SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 30
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ
โดยบุญเลิศ อรุณพิบูลย
ฝายบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
พิมพครั้งที่ 1 (กันยายน 2552) จํานวน 5,000 เลม
พิมพครั้งที่ 2 (ธันวาคม 2552) จํานวน 7,000 เลม
พิมพครั้งที่ 3 (กันยายน 2554) จํานวน 7,000 เลม

ครีเอทีฟคอมมอนสแบบแสดงที่มา – ไมใชเพื่อการคา – อนุญาตแบบเดียวกัน (by-nc-sa)
เมื่อนําเนื้อหาในหนังสือเลมนี้ไปใช ควรอางอิงแหลงที่มา โดยไมนําไปใชเพื่อการคาและยินยอมใหผูอื่นนําเนื้อหา
ไปใชตอไดดวยสัญญาอนุญาตแบบเดียวกันนี้ ขอมูลเพิ่มเติม www.creativecommons.org
จัดทําโดย
ฝายบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ 111 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย ถนนพหลโยธิน
ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี โทรศัพท 0 2564 7000 โทรสาร 0 2564 7060
http://www.stks.or.th

eMail: stks@nstda.or.th

บุญเลิศ อรุณพิบูลย
ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ / บุญเลิศ อรุณพิบูลย. – พิมพครั้งที่ 3 –
ปทุมธานี : ฝายบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยีแหงชาติ, 2554.
26 หนา : ภาพประกอบ ; 21 ซม.
1.สื่อดิจิทัล 2.แฟมขอมูลคอมพิวเตอร 3.เว็บไซต 4.ภาพดิจิทัล I.ชื่อเรื่อง : การพัฒนา
สื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ II.สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ. ฝายบริการความรู
ทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
005.741
คํานํา
การจัดทําสื่อดิจิทัลที่ผานมามักจะเนนการใชงานโปรแกรมมากกวาการพิจารณาเกียวกับ
่
มาตรฐานการสราง การแลกเปลี่ยนขอมูล และการเขากันไดเมื่อนําสื่อดิจิทัลไปใชงาน สงผลใหเกิด
ปญหาหลากหลายตามมาจํานวนมาก เสียทั้งงบประมาณ กําลังที่ตองทํางานซ้ําซอน รวมทั้งอาจจะ
สงผลกระทบตอการพัฒนาคลังขอมูลดิจิทัลในอนาคต
ฝายบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยีแหงชาติ ตระหนักถึงความสําคัญของมาตรฐานสื่อดิจิทัล จึงไดนําประสบการณจากการ
ปฏิบัติจริง จากการวิจัย แปลงเปนความรูในรูปแบบเอกสารเลมนี้ เพื่อเปนจุดตั้งตนสําหรับทุกทาน

ทุกหนวยงานไดรวมกันกําหนดแนวทาง แนวปฏิบัติ ขอกําหนด หรือมาตรฐานการพัฒนา การใชงาน
สื่อดิจิทัลภายในหนวยงานของทานตอไป
ทั้งนี้ผูเขียนขอขอบพระคุณ ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยีแหงชาติที่กรุณาแนะนําสั่งสอนถายทอดความรูใหผูเขียนมาตลอดระยะเวลากวา 15 ป
ที่ทํางานใน สวทช. ตลอดทังทุกทานในฝายฯ ที่เปนกําลังสําคัญในการผลิตเอกสารเลมนี้
้
หากเอกสารเลมนี้มีขอผิดพลาดประการใด ผูเขียนขอนอมรับไว ณ ทีนี้ และสงขอมูลมาที่
่
boonlert@nstda.or.th
บุญเลิศ อรุณพิบูลย
1 กันยายน 2554
สารบัญ
 

สื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ ................................................................................................................................ 1 
ขอกําหนดการจัดการโฟลเดอรและแฟมเอกสาร ..................................................................................... 4 
แนวปฏิบัติเกี่ยวกับโฟลเดอร ............................................................................................................. 5 
แนวปฏิบัติเกี่ยวกับชื่อแฟมเอกสารดิจิทัล .......................................................................................... 6 
ขอกําหนดการเตรียมภาพดิจทัล ............................................................................................................... 8 
ิ
วันที่เวลาของอุปกรณเตรียมภาพดิจิทัล.............................................................................................. 8 
ความละเอียดของภาพ (Image Resolution) ...................................................................................... 10 
ขนาดของภาพ (Image Size) ............................................................................................................ 10 
สีของภาพ......................................................................................................................................... 11 
เมทาดาทาสืบคนรูปภาพ .................................................................................................................. 12 
ขอกําหนดการสรางเอกสารงานพิมพ..................................................................................................... 14 
ขอกําหนดการสรางสื่อนําเสนอ ............................................................................................................. 19 
ขอกําหนดการเผยแพรเอกสารในฟอรแมต PDF ................................................................................... 21 
ขอกําหนดการพัฒนาเอกสารเว็บ ........................................................................................................... 22 
ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ 

สื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ
ปจจุบันกระแสการจัดการความรู การพัฒนาคลังความรูหนวยงานเปนกระแสที่มาแรงมาก
หลายหนวยงานตางใหความสําคัญกับการพัฒนาคลังความรูโดยเฉพาะการประยุกตใชเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร เทคโนโลยีการสื่อสารเปนเครื่องมือสําคัญในการดําเนินการ ผสานดวยแนวคิดของ
เทคโนโลยีเว็บ 2.0 ที่มุงเนนความรวมมือสรางสรรคเนื้อหาสาระความรู จากการดําเนินการขางตน
องคประกอบสําคัญที่เกี่ยวของก็คงหนีไมพน “องคความรูตางๆ ในรูปแบบสื่อดิจิทล” ที่พัฒนา
ั
สรางสรรคดวยซอฟตแวรหลากหลาย โดยมุงเนนใหมีระบบการจัดเก็บ การจัดหมวดหมู การเขาถึง
และการเรียกใชงานที่สะดวก รวดเร็ว ยั่งยืน อันหมายถึงในอนาคตสามารถเรียกใชงานไดนนเอง
ั่
แตความเปนจริงกลับพบวาการดําเนินการที่เกี่ยวของกับสื่อดิจิทัลของหลายหนวยงาน
ไดใหความสําคัญกับ “ระบบ” มากกวา “ตัวสื่อที่เปนสาระความรู” ทําใหสื่อดิจิทัลที่จัดเก็บถูกละเลย
ความสําคัญลงไปอยางมาก สงผลใหความคาดหวังทีวา “สือดิจิทัล” นั้นจะถูกเรียกใชไดอยางถูกตอง
่
่
ในอนาคตเปนไปไมไดอยางที่คาดหวังไว เชน ปญหาจากแบบอักษร (Font) ที่เพี้ยน เพราะไมมี
แบบอักษรดังกลาวใชในคอมพิวเตอรหรืออุปกรณที่เปดเรียกเอกสาร ปญหาการเขารหัสภาษาไทย
(Thai Encoding) ปญหาจากการจัดหนากระดาษเพี้ยนแตกตางไปจากการจัดพิมพครั้งแรก ปญหาอันเกิด
จากการทํางานซ้ําซอน สิ้นเปลืองกําลัง เวลา และงบประมาณ เชนการนําเอกสารตัวเลมที่จัดรูปเลม
ดวยโปรแกรม Word Processor หรือ Desktop Publishing มาสแกน หรือพิมพใหม แทนที่จะเก็บรักษา
แฟมเอกสารตนฉบับ ไมรวมถึงปญหาอันเกิดผลกระทบจากการละเมิดลิขสิทธิ์ตางๆ ทั้งเนื้อหา ภาพ
แบบอักษร และซอฟตแวรที่ใชสรางสรรค เพราะสื่อดิจิทลที่นําเขาผานระบบที่เชื่อมตออินเทอรเน็ต
ั
ยอมถูกจับตามองไดเร็วกวาปกตินั่นเอง
การดําเนินการเกี่ยวกับสื่อดิจทัล จึงตองใหความสําคัญกับขอกําหนด แนวปฏิบัติ และ/หรือ
ิ
มาตรฐานการสราง การใชงาน การแลกเปลี่ยนขอมูลดวย ฝายบริการความรูทางวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี ตระหนักถึงความสําคัญของสื่อดิจิทัล จึงไดศึกษาประเด็นตางๆ และนํามาจัดทําเปน
ขอกําหนดเพื่อเปนตนแบบใหกับหนวยงานตางๆ นําไปประยุกตใชตามเหมาะสมตอไป

1 
2 

กจากนี
หรั
ไทยที
งานสํ
นอก ้ก็เปนมิติที่ดีมากสําห บประเทศไ ่หนวยง าคัญหลายหนวยงานตางให
ความสําคัญกับสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ แล อกําหน
ละ/หรื
นดแนวปฏิบติเิ กียวกับสื่อดิจิทัลออกมา อยางเชน
ัต ่
สํานักเลขาธิก
การคณะรัฐมน ไดประก าอธิบาย มพหนัังสือราชการดวยโปรแกรม มพ
นตรี
กาศคํ
ยการพิ
ด
มการพิ
ในเครื่องคอม วเตอร ดังป
มพิ
ประกาศ

รูปแสดงปร
ระกาศสํานักนายก ฐมนตรีเกี่ยวกับ
กรั
บการพิมพดวยโปรแกรมการพิมพค วเตอร

คอมพิ
ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ 

ประกาศขางตนมีรายประเด็นที่ชวยใหการสรางเอกสารเปนไปอยางมีระบบระเบียบมากขึ้น
แตก็มีประเด็นจากประกาศดังกลาวที่ยิ่งสงใหการใชงานเอกสารในอนาคตอาจจะตองพิจารณา
ระมัดระวังเปนพิเศษ เชน การใชฟอนตไทยสารบรรณเปนตน เพราะเปนฟอนตที่ไมไดมากับ
ระบบปฏิบัติการ และไมมีในคอมพิวเตอรสวนมาก รวมทั้งอาจจะมีผลตอการเรียกใชงานในอนาคต
เพื่อใหการดําเนินการตางๆ เปนไปอยางถูกตองเหมาะสม ฝายบริการความรูทางวิทยาศาสตร
่
และเทคโนโลยี ขอนําเสนอขอกําหนดทีเ่ กียวของกับการสรางสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ ดังนี้
1. ขอกําหนดการจัดการโฟลเดอรและแฟมเอกสาร
2. ขอกําหนดการเตรียมภาพดิจิทัล
3. ขอกําหนดการสรางเอกสารงานพิมพ
4. ขอกําหนดการสรางสื่อนําเสนอ
5. ขอกําหนดการเผยแพรเอกสารใน
รูปแบบเอกสาร PDF
6. ขอกําหนดการสรางเอกสารเว็บ

3 
ขอกําหนดการจัดการโฟลเดอรและแฟมเอกสาร
4 

เอกสารดิจิทัลทุกฟอรแมตจําเปนตองมีกระบวนการจัดเก็บ และบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ
เพื่อใหสามารถเรียกใช สืบคนไดสะดวก รวดเร็ว โดยเฉพาะในยุคแหงสังคมขาวสารที่ผสานกับ
เทคโนโลยีอินเทอรเน็ตและเครือขาย การกําหนดมาตรฐานชื่อแฟมเอกสาร และชื่อโฟลเดอรยิ่งมี
ความสําคัญมากขึ้น
การจัดวางโครงสรางโฟลเดอรในสื่อจัดเก็บตางๆ (Storage) ใหเปนระบบระเบียบ การกําหนด
เกณฑการตั้งชือโฟลเดอร และชื่อแฟมเอกสารก็คงไมแตกตางจากการบริการจัดการแฟมเอกสารในยุคที่
่
เปนตูเอกสาร ซึ่งจะชวยใหการเขาถึงการเรียกใชงานเปนไปอยางสะดวกรวดเร็ว

รูปแสดงการจัดเก็บเอกสาร

การตั้งชื่อโฟลเดอรและชื่อแฟมเอกสาร ตลอดทั้งการจัดวางโครงสรางโฟลเดอรที่ไมมีแนวทาง
ปฏิบัติรวมกันจะสงผลตอการสืบคน การเขาถึง และการเผยแพรสื่อดิจทัล รวมทั้งเมื่อมีการปรับเปลี่ยน
ิ
ระบบอาจจะสงผลใหตองรื้อใหม แทนที่จะโอนยายสื่อดิจทัลแลวเปดระบบไดทันที เพือใหการบริหาร
ิ
่
จัดการโฟลเดอรและแฟมเอกสารดิจิทัลเปนไปอยางมีคณภาพ ฝายบริการความรูฯ ขอนําเสนอตนแบบ
ุ
แนวปฏิบัตดังนี้
ิ
ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ 

แนวปฏิบติเกี่ยวกับโฟลเดอร
ั
การสรางโฟลเดอรกอนที่จะสรางสื่อดิจิทัลใดๆ เปนลําดับขั้นตอนที่ควรปฏิบัติดวยทุกครั้ง
จากนั้นเมื่อมีการสรางเอกสารควรบันทึกเอกสารไวในโฟลเดอรที่กําหนดไวลวงหนา เอกสารที่ตองการ

ใชประกอบการพัฒนาเว็บไซต (ในรูปแบบ HTML) หรือการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนตางๆ
สื่อเชิงโตตอบ (Interactive) ยิ่งตองใหความสําคัญกับการจัดการโฟลเดอร โดยควรจัดเก็บไวใน
ที่เดียวกัน เพื่อปองกันปญหาจุดเชื่อม (Link) ที่ผิดพลาด
ชื่อโฟลเดอรควรใชคําภาษาอังกฤษและ/หรือผสมตัวเลขที่สั้น กระชับ และสื่อความหมาย
โดยหลีกเลียงการใชภาษาไทย และสัญลักษณพิเศษใดๆ ยกเวนเครื่องหมาย – Hyphen
่

