SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 15
Downloaden Sie, um offline zu lesen
คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 1
บุญเลิศ อรุณพิบูลย์
คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib
โดย ... บุญเลิศ อรุณพิบูลย์
ฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
กรกฎาคม 2556
คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 2
บุญเลิศ อรุณพิบูลย์
แนะนาโปรแกรม
โปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib เป็นโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติที่พัฒนา
ต่อยอดจากโปรแกรม OpenBiblio อันเป็นโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ (Automated Library) ที่พัฒนาบนฐาน
ของโอเพนซอร์ส หรือการเปิดเผยต้นฉบับโปรแกรมที่ให้บริการผ่านเว็บ http://obiblio.sourceforge.net/
โปรแกรม OpenBiblio เป็นระบบห้องสมุดอัตโนมัติที่พัฒนาด้วยภาษา PHP ทางานบนระบบฐานข้อมูล
MySQL และ OpenBiblio รุ่น myLib ก็ได้นาต้นฉบับโปรแกรมดังกล่าวมาปรับปรุงความสามารถ โดยเฉพาะ
การปรับแก้ไขปัญหาภาษาไทย การปรับรูปแบบการแสดงผลข้อมูลเพื่อให้รองรับการใช้งานกับห้องสมุดขนาดเล็ก
ในประเทศไทย
การติดตั้งโปรแกรมบน AppServ
ต้นฉบับโปรแกรม OpenBiblio รุ่น myLib ดาวน์โหลดได้จากเว็บไซต์ http://stks.or.th/th/knowledge-
bank/25-open-source/4153-mylib.html ซึ่งมีต้นฉบับเป็นฟอร์แมต zip ดังนี้ openbiblio-mylib.zip
การใช้งานให้แตกแฟ้มฟอร์แมต zip จะได้โฟลเดอร์ชื่อ openbiblio-mylib จากนั้นให้คัดลอกโฟลเดอร์
ดังกล่าวไปไว้ในโฟลเดอร์ C:AppServwww ของ AppServ
เมื่อคัดลอกโฟลเดอร์ต้นฉบับโปรแกรมไว้ที่ C:AppServwww แล้วให้เปลี่ยนชื่อโฟลเดอร์ให้เหมาะสม เช่น
mylib จากนั้นเข้าสู่ส่วนการสร้างฐานข้อมูลรองรับข้อมูลของ OpenBiblio ด้วยคาสั่ง http://127.0.0.1/phpmyadmin
คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 3
บุญเลิศ อรุณพิบูลย์
จากจอภาพการสร้างฐานข้อมูลของ MySQL ให้ระบุชื่อฐานข้อมูล Create new database เช่น mylib จากนั้น
เลือกรายการรูปแบบการเข้ารหัสภาษาเป็น utf8_unicode_ci แล้วคลิกปุ่ม Create
เมื่อสร้างฐานข้อมูลตามขั้นตอนข้างต้น ก็ให้ไปปรับแต่งค่า Config ของไฟล์ระบบ OpenBiblio โดยเข้าไปที่
โฟลเดอร์ C:AppServwwwmylib เปิดไฟล์ database_constants.php ด้วย TextEditor เช่น NotePad++
คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 4
บุญเลิศ อรุณพิบูลย์
ปรับแก้ไขข้อมูลในรายการ define ทั้ง 4 รายการให้ถูกต้องกับค่า Config ของ AppServ เช่น
 บรรทัดที่ 10 define("OBIB_HOST", "localhost");
คงไว้เหมือนเดิม
 define("OBIB_DATABASE", "openbiblio");
ปรับแก้ไขคาว่า openbiblio ให้ตรงกับชื่อฐานข้อมูลที่สร้างไว้(กรณีนี้คือ mylib)
 define("OBIB_USERNAME", "openbiblio");
ปรับแก้ไขคาว่า openbiblio ให้ตรงกับ user name ของผู้ใช้งาน AppServ (กรณีนี้คือ root)
 define("OBIB_PWD", "openbiblio");
ปรับแก้ไขคาว่า openbiblio ให้ตรงกับ password ของผู้ใช้งาน AppServ
เมื่อปรับแก้ไขข้อมูลทั้งหมดแล้วให้บันทึกแฟ้มและปิดแฟ้มดังกล่าว จากนั้นจะเข้าสู่ส่วนติดตั้งโปรแกรม
โดยพิมพ์คาสั่ง http://127.0.0.1/mylib จะปรากฏส่วนการติดตั้ง ดังนี้
