SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
การจัดทาเอกสารเพื่อการเข้าถึงแบบเปิด
สุภารัตน์ สังขวรรณ
การจัดทาเอกสารเพื่อการเข้าถึงแบบเปิด คือ การที่ผู้แต่ง (รวมถึงหน่วยงานต้นสังกัด/แหล่ง
เงินทุนวิจัย) จะเป็นผู้จ่าย และยอมให้นาบทความตีพิมพ์ไปเผยแพร่ ดาวน์โหลด ได้ฟรีบน
อินเทอร์เน็ต หรือที่เรียกกันว่า “Open Access(OA) Publishing”
ในการประชุมที่ Hungary Budapest (2002) ได้กล่าวถึงการจัดทาเอกสาร OA ว่า การที่
นักวิทยาศาสตร์ และนักวิชาการต้องการเผยแพร่ผลงานวิจัยของตนเพื่อแบ่งปันความรู้ จะใช้
อินเทอร์เน็ตเป็นศูนย์กลางในการเผยแพร่ผลงาน เพื่อให้การเข้าถึงข้อมูลเป็นสาธารณะ และไม่มี
การเสียค่าใช้จ่ายใดๆในการเข้าถึง ซึ่งการเข้าถึงนี้จะช่วยให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน เป็นการให้ข้อมูล
แบบออนไลน์โดยไม่มีการเสียค่าใช้จ่าย ที่เรียกกันว่า “Open Access” (OA) ซึ่งหมายถึงว่าผลงานนี้
สามารถให้บุคคลทั่วไปสามารถศึกษา ดาวน์โหลด คัดลอก แจกจ่าย พิมพ์ ค้นหา หรือเชื่อมโยงไป
ยังบทความเหล่านี้โดยการทาดรรชนีสืบค้น ซึ่งเจ้าของผลงานยังคงมีสิทธิ์ในผลงานของตน การ
จัดทาเอกสาร OA ทาให้เห็นว่าเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการจัดพิมพ์เอกสารแบบดั้งเดิม และมีหลาย
หน่วยงานได้หันมาจัดทาเอกสารในรูปแบบ OA กันมากขึ้น ในการประชุมได้แบ่งการจัดทาเอกสาร
OA ออกเป็น 2 แบบ ได้แก่ Self-Archiving และOpen-access Journals ซึ่งการจัดทาทั้ง 2 แบบนี้จะ
ทาให้การจัดทาเอกสาร OA เกิดประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งผู้เขียนหรือสถาบันที่เกี่ยวข้องกับผู้เขียน
สามารถทาได้เองโดยไม่ต้องรอการเปลี่ยนแปลงในเรื่องการตลาด หรือในเรื่องของเงื่อนไขกฎหมาย
เข้ามาเกี่ยวข้องและนอกจาก 2 รูปแบบที่กล่าวมา ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมขึ้นเรื่อยๆ เพื่อให้เกิดความ
มั่นใจว่าจะมีความคืบหน้าในการทางานที่มีความหลากหลาย รวดเร็ว และปลอดภัยยิ่งขึ้น
1. Self-Archiving
จากการแถลงการณ์ในประชุมที่ Hungary ได้กล่าวไว้ว่า นักวิชาการจาเป็นต้องมีเครื่องมือ และ
ความช่วยเหลือในการฝากบทความในคลังข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ พวกเขาเรียกการจัดทานี้ว่า Self-
Archiving ซึ่งคลังข้อมูลเหล่านี้ต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่สร้างขึ้น มีเครื่องมือการค้นหา และ
เครื่องมืออื่นๆ ที่สามารถรวบรวมบทความหลายๆบทความมาไว้ในแหล่งเดียวกัน ซึ่งให้ผู้ใช้เกิด
ความสะดวกเวลาสืบค้น สามารถสืบค้นได้ข้อมูลอย่างรวดเร็ว (“Budapest”, 2002)
Stevan Harnad (as eited in Bailey, 2006) ได้แบ่งประเภทการจัดทา OAไว้ว่าเมื่อผู้แต่งได้
เผยแพร่บทความของตนเองให้เป็นสาธารณะในรูปแบบดิจิตอล โดยการเอาไปไว้อินเทอร์เน็ต จะ
เรียกกันว่า “Self Archiving” หรือ "Green Road" ซึ่งบทความจะเป็น Preprints หรือ Postprints ก็ได้
2-E2
บทความที่อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ทั้ง Preprint และPostprint ทั้งหมดจะถูกเรียกว่า E-print ที่ที่
ใช้ในการจัดเก็บเอกสาร OA เช่น เว็บไซต์ส่วนบุคคล, e-books, blogs, wikis เป็นต้น Stevan ได้จัด
กลุ่มประเภท Self Archive ออกเป็น ดังนี้
- Gold คือ เมื่อผู้แต่งมีการเขียนบทความเสร็จก็จะนาบทความออกเสนอทันที (นาเสนอ
ให้คนได้ต่อยอดความรู้อย่างรวดเร็ว)
- Green คือ การปรับปรุงแก้ไขผลงานของตัวเอง
- Pale green คือ การอนุมัติให้บุคคลอื่นนาผลงานตนไปใช้ได้ในที่อื่นๆ เช่น ใช้ในการ
อ้างอิง
- Gray เป็นเอกสารอื่นที่อยู่นอกเหนือจากลักษณะของเอกสารที่ได้กล่าวมา (Bailey,
2006)
Peter Suber (2004) ได้กล่าวถึงว่า Green OA (หรือหมายถึง Self-Archiving) สามารถจัดทา
โดย คลังจัดเก็บเอกสารสาขาวิชา (Disciplinary Archives) เช่น arXiv ที่เน้นด้าน ฟิสิกส์ หรือ
สถาบันการศึกษา (institution) ซึ่งบทความอาจเป็นแบบ Preprints (ผลงานยังไม่มีการตรวจสอบ)
หรือ Postprints (ผลงานที่ได้รับการตรวจแล้ว มีทั้งที่แก้ไข และยังไม่ได้แก้ไข) ซึ่งผู้เขียนสามารถ
เผยแพร่ข้อมูลได้ทันทีที่พิมพ์เสร็จ เพื่อให้ผู้อื่นได้มาต่อยอดความรู้อย่างรวดเร็ว
สรุป Self-Archiving คือ การนาเข้าเอกสารสู่สาธารณะด้วยตนเอง ซึ่งเป็นผลงานที่ผู้เขียน
นาไปจัดเก็บไว้ในเว็บไซต์ของตัวเอง เว็บไซต์องค์กร หรือคลังจัดเก็บเอกสาร (Institutional
Repository) เพื่อนาไปเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ตต่อได้เป็นเอกสารที่ผู้ใช้เข้าถึงได้อย่างอิสระและไม่มี
ค่าใช้จ่ายใดๆ จะจัดทาเป็น Preprint, Postprint แล้วแต่ข้อตกลงของเจ้าของผลงานกับสานักพิมพ์
1.1ประโยชน์ในการจัดทา Self-archive
1) Self-archive เป็นวิธีที่ประหยัดเนื่องจากมีการจัดทาด้วยตัวผู้เขียนเอง
สามารถนาผลงานของตนเองให้บุคคลอื่นได้รับรู้มากขึ้นโดยผู้ที่เข้ามาศึกษาผลงานไม่ต้องเสีย
ค่าใช้จ่ายใดๆ
2) สามารถช่วยให้บทความของผู้เขียนได้รับการปรับปรุงเนื่องจากมีผู้มา
ศึกษาอยู่ตลอดทาให้ได้แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน รวมไปถึงยังให้บทความของผู้เขียนได้รับ
การอ้างอิงอีกด้วย ส่งผลให้ได้รับชื่อเสียง และความนิยมเพิ่มขึ้น
3) ทาให้เข้าถึงข้อมูลได้อย่างอิสระจะเป็นประโยชน์ในการช่วยเหลือ
งานวิจัยใหม่อย่างแท้จริง ซึ่งนักวิจัยสามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรงทาให้สะดวกแก่การศึกษา