รูปแสดงปญหาที่เกิดจากชื่อโฟลเดอรและชื่อแฟมเอกสารที่ใชภาษาไทย

หลีกเลี่ยงการใชเครื่องหมาย _ Underscore เพื่อปองกันความสับสนของผูใชอันเนื่องจากปญหา
เมื่อเปนสวนหนึ่งของจุดเชื่อม (Link) ที่มีการแสดงผลดวยเสนใตทับชื่อโฟลเดอร

รูปแสดงปญหาที่เกิดจากชื่อเอกสารที่ใชเครื่องหมาย Underscore เปนสวนประกอบ

ขอกําหนดนี้ใหรวมถึงการตังชื่อเอกสารในรูปแบบอื่นๆ ที่มาพรอมกับซอฟตแวรจดการเนื้อหา
้
ั
เว็บ (Web Content Management System) ใหมๆ ดวย เชน
• Namespace สําหรับซอฟตแวรในกลุม Wiki
• Permalink สําหรับซอฟตแวรในกลุม Blog
• Alias / Clean URL สําหรับซอฟตแวรในกลุม CMS อยางเชน Joomla, Drupal

5 
6 

รูปแสดงการตังชื่อ Pagename ของ Wiki
้

แนวปฏิบติเกี่ยวกับชื่อแฟมเอกสารดิจิทัล
ั
แฟมเอกสารดิจิทัล ก็ควรกําหนดแนวปฏิบัติที่เหมาะสม เพื่อการเรียกใชที่สะดวก สืบคนไดไว
โดยขอเสนอหลักการตั้งชื่อแฟมเอกสารดิจทัล ดังนี้
ิ
• ใชคําภาษาอังกฤษ และ/หรือผสมตัวเลขที่สั้น กระชับ สื่อความหมายไดชัดเจน โดย
หลีกเลี่ยงการใชภาษาไทย และสัญลักษณพิเศษใดๆ ยกเวนเครื่องหมาย – Hyphen
• ในการรางเอกสารครั้งแรก ใหใสวนที่ไวขางหนา ในรูปแบบ yyyymmdd- เชนเอกสาร
ั

งานพิมพเกี่ยวกับเรื่องเว็บ 2.0 ยกรางเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2554 ใหกําหนดชื่อแฟมเอกสาร
เปน 20110822-web-2-0.doc
o กรณีที่มีการทบทวน แกไขเอกสารดังกลาวในวันเดียวกัน ใหเติมตัวเลขกํากับ
เวอรชั่นตอทาย เชน
20110822-web-2-0-v1.doc
20110822-web-2-0-v2.doc
o กรณีที่มีการทบทวน แกไขเอกสารในวันถัดมา ใหปรับแกไขดวยวันทีที่แกไข เชน
่
มีการแกไขเอกสาร 20110822-web-2-0.doc วันที่ 30 สิงหาคม 2554
ชื่อแฟมเอกสารใหมคือ 20110830-web-2-0.doc
ขอกําหนดนี้ใหรวมถึงการกําหนดชื่อเอกสารในรูปแบบอื่นๆ ที่มาพรอมกับซอฟตแวรจัดการ
เนื้อหาเว็บ (Web Content Management System) ใหมๆ ดวย เชน
• PageName สําหรับซอฟตแวรในกลุม Wiki
• Permalink สําหรับซอฟตแวรในกลุม Blog
• Alias / Clean URL สําหรับซอฟตแวรในกลุม CMS อยางเชน Joomla, Drupal
ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ 

7 

รูปแสดงการกําหนด URL ของ Wordpress.com โดยใชวันที่เวลา 2011/07/26

นอกจากนี้หากพิจารณาจากรูปภาพการกําหนด URL ของ Wordpress.com ขางตน
มีจุดผิดพลาดในสวนประกอบของ URL คือ การใชขอความภาษาไทยเปนสวนประกอบ ซึ่งเมื่อนํามา
URL ดังกลาวมาคัดลอก (Copy) และวาง (Paste) ในเอกสารใดๆ อาจจะมีปญหาการเขารหัสภาษาไทย
ที่ผิดพลาดดังนี้
http://boonlertaroonpiboon.wordpress.com/2011/07/26/%E0%B8%97%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%
B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0
%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD/
รูปแสดงการกําหนด URL ของ Wordpress.com โดยใชวันที่เวลา 2011/07/26

การแกไขปญหาขางตน จะตองไปปรับคา Permalink ของ Wordpress.com ใหเปนภาษาอังกฤษ
ตามขอกําหนดการตั้งชื่อแฟมเอกสารขางตน

รูปแสดงการแกไข URL ของ Wordpress.com ในสวน Permalink

หมายเหตุ
วารสาร Focus ประจําเดือนมีนาคม 2510 คอลัมน Mindgames ไดมีคําถามเกี่ยวกับระบบวันที่ที่
เกี่ยวของกับชือแฟมเอกสาร ดังนี้ …Question 5 ..
่

Although the date format DDMMYY is used in Britain

and MMDDYY is popular in the US, computer systems often use the format YYMMDD. Why ?

Answer: Computer order files numerically by considering them as a word in a ‘dictionary’, so
the YYMMDD format keeps them in chronological order, DDMMYY would keep files
created on the 1st, 2nd, 3rd, etc of different months together – much less useful.
ขอกําหนดการเตรียมภาพดิจิทัล
8 

การนําเสนอรูปภาพเพื่อประกอบการนําเสนอในลักษณะตางๆ โดยภาพที่ไดมานันมีทั้งภาพที่
้
ถายดวยกลองถายภาพดิจิทัล (Digital Camera) ภาพจากเครื่องกราดภาพ (Scanner) ซึ่งมีคากําหนดการ
จัดเตรียมภาพ และการใชงานที่แตกตางทังความละเอียด (Resolution) ขนาดภาพ (Image Size) เพื่อให
้
การนําภาพไปใชในลักษณะตางๆ เปนไปอยางถูกตอง ควรมีการเตรียมภาพใหเหมาะสมกับรูปแบบการ
ใชงาน
วันที่เวลาของอุปกรณเตรียมภาพดิจิทัล
วันที่/เวลาของกลองภายภาพดิจิทัล และเครืองคอมพิวเตอรมีความสําคัญอยางมากในการจัดการ
่
ภาพดิจิทัล กลองถายภาพดิจทัลและเครื่องสแกนเนอรในปจจุบันมีการเก็บขอมูลวันที/่ เวลาที่ถาย สแกน
ิ
หรือแกไขลงไปในแฟมภาพดิจิทัล ผานสวนการทํางานทีเ่ รียกวา Image Metadata โดยเฉพาะ
ภาพฟอรแมต JPG และ TIFF ซึ่งมีซอฟตแวรจํานวนมากที่สามารถดึงคาวันที่/เวลาดังกลาว
มาใชประโยชนได เชน การนํามาใชเปนสวนประกอบในชื่อของภาพ (File name) ดังนั้นการถายภาพ
หรือสแกนภาพ ควรกําหนดวันที่/เวลาของกลองถายภาพดิจิทัล คอมพิวเตอรที่ตอสแกนเนอรใหถูกตอง
ตรงตามความเปนจริงทุกครั้ง

รูปแสดงการตังคาวัน/เวลาของกลองถายภาพดิจิทัล (คําสั่งแตกตางกันได)
้

วันที่ที่ถายภาพ สแกนภาพ และปรับแกไขภาพฟอรแมต JPG และ TIF จะจัดเก็บไวในรายการ
ของเมทาดาทาชุด EXIF (Exchangeable Image File Format) ดังตัวอยางขางลางเปนรายการ EXIF
Metadata ของภาพจากกลองถายภาพดิจิทัลที่เปดเรียกดูดวยซอฟตแวร XnView

ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ 

9 

รูปแสดงคา EXIF ของภาพดิจิทัลที่ไดจากกลองถายภาพดิจิทัล

คาดังกลาวสามารถนํามาประยุกตใชไดดวยซอฟตแวรตางๆ เชน การดึงคาวันที่/เวลาของ

ภาพถายดิจิทัลมาใชเปนสวนประกอบของชื่อแฟมภาพ ดวยความสามารถ Rename ของ XnView

รูปแสดงคาดึงคาวันที่จาก EXIF มาเปนสวนประกอบของชื่อแฟมภาพดิจทัลดวย XnView
ิ
ความละเอียดของภาพ (Image Resolution)
10 

ความละเอียดของภาพก็เปนองคประกอบสําคัญที่ตองพิจารณาในการเตรียมภาพ ดวยราคาของ
อุปกรณจัดเก็บที่ลดลงบนฐานของความสามารถในการจัดเก็บที่มากขึนกวาเดิม ทําใหการบันทึกภาพ
้
การถายภาพ การสแกนภาพควรกําหนดคาความละเอียดของภาพใหสูงเทาที่อุปกรณจะรับได หรือ
สูงพอควร เชน มากกวา 150 จุดตอนิว (Dot per Inch) หรือกําหนดคาความกวางของภาพ คุณภาพของ
้
ภาพ (Image Quality) จากกลองถายภาพดิจิทัลใหอยูในระดับที่ดีถึงดีทสด

ี่ ุ

รูปแสดงการตังคาคุณภาพของถายภาพดวยกลองถายภาพดิจิทัล (คําสั่งแตกตางกันได)
้

ขนาดของภาพ (Image Size)
ขนาดของภาพก็มีความสําคัญไมแพความละเอียดของภาพ โดยการเตรียมภาพตนฉบับควร
กําหนดขนาดภาพใหสูงไวกอน เพื่อใหสามารถนําไปใชงานไดอยางเหมาะสม หนวยวัดขนาดของภาพ

คือจุดหรือพิกเซล (Pixel) ประกอบดวยคาความกวาง (Width) และคาความสูง (Height)
การเตรียมภาพตนฉบับเพื่อใชประกอบการจัดพิมพเอกสาร ควรกําหนดขนาดภาพไมนอยกวา
1024 × 768 พิกเซล และควรปรับขนาดภาพใหเหมาะสมในการใชงานแตละครั้ง แตละลักษณะโดย
ใชเทคนิคการปรับขนาดภาพดวยคําสั่งของซอฟตแวรจดการภาพ (หลีกเลี่ยงการปรับขนาดภาพดวย
ั
การลากจุด Handle ที่มุมของภาพ) โดยการปรับแตง การปรับขนาดภาพนั้น ภาพที่ปรับควรบันทึกดวย
ชื่อแฟมภาพใหม เพื่อเก็บแฟมภาพตนฉบับไวใชงานตอ
การเตรียมภาพสําหรับเว็บไซต สื่อนําเสนอตางๆ ควรปรับขนาดภาพใหเหมาะสมดวย
ซอฟตแวรจดการภาพทุกครั้ง และควรกําหนดขนาดที่เปนมาตรฐานในงานตางๆ ดวย ดังเชนที่เว็บไซต
ั
iab.net ไดแนะนําไวดังนี้
ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ 

11 

รูปแสดงขนาดของภาพลักษณะตางๆ ในการนําเสนอผานเว็บ

สีของภาพ
สีของภาพก็มความสําคัญตอภาพลักษณขององคกรได ณ เวลานีการเรียกสีดวยชื่อเรียกตามปกติ
ี
้
เชน แดง เขียว เหลือง ฟา อาจจะสรางปญหาไดงาย เชน สีของโลโกหนวยงานเปนสีแดง ก็คงเปน
การยากทีจะบอกวาสีแดงลักษณะใด เชน แดงเขม แดงมืด แดงออน แดงสวาง ดังนั้นการกําหนด
่
รหัสกํากับสี โดยเฉพาะสีของหนวยงานยอมสรางความเขาใจที่ตรงกันได
สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ ไดตระหนักถึงสีที่มีตอภาพลักษณ
องคกร จึงไดกาหนดรหัสกํากับสีของโลโก ดังนี้
ํ

รูปแสดงรหัสสีโลโกของ สวทช.
เมทาดาทาสืบคนรูปภาพ
12 

รูปภาพดิจิทัลฟอรแมต TIF และ JPG นอกจากจะมีเมทาดาทาชุด EXIF ที่ไดจากอุปกรณแลว
ยังอนุญาตใหผูใชงานปอนขอมูลเพิ่มเติมลงไปในเมทาดาทาชุด IPTC อีกดวย เพื่อชวยในการสืบคน
การแลกเปลี่ยนขอมูลกับระบบตางๆ ขอมูลที่ปอนประกอบดวยชื่อภาพ คําอธิบายภาพ ชื่อผูถายภาพ/
ผูสรางสรรค คําคน หมวดภาพ ตลอดทั้งเงือนไขการใชงานตางๆ
่
การปอนขอมูลเมทาดาทา IPTC จะตองใชซอฟตแวรเฉพาะ เชน XnView ตัวอยาง
การปอนขอมูลลงใน IPTC ดวย XnView ทําไดโดยเปดโปรแกรม XnView แลวคลิกขวาทีภาพ
่
ที่ตองการ เลือกคําสั่ง Edit IPTC Data จะปรากฏจอภาพปอนขอมูลเมทาดาทา ดังนี้

รูปแสดงคําสั่งปอน IPTC ของ XnView

ขอมูลที่ปอนไปสามารถใชคําสั่งสืบคนของ XnView และยังทํางานกับซอฟตแวรตางๆ
ที่จัดการเมทาดาทาของภาพได เชน NextGen Gallery ของ Wordpress.org JoomGallery ของ Joomla
และ Gallery2 รวมถึงเว็บไซตคลังภาพอยาง Fickr.com
ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ 