คลิกเลือกภาษาการติดตั้งเป็น English ต่อด้วยการคลิกเลือกการติดตั้งข้อมูลตัวอย่าง Install Test Data
จากนั้นคลิกปุ่ม Install
คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 5
บุญเลิศ อรุณพิบูลย์
จากภาพแสดงว่าการติดตั้งโปรแกรม OpenBiblio รุ่น myLib เสร็จสมบูรณ์ ให้คลิกลิงก์ start using
OpenBiblio เพื่อเริ่มโปรแกรม
จากภาพเป็นส่วนการทางานกับผู้ใช้ที่เรียกว่า OPAC (Online Public Access Catalog) ซึ่งเป็นจอภาพที่ผู้ใช้
สามารถเข้าถึงทรัพยากรของห้องสมุด
คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 6
บุญเลิศ อรุณพิบูลย์
การสืบค้นทรัพยากรโดยผู้ใช้
ผู้ใช้งานห้องสมุดผ่านระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib สามารถเข้าสืบค้นทรัพยากรได้
สะดวกขึ้นกว่าระบบห้องสมุดอัตโนมัติทั่วไป เพราะนอกจากการเข้าถึงผ่านการสืบค้น ยังสามารถใช้การคลิกเลือก
หัวเรื่อง การคลิกจากภาพตัวอย่างของปกหนังสือ ซึ่งเป็นรูปแบบใหม่ที่ OpenBiblio รุ่น myLib ที่ให้ความสนใจและ
ปรับโฉมการทางานเพื่อให้ผู้ใช้งานเข้าใช้งานได้สะดวกยิ่งขึ้น
การเข้าถึงด้วยหัวเรื่อง จะทาได้ผ่านพื้นที่การทางานที่เรียกว่า
Subject Cloud ซึ่งจะแสดงว่าทรัพยากรในระบบนี้มีหัวเรื่องใดบ้าง
และหัวเรื่องใดมีจานวนมาก
จากตัวอย่างจะพบว่าหัวเรื่อง Programming มีขนาดหนาและ
ตัวใหญ่ กว่าหัวเรื่องอื่น จึงแสดงว่าในระบบนี้มีการให้หัวเรื่องกับ
ทรัพยากรด้วยคาว่า Programming มากที่สุด ซึ่งเมื่อคลิกที่คาว่า
Programming โปรแกรมจะแสดงรายการทรัพยากรตามหัวเรื่องที่เลือก
ดังนี้
จากภาพแสดงว่าทรัพยากรที่มีการให้หัวเรื่องด้วยคาว่า Programming มี 3 รายการ ทั้งนี้สามารถคลิกที่ชื่อ
เรื่อง (Title) ของทรัพยากรที่ต้องการเพื่อดูรายละเอียดอื่นๆ ดังนี้
คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 7
บุญเลิศ อรุณพิบูลย์
การกลับไปสู่หน้าแรกของ OPAC ทาได้โดยการคลิกที่ชื่อเว็บในส่วน Header กรณีนี้คือคลิกที่คาว่า “Your
Library Name” จากหน้าแรกของ OPAC ยังสามารถเข้าถึงทรัพยากรที่ต้องการได้โดยการคลิกที่ปกหนังสือได้เช่นกัน
โดยการคลิกที่ปกหนังสือ จะแสดงข้อมูลบรรณานุกรมของหนังสือเล่มดังกล่าว
คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 8
บุญเลิศ อรุณพิบูลย์
นอกจากนี้ยังสามารถใช้การค้นทั้งการค้นแบบง่าย และการค้นขั้นสูงเหมือนระบบห้องสมุดทั่วไป
การปรับแต่งระบบโดยผู้ดูแลระบบ
เมื่อติดตั้งโปรแกรมแล้ว ก่อนใช้งานควรเริ่มจากการปรับแต่งระบบโดยผู้ดูแลระบบ ซึ่งทาได้โดยการคลิก
เมนูคาสั่ง “ผู้ดูแลระบบ” ซึ่งจะปรากฏส่วนการทางาน ดังนี้
คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 9
บุญเลิศ อรุณพิบูลย์
จากนั้นคลิกปุ่ม Login เพื่อเข้าสู่ระบบด้วย Username คือ admin และ Password คือ admin
ในส่วนการทางานของผู้ดูแลระบบ ให้คลิกแท็บ Admin ซึ่งจะปรากฏรายการคาสั่งที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
การเปลี่ยนรหัสผ่านของผู้ดูแลระบบ
คาสั่งแรกที่ผู้ดูแลระบบควรรู้จักก็คือ การเปลี่ยนรหัสผ่าน โดยคลิกเลือกคาสั่ง Staff Admin จะปรากฏส่วน
แสดงรายชื่อสมาชิกของระบบ ดังนี้
คลิกลิงก์ pwd ของ Root Administrator จากนั้นป้ อนรหัสผ่านใหม่ 2 ครั้งเพื่อป้ องกันการบุกรุกระบบ และ
ควรหมั่นปรับเปลี่ยนรหัสผ่านสม่าเสมอ
คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 10
บุญเลิศ อรุณพิบูลย์
การปรับแต่งข้อมูลของเว็บไซต์
การปรับแต่งข้อมูลของเว็บไซต์ เช่น ชื่อเว็บ ข้อมูลการให้บริการ เป็นอีกคาสั่งที่ควรดาเนินการก่อนเปิดใช้
งานเว็บ โดยคลิกเลือกจากเมนูคาสั่ง Library Settings ซึ่งจะมีรายการที่ต้องกาหนด ดังนี้
ปรับแก้ไขข้อมูลตามต้องการเช่นการปรับแก้ไขค่า Locale เป็น “ภาษาไทย” เพื่อปรับระบบติดต่อผู้ใช้เป็น
“ภาษาไทย” แล้วคลิกปุ่ม Update
คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 11
บุญเลิศ อรุณพิบูลย์
การลงข้อมูลบรรณานุกรมทรัพยากรอย่างง่าย
สาหรับห้องสมุดขนาดเล็ก สามารถลงข้อมูลบรรณานุกรมได้โดยผู้ดูแลระบบ ซึ่งเริ่มจากการสร้าง “ประเภท
ทรัพยากรสารสนเทศ” ของห้องสมุดก่อน โดยคลิกเลือกรายการคาสั่ง “ประเภททรัพยากรสารสนเทศ” จะปรากฏ
จอภาพการทางาน ดังนี้
คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 12
บุญเลิศ อรุณพิบูลย์
ระบบได้เตรียมประเภทของทรัพยากรไว้เบื้องต้นหลายประเภท หากต้องการปรับแก้ไขรายละเอียดของ
ประเภททรัพยากรที่มีอยู่เดิม ก็คลิกคาสั่ง “แก้ไข” และหากต้องการเพิ่มประเภทใหม่ให้คลิกคาสั่ง “เพิ่มประเภท
ทรัพยากรสารสนเทศ”
จากนั้นจึงเริ่มบันทึกข้อมูลบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศแต่ละรายการ โดยคลิกแท็บ “งานลง
รายการทรัพยากรสารสนเทศ” คลิกคาสั่งย่อย “เพิ่มรายการบรรณานุกรม”
จะแสดงส่วนการลงรายการบรรณานุกรม ดังนี้
คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 13
บุญเลิศ อรุณพิบูลย์
รายการที่มีเครื่องหมาย * สีแดง หมายถึงจะต้องระบุ เมื่อป้ อนแล้วจึงคลิกปุ่ม “บันทึก” เพื่อบันทึกข้อมูล
จากนั้นโปรแกรมจะเข้าสู่ “รายการตัวเล่ม”
รายการตัวเล่ม จะบอกว่า “หนังสือชื่อเรื่องดังกล่าว” มีจานวนกี่เล่มในห้องสมุด โดยรหัสบาร์โค้ด สามารถ
คลิกตัวเลือก “สร้างบาร์โค้ดอัตโนมัติ” และป้ อนข้อมูลรายละเอียดเช่น เล่มที่ 1 จากนั้นคลิกปุ่ม “บันทึก” จะ
ปรากฏผล ดังตัวอย่าง
เมื่อป้อนข้อมูลแล้ว ลองกลับไปหน้า OPAC จะปรากฏหน้าปกหนังสือเล่มใหม่นี้ ดังภาพ
คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 14
บุญเลิศ อรุณพิบูลย์
การแก้ไขรายการบรรณานุกรม
หากรายการบรรณานุกรมที่สร้างมีส่วนที่ต้องการแก้ไข สามารถทาได้โดยการเข้าสู่โหมดผู้ดูแลระบบ คลิก
แท็บ “งานลงรายการทรัพยากรสารสนเทศ” แล้วค้นชื่อเรื่องที่ต้องการแก้ไข เช่น
คลิกชื่อหนังสือที่ต้องการแก้ไข
คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 15
บุญเลิศ อรุณพิบูลย์
จากภาพจะแสดงรายการบรรณานุกรมของหนังสือที่เลือกเพื่อแก้ไข ให้ต่อด้วยการเลือกเมนูคาสั่ง “แก้ไข
ข้อมูลรายการบรรณานุกรม”
เอกสารเล่มนี้จะนาเสนอการใช้งาน OpenBiblio รุ่น myLib เพียงเบื้องต้นเพื่อให้เป็นแนวทางการพัฒนา
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติในส่วนผู้ดูแลระบบ การลงรายการอย่างง่าย และการสืบค้นโดยผู้ใช้ ทั้งนี้ต้นฉบับโปรแกรม
OpenBiblio รุ่น myLib ยังอนุญาตให้ผู้สนใจนาไปพัฒนาต่อยอดเพื่อประยุกต์ใช้งานตามต้องการได้ด้วยครับ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Subject analysis, an introduction
Subject analysis, an introductionSubject analysis, an introduction
Subject analysis, an introduction
Richard.Sapon-White
 