ค้นคว้า ส่งผลให้งานวิจัยก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว
2-E3
1.2 รูปแบบการนาเสนอของ Self-Archiving
1) เว็บไซต์ส่วนบุคคล (Author’s Personal Websites) เป็นการจัดทา OA
ในเว็บไซต์ของผู้เขียนแบบง่ายๆ ซึ่งทาให้ผู้ใช้สามารถเข้าใช้ได้ง่ายขึ้นควรมีการทาเมทาดาทาลงใน
เว็บไซต์ของตัวเองด้วย และการนาเสนอเอกสารที่จัดทาเชื่อมโยงกับไฟล์ต้องการเผยแพร่ โดยอยู่ใน
รูปแบบ HTML, PDF, Word หรือรูปแบบอื่น ๆ ไฟล์ที่เว็บไซต์มักมีการสร้างดรรชนีสืบค้นใน
โปรแกรมค้นหา (Search engine) ซึ่งมีประโยชน์ต่อผู้ที่ต้องการค้นหา ส่วนใหญ่จะมีค้นหาจากชื่อผู้
แต่ง หรือชื่อเรื่อง ยกตัวอย่างเช่น Google, Bring เป็นต้น
2) คลังจัดเก็บเอกสาร (Repositories) เป็นการจัดทา OA ลงในคลังเอกสาร
ซึ่งคลังเอกสารสามารถแบ่งออกได้หลายประเภท ตามแหล่งการจัดเก็บ คลังเอกสารมีมากมายผู้ใช้
อาจสามารถหาได้จาก Open DOAR (The Directories of Open Access Repositories) ซึ่งถือเป็น
แหล่งรวบรวมรายชื่อของคลังจัดเก็บเอกสาร ของสถาบันต่างๆทั่วโลก สามารถช่วยให้ค้นหารายชื่อ
คลังจัดเก็บเอกสารที่เก็บผลงานไว้ รวมไปถึงการค้นหาสถิติของคลังจัดเก็บเอกสารในแต่ละคลัง
Open DOAR ถือได้ว่าเป็นทรัพยากรสาคัญสาหรับการเข้าถึงเอกสาร OA และเป็นผู้นาในเรื่องนามา
นุกรมของคลังจัดเก็บเอกสาร OA (repository directories) ยกตัวอย่าง สถิติคลังจัดเก็บเอกสารแบ่ง
ตามประเภททรัพยากรสารสนเทศ (ภาพที่ 1) และสถิติคลังจัดเก็บเอกสารแบ่งตามประเภท
เนื้อหาวิชา(ภาพที่ 2) (University of Nottingham, UK., 2010)
ภาพที่ 1 สถิติคลังจัดเก็บเอกสารแบ่งตามประเภททรัพยากรสารสนเทศ
(University of Nottingham, UK., 2010)
2-E4
ภาพที่ 2 สถิติคลังจัดเก็บเอกสารแบ่งตามประเภทเนื้อหาวิชา
(University of Nottingham, UK., 2010)
ซึ่งการจัดเก็บในรูปแบบคลังจัดเก็บเอกสาร สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
2.1 คลังจัดเก็บเอกสารเฉพาะสาขาวิชา (Disciplinary Archives) เป็นการ
จัดเก็บลงในคลังเอกสารของเว็บไซต์ที่มีการเปิดโอกาสให้เจ้าของสามารถนาผลงานของตนเองมา
ลงเป็น OAได้คลังเอกสารเหล่านี้ใช้สาหรับจัดเก็บพวก e-print ซึ่ง e-print เหล่านี้อาจจะไม่ใช่ Open
Access ก็ได้ คลังเอกสารเหล่านี้จะ ครอบคลุมอย่างน้อยหนึ่งวิชา ยกตัวอย่างคลังเอกสารเหล่านี้
ได้แก่
1) arXiv เป็ นคลังเอกสารที่เน้นด้าน ฟิ สิกส์ คณิตศาสตร์
คอมพิวเตอร์ประยุกต์ ฯลฯ จัดทาโดยมหาวิทยาลัยคอร์เนล arXiv ได้ขยายให้ครอบคลุมทั้งหมด
ของสาขาวิชาฟิสิกส์เช่นเดียวกับเขตข้อมูลอื่น ๆ เช่นคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์
2-E5
arXiv ถือได้ว่าเป็นผู้นาในการจัดเก็บข้อมูลด้านฟิสิกส์ โดยจัดเก็บในเว็บไซต์ www.arXiv.org ดัง
ภาพที่ 3
2) PLoS (Public Library of Science) เป็นคลังเอกสารที่เน้น
ทางด้านวิทยาศาสตร์และการแพทย์ PloS เป็นองค์กรไม่แสวงหากาไรของนักวิทยาศาสตร์และ
แพทย์ที่มุ่งมั่นจะทาให้ผลงานเป็นทรัพยากรสาธารณะที่มีอิสระในการเข้าถึง และเผยแพร่บทความ
ภายใต้สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ ดังภาพที่5 โดยจัดเก็บในเว็ปไซต์ www.plos.org ดังภาพที่
4
3) SSOAR เป็นคลังเอกสารที่เน้นด้านสังคมศาสตร์ ดัชนีและเก็บ
เอกสารวิชาการ (ฉบับเต็ม) จากสังคมศาสตร์ในประเทศเยอรมนีและในต่างประเทศ นับตั้งแต่
เปิดตัวเครื่องแม่ข่ายในปี 2008 จานวนผู้ใช้และปริมาณของเนื้อหามีการเติบโตเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
SSOAR จัดเก็บและการเผยแพร่ข้อมูลที่มีการควบคุมคุณภาพ SSOAR ถูกสร้างขึ้นโดยศูนย์สาหรับ
Digital Systems ( CeDiS ) และสถาบันการวิจัยเชิงคุณภาพ ( IQF ) โดยผู้ใช้สามารถฝากเอกสาร
อิเล็กทรอนิกส์ของตนเองผ่านทาง แบบฟอร์มออนไลน์ หรือผ่านทางฟังก์ชั่นนาเข้าใน sowiport
(เดิมชื่อ Virtual Library Social Science) ที่ดึงข้อมูลเมทาตาทามาใช้ได้ สาหรับเอกสารที่ฝากใน
SSOAR จะถูกเก็บอย่างยั่งยืน ซึ่งSSOAR มีความร่วมมือกับห้องสมุดแห่งชาติเยอรมันอีกด้วย
สามารถเข้าดูได้ที่เว็บไซต์ http://www.ssoar.info/en.html
ภาพที่ 3 รูปภาพคลังเอกสาร arXiv.org (Cornell University Library, n.d.)
2-E6
ภาพที่ 4 คลังเอกสาร PloS (PloS, n.d.)
ภาพที่ 5 แสดงรูปภาพตัวอย่างการจัดเก็บ OAใน PloS (PloS, n.d.)
2-E7
ภาพที่ 6 คลังเอกสารของ SSOAR (DBClear, n.d.)
2.2 คลังเก็บเอกสารของสถาบัน (Institutional Repositories) คือ คลัง
เอกสารของมหาวิทยาลัย หรือสถาบันการวิจัยต่างๆ ที่มีการจัดเก็บผลงานไว้ในคลังเอกสารของตน
ยกตัวอย่างเช่น วิทยานิพนธ์ของปริญญาโท ปริญญาเอก จัดทาขึ้นเพื่อเป็นการอนุรักษ์ และเผยแพร่
ผลงานของพวกเขา ถึงแม้ว่าจะมีสถาบันการศึกษาได้มีการจัดทาอยู่หลายแห่งแต่มักขาดเงินทุนใน
การจัดทา ยกตัวอย่างการเก็บรูปแบบนี้ เช่น Dspace at MIT เว็บไซต์ http://dspace.mit.edu/
ดังภาพที่ 7
ภาพที่ 7 หน้าแรกของคลังเอกสาร Dspace at MIT (MITLibraries, n.d.)
2-E8
2.3 คลังเก็บเอกสารของหน่วยงาน (Institutional Unit Archives) เป็นคลัง
เก็บเอกสารของหน่วยงาน หรือคณะ จะเป็นผลงานวิจัยในเชิงวิชาการของคณาจารย์ นักวิจัย หรือ
นิสิตบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัยที่นาผลงานของตนมาจัดทาเป็น OA ในหน่วยงานหรือ คณะที่