13 

รูปแสดงการดึงขอมูล IPTC ของภาพมาแสดงผาน Flickr.com
ขอกําหนดการสรางเอกสารงานพิมพ
14 

เอกสารงานพิมพที่สรางดวยซอฟตแวรในกลุม Word Processor หรือ Desktop Publishing
อยางเชน Microsoft Word, OpenOffice.org Writer, Adobe InDesign นับเปนสื่อดิจิทลแตกําหนด
ั
(Born Digital File) ซึ่งมักจะเปนแฟมเอกสารดิจิทัลที่ผูกกับรุนของซอฟตแวร รวมทังระบบปฏิบัติการ
้
อันอาจจะสรางปญหาในการเรียกใชงานไดในอนาคต เชนปญหาแบบอักษรที่เพียนเนื่องจากไมมี
้
แบบอักษรดังกลาวในคอมพิวเตอรที่ใชเปดแฟมเอกสารดังกลาว ปญหาจากการปรับรุนของซอฟตแวร
ปญหาจากการยุติการพัฒนาซอฟตแวรท่ใชสรางเอกสาร ปญหาจากการไมไดใชงานความสามารถของ
ี
ซอฟตแวรเพื่อสรางเอกสารตามความเหมาะสม รวมทั้งปญหาที่เกิดจากการบริหารจัดการแฟมเอกสาร
ดิจิทัล เชน ไมไดจัดเก็บแฟมเอกสารดิจิทัลตนฉบับ ตองเสียเวลามาพิมพใหม หรือสแกนใหม
เมื่อตองการใชงาน อันเสียทั้งเวลา และแรงงาน
เพื่อใหเอกสารดิจิทัลเปนเอกสารที่มีคุณภาพ สามารถรองรับการใชงานไดอยางยั่งยืน
หนวยงานควรกําหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการสรางเอกสาร ดังนี้
1. กําหนดแบบอักษรมาตรฐาน และตรงกับเทคโนโลยีในแตละชวง เชน
• ระบบปฏิบัติการที่ต่ํากวา Windows ME แนะนําใหกําหนดดวยฟอนตตระกูล UPC
เชน AngsanaUPC
• ระบบปฏิบัติการ Windows 2000/XP/Vista แนะนําใหกําหนดดวยฟอนตตระกูล
NEW เชน AngsanaNEW
• ระบบปฏิบัติการอื่นๆ ก็ใชหลักการกําหนดลักษณะเดียวกัน โดยคํานึงถึง
การปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีแตละชวงเปนหลัก
• วันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2553 สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีไดประกาศฟอนต
มาตรฐานราชการไทย และกําหนดใหเอกสารราชการใชฟอนตตามประกาศ
ดังนั้นแบบอักษรมาตรฐานของเอกสารราชการ ณ ปจจุบนก็คือ TH SarabunPSK
ั
2. การใชแบบอักษรพิเศษที่ไมไดมาพรอมกับระบบปฏิบัติการ จะตองฝงแบบอักษร (Embed
font) ดังกลาวไปกับเอกสารทุกครั้ง
ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ 

15 

รูปแสดงตัวเลือกฝงฟอนตกับเอกสารของ Microsoft Office Word 2007

3. หนวยงานควรกําหนดแมแบบเอกสาร (Document Template) พรอมสไตล (Style)
การพิมพเอกสารดวย Heading 1, Heading 2, Heading 3, Normal, Body ใหเหมาะสมกับ
ประเภทเอกสาร

รูปแสดงแมแบบเอกสารและปุมสไตลของ Microsoft Office Word 2007

4. การสรางเอกสารดวยซอฟตแวร ควรใชคําสังพิมพงานที่ถกตองตามแนวปฏิบัติของ
่
ู
ซอฟตแวร เชน
• ซอฟตแวรมีความสามารถตัดคําไดเองเมื่อสิ้นสุดระยะกระดาษ
หรือขอบเขตการพิมพ
• การตัดคําขึ้นบรรทัดใหม ใชปุม Shift พรอมปุม Enter
• การขึ้นหนาใหมกอนจบหนาปกติ ใชปุม Ctrl พรอมปุม Enter
• การใสชองวาง ควรใชเพียง 1 ชอง
16 

• การพิมพสัญลักษณพิเศษ ควรใชความสามารถ Insert Symbol ในเนื้อหา
บางลักษณะอยางเหมาะสม เชน
ขอความ 2 ไมเทากับ 5 ก็ควรพิมพโดยใช Symbol ดังนี้ 2 ≠ 5
หรือขอความ 5 คูณ 3 เทากับ 15 ควรพิมพโดยใช Symbol ดังนี้ 5 × 3 = 15
• ศึกษาคําสั่งที่เกี่ยวของกับการพิมพ การจัดพารากราฟของซอฟตแวรและใชงาน
อยางเหมาะสม เชน คําสั่งกําหนดระยะหางระหวางบรรทัด ระยะหางระหวาง
พารากราฟ การยอหนา ดังตัวอยางประกาศของสํานักเลขาคณะรัฐมนตรี

รูปแสดงขอกําหนดการพิมพของราชการ
ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ 

5. ใหความสําคัญกับการใชเครื่องหมายวรรคตอนบนฐานของการพิมพดวยซอฟตแวร เชน
เครื่องหมายไมยมก ใหพิมพติดกับคํา ดังนี้ ตางๆ ไมใช ตาง ๆ
6. ใหความสําคัญกับการเขียนทับศัพท หรือใชศัพทบัญญัติตามราชบัณฑิตยสถาน ตรวจสอบ
ไดจากเว็บไซต www.royin.go.th
• ตัวอยางคําที่มกเขียนผิด
ั
คํา
Internet
Web
Digital
Click

คําที่มักเขียนและผิด
อินเตอรเน็ต, อินเทอรเนท
เวบ, เว็ป
ดิจิตอล, ดิจิทอล
คลิ๊ก

คําที่ถูก
อินเทอรเน็ต
เว็บ
ดิจิทัล
คลิก

7. กําหนด Document Properties ใหกับเอกสารเพื่อเปนขอมูลประกอบการสืบคนและ
การบริหารจัดการระบบหองสมุดดิจิทัลแบบอัตโนมัติ

รูปแสดงการใสขอมูล Document Properties ใหกับเอกสารงานพิมพ

8. เอกสารที่ตองการเผยแพร ควรสงออก (Export) เปน PDF ในรูปแบบทีเ่ หมาะสมกับ
การใชงาน ไดแกเอกสารรูปแบบ PDF แบบมาตรฐาน (Standard) PDF สําหรับใชงานผาน
อินเทอรเน็ต (Smallest File Size) PDF สําหรับการสั่งพิมพ (PDF/X) และ PDF สําหรับ
การจัดเก็บถาวร (PDF/A)

17 
9. กรณีที่เปนการวาจางหนวยงานภายนอกจัดทําตนฉบับ รูปเลม จะตองกําหนดใหผูรับงาน
18 

สงมอบแฟมเอกสารดิจิทัลตนฉบับที่จัดรูปเลมเหมือนตัวเลมจริง แฟมเอกสาร PDF ที่มี
ความคมชัดสูง แฟมแบบอักษรที่ใชประกอบการจัดพิมพและปลอดปญหาลิขสิทธิ์
แฟมเอกสารเนื้อหาแบบ Text และแฟมภาพประกอบการจัดพิมพและปลอดปญหาลิขสิทธิ์
พรอมตัวเลม ทั้งนี้แฟมเอกสาร PDF และแฟมเอกสารตนฉบับควรฝงฟอนตมาดวย
ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ 

ขอกําหนดการสรางสื่อนําเสนอ
สื่อนําเสนอ (Presentation) ที่สรางดวย Microsoft PowerPoint หรือ OpneOffice.org Impress
รวมทั้งบริการออนไลนอยาง Google Presentation เปนสื่อดิจิทัลที่ใหขอมูลเชิงสรุปที่นาสนใจ

รูปแบบหนึ่ง เนื่องจากเนนการออกแบบสรางความโดดเดนใหกับเนื้อหาที่ตองการนําเสนอมากกวา
เอกสารงานพิมพ เพื่อใหเปนสื่อนําเสนอที่ยั่งยืน ก็ควรกําหนดแนวปฏิบัติ ดังนี้
1. กําหนดแบบอักษรมาตรฐานใหกับการสรางสื่อนําเสนอ โดยไมเกิน 4 แบบอักษร
ตอหนึ่งชุดสไลด
2. สรางแมแบบสไลด (Slide Template) และกําหนดแบบอักษรตามขอกําหนดการสราง
แมแบบสไลดที่ถูกตอง และเหมาะสมกับการใชงานแตละโอกาส
• กรณีที่มีการใชแบบอักษรพิเศษ ที่ไมไดมาพรอมกับระบบปฏิบัติการควรฝงฟอนต
ไปกับเอกสารทุกครั้ง
3. การสรางสื่อนําเสนอ ควรใชคําสั่งพิมพงานที่ถูกตองตามแนวปฏิบัติของซอฟตแวร เชน
• เลือก Layout ของสไลดใหตรงกับลักษณะงานที่ตองการนําเสนอ
• ทุกสไลดควรกําหนด Slide Title
• ใหความสําคัญกับขอมูลสรุปมากกวารายละเอียด และนําเสนอดวยแผนภาพ
(Diagram / Illustration) มากกวาขอความเปนพารากราฟ
• ซอฟตแวรมีความสามารถตัดคําไดเองเมื่อสิ้นสุดระยะกระดาษ หรือขอบเขต
การพิมพ
• การตัดคําขึ้นบรรทัดใหม ใชปุม Shift พรอมปุม Enter
• การใสชองวาง ควรใชเพียง 1 ชอง
• การพิมพสัญลักษณพิเศษ ควรใชความสามารถ Insert Symbol
• ศึกษาคําสั่งที่เกี่ยวของกับการพิมพ การจัดพารากราฟของซอฟตแวรและ
ใชงานอยางเหมาะสม เชน คําสั่งกําหนดระยะหางระหวางบรรทัด ระยะหาง
ระหวางพารากราฟ การยอหนา
4. ใหความสําคัญกับการนําเสนอดวยสี ขนาดที่เหมาะสม โดยแตละสไลดมีเนื้อหา
ไมเกิน 8 บรรทัด
5. ใชวัตถุที่เหมาะสมประกอบการนําเสนอ เชน รูปภาพ ตาราง กราฟ ผังงาน โดยภาพทีนําเขา
่
ควรลดความละเอียดของภาพใหเหมาะสม

19 
6. ใหความสําคัญกับการใชเครื่องหมายวรรคตอนบนฐานของการพิมพดวยซอฟตแวร
20 

7. ใหความสําคัญกับการเขียนทับศัพท หรือใชศัพทบัญญัติตามราชบัณฑิตยสถาน ตรวจสอบ
ไดจากเว็บไซต www.royin.go.th
8. กําหนด Document Properties ใหกับเอกสารเพื่อเปนขอมูลประกอบการสืบคนและ
การบริหารจัดการระบบหองสมุดดิจิทัลแบบอัตโนมัติ
9. เอกสารที่ตองการเผยแพร ควรสงออก (Export) เปน PDF ที่มีความเหมาะสมกับการใชงาน
เชน PDF Standard, PDF Smallest File Size, PDF/X, PDF/A
10. กรณีที่เปนการวาจางหนวยงานภายนอกจัดทําตนฉบับ รูปเลม จะตองกําหนดใหผูรับงาน
สงมอบแฟมเอกสารดิจิทัลตนฉบับที่จัดรูปเลมเหมือนตัวเลมจริง แฟมเอกสาร PDF ที่มี
ความคมชัดสูง แฟมแบบอักษรที่ใชประกอบการจัดพิมพและปลอดปญหาลิขสิทธิ์
แฟมเอกสารเนื้อหาแบบ Text และแฟมภาพประกอบการจัดพิมพและปลอดปญหาลิขสิทธิ์
พรอมตัวเลม ทั้งนี้แฟมเอกสาร PDF และแฟมเอกสารตนฉบับควรฝงฟอนตมาดวย
ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ 

ขอกําหนดการเผยแพรเอกสารในฟอรแมต PDF
ฟอรแมตเอกสารที่เหมาะสมในการเผยแพรสูสาธารณะ หรือเพื่อการแลกเปลี่ยน คือ PDF Portable Document Format (PDF) ดังนันกอนเผยแพรเอกสารใดๆ ควรแปลงเอกสารตนฉบับใหเปน
้
เอกสาร PDF ที่ตรงกับลักษณะการใชงาน เชน
• Standard

สําหรับการสรางเอกสาร PDF ที่พรอมใชงานทั่วไป

• Press Quality & High Quality Print สําหรับการสรางเอกสาร PDF ที่ตองการคุณภาพสูง
และ/หรือสําหรับการสงโรงพิมพ เหมาะสําหรับการทําตนฉบับเอกสารสิ่งพิมพ
• Smallest File Size

สําหรับการสรางเอกสาร PDF ที่มีการลดขนาดไฟล

เพื่อการสงผานอีเมลหรือนําเสนอผานเว็บไซต
• PDF/A

สําหรับการสรางเอกสาร PDF เพื่อจัดเก็บเอกสาร

อิเล็กทรอนิกสใหอยูเ ปนเวลานาน เอกสารจะมีการฝงฟอนต และรับประกันวาสามารถเปด
เรียกดูไดในอนาคตผาน PDF Reader ตางๆ
นอกจากนี้ เอกสาร PDF จะตองกําหนด Document Properties ใหเหมาะสมและถูกตอง
เชนเดียวกับเอกสารตนฉบับ รวมทั้งควรกําหนด PDF Security ที่เหมาะสมกอนเผยแพรสําหรับเอกสาร
แตละประเภท