What are Information Services?
What are Information Services?What are Information Services?
What are Information Services?
Johan Koren
 
the important issues in collection development
the important issues in collection developmentthe important issues in collection development
the important issues in collection development
michelle523
 

Was ist angesagt? (20)

Continuing resources
Continuing resourcesContinuing resources
Continuing resources
 
โครงงานการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง โปรแกรม Flip Album 6.0 pro.
โครงงานการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง โปรแกรม Flip Album 6.0 pro.โครงงานการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง โปรแกรม Flip Album 6.0 pro.
โครงงานการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง โปรแกรม Flip Album 6.0 pro.
 
Vision Mission Goals Objectives of the Library Media Center
Vision Mission Goals Objectives of the Library Media CenterVision Mission Goals Objectives of the Library Media Center
Vision Mission Goals Objectives of the Library Media Center
 
Planning and Implementing a Digital Library Project
Planning and Implementing a Digital Library ProjectPlanning and Implementing a Digital Library Project
Planning and Implementing a Digital Library Project
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์
 
Open source Library Management Systems
Open source Library Management SystemsOpen source Library Management Systems
Open source Library Management Systems
 
Application of Library Management Software: NewGenLib
Application of Library Management Software: NewGenLibApplication of Library Management Software: NewGenLib
Application of Library Management Software: NewGenLib
 
Subject analysis, an introduction
Subject analysis, an introductionSubject analysis, an introduction
Subject analysis, an introduction
 
Cs583 info-retrieval
Cs583 info-retrievalCs583 info-retrieval
Cs583 info-retrieval
 
Intro to rda
Intro to rdaIntro to rda
Intro to rda
 
What are Information Services?
What are Information Services?What are Information Services?
What are Information Services?
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Introduction to Digital libraries
Introduction to Digital librariesIntroduction to Digital libraries
Introduction to Digital libraries
 
Introduction to CKAN
Introduction to CKANIntroduction to CKAN
Introduction to CKAN
 
OWL and OBO
OWL and OBOOWL and OBO
OWL and OBO
 
8 Areas of Cataloguing
8 Areas of Cataloguing 8 Areas of Cataloguing
8 Areas of Cataloguing
 
Public library
Public libraryPublic library
Public library
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
 
the important issues in collection development
the important issues in collection developmentthe important issues in collection development
the important issues in collection development
 
IFLA ARL Webinar Series: Research Ethics in an Open Research Environment
IFLA ARL Webinar Series: Research Ethics in an Open Research EnvironmentIFLA ARL Webinar Series: Research Ethics in an Open Research Environment
IFLA ARL Webinar Series: Research Ethics in an Open Research Environment
 

Andere mochten auch

Andere mochten auch (7)

การใช้งานโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib
การใช้งานโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLibการใช้งานโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib
การใช้งานโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib
 
Openbiblio in action
Openbiblio in actionOpenbiblio in action
Openbiblio in action
 