ตนสังกัด เพื่อเผยแพร่ผลงาน และเพื่อสงวนรักษาผลงานนั้นให้ยั่งยืน ยกตัวอย่างคลังเก็บ
สารสนเทศระดับหน่วยงาน (Bailey, 2006) ยกตัวอย่าง Duke Law Faculty Scholarship Repository
เป็นผู้นาในสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ทางด้านกฎหมายและการส่งเสริมการใช้งาน OA ด้านกฎหมาย
ภาพที่ 8 คลังเอกสาร Duke Law Faculty Scholarship Repository
2. Open-access Journals (OAJ)
ในการประชุมที่ Hungary ได้กล่าวไว้ว่า Open-access Journals (OAJ) คือ วารสารที่มีการ
นามาจัดทาเป็น OA เพราะเชื่อว่าบทความต่างๆในวารสารวิชาการควรจะมีการเผยแพร่อย่าง
กว้างขวาง โดยไม่มีการเก็บค่าสมัครสมาชิก เพราะมีแหล่งเงินทุนที่ให้การสนับสนุนหลายแห่ง รวม
ไปถึงมูลนิธิ และหน่วยงานราชการต่างๆ (“Budapest”, 2002)
Stevan Harnad (as eited in Bailey, 2006) ได้กล่าวว่า OAJ หรือเรียกว่า “Gold Road “ จะมี
คุณลักษณะดังต่อไปนี้
1. เป็นผลงานวิชาการ
2. มีกลไกการควบคุมคุณภาพแบบวารสารแบบดั้งเดิม เช่น การกากับดูแลโดย
กองบรรณาธิการ และการดูแลรูปแบบในการจัดพิมพ์
2-E9
3. เป็นผลงานดิจิตอล
4. เข้าถึงได้อย่าเสรี
5. อนุญาตให้ผู้เขียนคงลิขสิทธิ์ในผลงาน
6. สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอน หรือสัญญาอนุญาตที่คล้ายกัน
Peter Suber (2004) ได้พูดถึง OAJ หรือเรียกว่า Gold OA ว่า เป็นการที่ผู้เขียนต้องการ
เผยแพร่ผลงานของตนโดยการจัดทาเป็นเอกสาร OA ผ่านทางสานักพิมพ์ โดยผู้เขียน หรือ
หน่วยงานต้นสังกัด แหล่งเงินทุนวิจัย (ผู้สนับสนุนผู้เขียน) จะเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายในการจัดทา
สรุปได้ว่า OAJ เป็นวารสารที่จัดทาเป็น OAโดยสานักพิมพ์ เป็นผลงานวิชาการที่มีให้อ่าน
แบบออนไลน์ ส่วนใหญ่จะเป็นแบบ Post prints เพราะก่อนที่จะจัดทา สิ่งพิมพ์ต้องผ่าน
กระบวนการประเมิน (peer-reviewed) โดยผู้ทรงคุณวุฒิก่อน เพื่อให้ข้อมูลถูกต้อง ครบถ้วน และมี
ประสิทธิภาพ การจัดทา OAJ สานักพิมพ์จะทาเอกสารเหล่านั้นให้เข้าถึงได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
และมีอิสระในการเข้าถึงเอกสารนั้นๆ เนื่องจากมีการเรียกเก็บจากเจ้าของบทความ หรือหน่วยงาน
ต้นสังกัดและสปอนเซอร์สาหรับการตีพิมพ์อยู่ก่อนหน้าแล้ว (Author-pays) โดยอาจเป็นเพียงการ
เรียกเก็บส่วนหนึ่ง และลดค่าใช้จ่ายผ่านทางโฆษณาที่แฝงอยู่ หรือได้สปอนเซอร์มาช่วย โดยที่
ผู้อ่านไม่มีการเสียค่าใช้จ่ายใดๆในการเข้าถึงบทความนอกเหนือจากที่กาหนดไว้ การทา OAJ จะทา
ให้จานวนการอ้างอิงสูงขึ้นซึ่งส่งผลต่อชื่อเสียงของผู้เขียน และวารสารที่เกี่ยวข้อง
2.1 ข้อดีของ OAJ
1) ผลงานทุกชิ้นผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ (peer- reviewed) มาแล้ว จึงจัด
ได้ว่าเป็นผลงานที่มีคุณภาพ
2) การจัดทา OAJ ทาโดยสานักพิมพ์ซึ่งมักเป็นที่รู้จักมากกว่าคลังเอกสารที่ใช้
จัดทา Self-archiving จึงมีผู้ใช้มากกว่า ทาให้ผลงานได้รับการนาไปศึกษา และอ้างอิงมากกว่า ส่งผล
ให้เจ้าของผลงานเป็นที่รู้จักมากขึ้น มีชื่อเสียง และได้รับความนิยม
2.2 ประเภทของวารสาร OA ใน OAJ สามารถแบ่งได้6 ประเภท ดังนี้
1) Journals entirely open access คือ บทความที่อยู่ในวารสารนี้ทั้งหมดเป็นOA
2) Journals with research articles open access (hybrid open access journals) คือ
บทความวิจัยในวารสารวิชาการนี้เปิดเป็น OA ทั้งหมด
3) Journals with some research articles open access (hybrid open access
journals) คือ บทความวิจัยในวารสารวิชาการนี้เปิดเป็น OA เพียงบางบทความ
4) Journals with some articles open access and the other delayed access คือ
วารสารที่มีบทความวิจัยเป็น OA และบางบทความยังชะลอการจัดทาเป็น OA
2-E10
5) Journals with delayed open access (delayed open access journals) คือ วารสาร
ที่ยังชะลอการจัดทาเป็น OA หรือเรียกว่า Delayed OAJ
6) Journals permitting self-archiving of articles คือ วารสารอนุญาตให้ผู้เขียนนา
ผลงานไปจัดทาเป็น Self-archivingได้(Wikipedia, 2011)
2.3 ประเภทสานักพิมพ์ของ OAJ แบ่งได้3 ประเภท ดังนี้
1) Born-OA Publishers เป็นสานักพิมพ์ที่เผยแพร่วารสารที่เป็น OA ทั้งเชิงพาณิชย์
และไม่แสวงผลกาไร ก่อตั้งขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการจัดทาวารสารที่เป็น OA ส่วนใหญ่มีการใช้
สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอน(หรือสัญญาอนุญาตที่คล้ายกัน) โดยผู้เขียนมักจะเก็บลิขสิทธ์
ผลงานไว้เอง สานักพิมพ์ประเภทนี้จะได้รับเงินสนับสนุนจากหน่วยงาน ผู้เขียนไม่จาเป็นต้องจ่าย
โดยสานักพิมพ์จะได้ทุนจากหลายๆแหล่ง เช่นการโฆษณา ค่าธรรมเนียมผู้เขียน ค่าใช้จ่ายเหล่านี้
อาจจะจ่ายโดยผู้เขียน เงินทุน ค่าสมาชิกห้องสมุดหรือสถาบันต่างๆ หรือ ได้จากการทาสาเนาพิมพ์
การจัดส่งเอกสาร เป็นต้น ตัวอย่างของสานักพิมพ์ประเภทนี้ ได้แก่
1.1 PloS : ห้องสมุดประชาชนวิทยาศาสตร์
1.2 BioMed Central (BMC) เป็นสานักพิมพ์ที่เน้นทางด้านวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และทางการแพทย์ มีการอนุญาตให้เจ้าของผลงานยังคงสิทธิ์ในผลงานของตนเมื่อนา
ผลงานมาส่งให้แก่ BMC
ภาพที่ 9 แสดงแถบ PloS JOURNALS (PloS, n.d.)
2-E11
ภาพที่ 10 BioMed Central(BMC) (BioMed Central, n.d.)
2) Conventional Publishers เป็นสานักพิมพ์วารสารฉบับพิมพ์เชิงพาณิชย์แบบ