รูปแสดงการกําหนด PDF Security ของ Acrobat Professional

21 
ขอกําหนดการพัฒนาเอกสารเว็บ
22 

สื่อดิจิทัลรูปแบบหนึ่งที่แพรหลายในปจจุบันไดแก เอกสารเว็บ ดังนันการพัฒนาเอกสารเว็บ
้
ก็ควรกําหนดแนวปฏิบัติเพือใหไดเอกสารเว็บที่มีคุณภาพ ตรงกับเทคโนโลยี รองรับการเขาถึงของ
่
Search Engine ดังนี้
1. เว็บไซตควรจะสอดคลองกับขอกําหนดของ W3C สําหรับ Extensible HyperText
Markup Language (XHTML) ระดับ 1.0 หรือ HTML ระดับ 4.0
2. เว็บไซตควรจะสอดคลองกับขอกําหนดของ W3C ในเรืองการพัฒนาเว็บไซตใหทุกคน
่
เขาถึงได (Web Content Accessibility Guidelines) ระดับ 1.0
3. เว็บไซตใดใช Cascading Style Sheets (CSS) เว็บไซตเหลานั้นควรจะสอดคลองกับ
ขอกําหนดของ W3C สําหรับ CSS ระดับ 1
4. ในการนําเสนอขอมูลในแตละหนาจะตองมี Header และ Footer ที่เหมาะสม เชน
• Header จะตองประกอบดวย โลโกขององคกรที่จะลิงคกลับไปที่หนาแรกของ
องคกร ชื่อของหนวยงานทีจะลิงคไปที่หนาแรกของหนวยงาน เมนูหลักของ
่
เว็บไซต และชองสําหรับคนหาขอมูล
• Footer จะตองประกอบไปดวยขอความสงวนลิขสิทธิ์ในการนําขอมูลในเว็บไซต
ไปใชงาน รวมทั้งที่อยูในการติดตอ
5. ในการตั้งชื่อแฟมขอมูลและชื่อโฟลเดอร ใหใชหลักการเดียวกับที่ไดแนะนําใน
ขอกําหนดการตั้งชื่อโฟลเดอรและชื่อแฟมเอกสาร โดยไมตองระบุวันที่สราง/เผยแพร
6. เอกสารเว็บทุกเอกสารจะตองมีการกําหนดชื่อของเอกสารหนานั้น ไวในสวนของแท็ก
<title>…</title> โดยชื่อที่กาหนดขึ้นมาควรใชภาษาอังกฤษ และตอทายดวยภาษาไทย
ํ
ั้
่
ได และอธิบายถึงภาพรวมของเว็บไซตนนๆ ใหไดมากทีสุด โดยไมควรยาวเกิน 64
ตัวอักษร และหากใช CMS ใดๆ พัฒนาจะตองกําหนดชือของเอกสารเว็บดวยสวน
่
ควบคุมของ CMS ใหถูกตองเชนกัน
• ไมควรใชเทคนิคใดๆ ในการพิมพ เชน การเวนวรรคระหวางตัวอักษร หรือ
ควบคุมดวย Javascript
7. เอกสารเว็บทุกเอกสารตองกําหนดคียเวิรด (Keyword) โดยการใชแท็ก

<meta name=“keywords” content=“คํา1,คํา2,…”> ตัวอยางเชน
<meta name=“keywords” content=“STKS, Science and Technology Knowledge
ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ 

Services, NSTDA, Library, หองสมุด, บริการทรัพยากรสารสนเทศ”> เปนตน
กรณีที่พัฒนาเว็บดวย CMS จะตองกําหนดคียเวิรดของเว็บและบทความใหเหมาะสม
จากสวนควบคุมของ CMS ดวย
8. เอกสารเว็บทุกเอกสารจะตองกําหนดคําอธิบายเว็บอยางยอ (Description) ดวยแท็ก
<meta name=“description” content=“คําอธิบายเว็บ”> ทั้งนี้ขอความดังกลาว
ไมควรยาวเกิน 250 ตัวอักษร และกรณีทพฒนาเว็บดวย CMS จะตองกําหนดคําอธิบาย
ี่ ั
เว็บของบทความและเว็บไซตจากสวนควบคุม CMS ดวย

รูปแสดงคําสั่งกําหนดชื่อเอกสาร คําอธิบายเว็บ และคําคนเอกสารเว็บของโปรแกรม Joomla

9. เอกสารเว็บทุกเอกสารจะตองกําหนดชื่อหนวยงานหรือผูพัฒนาเว็บ ดวยแท็ก
<meta name=“author” content=“ชื่อหนวยงาน/ผูพัฒนาเว็บ”> และกรณีที่พัฒนาเว็บ
ดวย CMS จะตองกําหนดคําอธิบายเว็บของบทความและเว็บไซตจากสวนควบคุม
CMS ดวย รวมทั้งควรปรับแกไขคา Profile ของผูใชจากระบบของ CMS ใหถูกตอง
ครบถวน

รูปแสดงคําสั่งกําหนดชื่อเอกสาร คําอธิบายเว็บ คําคนและผูเขียนเอกสารเว็บของโปรแกรม Joomla

23 
10. เอกสารเว็บทุกเอกสารจะตองมีการกําหนดชุดของตัวอักษร (Character Set) โดย
24 

จะตองกําหนดเปนชุด TIS-620 หรือ UTF-8 ซึ่งการกําหนดชุดของตัวอักษรในเอกสาร
แตละหนานั้นจะใชคําสั่ง
<meta http-equiv=“Content-Type” content=“text/html;charset=TIS-620”> หรือ
<meta http-equiv=“Content-Type” content=“text/html;charset=UTF-8”>
• การระบุ TIS-620 หรือ UTF-8 จะตองระบุใหเหมือนกันทั้งเว็บ และตองตรง
กับระบบภาษาไทยของโปรแกรมจัดการฐานขอมูล และ Web Programming
รวมทั้งเครื่องมือที่ใชพัฒนาเว็บ
11. การกําหนดชนิดของแบบอักษร (Font) ที่ใชแสดงผล ควรกําหนดเปนชุดฟอนต
ที่ครอบคลุมกับระบบปฏิบัติการตางๆ ใหมากที่สุด โดยการใชแท็ก
<font face=“ชื่อของฟอนต”> โดยเฉพาะเว็บไซตที่มีการใชขอมูลที่เปนภาษาไทย
จะตองกําหนดชื่อฟอนตที่มีอยูในเครื่อง Macintosh และ PC พรอมทั้งระบุขนาดที่
เหมาะสมดวย ชุดฟอนตที่แนะนําไดแก
<font face=” “Tahoma, MS Sans Serif, Thonburi”>…</font>
สําหรับการกําหนดผานสวนควบคุม CSS ใหระบุดวยคําสัง

่
Font-Family: Tahoma, “MS Sans Serif”, Thonburi;

รูปแสดงคําสั่งกําหนดแบบอักษรผาน CSS ของโปรแกรม Joomla
ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ 

12. หลีกเลี่ยงการคัดลอก (copy) เนื้อหาจากเอกสารใดๆ มาวางบน WYSIWYG Editor
ของ CMS เนืองจากจะติด Special Code จากซอฟตแวรมาดวย สงผลใหการแสดงผล
่
ผิดพลาดได ทังนี้ควรนําไปวาง (Paste) ผาน Text Editor กอนแลวจึงคอยคัดลอกและ
้
นํามาวางบน WYSIWYG Editor
13. การนําภาพมาประกอบในเอกสาร จะตองกําหนดความกวาง และความสูงที่ถูกตอง
ของภาพนั้นไวดวยเสมอ เพือชวยใหการจัดโครงรางของเอกสารทําไดอยางรวดเร็ว

่
รวมทั้งจะตองกําหนดแอทริบิวต alt และ title ไวภายในแท็ก <img src=..> เชน
<img src=“ชื่อไฟลภาพ” width=“ความกวางเปนพิกเซล” height=“ความสูงเปน
พิกเซล” alt=“คําอธิบายภาพ” title=“คําอธิบายภาพ”> เพื่อแสดงขอความอธิบาย
สําหรับเว็บเบราวเซอรบางชนิด ที่ไมสามารถแสดงขอมูลที่เปนรูปภาพได และเปน
ขอมูลสําหรับการสืบคนของ Search Engine
• กรณีที่ใช CMS สามารถกําหนดคาความกวาง ความสูง และคําอธิบายภาพได
จากระบบ
14. การนํารูปภาพมาประกอบในเอกสารเว็บ ถารอบๆ ตําแหนงที่วางรูปภาพมีตวอักษร
ั
ควรจะกําหนดระยะหางจากขอบของรูปทุกดาน โดยการใชแอทริบิวต
vspace=“ระยะหางเปนพิกเซล” hspace=“ระยะหางเปนพิกเซล” และถารูปนั้นเปน
ตัวเชื่อมโยงไปยังเอกสารอืน ควรกําหนดความกวางของกรอบเทากับศูนย
่
ดวยแอทริบิวต border=“0”
• กรณีที่ใช CMS สามารถกําหนดคาดังกลาวไดจากระบบ

รูปแสดงคําสั่งตั้งคาการแสดงผลรูปภาพของโปรแกรม Joomla

25 
15. การพิมพเนื้อหาจะตองใหความสําคัญกับการใชเครื่องหมายวรรคตอน
26 

การเขียนทับศัพท และศัพทบัญญัติ
16. ผูเขาชมเว็บไซตควรไดรับแจงขอมูลเกี่ยวกับการใชงานโปรแกรมปลั๊กอิน (Plug-ins)
พรอมทั้งควรมีจุดเชื่อม (Link) ใหสามารถดาวนโหลดและติดตั้งโปรแกรมนั้นๆ
ไดโดยสะดวก
17. ในระหวางการพัฒนาควรจะมีการทดสอบการแสดงผล โดยการใชโปรแกรม
เว็บเบราวเซอรหลายๆ ชนิด เชน
• โปรแกรม Mozilla Firefox บน PC
• โปรแกรม Internet Explorer บน PC
• โปรแกรม Mozilla Firefox บน Macintosh
• โปรแกรม Internet Explorer บน Macintosh
• โปรแกรม Safari บน Macintosh
• หรือเว็บเบราวเซอรใหมๆ ที่สามารถทดสอบได
18. เว็บไซตจะตองติดซอฟตแวรวิเคราะหการเขาชม เชน Truehits, Google Analytic และ
นําผลมาวิเคราะห ปรับปรุงเว็บอยางสม่ําเสมอ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องรายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องMind Candle Ka
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 100
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์  100อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์  100
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 100Khunjitjai Sroi Sirima
 
รายงานอาชญากรรม เชี่ยว
รายงานอาชญากรรม เชี่ยวรายงานอาชญากรรม เชี่ยว
รายงานอาชญากรรม เชี่ยวAtcharaspk
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์4971
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์Thalatchanan Netboot
 
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการjansaowapa
 
How to make science media easy to Thais, part 2
How to make science media easy to Thais, part 2How to make science media easy to Thais, part 2
How to make science media easy to Thais, part 2Namchai Chewawiwat
 
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศKunnanatya Pare
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯKannaree Jar
 
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ตคุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ตohhomm
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์1
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์1อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์1
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์1sassy_nus
 

Was ist angesagt? (14)

รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องรายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 100
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์  100อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์  100
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 100
 
รายงานอาชญากรรม เชี่ยว
รายงานอาชญากรรม เชี่ยวรายงานอาชญากรรม เชี่ยว
รายงานอาชญากรรม เชี่ยว
 
Digital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web PolicyDigital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web Policy
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
 
How to make science media easy to Thais, part 2
How to make science media easy to Thais, part 2How to make science media easy to Thais, part 2
How to make science media easy to Thais, part 2
 
Digital Standard
Digital StandardDigital Standard
Digital Standard
 
บทที่+1 3..
บทที่+1 3..บทที่+1 3..
บทที่+1 3..
 