Data Seal ... Comment in Thailand
Data Seal ... Comment in ThailandData Seal ... Comment in Thailand
Data Seal ... Comment in Thailand
 
Open Digital Education
Open Digital EducationOpen Digital Education
Open Digital Education
 
Data in Digital Era
Data in Digital EraData in Digital Era
Data in Digital Era
 
การจัดการทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดด้วย Open Source Software
การจัดการทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดด้วย Open Source Software การจัดการทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดด้วย Open Source Software
การจัดการทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดด้วย Open Source Software
 
MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in ThailandMOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
 

Ähnlich wie Automated Library with OpenBiblio - myLib

53011220049
5301122004953011220049
53011220049
zapzaax2
 
53011220049
5301122004953011220049
53011220049
zapzaax2
 
53011220049
5301122004953011220049
53011220049
zapzaax2
 
โครงงาน แรม
โครงงาน แรมโครงงาน แรม
โครงงาน แรม
teerarat55
 
โครงงาน Hi5 ม.5.2
โครงงาน Hi5 ม.5.2โครงงาน Hi5 ม.5.2
โครงงาน Hi5 ม.5.2
nongnamka
 
ระบบห้องสมุดรหัสเปิด
ระบบห้องสมุดรหัสเปิดระบบห้องสมุดรหัสเปิด
ระบบห้องสมุดรหัสเปิด
prasittichai lert
 

Ähnlich wie Automated Library with OpenBiblio - myLib (20)

Openbiblio hotri
Openbiblio hotriOpenbiblio hotri
Openbiblio hotri
 
Koha & Openbiblio
Koha & OpenbiblioKoha & Openbiblio
Koha & Openbiblio
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
Digital Collection with Omeka
Digital Collection with OmekaDigital Collection with Omeka
Digital Collection with Omeka
 
Open ssru really2557
Open ssru really2557Open ssru really2557
Open ssru really2557
 
แนะนำชั้นหนังสือออนไลน์ต่างๆ ที่คุณสามารถเข้าร่วมได้
แนะนำชั้นหนังสือออนไลน์ต่างๆ ที่คุณสามารถเข้าร่วมได้แนะนำชั้นหนังสือออนไลน์ต่างๆ ที่คุณสามารถเข้าร่วมได้
แนะนำชั้นหนังสือออนไลน์ต่างๆ ที่คุณสามารถเข้าร่วมได้
 
Open Source Health Library System
Open Source Health Library SystemOpen Source Health Library System
Open Source Health Library System
 
openbiliohotri2go
openbiliohotri2goopenbiliohotri2go
openbiliohotri2go
 
53011220049
5301122004953011220049
53011220049
 
53011220049
5301122004953011220049
53011220049
 
53011220049
5301122004953011220049
53011220049
 
โครงงาน แรม
โครงงาน แรมโครงงาน แรม
โครงงาน แรม
 
Iel
IelIel
Iel
 
Iel
IelIel
Iel
 
โครงงาน Hi5 ม.5.2
โครงงาน Hi5 ม.5.2โครงงาน Hi5 ม.5.2
โครงงาน Hi5 ม.5.2
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
 
ระบบห้องสมุดรหัสเปิด
ระบบห้องสมุดรหัสเปิดระบบห้องสมุดรหัสเปิด
ระบบห้องสมุดรหัสเปิด
 
53011220073
5301122007353011220073
53011220073
 
Free ILS - Research to Services - CMU
Free ILS - Research to Services - CMUFree ILS - Research to Services - CMU
Free ILS - Research to Services - CMU
 

