถานภาพ การทํางานประเภทอื่น ประถมศึกษา ปริญญาตรี/สูงกวา อนุปริญญา มัธยมศึกษา มัธยมศึกษา กอนประถมศึกษา ไมไดรับการศึกษา รอยละ อาน ไมอาน ระดับการศึกษาสูงสุด 60.3 66.5 76.0 79.3 85.8 94.6 87.6 39.7 33.5 24.0 20.7 14.2 12.4 ตอนปลาย ตอนตน 1000 20 40 60 80 5.4 65.2 64.864.9 69.1 64.2 65.1 62.9 65.6 64.7 0 10 20 30 40 50 60 70 รวม ผูทํางาน ผูไมทํางาน รอยละ รวม ชาย หญิง 98.3 51.2 53.5 67.4 74.3 74.7 89.7 92.5 92.8 96.6 0 20 40 60 80 100 ผูประกอบวิชาชีพดานตาง ๆ เจาหนาที่เทคนิคและ เสมียน พนักงานบริการและขาย ผูปฏิบัติงานที่มีฝมือดานการเกษตร ชางฝมือและผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของ ผูคุมเครื่องจักรโรงงาน เครื่องจักร ผูประกอบอาชีพขั้นพื้นฐาน รอยละ ทหาร อาชีพ ผูประกอบวิชาชีพเกี่ยวของดานตาง ๆ และผูบัญญัติกฎหมาย ผูปฏิบัติงานดานการประกอบ ในรานคาและตลาด ปาไมและประมง ผูจัดการ ขาราชการระดับอาวุโส