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯ
 
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ตคุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ต
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์1
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์1อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์1
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์1
 

Andere mochten auch

Digital Economy Plan of Thailand : Slide
Digital Economy Plan of Thailand : SlideDigital Economy Plan of Thailand : Slide
Digital Economy Plan of Thailand : SlideBoonlert Aroonpiboon
 
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรม
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรม
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมKingkaew Prajantasen
 
Standardization for Digital Media - How to
Standardization for Digital Media - How toStandardization for Digital Media - How to
Standardization for Digital Media - How toBoonlert Aroonpiboon
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาbtusek53
 
S-Sence : Social Media Intelligence
S-Sence : Social Media IntelligenceS-Sence : Social Media Intelligence
S-Sence : Social Media IntelligenceBoonlert Aroonpiboon
 
ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่Napadon Yingyongsakul
 
การวัดและประเมินผลทักษะการคิด
การวัดและประเมินผลทักษะการคิดการวัดและประเมินผลทักษะการคิด
การวัดและประเมินผลทักษะการคิดIct Krutao
 
การปรับเว็บให้แสดงผลสีเทา
การปรับเว็บให้แสดงผลสีเทาการปรับเว็บให้แสดงผลสีเทา
การปรับเว็บให้แสดงผลสีเทาBoonlert Aroonpiboon
 
OAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHS
OAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHSOAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHS
OAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHSBoonlert Aroonpiboon
 

Andere mochten auch (12)

handbook-digital-media
handbook-digital-mediahandbook-digital-media
handbook-digital-media
 
20170213 digital-archives
20170213 digital-archives20170213 digital-archives
20170213 digital-archives
 
Digital Economy Plan of Thailand : Slide
Digital Economy Plan of Thailand : SlideDigital Economy Plan of Thailand : Slide
Digital Economy Plan of Thailand : Slide
 
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรม
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรม
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรม
 
Standardization for Digital Media - How to
Standardization for Digital Media - How toStandardization for Digital Media - How to
Standardization for Digital Media - How to
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
 
S-Sence : Social Media Intelligence
S-Sence : Social Media IntelligenceS-Sence : Social Media Intelligence
S-Sence : Social Media Intelligence
 
Augmented Reality
Augmented RealityAugmented Reality
Augmented Reality
 
ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
 
การวัดและประเมินผลทักษะการคิด
การวัดและประเมินผลทักษะการคิดการวัดและประเมินผลทักษะการคิด
การวัดและประเมินผลทักษะการคิด
 
การปรับเว็บให้แสดงผลสีเทา
การปรับเว็บให้แสดงผลสีเทาการปรับเว็บให้แสดงผลสีเทา
การปรับเว็บให้แสดงผลสีเทา
 
OAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHS
OAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHSOAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHS
OAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHS
 

Ähnlich wie Digital Media : Code of Conduct

มาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลมาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลSatapon Yosakonkun
 
Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardBoonlert Aroonpiboon
 
ไอที
ไอทีไอที
ไอทีpatcha01
 
ไอที
ไอทีไอที
ไอทีpatcha01
 
ไอทีกับแน..
ไอทีกับแน..ไอทีกับแน..
ไอทีกับแน..patcha01
 
ไอที
ไอทีไอที
ไอทีpatcha01
 
Digital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for EducationDigital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for EducationBoonlert Aroonpiboon
 
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคตแนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคตPrapaporn Boonplord
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
 การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt  การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt Bammie Juppu
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
 การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt  การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt Bammie Juppu
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศYongyut Nintakan
 
ขุมทรัพย์ซอฟต์แวร์องค์กร
ขุมทรัพย์ซอฟต์แวร์องค์กรขุมทรัพย์ซอฟต์แวร์องค์กร
ขุมทรัพย์ซอฟต์แวร์องค์กรBoonlert Aroonpiboon
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน1214
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน1214ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน1214
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน1214ปรียา พรมเสน
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศSup's Tueng
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Tharathorn Junya
 

Ähnlich wie Digital Media : Code of Conduct (20)

มาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลมาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
 
Archives and Digital Archives
Archives and Digital ArchivesArchives and Digital Archives
Archives and Digital Archives
 
Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website Standard
 
Digital Standard
Digital StandardDigital Standard
Digital Standard
 
ไอที
ไอทีไอที
ไอที
 
ไอที
ไอทีไอที
ไอที
 
ไอทีกับแน..
ไอทีกับแน..ไอทีกับแน..
ไอทีกับแน..
 
ไอที
ไอทีไอที
ไอที
 
Digital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for EducationDigital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for Education
 
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคตแนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
 
Digital Standard
Digital StandardDigital Standard
Digital Standard
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
 การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt  การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
 การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt  การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
 
ขุมทรัพย์ซอฟต์แวร์องค์กร
ขุมทรัพย์ซอฟต์แวร์องค์กรขุมทรัพย์ซอฟต์แวร์องค์กร
ขุมทรัพย์ซอฟต์แวร์องค์กร
 
Nectec Digital Archive Concept
Nectec Digital Archive ConceptNectec Digital Archive Concept
Nectec Digital Archive Concept
 
E book muanal-for_ntc
E book muanal-for_ntcE book muanal-for_ntc
E book muanal-for_ntc
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน1214
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน1214ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน1214
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน1214
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 

