SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 52
Downloaden Sie, um offline zu lesen
จังหวัด ศรีส ะเกษ


    --จังงหวัด ศรีส ะเกษ
      จั หวัด ศรีส ะเกษ                                       --ทรัพ ยากร
                                                                ทรัพ ยากร



    --ประวัต ิ ิ
      ประวัต                                                  --ประชากร
                                                                ประชากร


--สัญ ลักษณป ระจําาจังงหวัด
  สัญ ลักษณป ระจํ จั หวัด                                     --เศรษฐกิจ
                                                                  เศรษฐกิจ


     --อาณาเขตติด ตอ
       อาณาเขตติด ตอ                                       --การคมนาคม
                                                              การคมนาคม


     --สถานที่ท องเที่ย ว
       สถานที่ท องเที่ย ว                                  --การศึกษา
                                                              การศึกษา


      --การปกครอง
        การปกครอง                                           --แหลงงประวัต ิศ าสตร
                                                              แหล ประวัต ิศ าสตร


      --ภูม ิอ ากาศ
        ภูม ิอ ากาศ                                          --กีฬ าา
                                                               กีฬ

      --หาางสรรพสิน คาา
        ห งสรรพสิน ค                                      -- ภูม ิป ระเทศ
                                                               ภูม ิป ระเทศ


                      -- ชาวศรีส ะเกษที่ช ื่อเสีย งง     
                         ชาวศรีส ะเกษที่ช ื่อเสีย
 
ศรีสะเกษ แดนปราสาทขอม หอมกระเทียมดี มีสวนสมเด็จ เขต
        ดงลําดวน หลากลวนวัฒ นธรรม เลิศล้ําสามัคคี
                    จังหวัด ศรีสะเกษ




                                  ตราประจํา จัง หวัด




                                  ตราผา ผูกคอลูก เสือ

                                     ขอมูล ทั่ว ไป

ชื่อ อัก ษรไทย ศรีส ะเกษ 
ชื่อ อัก ษรโรมัน Si Sa Ket 
ผูว า ราชการ นายกองเอกวิลาศ รุจ ิว ัฒ นพงษ (ตั้ง แต พ.ศ. 2553 )ISO 3166-2 TH-33 
สีป ระจํา กลุม จังหวัด สีส ม ███ 
ตน ไมป ระจํา จังหวัด ลํา ดวน 
ดอกไมป ระจํา จัง หวัด   ลํา ดวน 
                                     ขอมูล สถิต 
                                                ิ
พื้น ที  8,839.976 ตร.กม. [1] (อัน ดับ ที่ 21) 
       ่
ประชากร 1,446,345 คน [2] (พ.ศ. 2552) (อัน ดับ ที่ 9) 
ความหนาแนน 163.61 คน/ตร.กม. (อัน ดับ ที่ 19) 
ศูน ยราชการ 
ที่ต ั้ง  
ศาลากลางจัง หวัด ศรีส ะเกษ ถนนเทพา ตํา บลเมือ งเหนือ อํา เภอเมือ งศรีส ะเกษ จัง หวัด ศรีส ะเกษ 
33000 
โทรศัพ ท (+66) 0 4561 1139 
เว็บ ไซต จัง หวัด ศรีส ะเกษ 
 
                                             แผนที 
                                                  ่




จังหวัด ศรีส ะเกษ เปน จัง หวัด หนึ่ง ใน 76 จัง หวัด ของประเทศไทย ตั้งอยูในภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ
 มีเนื้อ ที่ป ระมาณ 8,840 ตารางกิโลเมตร และมีป ระชากรประมาณ 1.44 ลา นคน มากเปน อัน ดับ ที่ 9
ของประเทศ ประชากรสว นใหญพ ูด ภาษาถิ่น อีส าน ภาษาเขมร(เขมรสูง) และภาษากวย (กูย, โกย,
         สว ย) ตั้ง ศาลากลางจังหวัด ที่ต ํา บลเมือ งเหนือ อํา เภอเมือ งศรีส ะเกษ จังหวัด ศรีส ะเกษ
พัฒ นาการทางประวัต ิศ าสตร

  จังหวัด ศรีส ะเกษ เริ่ม ขึ้น ในสมัย กรุงศรีอ ยุธ ยาตอนปลาย เมื่อ พ.ศ. 2302 สมเด็จ พระเจา เอกทัศ น
   โปรดใหย กบา นปราสาทสี่เ หลี่ยมดงลํา ดวนขึ้น เปน เมือ งนครลํา ดวน ตอ มาเมือ งนครลํา ดวนเกิด
ภาวะขาดแคลนน้ํา จึงโปรดเกลา ฯ ใหเทครัว ไปจัด ตั้งเมือ งใหมท ี่ริม หนองแตระหา งจากเมือ งเดิม ไป
      ทางใต เมือ งใหมเรีย ก "เมือ งขุข ัน ธ" หรือ "เมือ งคูข ัณ ฑ" ซึ่งไดแ กอ ํา เภอขุข ัน ธในปจ จุบ ัน
   ตอ มาพระบาทสมเด็จ พระพุท ธยอดฟา จุฬ าโลกโปรดเกลาฯ ใหแ ยกบา นโนนสามขาสระกํา แพง
                          จากเมือ งขุขน ธ แลว ตั้งเปน เมือ งใหมเรีย ก เมือ งศรีส ะเกศ
                                        ั
   ครั้น รัช สมัย พระบาทสมเด็จ พระปรมิน ทรมหาจุฬ าลงกรณ พระจุล จอมเกลา เจา อยูห ัว ใน พ.ศ.
 2455 จึงโปรดใหรวมบา นเมือ งขุข ัน ธ เมือ งศรีส ะเกศ และเมือ งเดชอุด ม เขา เปน เมือ งเดีย วกัน เรีย ก
                                                   "เมือ งขุข ัน ธ"
ซึ่งตอ มาใน พ.ศ. 2459 มีป ระกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อ ง ทรงพระกรุณ าโปรดเกลา ฯ ใหเปลี่ย นคํา
 วา เมือ งเรีย กวา จังหวัด ลงวัน ที่ 19 พฤษภาคม ปน ั้น เอง[3] เมือ งขุข ัน ธจ ึงเรียกใหมเปน "จังหวัด ขุ
                                                  ขัน ธ" ตามนั้น
 ครั้น รัช สมัยพระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรมหาอานัน ทมหิด ล พระอัฐ มรามาธิบ ดิน ทร ในวัน ที11                        ่
    พฤศจิก ายน พ.ศ. 2481 คณะผูส ํา เร็จ ราชการแทนพระองคไ ดต ราพระราชกฤษฎีก าเปลี่ย นนาม
    จังหวัด และอํา เภอบางแหง พุท ธศัก ราช 2481[4] มาตรา 3 ใหเปลี่ย นชื่อ "จังหวัด ขุข ัน ธ" เปน
จังหวัด ศรีส ะเกษ (เดิม ในพระราชกฤษฎีก าสะกดวา "ศีรษ ะเกษ") นับ แตน ั้น ทั้งนี้ พระราชกฤษฎีกา
                         ดังกลา วมีผ ลใชบ ังคับ ตั้งแตว ัน ที่ 14 พฤศจิก ายน พ.ศ. 2481
ประวัติเมือ งศรีสะเกษ


 
 
 
กอ นสมัย กรุงศรีอ ยุธ ยา
 
     ความเปน มาทางประวัต ิศ าสตรข องจัง หวัด ศรีสะเกษกอ นสมัย กรุงศรีอ ยุธ ยา ไมป รากฎ
หลัก ฐานแนน อน มีก ารจดบัน ทึก ไวพ อสังเขป สว นมากไดจ ากคํา บอกเลา ของผูสูงอายุเลา ตอ ๆ กัน มา
เอาความแนน อนไมไ ดน ัก นัก ประวัต ิศ าสตรแ ละนัก โบราณคดีสัน นิษ ฐานวา พื้น ที่ภ าคอีสานใน
ปจ จุบ ัน เคยเปน ที่อ ยูข องพวกละวา และลาว มีแ วน แควน อาณาเขตปกครองเรียกวา"อาณาจัก ร
ฟูน ัน"
     ประมาณป พ.ศ.1100 พวกละวา ที่เคยมีอ ํา นาจปกครอง
อาณาจัก รฟูน ัน เสื่อ มอํา นาจลง ขอมเขา มามีอ ํา นาจแทนและตั้ง
อาณาจัก รเจนละหรือ อิศ านปุร ะขึ้น พวกละวา ถอยรน ไปทาง
เหนือ ปลอ ยใหพ ื้น ที่ภ าคอีส านรกรา งวา งเปลา เปน จํา นวนมาก
เขตพื้น ที่จ ัง หวัด ศรีส ะเกษและจัง หวัด ใกลเคีย งจึงถูก ทิ้ง ใหเปน
ที่รกรา งและเปน ปา ดง ขอมไดแ บงการปกครองเปน 3 ภาค
โดยมีศ ูน ยก ารปกครองอยูท ี่ล ะโว(ลพบุร)ี พิม าย(นครราชสีม า)
และสกลนคร มีฐ านะเปน เมือ งประเทศราช ขึ้น ตรงตอ ศูน ย
กลางการปกครองใหญท ี่น ครวัด
     ในยุค ที่ข อมเรือ งอํา นาจ ศรีส ะเกษนา จะเปน ดิน แดนแหง
หนึ่งที่ข อมใชเปน เสน ทางไปมาระหวา งเมือ งประเทศราชดัง
กลา วแลว เพราะปรากฎโบราณสถานโบราณวัต ถุข องขอมซึ่งกรม
ศิล ปากรสํา รวจในจัง หวัด ศรีส ะเกษเมื่อ พ.ศ.2512 จํา นวน
15 แหง ไมรวมเขาพระวิห ารซึ่งเปน เทวะสถานของขอมที่ย ิ่ง
ใหญแ หงหนึ่ง นอกจากนี้ย ังมีป ราสาทหิน สระกํา แพงใหญ
สระกํา แพงนอ ย ปราสาทลุม พุก ปราสาทบา นทามจาน(บา นสมอ)
ปราสาทเยอ ปราสาทโดนต็ว ล (ชอ งตาเฒา อ.กัน ทรลัก ษ)
สัน นิษ ฐานวา โบราณสถานเหลา นี้ม ีอ ายุป ระมาณ 1,000 ปเศษ
มีอ ยูต ามทอ งที่อ ํา เภอตา งๆ ของจัง หวัด ศรีสะเกษ ขอมคงสรา งขึ้น
เพื่อ เปน ที่พ ัก และประกอบพิธ ีท างศาสนาระหวา งเดิน ทางจาก
นครวัด นครธมขา มเทือ กเขาพนมดงรัก ษม าสูศ ูน ยก ลางการ
ปกครองภาคอีส านทั้ง 3 เมือ งดังกลา วแลว
     เมื่อ ขอมเสื่อ มอํา นาจลง ไทยเริ่ม มีอ ํา นาจครอบครองดิน แดน
เหลา นี้ ขณะเดีย วกัน จัง หวัด ศรีส ะเกษมีส ภาพเปน ปา ดงอยูน าน
เพราะแมแ ตส มัยกรุง ศรีอ ยุธ ยาตอนกลางก็ม ิไ ดบ ัน ทึก กลา วถึง
จังหวัด ศรีส ะเกษในเอกสารใด เพิ่งจะไดม ีก ารบัน ทึก หลัก
ฐานในพงศาวดารกลา วถึงเมือ งสุริน ทรด ว ย