ดั้งเดิมที่มีการตีพิมพ์วารสารออกมาเป็นรูปเล่ม แต่ต่อมาได้มีการนาวารสารมาจัดทาเป็น OA ด้วย
ยกตัวอย่างเช่น Springer ที่เปลี่ยนมาทาสานักพิมพ์วารสารแบบเปิดสาธารณะ ภายใต้ชื่อ
SpringerOpen โดย Springer ได้มีการจัดทา Springer Open Choice Program เพื่อช่วยให้ผู้เขียน
สามารถเผยแพร่ผลงานของตัวเองเป็นแบบ OA โดยผู้เขียนมีการเสียค่าธรรมเนียมในการเอาผลงาน
มาลง $3000 (โดยสิทธิ์ในผลงานจะเป็นของผู้เขียนแต่หากผู้เขียนไม่เสียค่าธรรมเนียมสิทธิ์ใน
ผลงานก็จะตกเป็นของ Springer) ซึ่งผู้เขียนสามารถเก็บผลงานในรูปแบบดิจิทัลและสามารถใช้ได้
อย่างอิสระบน SpringerLink และหากสมาชิกในสถาบันนั้นมีการลง OA มากก็จะมีการลดค่า
สมาชิกให้ตามจานวน เว็บไซต์ http://www.springer.com/
2-E12
ภาพที่ 11 สานักพิมพ์Springer (“Springer”, n.d.)
3) Non-Traditional Publishers เป็นสานักพิมพ์ที่ตั้งขึ้นโดยไม่หวังผลกาไร ซึ่ง
มักจะเป็นสถาบันการศึกษาหรือโรงเรียน สถาบันและศูนย์การวิจัย ห้องสมุด สมาคมวิชาชีพ
นักวิชาการและอื่นๆโดยได้มีการจัดพิมพ์วารสาร OA เป็นของตัวเอง เนื่องจากต้องการกระจาย
ความรู้ให้บุคคลที่สนใจหรือนักวิจัยได้ศึกษาอย่างเป็นสาธารณะ และไม่มีการเสียค่าใช้จ่ายใดใด
ผู้เขียนได้นาผลงานของตัวเองจัดทาเป็น OA ภายใต้สถาบัน หรือหน่วยงานที่ตนสังกัด โดยเฉพาะ
หลังจากที่อินเทอร์เน็ตเริ่มต้นได้รับความนิยมในช่วงกลางทศวรรษ 1990 ได้มีการทาโปรแกรม
Open Journal Systems (OJS) ที่ทาให้การจัดทา OAJ ง่าย และสะดวกมากขึ้น ในการจัดทา OAJ
หลายหน่วยงานจึงมีการหยุดทาวารสารแบบรูปเล่ม และได้หันมาทาวารสารที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์
แทน และเปลี่ยนเป็นกิจการที่ไม่แสวงหากาไรโดยเฉพาะ ตัวอย่างของสานักพิมพ์ประเภทนี้ ได้แก่
scripted : ซึ่งเป็ นวารสารด้านกฎหมาย เทคโนโลยี และสังคม เว็บไซต์คือ
http://www.law.ed.ac.uk/ahrc/script-ed ดังภาพที่ 12 (Bailey, 2006)
2-E13
ภาพที่ 12 รูปภาพหน้าแรกของ scripted (Scripted, n.d.)
สรุป การจัดทาเพื่อการเข้าถึงแบบเปิด สามารถทาได้ 2 รูปแบบ คือ การจัดทาแบบ Self-
Archiving และการจัดทาแบบ Open-access Journals (OAJ) การจัดทาแบบ Self-Archiving หรือที่
เรียกว่า Green OA คือ การนาเข้าเอกสารสู่สาธารณะด้วยตนเอง ซึ่งเป็นผลงานที่ผู้เขียนนาไปจัดเก็บ
ไว้ในเว็บไซต์ของตัวเอง เว็บไซต์องค์กร หรือคลังจัดเก็บเอกสาร (Institutional Repository) เพื่อ
นาไปเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ตต่อได้ ซึ่งเป็นเอกสารที่ผู้ใช้เข้าถึงได้อย่างอิสระและไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ
ส่วนการจัดทาแบบ OAJ หรือที่เรียกว่า Gold OA คือ การนาเข้าเอกสารสู่สาธารณะโดยสานักพิมพ์
จะเป็นผู้จัดทา โดยผู้เขียน (หรือ หน่วยงานที่สังกัด) จะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่าย เป็นผลงานวิชาการที่มี
ให้อ่านแบบออนไลน์ ผลงานจะเป็นแบบ Post prints จึงทาให้ผู้ใช้มั่นใจว่าผลงานที่ได้ถูกต้อง และ
มีประสิทธิภาพ
2-E14
บรรณานุกรม
Bailey, C. W. Jr. (2006). What Is Open Access?. Retrieved from http://www.digital-
scholarship.org/cwb/WhatIsOA.htm
BioMed Central. (n.d.). BioMed Central : The Open Access Publisher. Retrieved from
http://www.biomedcentral.com.
Budapest Open Access Initiative. (2002). Retrieved from
http://www.soros.org/openaccess/read.shtml
Cornell University Library. (n.d.). arxiv.org. Retrieved from http://arxiv.org/
DBClear. (n.d.). Social Science Open Access Repository (SSOAR). Retrieved from
http://www.ssoar.info/en.html
Duke University School of Law. (n.d.). Duke Law Faculty Scholarship Repository. Retrieved
from http://eprints.law.duke.edu/
Harnad, S. (n.d.). Open Access. Retrieved from http://www.eprints.org/openaccess/
Lund University Libraries. (2011). DOAJ - Directory of Open Access Journals. from
http://www.doaj.org
MediaWiki. (2010). Open access scholariy resources. Retrieved from
http://www.wowthailand.org/index.php/Open_access_scholarly_resources#
MITLibraries. (n.d.). DSpace at MIT. Retrieved from http://dspace.mit.edu/
PLoS. (n.d.). Public Library of Science. Retrieved from http://www.plos.org/
Wikipedia. (2011). Open access journal. Retrieved from
http://en.wikipedia.org/wiki/Open_access_journal
Roy. (2011). Open access, medical physics, and arXiv.org. Retrieved from
http://willworkforscience.blogspot.com/2011/01/open-access-medical-physics-and.html
Scripted. (n.d.). A Journal of Law, Technology & Society. Retrieved from
http://www.law.ed.ac.uk/ahrc/script-ed/
Southampton University. (n.d.). Registry of Open Access Repositories (ROAR). Retrieved from
http://roar.eprints.org
Springer. (n.d.). Retrieved from http://www.springer.com/
2-E15
Suber, P. (2004). Open Access Overview. Retrieved from
http://www.earlham.edu/~peters/fos/overview.htm
University of Nottingham, UK. (2010). The Directory of Open Access Repositories –
OpenDOAR. Retrieved from http://www.opendoar.org/