Mehr von Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 

Digital Media : Code of Conduct

  • 1.
  • 2. ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ โดยบุญเลิศ อรุณพิบูลย ฝายบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี พิมพครั้งที่ 1 (กันยายน 2552) จํานวน 5,000 เลม พิมพครั้งที่ 2 (ธันวาคม 2552) จํานวน 7,000 เลม พิมพครั้งที่ 3 (กันยายน 2554) จํานวน 7,000 เลม ครีเอทีฟคอมมอนสแบบแสดงที่มา – ไมใชเพื่อการคา – อนุญาตแบบเดียวกัน (by-nc-sa) เมื่อนําเนื้อหาในหนังสือเลมนี้ไปใช ควรอางอิงแหลงที่มา โดยไมนําไปใชเพื่อการคาและยินยอมใหผูอื่นนําเนื้อหา ไปใชตอไดดวยสัญญาอนุญาตแบบเดียวกันนี้ ขอมูลเพิ่มเติม www.creativecommons.org จัดทําโดย ฝายบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ 111 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี โทรศัพท 0 2564 7000 โทรสาร 0 2564 7060 http://www.stks.or.th eMail: stks@nstda.or.th บุญเลิศ อรุณพิบูลย ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ / บุญเลิศ อรุณพิบูลย. – พิมพครั้งที่ 3 – ปทุมธานี : ฝายบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีแหงชาติ, 2554. 26 หนา : ภาพประกอบ ; 21 ซม. 1.สื่อดิจิทัล 2.แฟมขอมูลคอมพิวเตอร 3.เว็บไซต 4.ภาพดิจิทัล I.ชื่อเรื่อง : การพัฒนา สื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ II.สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ. ฝายบริการความรู ทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 005.741
  • 3. คํานํา การจัดทําสื่อดิจิทัลที่ผานมามักจะเนนการใชงานโปรแกรมมากกวาการพิจารณาเกียวกับ ่ มาตรฐานการสราง การแลกเปลี่ยนขอมูล และการเขากันไดเมื่อนําสื่อดิจิทัลไปใชงาน สงผลใหเกิด ปญหาหลากหลายตามมาจํานวนมาก เสียทั้งงบประมาณ กําลังที่ตองทํางานซ้ําซอน รวมทั้งอาจจะ สงผลกระทบตอการพัฒนาคลังขอมูลดิจิทัลในอนาคต ฝายบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีแหงชาติ ตระหนักถึงความสําคัญของมาตรฐานสื่อดิจิทัล จึงไดนําประสบการณจากการ ปฏิบัติจริง จากการวิจัย แปลงเปนความรูในรูปแบบเอกสารเลมนี้ เพื่อเปนจุดตั้งตนสําหรับทุกทาน  ทุกหนวยงานไดรวมกันกําหนดแนวทาง แนวปฏิบัติ ขอกําหนด หรือมาตรฐานการพัฒนา การใชงาน สื่อดิจิทัลภายในหนวยงานของทานตอไป ทั้งนี้ผูเขียนขอขอบพระคุณ ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงชาติที่กรุณาแนะนําสั่งสอนถายทอดความรูใหผูเขียนมาตลอดระยะเวลากวา 15 ป ที่ทํางานใน สวทช. ตลอดทังทุกทานในฝายฯ ที่เปนกําลังสําคัญในการผลิตเอกสารเลมนี้ ้ หากเอกสารเลมนี้มีขอผิดพลาดประการใด ผูเขียนขอนอมรับไว ณ ทีนี้ และสงขอมูลมาที่ ่ boonlert@nstda.or.th บุญเลิศ อรุณพิบูลย 1 กันยายน 2554
  • 4. สารบัญ   สื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ ................................................................................................................................ 1  ขอกําหนดการจัดการโฟลเดอรและแฟมเอกสาร ..................................................................................... 4  แนวปฏิบัติเกี่ยวกับโฟลเดอร ............................................................................................................. 5  แนวปฏิบัติเกี่ยวกับชื่อแฟมเอกสารดิจิทัล .......................................................................................... 6  ขอกําหนดการเตรียมภาพดิจทัล ............................................................................................................... 8  ิ วันที่เวลาของอุปกรณเตรียมภาพดิจิทัล.............................................................................................. 8  ความละเอียดของภาพ (Image Resolution) ...................................................................................... 10  ขนาดของภาพ (Image Size) ............................................................................................................ 10  สีของภาพ......................................................................................................................................... 11  เมทาดาทาสืบคนรูปภาพ .................................................................................................................. 12  ขอกําหนดการสรางเอกสารงานพิมพ..................................................................................................... 14  ขอกําหนดการสรางสื่อนําเสนอ ............................................................................................................. 19  ขอกําหนดการเผยแพรเอกสารในฟอรแมต PDF ................................................................................... 21  ขอกําหนดการพัฒนาเอกสารเว็บ ........................................................................................................... 22 
  • 5. ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ  สื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ ปจจุบันกระแสการจัดการความรู การพัฒนาคลังความรูหนวยงานเปนกระแสที่มาแรงมาก หลายหนวยงานตางใหความสําคัญกับการพัฒนาคลังความรูโดยเฉพาะการประยุกตใชเทคโนโลยี คอมพิวเตอร เทคโนโลยีการสื่อสารเปนเครื่องมือสําคัญในการดําเนินการ ผสานดวยแนวคิดของ เทคโนโลยีเว็บ 2.0 ที่มุงเนนความรวมมือสรางสรรคเนื้อหาสาระความรู จากการดําเนินการขางตน องคประกอบสําคัญที่เกี่ยวของก็คงหนีไมพน “องคความรูตางๆ ในรูปแบบสื่อดิจิทล” ที่พัฒนา ั สรางสรรคดวยซอฟตแวรหลากหลาย โดยมุงเนนใหมีระบบการจัดเก็บ การจัดหมวดหมู การเขาถึง และการเรียกใชงานที่สะดวก รวดเร็ว ยั่งยืน อันหมายถึงในอนาคตสามารถเรียกใชงานไดนนเอง ั่ แตความเปนจริงกลับพบวาการดําเนินการที่เกี่ยวของกับสื่อดิจิทัลของหลายหนวยงาน ไดใหความสําคัญกับ “ระบบ” มากกวา “ตัวสื่อที่เปนสาระความรู” ทําใหสื่อดิจิทัลที่จัดเก็บถูกละเลย ความสําคัญลงไปอยางมาก สงผลใหความคาดหวังทีวา “สือดิจิทัล” นั้นจะถูกเรียกใชไดอยางถูกตอง ่ ่ ในอนาคตเปนไปไมไดอยางที่คาดหวังไว เชน ปญหาจากแบบอักษร (Font) ที่เพี้ยน เพราะไมมี แบบอักษรดังกลาวใชในคอมพิวเตอรหรืออุปกรณที่เปดเรียกเอกสาร ปญหาการเขารหัสภาษาไทย (Thai Encoding) ปญหาจากการจัดหนากระดาษเพี้ยนแตกตางไปจากการจัดพิมพครั้งแรก ปญหาอันเกิด จากการทํางานซ้ําซอน สิ้นเปลืองกําลัง เวลา และงบประมาณ เชนการนําเอกสารตัวเลมที่จัดรูปเลม ดวยโปรแกรม Word Processor หรือ Desktop Publishing มาสแกน หรือพิมพใหม แทนที่จะเก็บรักษา แฟมเอกสารตนฉบับ ไมรวมถึงปญหาอันเกิดผลกระทบจากการละเมิดลิขสิทธิ์ตางๆ ทั้งเนื้อหา ภาพ แบบอักษร และซอฟตแวรที่ใชสรางสรรค เพราะสื่อดิจิทลที่นําเขาผานระบบที่เชื่อมตออินเทอรเน็ต ั ยอมถูกจับตามองไดเร็วกวาปกตินั่นเอง การดําเนินการเกี่ยวกับสื่อดิจทัล จึงตองใหความสําคัญกับขอกําหนด แนวปฏิบัติ และ/หรือ ิ มาตรฐานการสราง การใชงาน การแลกเปลี่ยนขอมูลดวย ฝายบริการความรูทางวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี ตระหนักถึงความสําคัญของสื่อดิจิทัล จึงไดศึกษาประเด็นตางๆ และนํามาจัดทําเปน ขอกําหนดเพื่อเปนตนแบบใหกับหนวยงานตางๆ นําไปประยุกตใชตามเหมาะสมตอไป 1 
  • 6. 2  กจากนี หรั ไทยที งานสํ นอก ้ก็เปนมิติที่ดีมากสําห บประเทศไ ่หนวยง าคัญหลายหนวยงานตางให ความสําคัญกับสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ แล อกําหน ละ/หรื นดแนวปฏิบติเิ กียวกับสื่อดิจิทัลออกมา อยางเชน ัต ่ สํานักเลขาธิก การคณะรัฐมน ไดประก าอธิบาย มพหนัังสือราชการดวยโปรแกรม มพ นตรี กาศคํ ยการพิ ด มการพิ ในเครื่องคอม วเตอร ดังป มพิ ประกาศ รูปแสดงปร ระกาศสํานักนายก ฐมนตรีเกี่ยวกับ กรั บการพิมพดวยโปรแกรมการพิมพค วเตอร  คอมพิ
  • 7. ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ  ประกาศขางตนมีรายประเด็นที่ชวยใหการสรางเอกสารเปนไปอยางมีระบบระเบียบมากขึ้น แตก็มีประเด็นจากประกาศดังกลาวที่ยิ่งสงใหการใชงานเอกสารในอนาคตอาจจะตองพิจารณา ระมัดระวังเปนพิเศษ เชน การใชฟอนตไทยสารบรรณเปนตน เพราะเปนฟอนตที่ไมไดมากับ ระบบปฏิบัติการ และไมมีในคอมพิวเตอรสวนมาก รวมทั้งอาจจะมีผลตอการเรียกใชงานในอนาคต เพื่อใหการดําเนินการตางๆ เปนไปอยางถูกตองเหมาะสม ฝายบริการความรูทางวิทยาศาสตร ่ และเทคโนโลยี ขอนําเสนอขอกําหนดทีเ่ กียวของกับการสรางสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ ดังนี้ 1. ขอกําหนดการจัดการโฟลเดอรและแฟมเอกสาร 2. ขอกําหนดการเตรียมภาพดิจิทัล 3. ขอกําหนดการสรางเอกสารงานพิมพ 4. ขอกําหนดการสรางสื่อนําเสนอ 5. ขอกําหนดการเผยแพรเอกสารใน รูปแบบเอกสาร PDF 6. ขอกําหนดการสรางเอกสารเว็บ 3 
  • 8. ขอกําหนดการจัดการโฟลเดอรและแฟมเอกสาร 4  เอกสารดิจิทัลทุกฟอรแมตจําเปนตองมีกระบวนการจัดเก็บ และบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ เพื่อใหสามารถเรียกใช สืบคนไดสะดวก รวดเร็ว โดยเฉพาะในยุคแหงสังคมขาวสารที่ผสานกับ เทคโนโลยีอินเทอรเน็ตและเครือขาย การกําหนดมาตรฐานชื่อแฟมเอกสาร และชื่อโฟลเดอรยิ่งมี ความสําคัญมากขึ้น การจัดวางโครงสรางโฟลเดอรในสื่อจัดเก็บตางๆ (Storage) ใหเปนระบบระเบียบ การกําหนด เกณฑการตั้งชือโฟลเดอร และชื่อแฟมเอกสารก็คงไมแตกตางจากการบริการจัดการแฟมเอกสารในยุคที่ ่ เปนตูเอกสาร ซึ่งจะชวยใหการเขาถึงการเรียกใชงานเปนไปอยางสะดวกรวดเร็ว รูปแสดงการจัดเก็บเอกสาร การตั้งชื่อโฟลเดอรและชื่อแฟมเอกสาร ตลอดทั้งการจัดวางโครงสรางโฟลเดอรที่ไมมีแนวทาง ปฏิบัติรวมกันจะสงผลตอการสืบคน การเขาถึง และการเผยแพรสื่อดิจทัล รวมทั้งเมื่อมีการปรับเปลี่ยน ิ ระบบอาจจะสงผลใหตองรื้อใหม แทนที่จะโอนยายสื่อดิจทัลแลวเปดระบบไดทันที เพือใหการบริหาร ิ ่ จัดการโฟลเดอรและแฟมเอกสารดิจิทัลเปนไปอยางมีคณภาพ ฝายบริการความรูฯ ขอนําเสนอตนแบบ ุ แนวปฏิบัตดังนี้ ิ
  • 9. ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ  แนวปฏิบติเกี่ยวกับโฟลเดอร ั การสรางโฟลเดอรกอนที่จะสรางสื่อดิจิทัลใดๆ เปนลําดับขั้นตอนที่ควรปฏิบัติดวยทุกครั้ง จากนั้นเมื่อมีการสรางเอกสารควรบันทึกเอกสารไวในโฟลเดอรที่กําหนดไวลวงหนา เอกสารที่ตองการ  ใชประกอบการพัฒนาเว็บไซต (ในรูปแบบ HTML) หรือการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนตางๆ สื่อเชิงโตตอบ (Interactive) ยิ่งตองใหความสําคัญกับการจัดการโฟลเดอร โดยควรจัดเก็บไวใน ที่เดียวกัน เพื่อปองกันปญหาจุดเชื่อม (Link) ที่ผิดพลาด ชื่อโฟลเดอรควรใชคําภาษาอังกฤษและ/หรือผสมตัวเลขที่สั้น กระชับ และสื่อความหมาย โดยหลีกเลียงการใชภาษาไทย และสัญลักษณพิเศษใดๆ ยกเวนเครื่องหมาย – Hyphen ่ รูปแสดงปญหาที่เกิดจากชื่อโฟลเดอรและชื่อแฟมเอกสารที่ใชภาษาไทย หลีกเลี่ยงการใชเครื่องหมาย _ Underscore เพื่อปองกันความสับสนของผูใชอันเนื่องจากปญหา เมื่อเปนสวนหนึ่งของจุดเชื่อม (Link) ที่มีการแสดงผลดวยเสนใตทับชื่อโฟลเดอร รูปแสดงปญหาที่เกิดจากชื่อเอกสารที่ใชเครื่องหมาย Underscore เปนสวนประกอบ ขอกําหนดนี้ใหรวมถึงการตังชื่อเอกสารในรูปแบบอื่นๆ ที่มาพรอมกับซอฟตแวรจดการเนื้อหา ้ ั เว็บ (Web Content Management System) ใหมๆ ดวย เชน • Namespace สําหรับซอฟตแวรในกลุม Wiki • Permalink สําหรับซอฟตแวรในกลุม Blog • Alias / Clean URL สําหรับซอฟตแวรในกลุม CMS อยางเชน Joomla, Drupal 5 