สมัย กรุง ศรีอ ยุธ ยา
     ในสมัย กรุงศรีอ ยุธ ยาอาณาจัก รไทยกวา งขวางมาก มีช าว
บา นปา ซึ่งเปน ชนกลุม นอ ย ( MINORITY TRIBE )อาศัยอยูแ ถบ
เมือ งอัต ปอ แสนแป แควน จํา ปาสัก ฝงซา ยแมน ้ํา โขง ประเทศ
สาธารณรัฐ ประชาธิป ไตยประชาชนลาวปจ จุบ ัน ชนพวกนีเรียก                ้
ตัว เองวา "ขา " สว ย" "กวย" หรือ "กุย" อยูใ นดิน แดนของราช
อาณาจัก รไทย โดยสมบูร ณ (เพิ่งเสีย ใหฝ รั่งเศสเมื่อ พ.ศ.2436
หรือ ร.ศ.112) พากนี้ม ีค วามรูค วามสามารถในการจับ ชา งปา มา
เลี้ย งไวใชงาน ชาวสว ยหรือ ชาวกวยไดอ พยพยา ยที่ท ํา มาหากิน
ขา มมาฝง ขวาแมน ้ําโขง เนื่อ งจากชาวเมือ งศรีสัต นาคนหุต
(เวีย งจัน ทน) ไดเขา ไปตั้งถิ่น ฐานแยงที่ท ํา มาหากิน
     ในป พ.ศ.2260 ชาวสว ยไดอ พยพแยกออกเปน หลายพวก
ดว ยกัน แตล ะพวกมีห ัว หนา ควบคุม มา เชน เซีย งปุม เซีย งสี
เซีย งสง ตากะจะและเซียงขัน เซีย งฆะ เซียงไชย หัว หนา แต
ละคนก็ไดห าสมัค รพรรคพวกไปตั้ง รกรากในที่ต า ง ๆ กัน
เวีย งปุม อยูท ี่บ า นที เซีย งสีห รือ ตะกะอาม อยูท ี่รัต นบุรี เซีย งสง
อยูบ า นเมือ ลีง (อํา เภอจอมพระ) เซีย งฆะ อยูท ี่สังขะ เวีย งไชย
อยูบ า นจารพัด (อํา เภอศรีข รภูม)ิ สว นตากะจะและเซียงขัน อยู
ที่บ า นปราสาทสี่เหลี่ย มดงลําดวน(บา นดวนใหญป จ จุบ ัน)
    พวกสว ยเหลา นี้อ ยูรวมกัน เปน ชุม ชนใหญ หาเลี้ย งชีพ ดว ย
การเกษตรและหาของปา มาบริโภคใชส อย มีก ารไปมาหาสูต ิด
ตอ กัน ระหวา งพวกสว ยอยูเ สมอ มีส ภาพภูม ิป ระเทสติด ตอ เขต
กัม พูช า และมีเทือ กเขาพนมดงรัก เปน เสน กัน เขตแดน ปา ดง
เขตนี้ม ีฝ ูง สัต วป า อุด มสมบูรณ โขลงชา งพัง ชางพลาย ฝูงเกง
กวาง ละมั่งและโคแดงอยูม ากมายตามทุง หญา และราวปา เหมาะ
กับ การทํา มาหาเลี้ย งชีพ ของชาวสว ยอยา งยิ่ง
    ลุ พ.ศ.2302 ปเถาะ จุล ศัก ราช 1181 ตรงกับ สมัย แผน ดิน
พระบรมราชาที่ 3 หรือ พระเจา อยูห ัว พระที่นง สุริย ามริน ทร
                                                   ั่
(พระเจา เอกทัศ น) กษัต ริย อ งคส ุด ทา ยของกรุง
ศรีอ ยุธ ยา พระยาชา งเผือ กของพระองคไ ดแ ตกออกจากโรงชา ง

ตน ในกรุงศรีอ ยุธ ยา เดิน ทางมาทิศ ตะวัน ออกเฉีย งเหนือ โปรด
ใหท หารเอกคูพ ระทัย สองพี่น อ ง (เขา ใจวา สมเด็จ เจา พระยามหา
กษัต ริย ศ ึก พระนามเดิม ทองดว ง และกรมพระราชวังบวรมหา
สุร สิง หนาท พระนามเดิม บุญ มา) คุม ไพรพ ล 30 นาย ออกติด
ตามผา นมาแขวงพิม าย ทราบจากเจา เมือ งพิม ายวา ในดงริม เขา
พนมดงรัก มีพ วกสว ยชํา นาญใชการจับ ชา ง เลี้ย งชา ง สองพี่น อ ง
กับ ไพรพ ล จึงไดต ิด ตามสองพี่น อ งไปเซียงสีไ ปที่บ า นกุด หวาย
(อํา เภอรัต นบุร)ี เซีย งสีจ ึงไดพ าสองพี่น อ งและไพรพ ลไปตามหา
เซีย งสง ที่บ า นเมือ งลีง เซียงปุม ที่บ า นเมือ งที เซีย งไชยที่บ า น
กุด ปะไท ตากะจะและเซีย งขัน ที่บ า นโคกลํา ดวน เซีย ฆะที่บ า น
อัจ จะปะนึง (เขตอํา เภอสังขะ) ทุก คนรว มเดิน ทางติด ตาม
พระยาชา งเผือ ก สองพี่น อ งและหัว หนา ปาดงทั้ง หมด ไดต ิด ตาม
ลอ มจับ พระยาชา งเผือ กไดท ี่บ า นหนองโชก ไดค ืน มาและนํา สง
ถึงกรุง ศรีอ ยุธ ยา ดว ยความดีค วามชอบในครั้งนี้สมเด็จ พระเจา
อยูห ัว สริย ามริน ทร จึงทรงพระกรุณ าโปรดเกลา ฯ ตั้งใหห ัว หนา
บา นปา ดงมีบ รรดาศัก ดท ั้งหมด ตากะจะหัว หนา หมูบ า นโคกลํา-
ดวน ไดเปน หลวงแกว สุว รรณเซีย งขัน ไดเปน หลวงปราบอยูก ับ
ตากะจะ
ตอ มาหัว หนา หมูบ า นปา ดงทั้ง 5 ไดพ ากัน ไปเฝา สมเด็จ พระ
เจา อยูห ัว ณ กรุงศรีอ ยุธ ยา โดยนํา สิ่งของไปทูล เกลา ฯ ถวาย คือ
ทาง มา แกน สน ยางสน ปก นก นกระมาด (นอแรด) งาชา ง ขี้ผ ึ้ง
น้ํา ผึง เปน การสง สว ยตามพระราชประเพณี สมเด็จ พระเจา อยู
       ้
หัว พระที่น ั่ง สุริย ามริน ทร ทรงพิจ ารณาเห็น ความดีค วามชอบ
เมื่อ ครั้งไดช ว ยเหลือ จับ พระยาชา งเผือ ก และเมื่อ หัว หนา
หมูบ า นไดน ํา สิ่งของไปทูล เกลา ฯ ถวาย จึงทรงพระกรุณ าโปรด
เกลา ฯ แตง ตั้ง บรรดาศัก ดิ์ใหห ัว หนาหมูบ า นสูงขึ้น ทุก คน
     ในป พ.ศ.2302 นี้เอง หลวงแกว สุว รรณ(ตากะจะ) บา นโคก
ลํา ดวนไดบ รรดาศัก ดิ์เปน เปน พระยาไกรภัก ดีศ รีน ครลํา ดวน
มีพ ระบรมราชโองการยกบา นปราสาทสี่เ หลี่ยมดงลํา ดวน ซึ่งเดิม
เรีย กวา "เมือ งศรีน ครลํา ดวน" ขึ้น เปน เมือ งขุข ัน ธแ ปลวา
"เมือ งปา ดง" ใหพ ระยาไกรภัก ดีศ รีน ครลํา ดวนเปน เจา เมือ งปกครอง




สมัย กรุงธนบุรี
    เมื่อ กรุงศรีอ ยุธ ยาเสีย แกพ มา ในป พ.ศ.2310 แลว สมเด็จ
พระเจา กรุงธนบุรี พระเจา ตากสิน มหาราช ไดท รงกอบกูอ ิสรภาพ
และทรงตั้งกรุงธนบุรีเปน ราชธานี พ.ศ.2321 ปจ อ จุล ศัก ราช 1140 กรุงศรีสัต นาคนหุต
(เวีย งจัน ทน)เปน กบฎตอ ไทย สมเด็จ พระเจา กรุงธนบุรีไ ดโปรดเกลา ฯ ใหสมเด็จ เจา พระยามหา
กษัต ริย ศ ึก (พระบามสมเด็จ พระพุท ธยอดฟา จุฬ าโลกมหาราช) กับ เจา พระยาสุร สีย หเปน แมท ัพ
ยกขึ้น ไปทางเมือ งพิม ายแมท ัพ สั่งใหเจา เมือ งพิม ายแตง ขา หลวงออกมาเกณฑ า ลังเมือ งประทาย
                                                                                   กํ
สมัน ต (จัง หวัด สุริน ทร) เมือ งสังฆะ เมือ งขุข ัน ธ เมือ งรัต นบุรี เปน
ทัพ บกยกไปตีเมือ งเวีย งจัน ทน เมือ งจํา ปาศัก ดิ์ ไดช ัย ชนะยอมขึ้น ตอ ไทยทั้ง สองเมือ ง กองทัพ ไทย
เขา เมือ งเวีย งจัน ทน ไดอ ัญ เชิญ พระแกว มรกต และพระบางพรอ มคุม ตัว นครจํา ปาศัก ดิ์ไ ชยกุม าร
กลับ กรุงธนบุรีในการศึก ครั้งนี้เมื่อ เดิน ทางกลับ หลวงปราบ(เซียงขัน) ทหารเอกในกองทัพ ไดห ญิง
มา ยชาวลาวคนหนึ่งกลับ มาเปน ภรรยา มีบ ุต รชายติด ตามมาดว ยชื่อ ทา วบุญ จัน ทน
    พ.ศ.2324 เมือ งเขมรเกิด จราจล สมเด็จ เจา พระยามหากษัต ริย ศ ึก กับ พระยาสุร สีห  ไดรับ พระ
บรมราชโองการใหเปน แมท ัพ ยกกองทัพ ไปปราบจราจลครั้งนี้ โดยเกณฑก ํา ลังของเมือ งปะทาย
สมัน ต เมือ งขุ-ขัน ธ และเมือ งสังฆะ สมทบกับ กองทัพ หลวงออกไปปราบปราม กองทัพ ไทยยกไปตี
เมือ งเสีย มราฐ กํา พงสวาย บรรทายเพชร บรรทายมาศ และเมือ งรูงตํา แรย ํา ชา ง) เมือ งเหลา นี้ย อม
                                                                                  (ถ้
แพ ขอขึ้น เปน ขอบขัณ ฑ-สีม า เสร็จ แลว ยกทัพ กลับ กรุงธนบุรี
     เมื่อ เสร็จ สงครามเวีย งจัน ทน และเมือ งเขมรแลว ไดป ูน บํา เหน็จ
ใหแ กเจา เมือ งปะทายสมัน ต เมือ งขุข ัน ธ และเมือ งสังฆะ เลื่อ นบรรดาศัก ดิ์ใ หเปน พระยาใหพ ระยา
ทั้งสามเมือ ง เจา เมือ งขุข ัน ธ ไดบ รรดาศัก ดิ์ใหม จากพระยาไกรภักดีศ รีน ครลํา ดวน เปน พระยาขุ
ขัน ธภ ัก ดี ในปเดีย วกัน นั้น เอง พระยาขุข ัน ธภ ัก ดี(ตากะจะ) ถึงแกอ นิจ กรรมจึง โปรดใหห ลวงปราบ
(เซีย งขัน) ขึ้น เปน พระยาไกรภัก ดีศ รีน ครลํา-ดวน เจา เมือ งขุข ัน ธ ตอ มาเมือ งขุข ัน ธท ี่บ า นปราสาท
สี่เหลี่ย มดงลํา ดวนกัน ดารน้ํา พระยาไกรภัก ดีฯ จึงอพยพเมือ งยา ยมาอยูบ า นแตระ (แตระ)ตํา บล
หว ยเหนือ ที่ต ั้งอํา เภอขุข ัน ธใ นปจ จุบ ัน