More Related Content

Similar to Open Access Article by CMU Students # 4

บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศบทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศBeauso English
 
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdfมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdfTassanee Lerksuthirat
 
การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานChainarong Maharak
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 

Similar to Open Access Article by CMU Students # 4 (13)

บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศบทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
 
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdfมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
 
Open ssru really2557
Open ssru really2557Open ssru really2557
Open ssru really2557
 
Open Access for Education
Open Access for EducationOpen Access for Education
Open Access for Education
 
บริการบนอินเทอร์เน็ต
บริการบนอินเทอร์เน็ตบริการบนอินเทอร์เน็ต
บริการบนอินเทอร์เน็ต
 
V 267
V 267V 267
V 267
 
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
 
How to Search KKU Web OPAC
How to Search KKU Web OPACHow to Search KKU Web OPAC
How to Search KKU Web OPAC
 
การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงาน
 
Open access
Open accessOpen access
Open access
 
Km1
Km1Km1
Km1
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม
 
TISTR-KLC presentation 2011-th
TISTR-KLC presentation 2011-thTISTR-KLC presentation 2011-th
TISTR-KLC presentation 2011-th
 

More from Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 

Open Access Article by CMU Students # 4

  • 1. การจัดทาเอกสารเพื่อการเข้าถึงแบบเปิด สุภารัตน์ สังขวรรณ การจัดทาเอกสารเพื่อการเข้าถึงแบบเปิด คือ การที่ผู้แต่ง (รวมถึงหน่วยงานต้นสังกัด/แหล่ง เงินทุนวิจัย) จะเป็นผู้จ่าย และยอมให้นาบทความตีพิมพ์ไปเผยแพร่ ดาวน์โหลด ได้ฟรีบน อินเทอร์เน็ต หรือที่เรียกกันว่า “Open Access(OA) Publishing” ในการประชุมที่ Hungary Budapest (2002) ได้กล่าวถึงการจัดทาเอกสาร OA ว่า การที่ นักวิทยาศาสตร์ และนักวิชาการต้องการเผยแพร่ผลงานวิจัยของตนเพื่อแบ่งปันความรู้ จะใช้ อินเทอร์เน็ตเป็นศูนย์กลางในการเผยแพร่ผลงาน เพื่อให้การเข้าถึงข้อมูลเป็นสาธารณะ และไม่มี การเสียค่าใช้จ่ายใดๆในการเข้าถึง ซึ่งการเข้าถึงนี้จะช่วยให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน เป็นการให้ข้อมูล แบบออนไลน์โดยไม่มีการเสียค่าใช้จ่าย ที่เรียกกันว่า “Open Access” (OA) ซึ่งหมายถึงว่าผลงานนี้ สามารถให้บุคคลทั่วไปสามารถศึกษา ดาวน์โหลด คัดลอก แจกจ่าย พิมพ์ ค้นหา หรือเชื่อมโยงไป ยังบทความเหล่านี้โดยการทาดรรชนีสืบค้น ซึ่งเจ้าของผลงานยังคงมีสิทธิ์ในผลงานของตน การ จัดทาเอกสาร OA ทาให้เห็นว่าเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการจัดพิมพ์เอกสารแบบดั้งเดิม และมีหลาย หน่วยงานได้หันมาจัดทาเอกสารในรูปแบบ OA กันมากขึ้น ในการประชุมได้แบ่งการจัดทาเอกสาร OA ออกเป็น 2 แบบ ได้แก่ Self-Archiving และOpen-access Journals ซึ่งการจัดทาทั้ง 2 แบบนี้จะ ทาให้การจัดทาเอกสาร OA เกิดประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งผู้เขียนหรือสถาบันที่เกี่ยวข้องกับผู้เขียน สามารถทาได้เองโดยไม่ต้องรอการเปลี่ยนแปลงในเรื่องการตลาด หรือในเรื่องของเงื่อนไขกฎหมาย เข้ามาเกี่ยวข้องและนอกจาก 2 รูปแบบที่กล่าวมา ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมขึ้นเรื่อยๆ เพื่อให้เกิดความ มั่นใจว่าจะมีความคืบหน้าในการทางานที่มีความหลากหลาย รวดเร็ว และปลอดภัยยิ่งขึ้น 1. Self-Archiving จากการแถลงการณ์ในประชุมที่ Hungary ได้กล่าวไว้ว่า นักวิชาการจาเป็นต้องมีเครื่องมือ และ ความช่วยเหลือในการฝากบทความในคลังข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ พวกเขาเรียกการจัดทานี้ว่า Self- Archiving ซึ่งคลังข้อมูลเหล่านี้ต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่สร้างขึ้น มีเครื่องมือการค้นหา และ เครื่องมืออื่นๆ ที่สามารถรวบรวมบทความหลายๆบทความมาไว้ในแหล่งเดียวกัน ซึ่งให้ผู้ใช้เกิด ความสะดวกเวลาสืบค้น สามารถสืบค้นได้ข้อมูลอย่างรวดเร็ว (“Budapest”, 2002) Stevan Harnad (as eited in Bailey, 2006) ได้แบ่งประเภทการจัดทา OAไว้ว่าเมื่อผู้แต่งได้ เผยแพร่บทความของตนเองให้เป็นสาธารณะในรูปแบบดิจิตอล โดยการเอาไปไว้อินเทอร์เน็ต จะ เรียกกันว่า “Self Archiving” หรือ "Green Road" ซึ่งบทความจะเป็น Preprints หรือ Postprints ก็ได้
  • 2. 2-E2 บทความที่อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ทั้ง Preprint และPostprint ทั้งหมดจะถูกเรียกว่า E-print ที่ที่ ใช้ในการจัดเก็บเอกสาร OA เช่น เว็บไซต์ส่วนบุคคล, e-books, blogs, wikis เป็นต้น Stevan ได้จัด กลุ่มประเภท Self Archive ออกเป็น ดังนี้ - Gold คือ เมื่อผู้แต่งมีการเขียนบทความเสร็จก็จะนาบทความออกเสนอทันที (นาเสนอ ให้คนได้ต่อยอดความรู้อย่างรวดเร็ว) - Green คือ การปรับปรุงแก้ไขผลงานของตัวเอง - Pale green คือ การอนุมัติให้บุคคลอื่นนาผลงานตนไปใช้ได้ในที่อื่นๆ เช่น ใช้ในการ อ้างอิง - Gray เป็นเอกสารอื่นที่อยู่นอกเหนือจากลักษณะของเอกสารที่ได้กล่าวมา (Bailey, 2006) Peter Suber (2004) ได้กล่าวถึงว่า Green OA (หรือหมายถึง Self-Archiving) สามารถจัดทา โดย คลังจัดเก็บเอกสารสาขาวิชา (Disciplinary Archives) เช่น arXiv ที่เน้นด้าน ฟิสิกส์ หรือ สถาบันการศึกษา (institution) ซึ่งบทความอาจเป็นแบบ Preprints (ผลงานยังไม่มีการตรวจสอบ) หรือ Postprints (ผลงานที่ได้รับการตรวจแล้ว มีทั้งที่แก้ไข และยังไม่ได้แก้ไข) ซึ่งผู้เขียนสามารถ เผยแพร่ข้อมูลได้ทันทีที่พิมพ์เสร็จ เพื่อให้ผู้อื่นได้มาต่อยอดความรู้อย่างรวดเร็ว สรุป Self-Archiving คือ การนาเข้าเอกสารสู่สาธารณะด้วยตนเอง ซึ่งเป็นผลงานที่ผู้เขียน นาไปจัดเก็บไว้ในเว็บไซต์ของตัวเอง เว็บไซต์องค์กร หรือคลังจัดเก็บเอกสาร (Institutional Repository) เพื่อนาไปเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ตต่อได้เป็นเอกสารที่ผู้ใช้เข้าถึงได้อย่างอิสระและไม่มี ค่าใช้จ่ายใดๆ จะจัดทาเป็น Preprint, Postprint แล้วแต่ข้อตกลงของเจ้าของผลงานกับสานักพิมพ์ 1.1ประโยชน์ในการจัดทา Self-archive 1) Self-archive เป็นวิธีที่ประหยัดเนื่องจากมีการจัดทาด้วยตัวผู้เขียนเอง สามารถนาผลงานของตนเองให้บุคคลอื่นได้รับรู้มากขึ้นโดยผู้ที่เข้ามาศึกษาผลงานไม่ต้องเสีย ค่าใช้จ่ายใดๆ 2) สามารถช่วยให้บทความของผู้เขียนได้รับการปรับปรุงเนื่องจากมีผู้มา ศึกษาอยู่ตลอดทาให้ได้แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน รวมไปถึงยังให้บทความของผู้เขียนได้รับ การอ้างอิงอีกด้วย ส่งผลให้ได้รับชื่อเสียง และความนิยมเพิ่มขึ้น 3) ทาให้เข้าถึงข้อมูลได้อย่างอิสระจะเป็นประโยชน์ในการช่วยเหลือ งานวิจัยใหม่อย่างแท้จริง ซึ่งนักวิจัยสามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรงทาให้สะดวกแก่การศึกษา ค้นคว้า ส่งผลให้งานวิจัยก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว
  • 3. 2-E3 1.2 รูปแบบการนาเสนอของ Self-Archiving 1) เว็บไซต์ส่วนบุคคล (Author’s Personal Websites) เป็นการจัดทา OA ในเว็บไซต์ของผู้เขียนแบบง่ายๆ ซึ่งทาให้ผู้ใช้สามารถเข้าใช้ได้ง่ายขึ้นควรมีการทาเมทาดาทาลงใน เว็บไซต์ของตัวเองด้วย และการนาเสนอเอกสารที่จัดทาเชื่อมโยงกับไฟล์ต้องการเผยแพร่ โดยอยู่ใน รูปแบบ HTML, PDF, Word หรือรูปแบบอื่น ๆ ไฟล์ที่เว็บไซต์มักมีการสร้างดรรชนีสืบค้นใน โปรแกรมค้นหา (Search engine) ซึ่งมีประโยชน์ต่อผู้ที่ต้องการค้นหา ส่วนใหญ่จะมีค้นหาจากชื่อผู้ แต่ง หรือชื่อเรื่อง ยกตัวอย่างเช่น Google, Bring เป็นต้น 2) คลังจัดเก็บเอกสาร (Repositories) เป็นการจัดทา OA ลงในคลังเอกสาร ซึ่งคลังเอกสารสามารถแบ่งออกได้หลายประเภท ตามแหล่งการจัดเก็บ คลังเอกสารมีมากมายผู้ใช้ อาจสามารถหาได้จาก Open DOAR (The Directories of Open Access Repositories) ซึ่งถือเป็น แหล่งรวบรวมรายชื่อของคลังจัดเก็บเอกสาร ของสถาบันต่างๆทั่วโลก สามารถช่วยให้ค้นหารายชื่อ คลังจัดเก็บเอกสารที่เก็บผลงานไว้ รวมไปถึงการค้นหาสถิติของคลังจัดเก็บเอกสารในแต่ละคลัง Open DOAR ถือได้ว่าเป็นทรัพยากรสาคัญสาหรับการเข้าถึงเอกสาร OA และเป็นผู้นาในเรื่องนามา นุกรมของคลังจัดเก็บเอกสาร OA (repository directories) ยกตัวอย่าง สถิติคลังจัดเก็บเอกสารแบ่ง ตามประเภททรัพยากรสารสนเทศ (ภาพที่ 1) และสถิติคลังจัดเก็บเอกสารแบ่งตามประเภท เนื้อหาวิชา(ภาพที่ 2) (University of Nottingham, UK., 2010) ภาพที่ 1 สถิติคลังจัดเก็บเอกสารแบ่งตามประเภททรัพยากรสารสนเทศ (University of Nottingham, UK., 2010)
  • 4. 2-E4 ภาพที่ 2 สถิติคลังจัดเก็บเอกสารแบ่งตามประเภทเนื้อหาวิชา (University of Nottingham, UK., 2010) ซึ่งการจัดเก็บในรูปแบบคลังจัดเก็บเอกสาร สามารถแบ่งออกได้ดังนี้ 2.1 คลังจัดเก็บเอกสารเฉพาะสาขาวิชา (Disciplinary Archives) เป็นการ จัดเก็บลงในคลังเอกสารของเว็บไซต์ที่มีการเปิดโอกาสให้เจ้าของสามารถนาผลงานของตนเองมา ลงเป็น OAได้คลังเอกสารเหล่านี้ใช้สาหรับจัดเก็บพวก e-print ซึ่ง e-print เหล่านี้อาจจะไม่ใช่ Open Access ก็ได้ คลังเอกสารเหล่านี้จะ ครอบคลุมอย่างน้อยหนึ่งวิชา ยกตัวอย่างคลังเอกสารเหล่านี้ ได้แก่ 1) arXiv เป็ นคลังเอกสารที่เน้นด้าน ฟิ สิกส์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ประยุกต์ ฯลฯ จัดทาโดยมหาวิทยาลัยคอร์เนล arXiv ได้ขยายให้ครอบคลุมทั้งหมด ของสาขาวิชาฟิสิกส์เช่นเดียวกับเขตข้อมูลอื่น ๆ เช่นคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์
  • 5. 2-E5 arXiv ถือได้ว่าเป็นผู้นาในการจัดเก็บข้อมูลด้านฟิสิกส์ โดยจัดเก็บในเว็บไซต์ www.arXiv.org ดัง ภาพที่ 3 2) PLoS (Public Library of Science) เป็นคลังเอกสารที่เน้น ทางด้านวิทยาศาสตร์และการแพทย์ PloS เป็นองค์กรไม่แสวงหากาไรของนักวิทยาศาสตร์และ แพทย์ที่มุ่งมั่นจะทาให้ผลงานเป็นทรัพยากรสาธารณะที่มีอิสระในการเข้าถึง และเผยแพร่บทความ ภายใต้สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ ดังภาพที่5 โดยจัดเก็บในเว็ปไซต์ www.plos.org ดังภาพที่ 4 3) SSOAR เป็นคลังเอกสารที่เน้นด้านสังคมศาสตร์ ดัชนีและเก็บ เอกสารวิชาการ (ฉบับเต็ม) จากสังคมศาสตร์ในประเทศเยอรมนีและในต่างประเทศ นับตั้งแต่ เปิดตัวเครื่องแม่ข่ายในปี 2008 จานวนผู้ใช้และปริมาณของเนื้อหามีการเติบโตเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง SSOAR จัดเก็บและการเผยแพร่ข้อมูลที่มีการควบคุมคุณภาพ SSOAR ถูกสร้างขึ้นโดยศูนย์สาหรับ Digital Systems ( CeDiS ) และสถาบันการวิจัยเชิงคุณภาพ ( IQF ) โดยผู้ใช้สามารถฝากเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ของตนเองผ่านทาง แบบฟอร์มออนไลน์ หรือผ่านทางฟังก์ชั่นนาเข้าใน sowiport (เดิมชื่อ Virtual Library Social Science) ที่ดึงข้อมูลเมทาตาทามาใช้ได้ สาหรับเอกสารที่ฝากใน SSOAR จะถูกเก็บอย่างยั่งยืน ซึ่งSSOAR มีความร่วมมือกับห้องสมุดแห่งชาติเยอรมันอีกด้วย สามารถเข้าดูได้ที่เว็บไซต์ http://www.ssoar.info/en.html ภาพที่ 3 รูปภาพคลังเอกสาร arXiv.org (Cornell University Library, n.d.)
  • 6. 2-E6 ภาพที่ 4 คลังเอกสาร PloS (PloS, n.d.) ภาพที่ 5 แสดงรูปภาพตัวอย่างการจัดเก็บ OAใน PloS (PloS, n.d.)