Mehr von Boonlert Aroonpiboon

Mehr von Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 

Automated Library with OpenBiblio - myLib

  • 1. คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 1 บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib โดย ... บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ ฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กรกฎาคม 2556
  • 2. คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 2 บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ แนะนาโปรแกรม โปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib เป็นโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติที่พัฒนา ต่อยอดจากโปรแกรม OpenBiblio อันเป็นโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ (Automated Library) ที่พัฒนาบนฐาน ของโอเพนซอร์ส หรือการเปิดเผยต้นฉบับโปรแกรมที่ให้บริการผ่านเว็บ http://obiblio.sourceforge.net/ โปรแกรม OpenBiblio เป็นระบบห้องสมุดอัตโนมัติที่พัฒนาด้วยภาษา PHP ทางานบนระบบฐานข้อมูล MySQL และ OpenBiblio รุ่น myLib ก็ได้นาต้นฉบับโปรแกรมดังกล่าวมาปรับปรุงความสามารถ โดยเฉพาะ การปรับแก้ไขปัญหาภาษาไทย การปรับรูปแบบการแสดงผลข้อมูลเพื่อให้รองรับการใช้งานกับห้องสมุดขนาดเล็ก ในประเทศไทย การติดตั้งโปรแกรมบน AppServ ต้นฉบับโปรแกรม OpenBiblio รุ่น myLib ดาวน์โหลดได้จากเว็บไซต์ http://stks.or.th/th/knowledge- bank/25-open-source/4153-mylib.html ซึ่งมีต้นฉบับเป็นฟอร์แมต zip ดังนี้ openbiblio-mylib.zip การใช้งานให้แตกแฟ้มฟอร์แมต zip จะได้โฟลเดอร์ชื่อ openbiblio-mylib จากนั้นให้คัดลอกโฟลเดอร์ ดังกล่าวไปไว้ในโฟลเดอร์ C:AppServwww ของ AppServ เมื่อคัดลอกโฟลเดอร์ต้นฉบับโปรแกรมไว้ที่ C:AppServwww แล้วให้เปลี่ยนชื่อโฟลเดอร์ให้เหมาะสม เช่น mylib จากนั้นเข้าสู่ส่วนการสร้างฐานข้อมูลรองรับข้อมูลของ OpenBiblio ด้วยคาสั่ง http://127.0.0.1/phpmyadmin
  • 3. คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 3 บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ จากจอภาพการสร้างฐานข้อมูลของ MySQL ให้ระบุชื่อฐานข้อมูล Create new database เช่น mylib จากนั้น เลือกรายการรูปแบบการเข้ารหัสภาษาเป็น utf8_unicode_ci แล้วคลิกปุ่ม Create เมื่อสร้างฐานข้อมูลตามขั้นตอนข้างต้น ก็ให้ไปปรับแต่งค่า Config ของไฟล์ระบบ OpenBiblio โดยเข้าไปที่ โฟลเดอร์ C:AppServwwwmylib เปิดไฟล์ database_constants.php ด้วย TextEditor เช่น NotePad++
  • 4. คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 4 บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ ปรับแก้ไขข้อมูลในรายการ define ทั้ง 4 รายการให้ถูกต้องกับค่า Config ของ AppServ เช่น  บรรทัดที่ 10 define("OBIB_HOST", "localhost"); คงไว้เหมือนเดิม  define("OBIB_DATABASE", "openbiblio"); ปรับแก้ไขคาว่า openbiblio ให้ตรงกับชื่อฐานข้อมูลที่สร้างไว้(กรณีนี้คือ mylib)  define("OBIB_USERNAME", "openbiblio"); ปรับแก้ไขคาว่า openbiblio ให้ตรงกับ user name ของผู้ใช้งาน AppServ (กรณีนี้คือ root)  define("OBIB_PWD", "openbiblio"); ปรับแก้ไขคาว่า openbiblio ให้ตรงกับ password ของผู้ใช้งาน AppServ เมื่อปรับแก้ไขข้อมูลทั้งหมดแล้วให้บันทึกแฟ้มและปิดแฟ้มดังกล่าว จากนั้นจะเข้าสู่ส่วนติดตั้งโปรแกรม โดยพิมพ์คาสั่ง http://127.0.0.1/mylib จะปรากฏส่วนการติดตั้ง ดังนี้ คลิกเลือกภาษาการติดตั้งเป็น English ต่อด้วยการคลิกเลือกการติดตั้งข้อมูลตัวอย่าง Install Test Data จากนั้นคลิกปุ่ม Install