สมัย กรุง รัต นโกสิน ทร
    ลุ พ.ศ.2325 ปข าล จุล ศัก ราช 1144 พระบามสมเด็จ พระพุท ธยอดฟา จุฬ าโลกมหาราช เสด็จ
เถลิงถวัล ยราชสมบัต ิ
 พระยาไกรภัก ดีศ รีน ครลํา ดวน(เซีย งขัน) ไดบ รรดาสัก ดิ์เปน พระยาขุข ัน ธภ ัก ดี ไดม ีใบบอกกราบ
บังคมทูล ขอ ตั้งทา วบุญ จัน ทร เปน พระยาไกรภัก ดีศ รีน ครลํา ดวน ผูช ว ยเจา เมือ ง อยูม าวัน หนึ่ง พระ
ยาขุข ัน ธภ ัก ดี เผลอเรีย กพระยาไกรภัก ดีฯ(บุญ จัน ทร) วา "ลูก เชลย" พระยาไกรภัก ดีจ ึงโกรธและผูก
พระยาบาทภายหลัง มีพ อ คา ญวน 30 คน มาซื้อ โคกระบือ ที่เมือ งขุข ัน ธ พระยาขุข ัน ธภ ัก ดีอ ํา นวย
ความสะดวกและจัด ที่พ ัก ใหญ วนตลอดจนใหไ พรน ํา ทางไปชอ งโพย ใหพ วกญวนนํา โค กระบือ ไป
ยังเมือ งพนมเปญไดส ะดวก พระยาไกรภัก ดีฯ (บุญ จัน ทร) ไดก ลา วโทษมายังกรุงเทพฯ และโปรด
เกลา ใหเรีย กตัว พระยาขุข ัน ธไ ปลงโทษและจํา คุก ไวท ี่ก รุงเทพฯ แลว โปรดเกลา ฯ ใหต ั้งพระยาไกร
ภัก ดีฯ -(บุญ จัน ทร) เปน เจา เมือ งขุข ัน ธแ ทนในป พ.ศ.2325 นี้ พระภัก ดีภ ูธ รสงคราม(อุน ) ปลัด
เมือ งขุข ัน ธ กราบบังคมทูล ขอแยกจากขุข ัน ธไ ปตั้งที่บ า นโนนสามขาจึงทรงพระกรุณ าโปรดเกลา ฯ
ใหย กบา นโนนสามขาขึ้น เปน เมือ ง "ศรีส ระเกศ" ตอ มาป พ.ศ.2328ไดย า ยเมือ งศรีสระเกศจากบา น
โนนสามขา มาตั้ง ณ บา นพัน ทาเจียงอีอ ยูในเขตเทศบาลเมือ งศรีส ะเกษทุก วัน นี้ พ.ศ.2342 มีโปรด
เกลา ฯ ใหเกณฑก ํา ลังเมือ งสุริน ทร เมือ งขุข ัน ธเมือ งสังฆะ เมือ งละ100 รวม 300 ยกทัพ ไปตีพ มา ซึ่ง
ยกมาตั้ง ในเขตนครเชีย งใหม กองทัพ ไทยมิทัน ไปถึง กองทัพ พมา ก็ถ อยกลับ จึงโปรดเกลา ฯให
กองทัพ ไทยยกกลับ พ.ศ.2350 ทรงพระราชดํา ริว า เมือ งสุริน ทร เมือ งสัง ฆะ และเมือ งขุข ัน ธ เปน
เมือ งเคยตามเสด็จ พระราชดํา เนิน ในการพระราชสงครามหลายครั้งมีค วามชอบมาก จึงโปรดเกลา ฯ
ใหท ั้ง 3 เมือ ง ขึ้น ตรงตอ กรุงเทพฯ มีอ ํา นาจชําระคดีไ ดเอง ไมต อ งขึ้น ตอ เมือ งพิม ายเหมือ นแตก อ น
พ.ศ.2369 รัช สมัย สมเด็จ พระนั่งเกลา เจา อยูห ัว เจา อนุว งศ เมือ งเวีย งจัน ทนแ ตง ตั้งใหเจา อุป ราช(สี
ถาน) กับ เจา ราชวงศเมือ งเวีย งจัน ทรน คุม กองทัพ บกเขา ตีเมือ งรายทางเขา มาจนถึงเมือ ง
นครราชสีม า ฝา ยทางเมือ งจํา ปาศัก ดิ์ เจา นครจํา ปาศัก ดิ(์ เจา โย) เกณฑก ํา ลังยกทัพ มาตีเมือ งขุข ัน ธ
จับ พระไกรภัก ดีศ รีน ครลํา ดวน (บุญ จัน ทร) เจา เมือ งขุข ัน ธ กับ พระภัก ดีภ ูธ รสงคราม (มานะ) ปลัด
เมือ งกับ พระแกว มนตรี(ทศ)ยกกระบัต รกับ กรมการได ฆา ตายทั้ง หมด เจา เมือ งสังฆะ และเมือ ง
สุริน ทรห นีไ ดท ัน กองทัพ จํา ปาศัก ดิ์ ตั้งคา ยอยูท ี่บ า นสม ปอ ย แขวงเมือ งขุข ัน ธค า ยหนึ่ง และคา ยอื่น
ๆ สี่ค า ย กวาดตอ นครอบครัว ไทยเขมรไปเมือ งจํา ปาศัก ดิ์ จากนั้น มาเมือ งขุข ัน ธ ไมม ีข า ราชการ
ปกครอง โปรดเกลา ฯ ใหพ ระยาสังฆะ ไปเปน พระยาไกรภัก ดีศ รีน ครลํา ดวนเจา เมือ ง ใหพ ระไชย
เปน พระภัก ดีภ ูธ รสงครามปลัด เมือ ง ใหพ ระสะเทื้อ น (นวน) เปน พระแกว มนตรียก
กระบัต รเมือ ง ใหท า ยหลา บุต รพระยาขุข ัน ธ(เซียงขัน) เปน มหาดไทยชว ยกัน รัก ษาเมือ งขุข ัน ธ
ตอ ไป จากนั้น มาไดม ีก ารเปลี่ยนแปลงตํา แหนงเจา เมือ งและนามเจา เมือ งหลายครั้ง
  พ.ศ.2426 รัช สมัย พระบาทสมเด็จ พระจุล จอมเกลา เจา อยูห ัว พระ
ยาขุข ัน ธ(ปญ ญา) เจา เมือ งกับ พระปลัด(จัน ลี) ไดน ํา ชา งพัง สีป ระหลาดหนึ่งเชือ กลงมานอ มเกลา ฯ
ถวายที่ก รุงเทพฯ
  พ.ศ.2433 มีส ารตราโปรดเกลา ฯ ใหเมือ งศรีส ระเกศ(ชื่อ เดิม) ไป
อยูในบังคับ บัญ ชาของขา หลวงใหญไ ดโปรดใหห ลวงจํา นงยุท ธกิจ(อิม )กับ ขุน ไผทไทยพิท ัก ษ
                                                                                  ่
(เกลื่อ น) เปน ขา หลวงเมือ งศรีส ระเกศ พ.ศ.2435 โปรดเกลา ฯ ใหจ ัด รูป การปกครองแบบมณทล
เมือ งศรีสiะเกศขึ้น อยูก ับ เมณฑลอีส านกองบัญ ชาการมณฑลอยูท ี่จ ังหวัด อุบ ลราชธาณีพ.ศ.2445
เปลี่ย นชื่อ มณฑลอีส านเปน มณฑลอุบ ลมีเมือ งขึ้น 3 เมือ งคือ อุบ ลราชธานี ขุข ัน ธ และสุริน ทร ไม
ปรากฎชื่อ เมือ งศรีส ระเกศสัน นิษ ฐานวา เมือ งศรีส ระเกศถูก ยุบ ลงเปน อํา เภอขึ้น กับ เมือ งขุข ัน ธซ ึ่ง
เปน เมือ งเกา มาแตเดิม
  พ.ศ.2447 ยา ยที่ต ั้งเมือ งขุข ัน ธ (ซึ่งอยูท ี่บ า นแตระ ตํา บลหว เหนือ
อํา เภอขุข ัน ธใ นปจ จุบ ัน) มาอยูท ี่ต ํา บลเมือ งเกา(ปจ จุบน คือ ตํา บลเมือ งเหนือ ในเขตเทศบาลเมือ งศรี
                                                                   ั
สะเกษในปจ จุบ ัน) และยังคงใชช ื่อ"เมือ งขุข ัน ธ" ยุบ เมือ งขุข ัน ธเดิม เปน อํา เภอหว ยเหนือ(อํา เภอขุ
ขัน ธใ นปจ จุบ ัน นี)้ พ.ศ.2459 กระทรวงมหาดไทย มีป ระกาศใหเปลี่ยนชื่อ เมือ งทุก เมือ งเปน จังหวัด
เมือ งขุข ัน ธจ ึงเปน เปน จัง หวัด ขุข ัน ธ เมื่อ วัน ที่ 9พฤศจิก ายน พ.ศ.2459 เปลี่ย นผูว า ราชการเมือ งเปน
ผูว า ราชการจังหวัด พ.ศ.2481 มีพ ระราชกฤษฎีก า เปลี่ย นชื่อ จัง หวัด ขุข ัน ธ เปน จังหวัด ศรีส ะเกษ
ตั้งแตบ ัด นั้น เปน ตน มาจนถึงปจ จุบ ัน
 
 
                                                      

                                                         สัญ ลัก ษณประจําจังหวัด




                                                         ตราประจํา จัง หวัด




                                                          ธงประจํา จัง หวัด




                                          ดอกไมป ระจํา จังหวัด(ดอกลํา ดวน)




                                       ตน ไมป ระจํา จัง หวัด  (ตน ลําดวน)
ตราปราสาทพระวิห าร ตราประจํา จัง หวัด ศรีส ะเกษระหวา ง พ.ศ. 2483 - 2512