  • 10. 6  รูปแสดงการตังชื่อ Pagename ของ Wiki ้ แนวปฏิบติเกี่ยวกับชื่อแฟมเอกสารดิจิทัล ั แฟมเอกสารดิจิทัล ก็ควรกําหนดแนวปฏิบัติที่เหมาะสม เพื่อการเรียกใชที่สะดวก สืบคนไดไว โดยขอเสนอหลักการตั้งชื่อแฟมเอกสารดิจทัล ดังนี้ ิ • ใชคําภาษาอังกฤษ และ/หรือผสมตัวเลขที่สั้น กระชับ สื่อความหมายไดชัดเจน โดย หลีกเลี่ยงการใชภาษาไทย และสัญลักษณพิเศษใดๆ ยกเวนเครื่องหมาย – Hyphen • ในการรางเอกสารครั้งแรก ใหใสวนที่ไวขางหนา ในรูปแบบ yyyymmdd- เชนเอกสาร ั  งานพิมพเกี่ยวกับเรื่องเว็บ 2.0 ยกรางเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2554 ใหกําหนดชื่อแฟมเอกสาร เปน 20110822-web-2-0.doc o กรณีที่มีการทบทวน แกไขเอกสารดังกลาวในวันเดียวกัน ใหเติมตัวเลขกํากับ เวอรชั่นตอทาย เชน 20110822-web-2-0-v1.doc 20110822-web-2-0-v2.doc o กรณีที่มีการทบทวน แกไขเอกสารในวันถัดมา ใหปรับแกไขดวยวันทีที่แกไข เชน ่ มีการแกไขเอกสาร 20110822-web-2-0.doc วันที่ 30 สิงหาคม 2554 ชื่อแฟมเอกสารใหมคือ 20110830-web-2-0.doc ขอกําหนดนี้ใหรวมถึงการกําหนดชื่อเอกสารในรูปแบบอื่นๆ ที่มาพรอมกับซอฟตแวรจัดการ เนื้อหาเว็บ (Web Content Management System) ใหมๆ ดวย เชน • PageName สําหรับซอฟตแวรในกลุม Wiki • Permalink สําหรับซอฟตแวรในกลุม Blog • Alias / Clean URL สําหรับซอฟตแวรในกลุม CMS อยางเชน Joomla, Drupal
  • 11. ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ  7  รูปแสดงการกําหนด URL ของ Wordpress.com โดยใชวันที่เวลา 2011/07/26 นอกจากนี้หากพิจารณาจากรูปภาพการกําหนด URL ของ Wordpress.com ขางตน มีจุดผิดพลาดในสวนประกอบของ URL คือ การใชขอความภาษาไทยเปนสวนประกอบ ซึ่งเมื่อนํามา URL ดังกลาวมาคัดลอก (Copy) และวาง (Paste) ในเอกสารใดๆ อาจจะมีปญหาการเขารหัสภาษาไทย ที่ผิดพลาดดังนี้ http://boonlertaroonpiboon.wordpress.com/2011/07/26/%E0%B8%97%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0% B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0 %B9%89%E0%B8%87%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD/ รูปแสดงการกําหนด URL ของ Wordpress.com โดยใชวันที่เวลา 2011/07/26 การแกไขปญหาขางตน จะตองไปปรับคา Permalink ของ Wordpress.com ใหเปนภาษาอังกฤษ ตามขอกําหนดการตั้งชื่อแฟมเอกสารขางตน รูปแสดงการแกไข URL ของ Wordpress.com ในสวน Permalink หมายเหตุ วารสาร Focus ประจําเดือนมีนาคม 2510 คอลัมน Mindgames ไดมีคําถามเกี่ยวกับระบบวันที่ที่ เกี่ยวของกับชือแฟมเอกสาร ดังนี้ …Question 5 .. ่ Although the date format DDMMYY is used in Britain and MMDDYY is popular in the US, computer systems often use the format YYMMDD. Why ? Answer: Computer order files numerically by considering them as a word in a ‘dictionary’, so the YYMMDD format keeps them in chronological order, DDMMYY would keep files created on the 1st, 2nd, 3rd, etc of different months together – much less useful.
  • 12. ขอกําหนดการเตรียมภาพดิจิทัล 8  การนําเสนอรูปภาพเพื่อประกอบการนําเสนอในลักษณะตางๆ โดยภาพที่ไดมานันมีทั้งภาพที่ ้ ถายดวยกลองถายภาพดิจิทัล (Digital Camera) ภาพจากเครื่องกราดภาพ (Scanner) ซึ่งมีคากําหนดการ จัดเตรียมภาพ และการใชงานที่แตกตางทังความละเอียด (Resolution) ขนาดภาพ (Image Size) เพื่อให ้ การนําภาพไปใชในลักษณะตางๆ เปนไปอยางถูกตอง ควรมีการเตรียมภาพใหเหมาะสมกับรูปแบบการ ใชงาน วันที่เวลาของอุปกรณเตรียมภาพดิจิทัล วันที่/เวลาของกลองภายภาพดิจิทัล และเครืองคอมพิวเตอรมีความสําคัญอยางมากในการจัดการ ่ ภาพดิจิทัล กลองถายภาพดิจทัลและเครื่องสแกนเนอรในปจจุบันมีการเก็บขอมูลวันที/่ เวลาที่ถาย สแกน ิ หรือแกไขลงไปในแฟมภาพดิจิทัล ผานสวนการทํางานทีเ่ รียกวา Image Metadata โดยเฉพาะ ภาพฟอรแมต JPG และ TIFF ซึ่งมีซอฟตแวรจํานวนมากที่สามารถดึงคาวันที่/เวลาดังกลาว มาใชประโยชนได เชน การนํามาใชเปนสวนประกอบในชื่อของภาพ (File name) ดังนั้นการถายภาพ หรือสแกนภาพ ควรกําหนดวันที่/เวลาของกลองถายภาพดิจิทัล คอมพิวเตอรที่ตอสแกนเนอรใหถูกตอง ตรงตามความเปนจริงทุกครั้ง รูปแสดงการตังคาวัน/เวลาของกลองถายภาพดิจิทัล (คําสั่งแตกตางกันได) ้ วันที่ที่ถายภาพ สแกนภาพ และปรับแกไขภาพฟอรแมต JPG และ TIF จะจัดเก็บไวในรายการ ของเมทาดาทาชุด EXIF (Exchangeable Image File Format) ดังตัวอยางขางลางเปนรายการ EXIF Metadata ของภาพจากกลองถายภาพดิจิทัลที่เปดเรียกดูดวยซอฟตแวร XnView 
  • 13. ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ  9  รูปแสดงคา EXIF ของภาพดิจิทัลที่ไดจากกลองถายภาพดิจิทัล คาดังกลาวสามารถนํามาประยุกตใชไดดวยซอฟตแวรตางๆ เชน การดึงคาวันที่/เวลาของ  ภาพถายดิจิทัลมาใชเปนสวนประกอบของชื่อแฟมภาพ ดวยความสามารถ Rename ของ XnView รูปแสดงคาดึงคาวันที่จาก EXIF มาเปนสวนประกอบของชื่อแฟมภาพดิจทัลดวย XnView ิ
  • 14. ความละเอียดของภาพ (Image Resolution) 10  ความละเอียดของภาพก็เปนองคประกอบสําคัญที่ตองพิจารณาในการเตรียมภาพ ดวยราคาของ อุปกรณจัดเก็บที่ลดลงบนฐานของความสามารถในการจัดเก็บที่มากขึนกวาเดิม ทําใหการบันทึกภาพ ้ การถายภาพ การสแกนภาพควรกําหนดคาความละเอียดของภาพใหสูงเทาที่อุปกรณจะรับได หรือ สูงพอควร เชน มากกวา 150 จุดตอนิว (Dot per Inch) หรือกําหนดคาความกวางของภาพ คุณภาพของ ้ ภาพ (Image Quality) จากกลองถายภาพดิจิทัลใหอยูในระดับที่ดีถึงดีทสด  ี่ ุ รูปแสดงการตังคาคุณภาพของถายภาพดวยกลองถายภาพดิจิทัล (คําสั่งแตกตางกันได) ้ ขนาดของภาพ (Image Size) ขนาดของภาพก็มีความสําคัญไมแพความละเอียดของภาพ โดยการเตรียมภาพตนฉบับควร กําหนดขนาดภาพใหสูงไวกอน เพื่อใหสามารถนําไปใชงานไดอยางเหมาะสม หนวยวัดขนาดของภาพ  คือจุดหรือพิกเซล (Pixel) ประกอบดวยคาความกวาง (Width) และคาความสูง (Height) การเตรียมภาพตนฉบับเพื่อใชประกอบการจัดพิมพเอกสาร ควรกําหนดขนาดภาพไมนอยกวา 1024 × 768 พิกเซล และควรปรับขนาดภาพใหเหมาะสมในการใชงานแตละครั้ง แตละลักษณะโดย ใชเทคนิคการปรับขนาดภาพดวยคําสั่งของซอฟตแวรจดการภาพ (หลีกเลี่ยงการปรับขนาดภาพดวย ั การลากจุด Handle ที่มุมของภาพ) โดยการปรับแตง การปรับขนาดภาพนั้น ภาพที่ปรับควรบันทึกดวย ชื่อแฟมภาพใหม เพื่อเก็บแฟมภาพตนฉบับไวใชงานตอ การเตรียมภาพสําหรับเว็บไซต สื่อนําเสนอตางๆ ควรปรับขนาดภาพใหเหมาะสมดวย ซอฟตแวรจดการภาพทุกครั้ง และควรกําหนดขนาดที่เปนมาตรฐานในงานตางๆ ดวย ดังเชนที่เว็บไซต ั iab.net ไดแนะนําไวดังนี้
  • 15. ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ  11  รูปแสดงขนาดของภาพลักษณะตางๆ ในการนําเสนอผานเว็บ สีของภาพ สีของภาพก็มความสําคัญตอภาพลักษณขององคกรได ณ เวลานีการเรียกสีดวยชื่อเรียกตามปกติ ี ้ เชน แดง เขียว เหลือง ฟา อาจจะสรางปญหาไดงาย เชน สีของโลโกหนวยงานเปนสีแดง ก็คงเปน การยากทีจะบอกวาสีแดงลักษณะใด เชน แดงเขม แดงมืด แดงออน แดงสวาง ดังนั้นการกําหนด ่ รหัสกํากับสี โดยเฉพาะสีของหนวยงานยอมสรางความเขาใจที่ตรงกันได สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ ไดตระหนักถึงสีที่มีตอภาพลักษณ องคกร จึงไดกาหนดรหัสกํากับสีของโลโก ดังนี้ ํ รูปแสดงรหัสสีโลโกของ สวทช.
  • 16. เมทาดาทาสืบคนรูปภาพ 12  รูปภาพดิจิทัลฟอรแมต TIF และ JPG นอกจากจะมีเมทาดาทาชุด EXIF ที่ไดจากอุปกรณแลว ยังอนุญาตใหผูใชงานปอนขอมูลเพิ่มเติมลงไปในเมทาดาทาชุด IPTC อีกดวย เพื่อชวยในการสืบคน การแลกเปลี่ยนขอมูลกับระบบตางๆ ขอมูลที่ปอนประกอบดวยชื่อภาพ คําอธิบายภาพ ชื่อผูถายภาพ/ ผูสรางสรรค คําคน หมวดภาพ ตลอดทั้งเงือนไขการใชงานตางๆ ่ การปอนขอมูลเมทาดาทา IPTC จะตองใชซอฟตแวรเฉพาะ เชน XnView ตัวอยาง การปอนขอมูลลงใน IPTC ดวย XnView ทําไดโดยเปดโปรแกรม XnView แลวคลิกขวาทีภาพ ่ ที่ตองการ เลือกคําสั่ง Edit IPTC Data จะปรากฏจอภาพปอนขอมูลเมทาดาทา ดังนี้ รูปแสดงคําสั่งปอน IPTC ของ XnView ขอมูลที่ปอนไปสามารถใชคําสั่งสืบคนของ XnView และยังทํางานกับซอฟตแวรตางๆ ที่จัดการเมทาดาทาของภาพได เชน NextGen Gallery ของ Wordpress.org JoomGallery ของ Joomla และ Gallery2 รวมถึงเว็บไซตคลังภาพอยาง Fickr.com
  • 18. ขอกําหนดการสรางเอกสารงานพิมพ 14  เอกสารงานพิมพที่สรางดวยซอฟตแวรในกลุม Word Processor หรือ Desktop Publishing อยางเชน Microsoft Word, OpenOffice.org Writer, Adobe InDesign นับเปนสื่อดิจิทลแตกําหนด ั (Born Digital File) ซึ่งมักจะเปนแฟมเอกสารดิจิทัลที่ผูกกับรุนของซอฟตแวร รวมทังระบบปฏิบัติการ ้ อันอาจจะสรางปญหาในการเรียกใชงานไดในอนาคต เชนปญหาแบบอักษรที่เพียนเนื่องจากไมมี ้ แบบอักษรดังกลาวในคอมพิวเตอรที่ใชเปดแฟมเอกสารดังกลาว ปญหาจากการปรับรุนของซอฟตแวร ปญหาจากการยุติการพัฒนาซอฟตแวรท่ใชสรางเอกสาร ปญหาจากการไมไดใชงานความสามารถของ ี ซอฟตแวรเพื่อสรางเอกสารตามความเหมาะสม รวมทั้งปญหาที่เกิดจากการบริหารจัดการแฟมเอกสาร ดิจิทัล เชน ไมไดจัดเก็บแฟมเอกสารดิจิทัลตนฉบับ ตองเสียเวลามาพิมพใหม หรือสแกนใหม เมื่อตองการใชงาน อันเสียทั้งเวลา และแรงงาน เพื่อใหเอกสารดิจิทัลเปนเอกสารที่มีคุณภาพ สามารถรองรับการใชงานไดอยางยั่งยืน หนวยงานควรกําหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการสรางเอกสาร ดังนี้ 1. กําหนดแบบอักษรมาตรฐาน และตรงกับเทคโนโลยีในแตละชวง เชน • ระบบปฏิบัติการที่ต่ํากวา Windows ME แนะนําใหกําหนดดวยฟอนตตระกูล UPC เชน AngsanaUPC • ระบบปฏิบัติการ Windows 2000/XP/Vista แนะนําใหกําหนดดวยฟอนตตระกูล NEW เชน AngsanaNEW • ระบบปฏิบัติการอื่นๆ ก็ใชหลักการกําหนดลักษณะเดียวกัน โดยคํานึงถึง การปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีแตละชวงเปนหลัก • วันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2553 สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีไดประกาศฟอนต มาตรฐานราชการไทย และกําหนดใหเอกสารราชการใชฟอนตตามประกาศ ดังนั้นแบบอักษรมาตรฐานของเอกสารราชการ ณ ปจจุบนก็คือ TH SarabunPSK ั 2. การใชแบบอักษรพิเศษที่ไมไดมาพรอมกับระบบปฏิบัติการ จะตองฝงแบบอักษร (Embed font) ดังกลาวไปกับเอกสารทุกครั้ง
  • 19. ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ  15  รูปแสดงตัวเลือกฝงฟอนตกับเอกสารของ Microsoft Office Word 2007 3. หนวยงานควรกําหนดแมแบบเอกสาร (Document Template) พรอมสไตล (Style) การพิมพเอกสารดวย Heading 1, Heading 2, Heading 3, Normal, Body ใหเหมาะสมกับ ประเภทเอกสาร รูปแสดงแมแบบเอกสารและปุมสไตลของ Microsoft Office Word 2007 4. การสรางเอกสารดวยซอฟตแวร ควรใชคําสังพิมพงานที่ถกตองตามแนวปฏิบัติของ ่ ู ซอฟตแวร เชน • ซอฟตแวรมีความสามารถตัดคําไดเองเมื่อสิ้นสุดระยะกระดาษ หรือขอบเขตการพิมพ • การตัดคําขึ้นบรรทัดใหม ใชปุม Shift พรอมปุม Enter • การขึ้นหนาใหมกอนจบหนาปกติ ใชปุม Ctrl พรอมปุม Enter
  • 20. • การใสชองวาง ควรใชเพียง 1 ชอง 16  • การพิมพสัญลักษณพิเศษ ควรใชความสามารถ Insert Symbol ในเนื้อหา บางลักษณะอยางเหมาะสม เชน ขอความ 2 ไมเทากับ 5 ก็ควรพิมพโดยใช Symbol ดังนี้ 2 ≠ 5 หรือขอความ 5 คูณ 3 เทากับ 15 ควรพิมพโดยใช Symbol ดังนี้ 5 × 3 = 15 • ศึกษาคําสั่งที่เกี่ยวของกับการพิมพ การจัดพารากราฟของซอฟตแวรและใชงาน อยางเหมาะสม เชน คําสั่งกําหนดระยะหางระหวางบรรทัด ระยะหางระหวาง พารากราฟ การยอหนา ดังตัวอยางประกาศของสํานักเลขาคณะรัฐมนตรี รูปแสดงขอกําหนดการพิมพของราชการ