  • 5. คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 5 บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ จากภาพแสดงว่าการติดตั้งโปรแกรม OpenBiblio รุ่น myLib เสร็จสมบูรณ์ ให้คลิกลิงก์ start using OpenBiblio เพื่อเริ่มโปรแกรม จากภาพเป็นส่วนการทางานกับผู้ใช้ที่เรียกว่า OPAC (Online Public Access Catalog) ซึ่งเป็นจอภาพที่ผู้ใช้ สามารถเข้าถึงทรัพยากรของห้องสมุด
  • 6. คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 6 บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ การสืบค้นทรัพยากรโดยผู้ใช้ ผู้ใช้งานห้องสมุดผ่านระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib สามารถเข้าสืบค้นทรัพยากรได้ สะดวกขึ้นกว่าระบบห้องสมุดอัตโนมัติทั่วไป เพราะนอกจากการเข้าถึงผ่านการสืบค้น ยังสามารถใช้การคลิกเลือก หัวเรื่อง การคลิกจากภาพตัวอย่างของปกหนังสือ ซึ่งเป็นรูปแบบใหม่ที่ OpenBiblio รุ่น myLib ที่ให้ความสนใจและ ปรับโฉมการทางานเพื่อให้ผู้ใช้งานเข้าใช้งานได้สะดวกยิ่งขึ้น การเข้าถึงด้วยหัวเรื่อง จะทาได้ผ่านพื้นที่การทางานที่เรียกว่า Subject Cloud ซึ่งจะแสดงว่าทรัพยากรในระบบนี้มีหัวเรื่องใดบ้าง และหัวเรื่องใดมีจานวนมาก จากตัวอย่างจะพบว่าหัวเรื่อง Programming มีขนาดหนาและ ตัวใหญ่ กว่าหัวเรื่องอื่น จึงแสดงว่าในระบบนี้มีการให้หัวเรื่องกับ ทรัพยากรด้วยคาว่า Programming มากที่สุด ซึ่งเมื่อคลิกที่คาว่า Programming โปรแกรมจะแสดงรายการทรัพยากรตามหัวเรื่องที่เลือก ดังนี้ จากภาพแสดงว่าทรัพยากรที่มีการให้หัวเรื่องด้วยคาว่า Programming มี 3 รายการ ทั้งนี้สามารถคลิกที่ชื่อ เรื่อง (Title) ของทรัพยากรที่ต้องการเพื่อดูรายละเอียดอื่นๆ ดังนี้
  • 7. คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 7 บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ การกลับไปสู่หน้าแรกของ OPAC ทาได้โดยการคลิกที่ชื่อเว็บในส่วน Header กรณีนี้คือคลิกที่คาว่า “Your Library Name” จากหน้าแรกของ OPAC ยังสามารถเข้าถึงทรัพยากรที่ต้องการได้โดยการคลิกที่ปกหนังสือได้เช่นกัน โดยการคลิกที่ปกหนังสือ จะแสดงข้อมูลบรรณานุกรมของหนังสือเล่มดังกล่าว
  • 8. คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 8 บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ นอกจากนี้ยังสามารถใช้การค้นทั้งการค้นแบบง่าย และการค้นขั้นสูงเหมือนระบบห้องสมุดทั่วไป การปรับแต่งระบบโดยผู้ดูแลระบบ เมื่อติดตั้งโปรแกรมแล้ว ก่อนใช้งานควรเริ่มจากการปรับแต่งระบบโดยผู้ดูแลระบบ ซึ่งทาได้โดยการคลิก เมนูคาสั่ง “ผู้ดูแลระบบ” ซึ่งจะปรากฏส่วนการทางาน ดังนี้
  • 9. คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 9 บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ จากนั้นคลิกปุ่ม Login เพื่อเข้าสู่ระบบด้วย Username คือ admin และ Password คือ admin ในส่วนการทางานของผู้ดูแลระบบ ให้คลิกแท็บ Admin ซึ่งจะปรากฏรายการคาสั่งที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ การเปลี่ยนรหัสผ่านของผู้ดูแลระบบ คาสั่งแรกที่ผู้ดูแลระบบควรรู้จักก็คือ การเปลี่ยนรหัสผ่าน โดยคลิกเลือกคาสั่ง Staff Admin จะปรากฏส่วน แสดงรายชื่อสมาชิกของระบบ ดังนี้ คลิกลิงก์ pwd ของ Root Administrator จากนั้นป้ อนรหัสผ่านใหม่ 2 ครั้งเพื่อป้ องกันการบุกรุกระบบ และ ควรหมั่นปรับเปลี่ยนรหัสผ่านสม่าเสมอ