•       ตราประจํา จังหวัด : รูป ปรางคก ูม ีด อกลํา ดวน 6 กลีบ อยูเ บื้อ งลา ง (เดิม ใชภ าพปราสาทหิน
เขาพระวิห ารเปน ตราประจํา จังหวัด มาเปลี่ย นเปน ตราปจ จุบ ัน เมื่อ พ.ศ. 2512[5]
•       ดอกไมป ระจํา จัง หวัด: ดอกลํา ดวน (Melodorum fruticosum)
•       ตน ไมป ระจํา จังหวัด: ลํา ดวน (Melodorum fruticosum)
•       คํา ขวัญ ประจํา จังหวัด: แดนปราสาทขอม หอมกระเทีย มเทียมดี มีส วนสมเด็จ เขตดง
ลํา ดวน หลากลว นวัฒ นธรรม เลิศ ล้ํา สามัค คี
•       สีป ระจํา กลุม จังหวัด สีส ม
 




                                                                          อาณาเขตติด ตอ
                                                                                




•              ทิศ เหนือ ติด ตอ กับ จังหวัด ยโสธร
•              ทิศ ตะวัน ออก ติด ตอ กับ จังหวัด อุบ ลราชธานี
•              ทิศ ใต ติด ตอ กับ ราชอาณาจัก รกัม พูช า
•              ทิศ ตะวัน ตก ติด ตอ กับ จัง หวัด สุริน ทรและจังหวัด รอ ยเอ็ด
สถานที่ทอ งเที่ยวประเภทแหลงวัตถุโบราณ
                           และวัด




วัด สระกํา แพงใหญ 
นารายณบ รรทมสิน ธุน อนตะแคงซา ย และตัว นาคเปน แบบบาปวน และที่เทา ของ 
พระนารายณ จะมีศ ักติ 2 องค คือ  นางลักษมี และนางภูม ิ




วัด สระกํา แพงใหญ 
ปราสาทแหง นี้ไ ดพ บทับ หลัง ประมาณ 9  ชิ้น  และชิ้น ที่ส ํา คัญ สัน นิฐ านวา เปน ของปรางคอ งคท ิศ
เหนือ เปน รูป คชลัก ษมี  ซึ่ง ไมค อ ยพบในประเทศไทย การสลัก เปน รูป คชลัก ษมี หมายถึง  ความอุด ม
สมบูร ณ คชลัก ษมีม ีล ัก ษณะเปน รูป ชา ง 2 ตัว หัน หนา เขา หากัน และงวงประสานกัน เปน รูป วงกลม
ภายในรูป พระนางลักษมี สํา หรับ หลัง ที่ป รางคอ งคป ระธานจะสลักเปน รูป พระอิน ทรท รงชา ง
เอราวัณ  และสํา หรับ ทับ หลัง ชิ้น อื่น  ๆ เชน  พระกฤษณะประลองกํา ลัง ตา ง ๆ นา ๆ  
วัด สระกํา แพงใหญ 
ตั้ง อยูท ี่ หมูท ี่ 1 บา นสระกํา แพงใหญ ต.สระกํา แพงใหญ  อ.อุท ุม พรพิส ัย  จ.ศรีส ะเกษ  
กอ สรา งประมาณกลางพุท ธศตวรรษที่ 1 6 ถึง พุท ธศตวรรษที่ 16 ตอนปลายเปน ศาสนสถาน 
ในศาสนาพราหมณ ลัท ธิไ ศวนิกาย และจากการพบเทพนพเคราะหช ิ้น หนึ่ง สัน นิษ ฐานวา ใชง าน 
สะเดาะห ใชว างอดกบัว แตล ะดอก และก็พ บพระพุท ธรูป นาคปรกองคห นึ่ง เปน ศิล ปแบบนายน  
จึง อาจสัน นิษ บานไดว า เมื่อ พน สมัย ศาสนาพราหมณไ ปแลว คือ สมัย พระเจา ชัย วรมัน ที่ 7  
ที่เขา มาปกครองแถบนี้ก็เปลี่ย นศาสนาจากศาสนาพราหมณเปน ศาสนาพุท ธมหายาน  




กูส มบูร ณ 
อยูบ ริเวณบา นหนองคูใหญ ตํา บลเปา ะ อํา เภอบึง บูร พ จัง หวัด ศรีส ะเกษ เปน ปราสาทสามหลัง บน
ฐานศิล าแลงเดีย วกัน ปราสาทกอ นดว ยศิลาแลงรว มกับ อิฐ  กอ ดว ยศิล าแลง 
ดา นใน หัน หนา ไปทางทิศ ตะวัน ออก ตัว ปราสาททั้ง หมดลอ มรอบดว ยคูน ้ํา รูป เกือ กมา เวน ทางเขา  
ดา นทิศ ใต สัน นิษ ฐานวา ปราสาทแหง นี้ค งจะสรา งขึ้น ราวพุท ธศตวรรณที่ 1 7 ปจ จุบ ัน กรมศิลปากร  
ไดข ึ้น ทะเบีย นและบูร ณะซอ มแซม ตํา บลเปา ะ อํา เภอบึง บูร พ จัง หวัด ศรีส ะเกษ  




พระพุท ธบาทภูฝ า ย 
ตั้ง อยูท ี่ หมูท ี่ 1 บา นภูฝ า ย ต.ภูฝ า ย อ.ขุน หาญ จ.ศรีส ะเกษ พระพุท ธบาทภูฝ า ย ตั้ง อยูบ นเขาภูฝ า ย 
โดยการสรา งจํา ลองขึ้น ของพระในวัด บนภูเขาภูฝ า ยขนาดกวา ง 1  เมตร ยาว 2 เมตร ในทุก ๆ ป  
จะมีร าษฎรจากตํา บลตา ง ๆ ไปทํา บุญ และกราบไหวเปน ประจํา ทุกป ปจ จุบ ัน บนเขาภูฝ า ย 
ไดจ ดทะเบีย นจากกรมศิล ปากร พื้น ที่ 1,415 ไรเปน แหลง ทอ งเที่ย วที่อ ยูบ นภูเขาสูง  มีส ํา นัก 
สงฆ 1 แหง พระภิก ษุ 2 รูป  สระน้ํา ที่เกิด ขึ้น เองตามธรรมชาติ และรอยพระพุท ธบาทจํา ลอง  
ตลอดจนสัต วป า  เชน ลิง 




วัด ปา มหาเจดีย แ กว  (วัด ลา นขวด) 
ตั้ง อยูห มูท ี่ 2 บา นดอน ต.โนนสูง  อ.ขุน หาญ จ.ศรีส ะเกษ ไดกอ สรา งเมื่อ ป  พ.ศ. 2524 โดยมีพ ระครู
วิเวกธรรมจารย (รอด) ถิร คุโ ณ เปน เจา อาวาสองคแ รกจนถึง ปจ จุบ ัน พื้น ที่ 
บริเวณวัด  18 ไร พระภิก ษุ 8 รูป  สิ่ง ปลูก สรา งมีอ ุโ บสถ (ริม น้ํา) 1 หลัง ศาลาการเปรีย ญ  
1 หลัง  กุฎ ิ 8 หลัง    ศาลาเอนกประสงค 1 หลัง 




เปน ศาสนสถาน และสิ่ง กอ สรา ง ในบริเวณวัด ประดับ ตกแตง ดว ยขวดแกว  หลากสีห ลาย 
แบบนับ ลา น ๆ ขวด ในแตล ะวัน จะมีน ักทอ งเที่ย วมาเยี่ย มชม และรว มทํา บุญ เปนจํา นวนมาก




วัด บา นพราน (วัด สุพ รรณรัต น)  
เปน วัด เกา แกข องตํา บลพราน โดยมีจ ํา นวนหมูบ า น 5  หมูบ า น รว มกิจ กรรม และเปน สถานที ่
ที่จ ัด งานบุญ ของตํา บลพราน เชน  ประเพณีส ารทเขมร (แซนโดนตา) มีท ับ หลัง นารายณบ รรทมสิน  
วัด สํา โรงเกีย รติ (หลวงพอ ตาตน) 
เปน พระพุท ธรูป เปน ที่เคารพสัก การะของชาวอํา เภอขุน หาญ มีช าวบา นไปบนบานศาล 
กลา วใหท า นชว ย คลายทุกข ดับ โศก พน ภัย แตล ะปมีมาก 




ปราสาทปรางคก ู
ตั้ง อยูท ี่บ า นกู อ.ปรางคก ู หา งจากตัง จัง หวัด ศรีส ะเกาประมาณ 7 0 กิโ ลเมตร ปรางคอ งคน ี้ส รา งดว ย
แผน อิฐ เรืย งเปน โต ๆ เหมือ นปราสาทศรีข รภูม ิ จัง หวัด สุร ิน ทร 
ซึ่ง เปน ศาสนสถานสมัย ขอมที่เ กา แกม ากมีอ ายุกวา พัน ปห นา บริเวณปรางคกูมีส ระ 
น้ํา กวา งยาวประมาณ 1 กิโ ลเมตร เปน ทํา เลพักหากิน ของนกพัน ธุต า ง ๆ ฝูง ใหญ 




ปราสาทปรางคก ู




พระพุท ธเจดีย ไ พรพึง 
ตํา บลไพรบึง  อํา เภอไพรบึง จัง หวัด ศรีส ะเกษ 
หลวงพอ ปูน ปน 




วัด บา นไพรบึง  
เปน ที่ป ระดิษ ฐานพระพุท ธเจดีย ไ พรบึง ซึ่ง รูป แบบสถาปต ยกรรมตามแบบ พุท ธคยา 
ของอิน เดีย  ภายในองคพ ระธาตุบ รรจุพ ระบรมสารีร ิกธาตุ เปน ที่ส ัก การะของชาวศรีส ะเกษ  
นอกนั้น ยัง มีโ บสถเ กา  อายุร าว 5 0 ป รูป แบบสถาปต ยกรรมของชา งเขมรโบราณ  
สวยงามมากภายในประดิษ ฐานพระพุท ธรูป ปูน ปน ถือ เปน สิ่ง ศักดิ์ส ิท ธิ์ป ระจํา อํา เภอไพรบึง  




วัด บูร พามหาพุท ธาราม  
เปน วัด เกา แก  เปน ที่น ับ ถือ ของคนในตํา บล ภายในบริเวณวัด จะมีต น ไมใหญ รม รื่น  
และมีพ ระพุท ธรูป ศักดิ์ส ิท ธิ์ คูบ า นคูเมือ งอายุห ลายรอ ยป ตั้ง อยูท ี่ ม. 4 บา นพราน 
ต.หว ยเหนือ  อ.ขุข ัน ธ จ.ศรีส ะเกษ  




วัด ถ้ํา สระพงษ 
วัด ถ้ํา สระพงษต ั้ง อยูภ ายในโครงการทับ ทิมสยาม 0 6 บา นนาจะเรีย  หมูท ี่ 13  
อยูท างทิศ ใตข องตํา บลตั้ง อยูบ นเทือ กเขาพนมรัก มีท ัศ นีย ภาพที่ส วยงาม ภาย 
ในวัด มีน ้ํา ตก และถ้ํา 




วัด ถ้ํา สระพงษ 




พุท ธสถานศีร ษะอโศก 
ตั้ง อยูห มูท ี่ 15 บา นศีร ษะอโศก ตํา บลกระแซง อํา เภอกัน ทรลัก ษ จัง หวัด ศรีส ะเกษ  
ใชเปน สถานที่ท อ งเที่ย ว และศึก ษาดูง าน  