  • 7. 2-E7 ภาพที่ 6 คลังเอกสารของ SSOAR (DBClear, n.d.) 2.2 คลังเก็บเอกสารของสถาบัน (Institutional Repositories) คือ คลัง เอกสารของมหาวิทยาลัย หรือสถาบันการวิจัยต่างๆ ที่มีการจัดเก็บผลงานไว้ในคลังเอกสารของตน ยกตัวอย่างเช่น วิทยานิพนธ์ของปริญญาโท ปริญญาเอก จัดทาขึ้นเพื่อเป็นการอนุรักษ์ และเผยแพร่ ผลงานของพวกเขา ถึงแม้ว่าจะมีสถาบันการศึกษาได้มีการจัดทาอยู่หลายแห่งแต่มักขาดเงินทุนใน การจัดทา ยกตัวอย่างการเก็บรูปแบบนี้ เช่น Dspace at MIT เว็บไซต์ http://dspace.mit.edu/ ดังภาพที่ 7 ภาพที่ 7 หน้าแรกของคลังเอกสาร Dspace at MIT (MITLibraries, n.d.)
  • 8. 2-E8 2.3 คลังเก็บเอกสารของหน่วยงาน (Institutional Unit Archives) เป็นคลัง เก็บเอกสารของหน่วยงาน หรือคณะ จะเป็นผลงานวิจัยในเชิงวิชาการของคณาจารย์ นักวิจัย หรือ นิสิตบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัยที่นาผลงานของตนมาจัดทาเป็น OA ในหน่วยงานหรือ คณะที่ ตนสังกัด เพื่อเผยแพร่ผลงาน และเพื่อสงวนรักษาผลงานนั้นให้ยั่งยืน ยกตัวอย่างคลังเก็บ สารสนเทศระดับหน่วยงาน (Bailey, 2006) ยกตัวอย่าง Duke Law Faculty Scholarship Repository เป็นผู้นาในสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ทางด้านกฎหมายและการส่งเสริมการใช้งาน OA ด้านกฎหมาย ภาพที่ 8 คลังเอกสาร Duke Law Faculty Scholarship Repository 2. Open-access Journals (OAJ) ในการประชุมที่ Hungary ได้กล่าวไว้ว่า Open-access Journals (OAJ) คือ วารสารที่มีการ นามาจัดทาเป็น OA เพราะเชื่อว่าบทความต่างๆในวารสารวิชาการควรจะมีการเผยแพร่อย่าง กว้างขวาง โดยไม่มีการเก็บค่าสมัครสมาชิก เพราะมีแหล่งเงินทุนที่ให้การสนับสนุนหลายแห่ง รวม ไปถึงมูลนิธิ และหน่วยงานราชการต่างๆ (“Budapest”, 2002) Stevan Harnad (as eited in Bailey, 2006) ได้กล่าวว่า OAJ หรือเรียกว่า “Gold Road “ จะมี คุณลักษณะดังต่อไปนี้ 1. เป็นผลงานวิชาการ 2. มีกลไกการควบคุมคุณภาพแบบวารสารแบบดั้งเดิม เช่น การกากับดูแลโดย กองบรรณาธิการ และการดูแลรูปแบบในการจัดพิมพ์
  • 9. 2-E9 3. เป็นผลงานดิจิตอล 4. เข้าถึงได้อย่าเสรี 5. อนุญาตให้ผู้เขียนคงลิขสิทธิ์ในผลงาน 6. สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอน หรือสัญญาอนุญาตที่คล้ายกัน Peter Suber (2004) ได้พูดถึง OAJ หรือเรียกว่า Gold OA ว่า เป็นการที่ผู้เขียนต้องการ เผยแพร่ผลงานของตนโดยการจัดทาเป็นเอกสาร OA ผ่านทางสานักพิมพ์ โดยผู้เขียน หรือ หน่วยงานต้นสังกัด แหล่งเงินทุนวิจัย (ผู้สนับสนุนผู้เขียน) จะเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายในการจัดทา สรุปได้ว่า OAJ เป็นวารสารที่จัดทาเป็น OAโดยสานักพิมพ์ เป็นผลงานวิชาการที่มีให้อ่าน แบบออนไลน์ ส่วนใหญ่จะเป็นแบบ Post prints เพราะก่อนที่จะจัดทา สิ่งพิมพ์ต้องผ่าน กระบวนการประเมิน (peer-reviewed) โดยผู้ทรงคุณวุฒิก่อน เพื่อให้ข้อมูลถูกต้อง ครบถ้วน และมี ประสิทธิภาพ การจัดทา OAJ สานักพิมพ์จะทาเอกสารเหล่านั้นให้เข้าถึงได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และมีอิสระในการเข้าถึงเอกสารนั้นๆ เนื่องจากมีการเรียกเก็บจากเจ้าของบทความ หรือหน่วยงาน ต้นสังกัดและสปอนเซอร์สาหรับการตีพิมพ์อยู่ก่อนหน้าแล้ว (Author-pays) โดยอาจเป็นเพียงการ เรียกเก็บส่วนหนึ่ง และลดค่าใช้จ่ายผ่านทางโฆษณาที่แฝงอยู่ หรือได้สปอนเซอร์มาช่วย โดยที่ ผู้อ่านไม่มีการเสียค่าใช้จ่ายใดๆในการเข้าถึงบทความนอกเหนือจากที่กาหนดไว้ การทา OAJ จะทา ให้จานวนการอ้างอิงสูงขึ้นซึ่งส่งผลต่อชื่อเสียงของผู้เขียน และวารสารที่เกี่ยวข้อง 2.1 ข้อดีของ OAJ 1) ผลงานทุกชิ้นผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ (peer- reviewed) มาแล้ว จึงจัด ได้ว่าเป็นผลงานที่มีคุณภาพ 2) การจัดทา OAJ ทาโดยสานักพิมพ์ซึ่งมักเป็นที่รู้จักมากกว่าคลังเอกสารที่ใช้ จัดทา Self-archiving จึงมีผู้ใช้มากกว่า ทาให้ผลงานได้รับการนาไปศึกษา และอ้างอิงมากกว่า ส่งผล ให้เจ้าของผลงานเป็นที่รู้จักมากขึ้น มีชื่อเสียง และได้รับความนิยม 2.2 ประเภทของวารสาร OA ใน OAJ สามารถแบ่งได้6 ประเภท ดังนี้ 1) Journals entirely open access คือ บทความที่อยู่ในวารสารนี้ทั้งหมดเป็นOA 2) Journals with research articles open access (hybrid open access journals) คือ บทความวิจัยในวารสารวิชาการนี้เปิดเป็น OA ทั้งหมด 3) Journals with some research articles open access (hybrid open access journals) คือ บทความวิจัยในวารสารวิชาการนี้เปิดเป็น OA เพียงบางบทความ 4) Journals with some articles open access and the other delayed access คือ วารสารที่มีบทความวิจัยเป็น OA และบางบทความยังชะลอการจัดทาเป็น OA
  • 10. 2-E10 5) Journals with delayed open access (delayed open access journals) คือ วารสาร ที่ยังชะลอการจัดทาเป็น OA หรือเรียกว่า Delayed OAJ 6) Journals permitting self-archiving of articles คือ วารสารอนุญาตให้ผู้เขียนนา ผลงานไปจัดทาเป็น Self-archivingได้(Wikipedia, 2011) 2.3 ประเภทสานักพิมพ์ของ OAJ แบ่งได้3 ประเภท ดังนี้ 1) Born-OA Publishers เป็นสานักพิมพ์ที่เผยแพร่วารสารที่เป็น OA ทั้งเชิงพาณิชย์ และไม่แสวงผลกาไร ก่อตั้งขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการจัดทาวารสารที่เป็น OA ส่วนใหญ่มีการใช้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอน(หรือสัญญาอนุญาตที่คล้ายกัน) โดยผู้เขียนมักจะเก็บลิขสิทธ์ ผลงานไว้เอง สานักพิมพ์ประเภทนี้จะได้รับเงินสนับสนุนจากหน่วยงาน ผู้เขียนไม่จาเป็นต้องจ่าย โดยสานักพิมพ์จะได้ทุนจากหลายๆแหล่ง เช่นการโฆษณา ค่าธรรมเนียมผู้เขียน ค่าใช้จ่ายเหล่านี้ อาจจะจ่ายโดยผู้เขียน เงินทุน ค่าสมาชิกห้องสมุดหรือสถาบันต่างๆ หรือ ได้จากการทาสาเนาพิมพ์ การจัดส่งเอกสาร เป็นต้น ตัวอย่างของสานักพิมพ์ประเภทนี้ ได้แก่ 1.1 PloS : ห้องสมุดประชาชนวิทยาศาสตร์ 1.2 BioMed Central (BMC) เป็นสานักพิมพ์ที่เน้นทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และทางการแพทย์ มีการอนุญาตให้เจ้าของผลงานยังคงสิทธิ์ในผลงานของตนเมื่อนา ผลงานมาส่งให้แก่ BMC ภาพที่ 9 แสดงแถบ PloS JOURNALS (PloS, n.d.)