  • 10. คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 10 บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ การปรับแต่งข้อมูลของเว็บไซต์ การปรับแต่งข้อมูลของเว็บไซต์ เช่น ชื่อเว็บ ข้อมูลการให้บริการ เป็นอีกคาสั่งที่ควรดาเนินการก่อนเปิดใช้ งานเว็บ โดยคลิกเลือกจากเมนูคาสั่ง Library Settings ซึ่งจะมีรายการที่ต้องกาหนด ดังนี้ ปรับแก้ไขข้อมูลตามต้องการเช่นการปรับแก้ไขค่า Locale เป็น “ภาษาไทย” เพื่อปรับระบบติดต่อผู้ใช้เป็น “ภาษาไทย” แล้วคลิกปุ่ม Update
  • 11. คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 11 บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ การลงข้อมูลบรรณานุกรมทรัพยากรอย่างง่าย สาหรับห้องสมุดขนาดเล็ก สามารถลงข้อมูลบรรณานุกรมได้โดยผู้ดูแลระบบ ซึ่งเริ่มจากการสร้าง “ประเภท ทรัพยากรสารสนเทศ” ของห้องสมุดก่อน โดยคลิกเลือกรายการคาสั่ง “ประเภททรัพยากรสารสนเทศ” จะปรากฏ จอภาพการทางาน ดังนี้
  • 12. คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 12 บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ ระบบได้เตรียมประเภทของทรัพยากรไว้เบื้องต้นหลายประเภท หากต้องการปรับแก้ไขรายละเอียดของ ประเภททรัพยากรที่มีอยู่เดิม ก็คลิกคาสั่ง “แก้ไข” และหากต้องการเพิ่มประเภทใหม่ให้คลิกคาสั่ง “เพิ่มประเภท ทรัพยากรสารสนเทศ” จากนั้นจึงเริ่มบันทึกข้อมูลบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศแต่ละรายการ โดยคลิกแท็บ “งานลง รายการทรัพยากรสารสนเทศ” คลิกคาสั่งย่อย “เพิ่มรายการบรรณานุกรม” จะแสดงส่วนการลงรายการบรรณานุกรม ดังนี้
  • 13. คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 13 บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ รายการที่มีเครื่องหมาย * สีแดง หมายถึงจะต้องระบุ เมื่อป้ อนแล้วจึงคลิกปุ่ม “บันทึก” เพื่อบันทึกข้อมูล จากนั้นโปรแกรมจะเข้าสู่ “รายการตัวเล่ม” รายการตัวเล่ม จะบอกว่า “หนังสือชื่อเรื่องดังกล่าว” มีจานวนกี่เล่มในห้องสมุด โดยรหัสบาร์โค้ด สามารถ คลิกตัวเลือก “สร้างบาร์โค้ดอัตโนมัติ” และป้ อนข้อมูลรายละเอียดเช่น เล่มที่ 1 จากนั้นคลิกปุ่ม “บันทึก” จะ ปรากฏผล ดังตัวอย่าง เมื่อป้อนข้อมูลแล้ว ลองกลับไปหน้า OPAC จะปรากฏหน้าปกหนังสือเล่มใหม่นี้ ดังภาพ
  • 14. คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 14 บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ การแก้ไขรายการบรรณานุกรม หากรายการบรรณานุกรมที่สร้างมีส่วนที่ต้องการแก้ไข สามารถทาได้โดยการเข้าสู่โหมดผู้ดูแลระบบ คลิก แท็บ “งานลงรายการทรัพยากรสารสนเทศ” แล้วค้นชื่อเรื่องที่ต้องการแก้ไข เช่น คลิกชื่อหนังสือที่ต้องการแก้ไข
  • 15. คู่มือการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib 15 บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ จากภาพจะแสดงรายการบรรณานุกรมของหนังสือที่เลือกเพื่อแก้ไข ให้ต่อด้วยการเลือกเมนูคาสั่ง “แก้ไข ข้อมูลรายการบรรณานุกรม” เอกสารเล่มนี้จะนาเสนอการใช้งาน OpenBiblio รุ่น myLib เพียงเบื้องต้นเพื่อให้เป็นแนวทางการพัฒนา ระบบห้องสมุดอัตโนมัติในส่วนผู้ดูแลระบบ การลงรายการอย่างง่าย และการสืบค้นโดยผู้ใช้ ทั้งนี้ต้นฉบับโปรแกรม OpenBiblio รุ่น myLib ยังอนุญาตให้ผู้สนใจนาไปพัฒนาต่อยอดเพื่อประยุกต์ใช้งานตามต้องการได้ด้วยครับ