พุท ธสถานศีร ษะอโศก 




พระธาตุเ รือ งรอง 
ตั้งอยูท ี่ หมูท ี่ 3 บานสรางเรือ ง ต.หญาปลอ ง อ.เมือ งศรีส ะเกษ จ.ศรีส ะเกษ  
เปน พระธาตุท ี่ส รางแบบศิล ปะพื้น บาน สูง 49 เมตร แบงออกเปน  6 ชั้น  ชั้น ที่ 1  
ใชส ําหรับ ประกอบพิธ ีท างศาสนา ชั้น ที ่ 2 - 3 ทําเปน พิพธ ภัณ ฑพ ื้น บานชนสีเ ผา 
                                                                  ิ
ของศรีส ะเกษ คือ  เขมร สว ย ลาว เยอ ชั้น ที่ 4 ประดิษ ฐานพระพุท ธรูป สําคัญ  ชั้น ที่ 5   
ใชส ําหรับ การทําสมาธิ ชั้น ที่ 6  เปนที่ป ระดิษ ฐานพระบรมสารีริก ธาตุ และเปน ที่ช ม 
ทัศ นียภาพของพื้น ที ่  
ภาพสลักหิน นูน ต่ํา อยูบ ริเวณ ผามออีแ ดง อ.กัน ทรลัก ษ 
ภาพสลักหิน นูน  ต่ํา ศิล ปะเขมรอายุร าวศตวรรษที           ่
15 สัน นิษ ฐานวา เกา แกท ี่ส ุด ใน ประเทศไทย ปรางคศ ิลาชอ งโดนตวล ตั้ง อยูร ิมหนา  
ผาสูง ชัน  บนเทือ กเขาพนมดงรัก ใกลเขตแดนไทย-กัมพูช า หา งจากบา นภูมิซ รอลไป 8  กิโ ลเมตร 
หรือ หา งจากตัว อํา เภอกัน ทรลักษณ ประมาณ38 กิโ ลเมตร เปน ปราสาทขอมขนาดเล็กประกอบ 
ดว ยปรางคร ูป สี่เหลี่ย มยอ มุม  กอ ดว ยอิฐ  ซุม ประตูกอ ดว ยศิลา และมีร ูป สิง โตจํา หลักอยูห นา
ปราสาท  
 




                           สถานที่ท อ งเที่ย วประเภทแหลง ธรรมชาติ




หว ยตะวัน 
หว ยตะวัน อยูในเขตตํา บลบึง มะลู ติด กับ ตํา บลรุง เปน หว ยที่เพิ่ง คน พบเปน 
หว ยที่ม ีน ้ํา ไหลลัก ษณะคลา ยน้ํา ตาก 




พลาญจํา ปา 
มีเ นื้อ ที่ป ระมาณ 184 ไร 3 งาน 56 ตารางวา เปน ที ่ นสล.ของหมูบ า นคลองทราย 
หมู7  มีพ ลาญหิน กวา งใหญ  สวยงาม มีพ ืช พรรณตน ไมห ลากหลายชนิด  
    
นอกจากนี้ย ัง มีเปง หิน ทีส วยงามรูป ทรงตา งๆ มีถ้ํา และมีห นา ผา  
                              ่
จุด ชุม วิว ที่ส วยยิ่ง เหมาะแกการพัฒ นาปรับ ปรุง สภาพแวดลอ มใหเปน แหลง 
ทอ งเที่ย วเชิง อนุร ัก ษข องตํา บลรุง ตํา บลรุง  อํา เภอกัน ทรลัก ษ จัง หวัด ศรีส ะเกษ 




อา งเก็บ น้ํา หว ยตามาย 
อา งเก็บ น้ํา หว ยตามาย ตั้ง อยูท ี่  ม. 2 บา นตูมนอ ย ต. ภูเงิน  มีท ัศ นีย ภาพที่ส วยงาม  
มีบ ริเวณลอ มรอบดว ยทิว ทัศ นอ ัน สวยงามจะมีเรือ ชาวบา นหาปลา มีป ลาน้ํา จืด หลายชนิด 




อา งเก็บ น้ํา หว ยตามาย  
ตั้ง อยูห มูท ี่ 6 บา นโนนจิก ตํา บลกระแชง เปน สถานที่พ ัก ผอ นรับ ประทานอาหาร  
ตํา บลกระแชง อํา เภอกัน ทรลักษ จัง หวัด ศรีส ะเกษ  




หาดสํา ราญ 
มีแ หลง น้ํา ธรรมชาติใสสะอาด ชายหาดสวยงาม มีจ ัก รยานน้ํา ไวบ ริการใหน ักทอ ง 
เที่ย วชมธรรมชาติร อบ ๆ หาด ชว งเทศกาลสงกรานต มีการจัด การแขง ขัน วอลเลย 
บอลชายหาด บรรยากาศเหมาะสํา หรับ พัก ผอ นหยอ นใจตํา บลโนนสํา ราญ 
อํา เภอกัน ทรลัก ษ จัง หวัด ศรีส ะเกษ  
ฝายหนองหญา ลาด 
ฝายหนองหญา ลาด มีเนื้อ ที่ป ระมาณ 3 36 ไร ตั้ง อยูท ี่ห มูท  ี่ 13 บา นหนองหญา 
ลาดพัฒ นา เปน ที่เก็บ น้ํา สํา หรับ ทํา การเกษตรและเพาะปลูก เหมาะสํา หรับ 
เปน แหลง ทอ งเที่ย วและพัก ผอ นบรรยากาศดีส งบ ตํา บลหนองหญา ลาด 
อํา เภอกัน ทรลัก ษ จัง หวัด ศรีส ะเกษ  




อุท ยานแหง ชาติเขาพระวิห าร 
ตั้ง ขึ้น ในป  พ.ศ.2542 โดยมีอ าณาเขตติด พื้น ที่ต ํา บลเสาธงชัย  มีแ หลง ทอ ง 
เที่ย วที่ส ํา คัญ คือ ผามออีแ ดง ปราสาทโดนตรอน และเปน เสน ทางผา นเขา ชม 
ปราสาทเขาพระวิห าร ประเทศกัม พูช า ตํา บลเสาธงชัย 
อํา เภอกัน ทรลัก ษ จัง หวัด ศรีส ะเกษ  




อา งเก็บ น้ํา หว ยขนุน 
เปน อา งเก็บ น้ํา ขนาดเล็ก  บรรจุป ริม าณน้ํา  1 0 ลูกบาศกเ มตร ตั้ง อยูเขตบา นดา นใต 
หมูท ี่ 2 ตํา บลภูผ าหมอก อยูใ นเขตอุท ยานแหง ชาติเขาพระวิห ารจัด เปน แหลง ทอ ง 
เที่ย วที่ส ํา คัญ ของตํา บลภูผ าหมอกมีท ัศ นีย ภาพที่ส วยงาม ตน ไมห ลากหลายนานาพัน ธ  
พรอ มมีพ ลาญหิน  ซึ่ง มีอ ายุไ มน อ ยกวา  1 00 ป มีเทือ กเขาลอ มรอบ ซึ่ง สวยงามมาก 
ตํา บลภูผ าหมอก อํา เภอกัน ทรลัก ษ จัง หวัด ศรีส ะเกษ  




เขื่อ นหว ยขนุน   
ประกอบกับ อุท ยานแหง ชาติ ไดกํา หนดใหเปน แหลง ทอ งเที่ย ว  
โดยมีป ระชาชนทั่ว สารทิศ ไดม าเที่ย วชมปละไมน อ ยกวา  2 0,000 คน  
ตํา บลภูผ าหมอก อํา เภอกัน ทรลัก ษ จัง หวัด ศรีส ะเกษ  




สถานีเพาะพัน ธส ัต วป า 
ตั้ง อยูภายในโครงการทับ ทิม สยาม 06 บา นนาจะเรีย หมู1 3 อยูท างทิศ ใตข องตํา บลตั่ง อยูบ นเทือ กเขา
พนมดงรักระยะทางหา งจากอํา เภอขุข ัน ธ ประมาณ 18 กิโ ลเมตรตํา บลปรือ ใหญ  อํา เภอขุข ัน ธ 
จัง หวัด ศรีส ะเกษ  




หนองสะอาด 
อยูท ี่ห มู 12 บา นสะอาง ต.หว ยเหนือ  เปน หนองน้ํา ที่มีข นาดใหญ และเปน หนอง 
ที่เกา แกแ หง หนึ่ง ของอํา เภอขุข ัน ธ หรือ ของตํา บลหว ยเหนือ และยัง เปน แหลง หา 
ปลาของคน ในชุม ชน บรรยากาศรม รื่น  ตํา บลหว ยเหนือ  อํา เภอขุข ัน ธ จัง หวัด ศรีส ะเกษ  




หนองใหญ  
มีพ ื้น ที่อ ยูบ ริเวณ บา นสวาย หมูท ี่ 2  ตํา บลไพรบึง  อํา เภอไพรบึง จัง หวัด ศรีศ รีส ะเกษ 
หา งจากที่ว า การประมาณ 2  กิโ ลเมตร เนื้อ ที่ป ระมาณ 100 ไร  เปน แหลง อาศัย นกเปด  
น้ํา นับ แสนตัว ในฤดูห นาว มีถ นนรอบหนองสํา หรับ เปน สถานที่อ อกกํา ลัง กายหรือ พัก 
ผอ นของชาวไพรบึง  ตํา บลไพรบึง อํา เภอไพรบึง  จัง หวัด ศรีส ะเกษ  
น้ํา ตกสํา โรงเกีย รติ 
ตั้ง อยูห มูท ี่ 5 บา นสํา โรงเกีย รติ ต.บักดอง อ.ขุน หาญ จ.ศรีส ะเกษ เดิมชื่อ วา  น้ํา ตกปศ าจ  
เรีย กตามชื่อ หนว ยทหารพรานที่ม ีส มญานาม พ.ศ. 2519 ตอ มาในป พ.ศ. 2524  
ไดป รับ ปรุง ใหเปน สถานที่ท ทอ งเที่ย ว และไดเปลี่ย นชื่อ เปน น้ํา ตกสํา โรงเกีย รติ ตาม 
ชื่อ หมูบ า นสํา โรงเกีย รติ โดยมีแ หลง กํา เนิน มาจากภูเขากัน ทุง บนเทือ กเขาบรรทัด เปน น้ํา ตก 
ขนาดกลางที่ง ดงามแหง หนึ่ง ของจัง หวัด ศรีส ะเกษ 




หนองกราม 
เปน หนองน้ํา ขนาดใหญท ี่เ กิด ขึ้น จากธรรมชาติ มีพ ื้น ที่เก็บ น้ําประมาณ 1,300 ไร  
เปน แหลง อาศัย ของสัต วน ้ํา และนกจํา นวนมาก ปจ จุบ ัน อยูในความดูแ ลสของกรมชลประทาน  