  • 11. 2-E11 ภาพที่ 10 BioMed Central(BMC) (BioMed Central, n.d.) 2) Conventional Publishers เป็นสานักพิมพ์วารสารฉบับพิมพ์เชิงพาณิชย์แบบ ดั้งเดิมที่มีการตีพิมพ์วารสารออกมาเป็นรูปเล่ม แต่ต่อมาได้มีการนาวารสารมาจัดทาเป็น OA ด้วย ยกตัวอย่างเช่น Springer ที่เปลี่ยนมาทาสานักพิมพ์วารสารแบบเปิดสาธารณะ ภายใต้ชื่อ SpringerOpen โดย Springer ได้มีการจัดทา Springer Open Choice Program เพื่อช่วยให้ผู้เขียน สามารถเผยแพร่ผลงานของตัวเองเป็นแบบ OA โดยผู้เขียนมีการเสียค่าธรรมเนียมในการเอาผลงาน มาลง $3000 (โดยสิทธิ์ในผลงานจะเป็นของผู้เขียนแต่หากผู้เขียนไม่เสียค่าธรรมเนียมสิทธิ์ใน ผลงานก็จะตกเป็นของ Springer) ซึ่งผู้เขียนสามารถเก็บผลงานในรูปแบบดิจิทัลและสามารถใช้ได้ อย่างอิสระบน SpringerLink และหากสมาชิกในสถาบันนั้นมีการลง OA มากก็จะมีการลดค่า สมาชิกให้ตามจานวน เว็บไซต์ http://www.springer.com/
  • 12. 2-E12 ภาพที่ 11 สานักพิมพ์Springer (“Springer”, n.d.) 3) Non-Traditional Publishers เป็นสานักพิมพ์ที่ตั้งขึ้นโดยไม่หวังผลกาไร ซึ่ง มักจะเป็นสถาบันการศึกษาหรือโรงเรียน สถาบันและศูนย์การวิจัย ห้องสมุด สมาคมวิชาชีพ นักวิชาการและอื่นๆโดยได้มีการจัดพิมพ์วารสาร OA เป็นของตัวเอง เนื่องจากต้องการกระจาย ความรู้ให้บุคคลที่สนใจหรือนักวิจัยได้ศึกษาอย่างเป็นสาธารณะ และไม่มีการเสียค่าใช้จ่ายใดใด ผู้เขียนได้นาผลงานของตัวเองจัดทาเป็น OA ภายใต้สถาบัน หรือหน่วยงานที่ตนสังกัด โดยเฉพาะ หลังจากที่อินเทอร์เน็ตเริ่มต้นได้รับความนิยมในช่วงกลางทศวรรษ 1990 ได้มีการทาโปรแกรม Open Journal Systems (OJS) ที่ทาให้การจัดทา OAJ ง่าย และสะดวกมากขึ้น ในการจัดทา OAJ หลายหน่วยงานจึงมีการหยุดทาวารสารแบบรูปเล่ม และได้หันมาทาวารสารที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์ แทน และเปลี่ยนเป็นกิจการที่ไม่แสวงหากาไรโดยเฉพาะ ตัวอย่างของสานักพิมพ์ประเภทนี้ ได้แก่ scripted : ซึ่งเป็ นวารสารด้านกฎหมาย เทคโนโลยี และสังคม เว็บไซต์คือ http://www.law.ed.ac.uk/ahrc/script-ed ดังภาพที่ 12 (Bailey, 2006)
  • 13. 2-E13 ภาพที่ 12 รูปภาพหน้าแรกของ scripted (Scripted, n.d.) สรุป การจัดทาเพื่อการเข้าถึงแบบเปิด สามารถทาได้ 2 รูปแบบ คือ การจัดทาแบบ Self- Archiving และการจัดทาแบบ Open-access Journals (OAJ) การจัดทาแบบ Self-Archiving หรือที่ เรียกว่า Green OA คือ การนาเข้าเอกสารสู่สาธารณะด้วยตนเอง ซึ่งเป็นผลงานที่ผู้เขียนนาไปจัดเก็บ ไว้ในเว็บไซต์ของตัวเอง เว็บไซต์องค์กร หรือคลังจัดเก็บเอกสาร (Institutional Repository) เพื่อ นาไปเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ตต่อได้ ซึ่งเป็นเอกสารที่ผู้ใช้เข้าถึงได้อย่างอิสระและไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ ส่วนการจัดทาแบบ OAJ หรือที่เรียกว่า Gold OA คือ การนาเข้าเอกสารสู่สาธารณะโดยสานักพิมพ์ จะเป็นผู้จัดทา โดยผู้เขียน (หรือ หน่วยงานที่สังกัด) จะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่าย เป็นผลงานวิชาการที่มี ให้อ่านแบบออนไลน์ ผลงานจะเป็นแบบ Post prints จึงทาให้ผู้ใช้มั่นใจว่าผลงานที่ได้ถูกต้อง และ มีประสิทธิภาพ
  • 14. 2-E14 บรรณานุกรม Bailey, C. W. Jr. (2006). What Is Open Access?. Retrieved from http://www.digital- scholarship.org/cwb/WhatIsOA.htm BioMed Central. (n.d.). BioMed Central : The Open Access Publisher. Retrieved from http://www.biomedcentral.com. Budapest Open Access Initiative. (2002). Retrieved from http://www.soros.org/openaccess/read.shtml Cornell University Library. (n.d.). arxiv.org. Retrieved from http://arxiv.org/ DBClear. (n.d.). Social Science Open Access Repository (SSOAR). Retrieved from http://www.ssoar.info/en.html Duke University School of Law. (n.d.). Duke Law Faculty Scholarship Repository. Retrieved from http://eprints.law.duke.edu/ Harnad, S. (n.d.). Open Access. Retrieved from http://www.eprints.org/openaccess/ Lund University Libraries. (2011). DOAJ - Directory of Open Access Journals. from http://www.doaj.org MediaWiki. (2010). Open access scholariy resources. Retrieved from http://www.wowthailand.org/index.php/Open_access_scholarly_resources# MITLibraries. (n.d.). DSpace at MIT. Retrieved from http://dspace.mit.edu/ PLoS. (n.d.). Public Library of Science. Retrieved from http://www.plos.org/ Wikipedia. (2011). Open access journal. Retrieved from http://en.wikipedia.org/wiki/Open_access_journal Roy. (2011). Open access, medical physics, and arXiv.org. Retrieved from http://willworkforscience.blogspot.com/2011/01/open-access-medical-physics-and.html Scripted. (n.d.). A Journal of Law, Technology & Society. Retrieved from http://www.law.ed.ac.uk/ahrc/script-ed/ Southampton University. (n.d.). Registry of Open Access Repositories (ROAR). Retrieved from http://roar.eprints.org Springer. (n.d.). Retrieved from http://www.springer.com/
  • 15. 2-E15 Suber, P. (2004). Open Access Overview. Retrieved from http://www.earlham.edu/~peters/fos/overview.htm University of Nottingham, UK. (2010). The Directory of Open Access Repositories – OpenDOAR. Retrieved from http://www.opendoar.org/