  • 21. ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ  5. ใหความสําคัญกับการใชเครื่องหมายวรรคตอนบนฐานของการพิมพดวยซอฟตแวร เชน เครื่องหมายไมยมก ใหพิมพติดกับคํา ดังนี้ ตางๆ ไมใช ตาง ๆ 6. ใหความสําคัญกับการเขียนทับศัพท หรือใชศัพทบัญญัติตามราชบัณฑิตยสถาน ตรวจสอบ ไดจากเว็บไซต www.royin.go.th • ตัวอยางคําที่มกเขียนผิด ั คํา Internet Web Digital Click คําที่มักเขียนและผิด อินเตอรเน็ต, อินเทอรเนท เวบ, เว็ป ดิจิตอล, ดิจิทอล คลิ๊ก คําที่ถูก อินเทอรเน็ต เว็บ ดิจิทัล คลิก 7. กําหนด Document Properties ใหกับเอกสารเพื่อเปนขอมูลประกอบการสืบคนและ การบริหารจัดการระบบหองสมุดดิจิทัลแบบอัตโนมัติ รูปแสดงการใสขอมูล Document Properties ใหกับเอกสารงานพิมพ 8. เอกสารที่ตองการเผยแพร ควรสงออก (Export) เปน PDF ในรูปแบบทีเ่ หมาะสมกับ การใชงาน ไดแกเอกสารรูปแบบ PDF แบบมาตรฐาน (Standard) PDF สําหรับใชงานผาน อินเทอรเน็ต (Smallest File Size) PDF สําหรับการสั่งพิมพ (PDF/X) และ PDF สําหรับ การจัดเก็บถาวร (PDF/A) 17 
  • 22. 9. กรณีที่เปนการวาจางหนวยงานภายนอกจัดทําตนฉบับ รูปเลม จะตองกําหนดใหผูรับงาน 18  สงมอบแฟมเอกสารดิจิทัลตนฉบับที่จัดรูปเลมเหมือนตัวเลมจริง แฟมเอกสาร PDF ที่มี ความคมชัดสูง แฟมแบบอักษรที่ใชประกอบการจัดพิมพและปลอดปญหาลิขสิทธิ์ แฟมเอกสารเนื้อหาแบบ Text และแฟมภาพประกอบการจัดพิมพและปลอดปญหาลิขสิทธิ์ พรอมตัวเลม ทั้งนี้แฟมเอกสาร PDF และแฟมเอกสารตนฉบับควรฝงฟอนตมาดวย
  • 23. ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ  ขอกําหนดการสรางสื่อนําเสนอ สื่อนําเสนอ (Presentation) ที่สรางดวย Microsoft PowerPoint หรือ OpneOffice.org Impress รวมทั้งบริการออนไลนอยาง Google Presentation เปนสื่อดิจิทัลที่ใหขอมูลเชิงสรุปที่นาสนใจ  รูปแบบหนึ่ง เนื่องจากเนนการออกแบบสรางความโดดเดนใหกับเนื้อหาที่ตองการนําเสนอมากกวา เอกสารงานพิมพ เพื่อใหเปนสื่อนําเสนอที่ยั่งยืน ก็ควรกําหนดแนวปฏิบัติ ดังนี้ 1. กําหนดแบบอักษรมาตรฐานใหกับการสรางสื่อนําเสนอ โดยไมเกิน 4 แบบอักษร ตอหนึ่งชุดสไลด 2. สรางแมแบบสไลด (Slide Template) และกําหนดแบบอักษรตามขอกําหนดการสราง แมแบบสไลดที่ถูกตอง และเหมาะสมกับการใชงานแตละโอกาส • กรณีที่มีการใชแบบอักษรพิเศษ ที่ไมไดมาพรอมกับระบบปฏิบัติการควรฝงฟอนต ไปกับเอกสารทุกครั้ง 3. การสรางสื่อนําเสนอ ควรใชคําสั่งพิมพงานที่ถูกตองตามแนวปฏิบัติของซอฟตแวร เชน • เลือก Layout ของสไลดใหตรงกับลักษณะงานที่ตองการนําเสนอ • ทุกสไลดควรกําหนด Slide Title • ใหความสําคัญกับขอมูลสรุปมากกวารายละเอียด และนําเสนอดวยแผนภาพ (Diagram / Illustration) มากกวาขอความเปนพารากราฟ • ซอฟตแวรมีความสามารถตัดคําไดเองเมื่อสิ้นสุดระยะกระดาษ หรือขอบเขต การพิมพ • การตัดคําขึ้นบรรทัดใหม ใชปุม Shift พรอมปุม Enter • การใสชองวาง ควรใชเพียง 1 ชอง • การพิมพสัญลักษณพิเศษ ควรใชความสามารถ Insert Symbol • ศึกษาคําสั่งที่เกี่ยวของกับการพิมพ การจัดพารากราฟของซอฟตแวรและ ใชงานอยางเหมาะสม เชน คําสั่งกําหนดระยะหางระหวางบรรทัด ระยะหาง ระหวางพารากราฟ การยอหนา 4. ใหความสําคัญกับการนําเสนอดวยสี ขนาดที่เหมาะสม โดยแตละสไลดมีเนื้อหา ไมเกิน 8 บรรทัด 5. ใชวัตถุที่เหมาะสมประกอบการนําเสนอ เชน รูปภาพ ตาราง กราฟ ผังงาน โดยภาพทีนําเขา ่ ควรลดความละเอียดของภาพใหเหมาะสม 19 
  • 24. 6. ใหความสําคัญกับการใชเครื่องหมายวรรคตอนบนฐานของการพิมพดวยซอฟตแวร 20  7. ใหความสําคัญกับการเขียนทับศัพท หรือใชศัพทบัญญัติตามราชบัณฑิตยสถาน ตรวจสอบ ไดจากเว็บไซต www.royin.go.th 8. กําหนด Document Properties ใหกับเอกสารเพื่อเปนขอมูลประกอบการสืบคนและ การบริหารจัดการระบบหองสมุดดิจิทัลแบบอัตโนมัติ 9. เอกสารที่ตองการเผยแพร ควรสงออก (Export) เปน PDF ที่มีความเหมาะสมกับการใชงาน เชน PDF Standard, PDF Smallest File Size, PDF/X, PDF/A 10. กรณีที่เปนการวาจางหนวยงานภายนอกจัดทําตนฉบับ รูปเลม จะตองกําหนดใหผูรับงาน สงมอบแฟมเอกสารดิจิทัลตนฉบับที่จัดรูปเลมเหมือนตัวเลมจริง แฟมเอกสาร PDF ที่มี ความคมชัดสูง แฟมแบบอักษรที่ใชประกอบการจัดพิมพและปลอดปญหาลิขสิทธิ์ แฟมเอกสารเนื้อหาแบบ Text และแฟมภาพประกอบการจัดพิมพและปลอดปญหาลิขสิทธิ์ พรอมตัวเลม ทั้งนี้แฟมเอกสาร PDF และแฟมเอกสารตนฉบับควรฝงฟอนตมาดวย
  • 25. ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ  ขอกําหนดการเผยแพรเอกสารในฟอรแมต PDF ฟอรแมตเอกสารที่เหมาะสมในการเผยแพรสูสาธารณะ หรือเพื่อการแลกเปลี่ยน คือ PDF Portable Document Format (PDF) ดังนันกอนเผยแพรเอกสารใดๆ ควรแปลงเอกสารตนฉบับใหเปน ้ เอกสาร PDF ที่ตรงกับลักษณะการใชงาน เชน • Standard สําหรับการสรางเอกสาร PDF ที่พรอมใชงานทั่วไป • Press Quality & High Quality Print สําหรับการสรางเอกสาร PDF ที่ตองการคุณภาพสูง และ/หรือสําหรับการสงโรงพิมพ เหมาะสําหรับการทําตนฉบับเอกสารสิ่งพิมพ • Smallest File Size สําหรับการสรางเอกสาร PDF ที่มีการลดขนาดไฟล เพื่อการสงผานอีเมลหรือนําเสนอผานเว็บไซต • PDF/A สําหรับการสรางเอกสาร PDF เพื่อจัดเก็บเอกสาร อิเล็กทรอนิกสใหอยูเ ปนเวลานาน เอกสารจะมีการฝงฟอนต และรับประกันวาสามารถเปด เรียกดูไดในอนาคตผาน PDF Reader ตางๆ นอกจากนี้ เอกสาร PDF จะตองกําหนด Document Properties ใหเหมาะสมและถูกตอง เชนเดียวกับเอกสารตนฉบับ รวมทั้งควรกําหนด PDF Security ที่เหมาะสมกอนเผยแพรสําหรับเอกสาร แตละประเภท รูปแสดงการกําหนด PDF Security ของ Acrobat Professional 21 
  • 26. ขอกําหนดการพัฒนาเอกสารเว็บ 22  สื่อดิจิทัลรูปแบบหนึ่งที่แพรหลายในปจจุบันไดแก เอกสารเว็บ ดังนันการพัฒนาเอกสารเว็บ ้ ก็ควรกําหนดแนวปฏิบัติเพือใหไดเอกสารเว็บที่มีคุณภาพ ตรงกับเทคโนโลยี รองรับการเขาถึงของ ่ Search Engine ดังนี้ 1. เว็บไซตควรจะสอดคลองกับขอกําหนดของ W3C สําหรับ Extensible HyperText Markup Language (XHTML) ระดับ 1.0 หรือ HTML ระดับ 4.0 2. เว็บไซตควรจะสอดคลองกับขอกําหนดของ W3C ในเรืองการพัฒนาเว็บไซตใหทุกคน ่ เขาถึงได (Web Content Accessibility Guidelines) ระดับ 1.0 3. เว็บไซตใดใช Cascading Style Sheets (CSS) เว็บไซตเหลานั้นควรจะสอดคลองกับ ขอกําหนดของ W3C สําหรับ CSS ระดับ 1 4. ในการนําเสนอขอมูลในแตละหนาจะตองมี Header และ Footer ที่เหมาะสม เชน • Header จะตองประกอบดวย โลโกขององคกรที่จะลิงคกลับไปที่หนาแรกของ องคกร ชื่อของหนวยงานทีจะลิงคไปที่หนาแรกของหนวยงาน เมนูหลักของ ่ เว็บไซต และชองสําหรับคนหาขอมูล • Footer จะตองประกอบไปดวยขอความสงวนลิขสิทธิ์ในการนําขอมูลในเว็บไซต ไปใชงาน รวมทั้งที่อยูในการติดตอ 5. ในการตั้งชื่อแฟมขอมูลและชื่อโฟลเดอร ใหใชหลักการเดียวกับที่ไดแนะนําใน ขอกําหนดการตั้งชื่อโฟลเดอรและชื่อแฟมเอกสาร โดยไมตองระบุวันที่สราง/เผยแพร 6. เอกสารเว็บทุกเอกสารจะตองมีการกําหนดชื่อของเอกสารหนานั้น ไวในสวนของแท็ก <title>…</title> โดยชื่อที่กาหนดขึ้นมาควรใชภาษาอังกฤษ และตอทายดวยภาษาไทย ํ ั้ ่ ได และอธิบายถึงภาพรวมของเว็บไซตนนๆ ใหไดมากทีสุด โดยไมควรยาวเกิน 64 ตัวอักษร และหากใช CMS ใดๆ พัฒนาจะตองกําหนดชือของเอกสารเว็บดวยสวน ่ ควบคุมของ CMS ใหถูกตองเชนกัน • ไมควรใชเทคนิคใดๆ ในการพิมพ เชน การเวนวรรคระหวางตัวอักษร หรือ ควบคุมดวย Javascript 7. เอกสารเว็บทุกเอกสารตองกําหนดคียเวิรด (Keyword) โดยการใชแท็ก  <meta name=“keywords” content=“คํา1,คํา2,…”> ตัวอยางเชน <meta name=“keywords” content=“STKS, Science and Technology Knowledge
  • 27. ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ  Services, NSTDA, Library, หองสมุด, บริการทรัพยากรสารสนเทศ”> เปนตน กรณีที่พัฒนาเว็บดวย CMS จะตองกําหนดคียเวิรดของเว็บและบทความใหเหมาะสม จากสวนควบคุมของ CMS ดวย 8. เอกสารเว็บทุกเอกสารจะตองกําหนดคําอธิบายเว็บอยางยอ (Description) ดวยแท็ก <meta name=“description” content=“คําอธิบายเว็บ”> ทั้งนี้ขอความดังกลาว ไมควรยาวเกิน 250 ตัวอักษร และกรณีทพฒนาเว็บดวย CMS จะตองกําหนดคําอธิบาย ี่ ั เว็บของบทความและเว็บไซตจากสวนควบคุม CMS ดวย รูปแสดงคําสั่งกําหนดชื่อเอกสาร คําอธิบายเว็บ และคําคนเอกสารเว็บของโปรแกรม Joomla 9. เอกสารเว็บทุกเอกสารจะตองกําหนดชื่อหนวยงานหรือผูพัฒนาเว็บ ดวยแท็ก <meta name=“author” content=“ชื่อหนวยงาน/ผูพัฒนาเว็บ”> และกรณีที่พัฒนาเว็บ ดวย CMS จะตองกําหนดคําอธิบายเว็บของบทความและเว็บไซตจากสวนควบคุม CMS ดวย รวมทั้งควรปรับแกไขคา Profile ของผูใชจากระบบของ CMS ใหถูกตอง ครบถวน รูปแสดงคําสั่งกําหนดชื่อเอกสาร คําอธิบายเว็บ คําคนและผูเขียนเอกสารเว็บของโปรแกรม Joomla 23 
  • 28. 10. เอกสารเว็บทุกเอกสารจะตองมีการกําหนดชุดของตัวอักษร (Character Set) โดย 24  จะตองกําหนดเปนชุด TIS-620 หรือ UTF-8 ซึ่งการกําหนดชุดของตัวอักษรในเอกสาร แตละหนานั้นจะใชคําสั่ง <meta http-equiv=“Content-Type” content=“text/html;charset=TIS-620”> หรือ <meta http-equiv=“Content-Type” content=“text/html;charset=UTF-8”> • การระบุ TIS-620 หรือ UTF-8 จะตองระบุใหเหมือนกันทั้งเว็บ และตองตรง กับระบบภาษาไทยของโปรแกรมจัดการฐานขอมูล และ Web Programming รวมทั้งเครื่องมือที่ใชพัฒนาเว็บ 11. การกําหนดชนิดของแบบอักษร (Font) ที่ใชแสดงผล ควรกําหนดเปนชุดฟอนต ที่ครอบคลุมกับระบบปฏิบัติการตางๆ ใหมากที่สุด โดยการใชแท็ก <font face=“ชื่อของฟอนต”> โดยเฉพาะเว็บไซตที่มีการใชขอมูลที่เปนภาษาไทย จะตองกําหนดชื่อฟอนตที่มีอยูในเครื่อง Macintosh และ PC พรอมทั้งระบุขนาดที่ เหมาะสมดวย ชุดฟอนตที่แนะนําไดแก <font face=” “Tahoma, MS Sans Serif, Thonburi”>…</font> สําหรับการกําหนดผานสวนควบคุม CSS ใหระบุดวยคําสัง  ่ Font-Family: Tahoma, “MS Sans Serif”, Thonburi; รูปแสดงคําสั่งกําหนดแบบอักษรผาน CSS ของโปรแกรม Joomla
  • 29. ขอกําหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ  12. หลีกเลี่ยงการคัดลอก (copy) เนื้อหาจากเอกสารใดๆ มาวางบน WYSIWYG Editor ของ CMS เนืองจากจะติด Special Code จากซอฟตแวรมาดวย สงผลใหการแสดงผล ่ ผิดพลาดได ทังนี้ควรนําไปวาง (Paste) ผาน Text Editor กอนแลวจึงคอยคัดลอกและ ้ นํามาวางบน WYSIWYG Editor 13. การนําภาพมาประกอบในเอกสาร จะตองกําหนดความกวาง และความสูงที่ถูกตอง ของภาพนั้นไวดวยเสมอ เพือชวยใหการจัดโครงรางของเอกสารทําไดอยางรวดเร็ว  ่ รวมทั้งจะตองกําหนดแอทริบิวต alt และ title ไวภายในแท็ก <img src=..> เชน <img src=“ชื่อไฟลภาพ” width=“ความกวางเปนพิกเซล” height=“ความสูงเปน พิกเซล” alt=“คําอธิบายภาพ” title=“คําอธิบายภาพ”> เพื่อแสดงขอความอธิบาย สําหรับเว็บเบราวเซอรบางชนิด ที่ไมสามารถแสดงขอมูลที่เปนรูปภาพได และเปน ขอมูลสําหรับการสืบคนของ Search Engine • กรณีที่ใช CMS สามารถกําหนดคาความกวาง ความสูง และคําอธิบายภาพได จากระบบ 14. การนํารูปภาพมาประกอบในเอกสารเว็บ ถารอบๆ ตําแหนงที่วางรูปภาพมีตวอักษร ั ควรจะกําหนดระยะหางจากขอบของรูปทุกดาน โดยการใชแอทริบิวต vspace=“ระยะหางเปนพิกเซล” hspace=“ระยะหางเปนพิกเซล” และถารูปนั้นเปน ตัวเชื่อมโยงไปยังเอกสารอืน ควรกําหนดความกวางของกรอบเทากับศูนย ่ ดวยแอทริบิวต border=“0” • กรณีที่ใช CMS สามารถกําหนดคาดังกลาวไดจากระบบ รูปแสดงคําสั่งตั้งคาการแสดงผลรูปภาพของโปรแกรม Joomla 25 
  • 30. 15. การพิมพเนื้อหาจะตองใหความสําคัญกับการใชเครื่องหมายวรรคตอน 26  การเขียนทับศัพท และศัพทบัญญัติ 16. ผูเขาชมเว็บไซตควรไดรับแจงขอมูลเกี่ยวกับการใชงานโปรแกรมปลั๊กอิน (Plug-ins) พรอมทั้งควรมีจุดเชื่อม (Link) ใหสามารถดาวนโหลดและติดตั้งโปรแกรมนั้นๆ ไดโดยสะดวก 17. ในระหวางการพัฒนาควรจะมีการทดสอบการแสดงผล โดยการใชโปรแกรม เว็บเบราวเซอรหลายๆ ชนิด เชน • โปรแกรม Mozilla Firefox บน PC • โปรแกรม Internet Explorer บน PC • โปรแกรม Mozilla Firefox บน Macintosh • โปรแกรม Internet Explorer บน Macintosh • โปรแกรม Safari บน Macintosh • หรือเว็บเบราวเซอรใหมๆ ที่สามารถทดสอบได 18. เว็บไซตจะตองติดซอฟตแวรวิเคราะหการเขาชม เชน Truehits, Google Analytic และ นําผลมาวิเคราะห ปรับปรุงเว็บอยางสม่ําเสมอ