เขื่อ นตาจู 
เขื่อ นตาจู สรา งเมื่อ ป 2532 เปน แหลง ทอ งเที่ย วและเพาะพัน ธุป ลาน้ํา จืด  เนื้อ ที่บ รรจุน ้ํา 
ได 13,000 ไร 2,200,000 ลม.ม. สง น้ํา ตามคลองสง น้ํา  ระยะทาง 8  กม. ครอบคลุม 
พื้น ที่การเกษตร ต.โนนสูง  ต.กัน ทรอม,ต.หว ยจัน ทร ตํา บลภูฝ า ย อํา เภอขุน หาญ จัง หวัด ศรีส ะเกษ  
น้ํา ตกหว ยจัน ทร 
ตั้ง อยูท ี่ หมูท ี่ 5 บา นน้ํา ตกหว ยจัน ทร ต.หว ยจัน ทร อ.ขุน หาญ จ.ศรีส ะเกษ น้ํา ตกหว ยจัน ทร 
หรือ น้ํา ตกกัน ทรอม มีต น กํา เนิน จากเทือ กเขาบรรทัด  บริเวณเขาเสลา (ภูเ สลา) แลว ไหลลง 
สูแ มน ้ํา มูลที ่ อ.เมือ ง จ.ศรีส ะเกษ เดิม ภายในบริเวณมีต น จัน ทรแ ดง และจัน ทรข าวขึ้น อยู 
หนาแนน น้ํา ตกหว ยจัน ทรเปน น้ํา ตกที่ส วยงาม และมีน ้ํา ตลอดทั้ง ป บริเวณโดยรอบรมรื่น 
ดว ยพัน ธุไ มน านาชนิด 




แกง พระพุทธบาท 
ตั้ง อยูห มูท ี่ 8 บา นโนน ตํา บลรัง แรง  อํา เภออุท ุม พรพิส ัย จัง หวัด ศรีส ะเกษ ซึ่ง อยูต าม 
ลํา นํา มูล กับ ตํา บลสม ปอ ย อํา เภอราษีไ ศล จัง หวัด ศรีส ะเกษ หา งจากตัว จัง หวัด ประมาณ 2 0 กม.  
เปน สถานที่ท อ งเที่ย วที่ส วยงามตามธรรมชาติม ีแ กง หิน สวยงามมากมาย บรรยากาศรมรื่น  
เหมาะแกการทอ งเที่ย วพัก ผอ น  




                                                                                 
น้ํา ตกนาตราว 
เปน น้ํา ตกที่เพิ่ง คน พบ มีค วามอุด มสมบูร ณข องธรรมชาติมาก น้ํา ตกสวยงาม  
บรรยากาศนา ทอ งเที่ย ว ตํา บลดงรัก อํา เภอภูส ิง ห จัง หวัด ศรีสะเกษ 

 
 
 
 
หนองบัว ดง 
ตั้ง อยูห มูท ี่ 1 ตํา บลหนองบัว ดง กิ่ง อํา เภศิล าลาด จัง หวัด ศรีส ะเกษ เปน แหลง ทอ งเที่ย ว  
พัก ผอ นหยอ นใจ และเปน ที่อ อกกํา ลัง กายของประชาชน 
 
การปกครอง
 

 

 

 

 

 

 

                                      แผนที่อ ํา เภอในจัง หวัด ศรีสะเกษ

จังหวัด ศรีส ะเกษแบงการปกครองออกเปน 22 อํา เภอ 206 ตํา บล และอีก 2,557 หมูบ า น อํา เภอไดแ ก



                                  1. อํา เภอเมือ งศรีส ะเกษ

                                  2. อํา เภอยางชุม นอ ย

                                  3. อํา เภอกัน ทรารมย

                                  4. อํา เภอกัน ทรลัก ษ

                                  5. อํา เภอขุข ัน ธ

                                  6. อํา เภอไพรบึง

                                  7. อํา เภอปรางคก ู

                                  8. อํา เภอขุน หาญ

                                  9. อํา เภอราษีไ ศล
10. อํา เภออุท ุม พรพิสัย

                                   11. อํา เภอบึงบูรพ

                                   12. อํา เภอหว ยทับ ทัน

                                   13. อํา เภอโนนคูณ

                                   14. อํา เภอศรีรัต นะ

                                   15. อํา เภอน้ํา เกลี้ย ง

                                   16. อํา เภอวังหิน

                                   17. อํา เภอภูสิงห

                                   18. อํา เภอเมือ งจัน ทร

                                   19. อํา เภอเบญจลัก ษ

                                   20. อํา เภอพยุห 

                                   21. อํา เภอโพธิ์ศ รีสุว รรณ

                                   22. อํา เภอศิล าลาด



การปกครองสว นทอ งถิ่น

องคก รปกครองสว นทอ งถิ่น (อปท.) ประกอบดว ย องคก ารบริห ารสว นจัง หวัด 1 แหง เทศบาลเมือ ง
2 แหง เทศบาลตํา บล 18 แหง และองคก ารบริห ารสว นตํา บล 196 แหง

• องคก ารบริห ารสว นจัง หวัด ศรีส ะเกษ

• เทศบาลเมือ งศรีส ะเกษ

• เทศบาลเมือ งกัน ทรลัก ษ
รายพระนามและรายนามผูว า ราชการจังหวัด




รายพระนามและรายนาม                                       ปท ี่ด ํา รงตํา แหนง

1. พระยาบํา รุงบุรประจัน ทต (จัน ดี)                    พ.ศ. 2450 – พ.ศ. 2452

2. พระยาประชากิจ (ทับ มหาเปาระยะ)                        พ.ศ. 2452 – พ.ศ. 2454

3. พระยาวิเศษสิง หนาท (ปว บุญ นาค)                     พ.ศ. 2454 – พ.ศ. 2456

4. รอ ยเอก พระอิน ทรป ระสิท ธิศ ร (เชื้อ ทองอุท ัย) พ.ศ. 2456 – พ.ศ. 2457

5. อํา มาตยต รี หมอ มเจา ถูก กวิล สุข สวัส ดิ์        พ.ศ. 2457 – พ.ศ. 2459

6. อํา มาตยโท พระภัก ดีศ รีส ุน ทรราช (ดิศ โกมลบุต ร)            พ.ศ. 2459 – พ.ศ. 2461

7. อํา มาตยเอก พระยาวิเศษชัย ชาญ (ชอุม อมัต ติรัต น)           พ.ศ. 2461 – พ.ศ. 2465

8. อํา มาตยโท พระยานครพระราม (สวัสดิ์ มหากายี) พ.ศ. 2465

9. อํา มาตยโท พระวิส ุท ธราชรังสรรค (ใหญ บุญ นาค)              พ.ศ. 2465 – พ.ศ. 2472

10. อํา มาตยต รี พระยาประชากิจ กรจัก ร (ชุบ โอสถานนท) พ.ศ. 2472 – พ.ศ. 2473

11. อํา มาตยโท พระศรีว ิช ัย บริบ าล (สวัสดิ์ ปท มดิล ก)        พ.ศ. 2473 – พ.ศ. 2478

12. หลวงศรีราชรัก ษา (ผิว ชาศรีรัฐ)                      พ.ศ. 2478 – พ.ศ. 2481

13. พระศรีราชสงคราม (ศรีส ุข วาที)                       พ.ศ. 2481

14. พระบริรัก ษภ ูธ ร (เพิ่ม ขนิษ ฐายนต                พ.ศ. 2482 – พ.ศ. 2483

15. หลวงปริว รรควรจิต ร (จัน ทร เจริญ ไชยา)             พ.ศ. 2484 – พ.ศ. 2485

16. นายชอบ ชัย ประภา                                     พ.ศ. 2485 – พ.ศ. 2488
17. ขุน บํา รุง รัต นบุรี (ปกรณ จุฑ ะพุท ธิ)   พ.ศ. 2488 – พ.ศ. 2489

18. นายศิริ วรนารถ                              พ.ศ. 2489 – พ.ศ. 2490

19. นายเติม ศิล ป                              พ.ศ. 2490 – พ.ศ. 2492

20. นายพิน ิต โพธิพ ัน ธ                       พ.ศ. 2492 – พ.ศ. 2495

21. ขุน วัฒ นานุรัก ษ (ประจัก ษ วงศรัต น)   พ.ศ. 2495 – พ.ศ. 2498

22. นายกิต ิ ยธการี                             พ.ศ. 2498 – พ.ศ. 2500

23. นายจาด อุรัส ยะนัน ทน                      พ.ศ. 2500 – พ.ศ. 2501

24. นายวรวิท ย รังสิโ ยทัย                     พ.ศ. 2501 – พ.ศ. 2504

25. นายรัง สรรค รัง สิก ุล                     พ.ศ. 2504 – พ.ศ. 2512

26. นายกํา เกิง สุรการ                          พ.ศ. 2512 – พ.ศ. 2514

27. นายประมวล รัง สิค ุต                        พ.ศ. 2514 – พ.ศ. 2516

28. นายเชื้อ เพ็ช รชอ                          พ.ศ. 2516 – พ.ศ. 2517

29. นายพิศ าล มูล ศาสตรสาทร                     พ.ศ. 2517 – พ.ศ. 2518

30. นายกรี รอดคํา ดี                            พ.ศ. 2518 – พ.ศ. 2521

31. นายสมบูรณ ไทยวัช รามาศ                     พ.ศ. 2521 – พ.ศ. 2524

32. เรือ ตรี ดนัย เกตุส ิริ ร.น.                พ.ศ. 2524 – พ.ศ. 2528

33. นายจํา ลอง ราษฎรป ระเสริฐ                  พ.ศ. 2528 – พ.ศ. 2531

34. นายธวัช โพธิส ุน ทร                         พ.ศ. 2531 – พ.ศ. 2533

35. รอ ยตรี สมจิต ต จุล พงษ                  พ.ศ. 2533 – พ.ศ. 2535

36. นายอุท ัย พัน ธุ สงวนเสริม ศรี             พ.ศ. 2535 – พ.ศ. 2536
37. นายจิโรจน โชติพ ัน ธุ                            พ.ศ. 2536 – พ.ศ. 2540

38. นายพจน ใจมั่น                                     พ.ศ. 2540 – พ.ศ. 2542

39. นายโกสิน ทร เกษทอง                                พ.ศ. 2542 – พ.ศ. 2544

40. นายสุจ ริต นัน ทมนตรี                              พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2545

41. นายสวัส ดิ์ ศรีส ุว รรณดี                          พ.ศ. 2545 – พ.ศ. 2546

42. นายถนอม สงเสริม                                   พ.ศ. 2546 – พ.ศ. 2548

43. นายสัน ทัด จัต ุช ัย                               พ.ศ. 2548 – พ.ศ. 2550

44. นายกอ งเกีย รติ อัค รประเสริฐ กุล                 พ.ศ. 2550

45. นายเสนีย  จิต ตเกษม                               พ.ศ. 2550 – พ.ศ. 2552

46. นายระพี ผอ งบุพ กิจ                               พ.ศ. 2552 – พ.ศ. 2553

47. นายกองเอก วิล าศ รุจ ิว ัฒ นพงศ                   พ.ศ. 2553 – ปจ จุบ ัน

การเลือ กตั้ง

จังหวัด ศรีส ะเกษ แบงเขตเลือ กตั้งออกเปน 3 เขต มีจ ํา นวนสมาชิก สภาผูแ ทนราษฎรทั้ง สิ้น 9 คน
โดยแตล ะเขตแบงออกดัง นี้

• เขต 1 ประกอบดว ย อํา เภอเมือ งศรีส ะเกษ อํา เภอยางชุม นอ ย อํา เภอกัน ทรารมย อํา เภอโนนคูณ
อํา เภอพยุห  อํา เภอราษีไ ศล อํา เภอศิล าลาด อํา เภอบึงบูรพ และอํา เภอโพธิ์ศ รีสุว รรณ

• เขต 2 ประกอบดว ย อําเภอเมือ งจัน ทร อํา เภออุท ุม พรพิสัย อํา เภอหว ยทับ ทัน อํา เภอวัง หิน อํา เภอ
ปรางคก ู อํา เภอขุข ัน ธ และอํา เภอภูส ิง ห

• เขต 3 ประกอบดว ย อํา เภอกัน ทรลัก ษ อํา เภอขุน หาญ อํา เภอไพรบึง อํา เภอศรีรัต น อํา เภอเบญจ
ลัก ษ และอํา เภอน้ํา เกลี้ย ง

 

 
ภูมิอากาศ


ลัก ษณะภูม ิอ ากาศโดยทั่ว ไปของจัง หวัด ศรีส ะเกษ มีอ ากาศรอ นจัด ในฤดูรอ นและคอ นขา งหนาวจัด
ในฤดูห นาว สว นฤดูฝ นจะมีฝ นตกหนัก ในเดือ นกัน ยายน โดยมัก จะตกหนัก ในพื้น ที่ต อนกลางและ
ตอนใตข องจัง หวัด สว นพื้น ที่ท างตอนเหนือ ของจัง หวัด จะมีป ริม ารฝนตกนอ ย และไมค อ ย
สม่ํา เสมอ โดยเฉลี่ยแลว ในปห นึ่ง ๆ จะมีฝ นตก 100 วัน ปริม าณฝนเฉลี่ย 1,200-1,400 มิล ลิเมตรตอ
ป อุณ หภูม ิต ่ํา สุด ประมาณ 10 องศาเซลเซียส สูงสุด ประมาณ 40 องศาเซลเซียส เฉลี่ย ประมาณ 26-
28 องศาเซลเซีย ส ความชื้น สัม พัน ธเฉลี่ยรอ ยละ 66-73
 
หางสรรพสินคา




•   บิ๊กซี ศรีสะเกษ
•   เทสโก โลตัส ศรีสะเกษ
•   ซุน เฮง
•   แม็ค โคร ศรีส ะเกษ 
 
 
 
 
                                            ชาวศรีสะเกษทีมี    ่
                                                   ชื่อเสียง
 
 
 
 
 
•        นกนอ ย อุไ รพร นัก รอ งลูก ทุง ศิล ปน พื้น บา น
•        ฉัน ทนา กิต ิยพัน ธ นัก รอ ง นัก แสดง
•        ธนัญ ชัย บริบ าล นัก ฟุต บอลทีม ชาติไ ทย
•        ปย ะณัฐ วัช ราภรณ อดีต รัฐ มนตรีว า การกระทรวงสาธารณสุข
•        พยอม สีน ะวัฒ น ศิล ปน แหงชาติ สาขาทัศ นศิล ป พ.ศ. 2530
•        ภูม ิน ทร ลีธ ีร ะประเสริฐ รองโฆษกประจํา สํา นัก นายกรัฐ มนตรี
•        มานะ มหาสุว ีระชัย อดีต สมาชิก สภาผูแ ทนราษฎรจังหวัด ศรีส ะเกษ , หัว หนา พรรคแทน
คุณ แผน ดิน

•       ยิ่งยง ยอดบัว งาม นัก รอ งลูก ทุง
•       ร็อ คกี้ ส.จิต รลดา นัก มวย
•       สุด า ศรีล ํา ดวน นัก รอ งลูก ทุง
•       สุริย ะใส กตะศิล า ผูป ระสานงานพัน ธมิต รประชาชนเพื่อ ประชาธิป ไตย
ทรัพยากร

ปา ไม
ลัก ษณะปา ไมข องจัง หวัด ศรีส ะเกษ สว นใหญเปน ปา โปรง  ประกอบดว ยปา ยาง ไมเต็ง  ไมป ระดู 
ไมแ ดง ไมก ระบาก และไมเบญจพรรณ จัง หวัด ศรีส ะเกษมีพ ื้น ที่ป า ไมแ ยกเปน ปา อนุร ัก ษ( 3 แหง  
472,075 ไร)  ปา สงวน (4 ปา  92,042 ไร)  ปา ชุมชน (อยูในเขตปา สงวน 25,621 ไร, ปา ไม 1,845 ไร, 
ปา สาธารณะประโยชน 7,094 ไร)  ปา เศรษฐกิจ  (Zone E: 825,246 ไร) พื้น ที่ป า ไมท ี่ส มบูร ณร อ ยละ 
11.67 ของพื้น ที่จ ัง หวัด ศรีส ะเกษ 
แหลงน้ํา
จัง หวัด ศรีส ะเกษ มีแ หลง น้ํา ที่ส ํา คัญ และมีผ ลตอ กิจ กรรมการเกษตร การประมง ดัง นี้ 
 
 




 
 
แมน ้ํา มูล  
 ตน น้ํา เกิด จากเทือ กเขาดงพญาเย็น ในทอ งที่อ ํา เภอปกธงชัย  จัง หวัด นครราชสีมา ไหลเขา สูจ ัง หวัด
ศรีส ะเกษ บริเวณอํา เภอราษีไ ศล ไหลผา นอํา เภอยางชุม นอ ย อํา เภอเมือ งศรีส ะเกษ และอํา เภอ
กัน ทรารมย แลว ไหลไปบรรจบแมน ้ํา ชี ที่จ ัง หวัด อุบ ลราชธานี พื้น ที่ท างทิศ เหนือ ของแมน ้ํา มูล
ลัก ษณะเปน ที่ร าบลุม มีส ภาวะน้ํา ทว มขัง ในฤดูฝ น  
•           หว ยทับ ทัน  ไหลมาจากอํา เภอบัว เชด จัง หวัด สุร ิน ทร เปน เสน แบง เขตระหวา งจัง หวัด
สุร ิน ทรแ ละจัง หวัด ศรีส ะเกษในเขตอํา เภออุท ุม พรพิส ัย  ไหลลงไปบรรจบแมน ้ํา มูล บริเวณอํา เภอรัต
นบุร ี จัง หวัด สุร ิน ทร  
•           หว ยสํา ราญ ไหลมาจากเขตอํา เภอปรางคกู  ผา นอํา เภอเมือ งศรีส ะเกษ แลว ไหลลงแมน้ํา มูล 
ที่เขตอํา เภอเมือ งศรีส ะเกษ 
•        หว ยศาลา เปน แหลง น้ํา ธรรมชาติท ี่ด ัด แปลงทํา เปน เขื่อ นเก็บ น้ํา ที่ไ หลมาจากหว ยสํา ราญ
และมีต น น้ํา จากหว ยพนมดงรัก  สามารถบรรจุน ้ํา ไดส ูง สุด  5 2.5 ลา นลูกบาศกเ มตร มีพ ื้น ที่ท ํา การ
ชลประทาน จํา นวน 20,400 ไร  มีน ้ํา ตลอดป 
ประชากร

ในจังหวัด ศรีส ะเกษมีช ุม ชนหลายกลุม อาศัย อยูรว มกัน ทั้งนีเ้ ปน ผลมาจากการอพยพยาย
ครัว เขามาของคนเชื้อชาติต าง ๆ ในอดีต แมป จ จุบ ัน ยังคงเห็น ลัก ษณะเฉพาะทางกายภาพ
และวัฒ นธรรมของกลุม คนเหลานั้น อยู กลุม คนที่ว านี้ไ ดแ ก ชาวลาว ชาวเขมร ชาวสว ย
หรือ กูย และเยอ
เศรษฐกิจ


         เศรษฐกิจ ของจังหวัด ศรีส ะเกษขึ้น อยูก ับ เกษตรกรรมเปน หลัก จัง หวัด ไมม ีท รัพ ยาการแรท ี่สํา คัญ
แตอ ยา งใด แตม ีแ รรัต นชาติอ ยูบ า งเล็ก นอ ยในอํา เภอกัน ทรลัก ษ โดยในป พ.ศ. 2550 มีสัด สว นตอ
ผลิต ภัณ ฑม วลรวม (GPP) 44,191 ลา นบาท และรายไดเฉลี่ยของประชากร 29,174 บาทตอ คนตอ ป ซึ่ง
ต่ํา ที่ส ุด ของประเทศชาวศรีส ะเกษทํา นากัน มากตามที่ราบลุม แมน ้ํา มูล และในเขตชลประทานของลํา น้ํา
สายตา ง ๆ สว นใหญเปน นาปซ ึ่งมีก ารเก็บ เกี่ย วปล ะครั้ง พืช ไรท ี่ส ํา คัญ คือ ขา วโพด มัน สํา ปะหลัง ปอ
แกว และผัก ตา ง ๆ นอกจากนี้ ชาวศรีส ะเกษนิย มปลูก หอมแดงมากดังปรากฏในคํา ขวัญ ประจํา จังหวัด
จังหวัด ศรีส ะเกษ เปน จัง หวัด ที่ม ีพ ื้น ที่ต ิด ตอ กับ ประเทศเพื่อ นบา น (ประเทศกัม พูช า) มีจ ุด ผา นแดน
ถาวร 1 แหง คือ จุด ผา นแดนถาวรชอ งสะงํา ซึ่งเปน ชอ งสํา หรับ การคา ระหวา งประเทศ มีม ูล คา การซื้อ
ขายระหวา งเดือ นมกราคม-พฤษภาคม พ.ศ. 2552 ประมาณ 571.756 ลา นบาท
การคมนาคม




                              แผนที่ท อ งเที่ย วจังหวัด ศรีส ะเกษ
จากกรุงเทพมหานครสามารถเดิน ทางไปยังจังหวัด ศรีส ะเกษไดด ัง นี้



•        โดยรถไฟ สายตะวัน ออกเฉีย งเหนือ มาลงที่สถานีศ รีสะเกษ ระยะทาง515.09 กิโลเมตร
•        โดยทางหลวงแผน ดิน หมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) ถึงทางแยกเขา ทางหลวงแผน ดิน
หมายเลข 2 (ถนนมิต รภาพ) ที่ก ิโลเมตรที่ 107 แลว ไปตามทางหลวงแผน ดิน หมายเลข 2 ถึงจังหวัด
นครราชสีม า แยกทางขวาเขา ทางหลวงหมายเลข 226 ผา นจัง หวัด บุรีรัม ยแ ละจัง หวัด สุริน ทรจ ึงถึง
จังหวัด ศรีส ะเกษ รวมระยะทาง 571 กิโลเมตร
•        โดยรถโดยสารประจํา ทาง สามารถเดิน ทางจากสถานีข นสงผูโ ดยสารกรุงเทพฯ สาย
ตะวัน ออกเฉีย งเหนือ มาลงที่ส ถานีร ขนสง ผูโดยสารจังหวัด ศรีส ะเกษไดโ ดยตรง
•        โดยเครื่อ งบิน สามารถเดิน ทางโดยสายการบิน ภายในประเทศมายังทา อากาศยาน
อุบ ลราชธานี และเดิน ทางตอ มายังจังหวัด ศรีส ะเกษ ดวยระยะทางอีก ประมาณ 60 กิโลเมตร
จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymose
จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymose
จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymose
จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymose
จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymose
จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymose
จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymose
จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymose
จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymose
จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymose
จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymose
จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymose
จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymose

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานBenjawan Hengkrathok
 
งานเล็ก
งานเล็กงานเล็ก
งานเล็กJarutsee
 
New 005 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
New 005 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมNew 005 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
New 005 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมthammanoon laohpiyavisut
 
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัดเที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัดslide-001
 
รัชกาลที่ 1
รัชกาลที่ 1รัชกาลที่ 1
รัชกาลที่ 1Kunnai- เบ้
 
New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมNew 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมthammanoon laohpiyavisut
 

Was ist angesagt? (14)

สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
สมเด็พระนารายณ์มหาราช
สมเด็พระนารายณ์มหาราชสมเด็พระนารายณ์มหาราช
สมเด็พระนารายณ์มหาราช
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสาน
 
งานเล็ก
งานเล็กงานเล็ก
งานเล็ก
 
Aksorn 2
Aksorn 2Aksorn 2
Aksorn 2
 
New 005 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
New 005 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมNew 005 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
New 005 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
 
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัดเที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
รัชกาลที่ 1
รัชกาลที่ 1รัชกาลที่ 1
รัชกาลที่ 1
 
New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมNew 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
 
จังหวัดนราธิวาส
จังหวัดนราธิวาสจังหวัดนราธิวาส
จังหวัดนราธิวาส
 
จังหวัดนราธิวาส501
จังหวัดนราธิวาส501จังหวัดนราธิวาส501
จังหวัดนราธิวาส501
 
นครปฐม
นครปฐมนครปฐม
นครปฐม
 

Andere mochten auch

เขาพระวิหาร
เขาพระวิหารเขาพระวิหาร
เขาพระวิหารBeebe Benjamast
 
เขาพระวิหาร
เขาพระวิหารเขาพระวิหาร
เขาพระวิหารBeebe Benjamast
 
ประเมิน Powerpoint 1
ประเมิน Powerpoint 1ประเมิน Powerpoint 1
ประเมิน Powerpoint 1Beebe Benjamast
 
ด้านก่รศึกษา1
ด้านก่รศึกษา1ด้านก่รศึกษา1
ด้านก่รศึกษา1Beebe Benjamast
 
พระราชบุตร1
พระราชบุตร1พระราชบุตร1
พระราชบุตร1Beebe Benjamast
 
ครูของแผ่นดิน1
ครูของแผ่นดิน1ครูของแผ่นดิน1
ครูของแผ่นดิน1Beebe Benjamast
 
คู่มือประกอบการสร้าง E book
คู่มือประกอบการสร้าง E bookคู่มือประกอบการสร้าง E book
คู่มือประกอบการสร้าง E bookBeebe Benjamast
 
MIBM Vokasi Brawijaya
MIBM Vokasi BrawijayaMIBM Vokasi Brawijaya
MIBM Vokasi BrawijayaIrzamjrs
 
คู่มือประกอบการสร้าง E book
คู่มือประกอบการสร้าง E bookคู่มือประกอบการสร้าง E book
คู่มือประกอบการสร้าง E bookBeebe Benjamast
 
พระเกียรติยศ1
พระเกียรติยศ1พระเกียรติยศ1
พระเกียรติยศ1Beebe Benjamast
 
งานนำเสนอ1.ppt
งานนำเสนอ1.pptงานนำเสนอ1.ppt
งานนำเสนอ1.pptBeebe Benjamast
 
คู่มือประกอบการสร้าง E book
คู่มือประกอบการสร้าง E bookคู่มือประกอบการสร้าง E book
คู่มือประกอบการสร้าง E bookBeebe Benjamast
 

Andere mochten auch (12)

เขาพระวิหาร
เขาพระวิหารเขาพระวิหาร
เขาพระวิหาร
 
เขาพระวิหาร
เขาพระวิหารเขาพระวิหาร
เขาพระวิหาร
 
ประเมิน Powerpoint 1
ประเมิน Powerpoint 1ประเมิน Powerpoint 1
ประเมิน Powerpoint 1
 
ด้านก่รศึกษา1
ด้านก่รศึกษา1ด้านก่รศึกษา1
ด้านก่รศึกษา1
 
พระราชบุตร1
พระราชบุตร1พระราชบุตร1
พระราชบุตร1
 
ครูของแผ่นดิน1
ครูของแผ่นดิน1ครูของแผ่นดิน1
ครูของแผ่นดิน1
 
คู่มือประกอบการสร้าง E book
คู่มือประกอบการสร้าง E bookคู่มือประกอบการสร้าง E book
คู่มือประกอบการสร้าง E book
 
MIBM Vokasi Brawijaya
MIBM Vokasi BrawijayaMIBM Vokasi Brawijaya
MIBM Vokasi Brawijaya
 
คู่มือประกอบการสร้าง E book
คู่มือประกอบการสร้าง E bookคู่มือประกอบการสร้าง E book
คู่มือประกอบการสร้าง E book
 
พระเกียรติยศ1
พระเกียรติยศ1พระเกียรติยศ1
พระเกียรติยศ1
 
งานนำเสนอ1.ppt
งานนำเสนอ1.pptงานนำเสนอ1.ppt
งานนำเสนอ1.ppt
 
คู่มือประกอบการสร้าง E book
คู่มือประกอบการสร้าง E bookคู่มือประกอบการสร้าง E book
คู่มือประกอบการสร้าง E book
 

Ähnlich wie จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymose

รายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรสุโขทัย
รายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรสุโขทัยรายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรสุโขทัย
รายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรสุโขทัยchickyshare
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัยsangworn
 
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์ ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์ vanichar
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง มSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11teacherhistory
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติniralai
 

Ähnlich wie จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymose (20)

ก่อนสถาปนาสุโขทัย
 ก่อนสถาปนาสุโขทัย ก่อนสถาปนาสุโขทัย
ก่อนสถาปนาสุโขทัย
 
รายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรสุโขทัย
รายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรสุโขทัยรายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรสุโขทัย
รายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรสุโขทัย
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัย
 
Egypt
EgyptEgypt
Egypt
 
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์ ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
 
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
 
จังหวัดศรีสะเกษ
จังหวัดศรีสะเกษจังหวัดศรีสะเกษ
จังหวัดศรีสะเกษ
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
Sukhothai
SukhothaiSukhothai
Sukhothai
 
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
 
จังหวัดนครราชสีมา502
จังหวัดนครราชสีมา502จังหวัดนครราชสีมา502
จังหวัดนครราชสีมา502
 
จังหวัดนครราชสีมา502
จังหวัดนครราชสีมา502จังหวัดนครราชสีมา502
จังหวัดนครราชสีมา502
 
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
 
อารยธรรมอินคา
อารยธรรมอินคาอารยธรรมอินคา
อารยธรรมอินคา
 

Mehr von Beebe Benjamast

ครูของแผ่นดิน
ครูของแผ่นดินครูของแผ่นดิน
ครูของแผ่นดินBeebe Benjamast
 
ความหมายของพระนาม
ความหมายของพระนามความหมายของพระนาม
ความหมายของพระนามBeebe Benjamast
 
การศึกษา1
การศึกษา1การศึกษา1
การศึกษา1Beebe Benjamast
 
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ1
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ1อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ1
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ1Beebe Benjamast
 
ราชตระกูล1
ราชตระกูล1ราชตระกูล1
ราชตระกูล1Beebe Benjamast
 
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก1
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก1พระราชพิธีบรมราชาภิเษก1
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก1Beebe Benjamast
 
เสด็จขึ้นครองราชย์1
เสด็จขึ้นครองราชย์1เสด็จขึ้นครองราชย์1
เสด็จขึ้นครองราชย์1Beebe Benjamast
 
พระราชประวัติ
พระราชประวัติพระราชประวัติ
พระราชประวัติBeebe Benjamast
 
พระราชทรัพย์1
พระราชทรัพย์1พระราชทรัพย์1
พระราชทรัพย์1Beebe Benjamast
 
พระราชกรณียกิจ พระราชนิพนธ์ และผลงานอื่น1
พระราชกรณียกิจ พระราชนิพนธ์ และผลงานอื่น1พระราชกรณียกิจ พระราชนิพนธ์ และผลงานอื่น1
พระราชกรณียกิจ พระราชนิพนธ์ และผลงานอื่น1Beebe Benjamast
 
ทรัพย์สินส่วนพระองค์1
ทรัพย์สินส่วนพระองค์1ทรัพย์สินส่วนพระองค์1
ทรัพย์สินส่วนพระองค์1Beebe Benjamast
 
ด้านศิลปวัฒนธรรมและวรรณคดี1
ด้านศิลปวัฒนธรรมและวรรณคดี1ด้านศิลปวัฒนธรรมและวรรณคดี1
ด้านศิลปวัฒนธรรมและวรรณคดี1Beebe Benjamast
 
ด้านดนตรี1
ด้านดนตรี1ด้านดนตรี1
ด้านดนตรี1Beebe Benjamast
 
ทรงประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์1
ทรงประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์1ทรงประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์1
ทรงประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์1Beebe Benjamast
 
ด้านศาสนา1
ด้านศาสนา1ด้านศาสนา1
ด้านศาสนา1Beebe Benjamast
 
ด้านการแพทย์1
ด้านการแพทย์1ด้านการแพทย์1
ด้านการแพทย์1Beebe Benjamast
 
ด้านการพัฒนาชนบท2
ด้านการพัฒนาชนบท2ด้านการพัฒนาชนบท2
ด้านการพัฒนาชนบท2Beebe Benjamast
 
ด้านการปกครอง1
ด้านการปกครอง1ด้านการปกครอง1
ด้านการปกครอง1Beebe Benjamast
 

Mehr von Beebe Benjamast (20)

ครูของแผ่นดิน
ครูของแผ่นดินครูของแผ่นดิน
ครูของแผ่นดิน
 
ความหมายของพระนาม
ความหมายของพระนามความหมายของพระนาม
ความหมายของพระนาม
 
การศึกษา1
การศึกษา1การศึกษา1
การศึกษา1
 
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ1
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ1อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ1
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ1
 
อ้างอิง
อ้างอิงอ้างอิง
อ้างอิง
 
ราชตระกูล1
ราชตระกูล1ราชตระกูล1
ราชตระกูล1
 
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก1
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก1พระราชพิธีบรมราชาภิเษก1
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก1
 
เสด็จขึ้นครองราชย์1
เสด็จขึ้นครองราชย์1เสด็จขึ้นครองราชย์1
เสด็จขึ้นครองราชย์1
 
พระราชประวัติ
พระราชประวัติพระราชประวัติ
พระราชประวัติ
 
พระราชทรัพย์1
พระราชทรัพย์1พระราชทรัพย์1
พระราชทรัพย์1
 
พระราชกรณียกิจ พระราชนิพนธ์ และผลงานอื่น1
พระราชกรณียกิจ พระราชนิพนธ์ และผลงานอื่น1พระราชกรณียกิจ พระราชนิพนธ์ และผลงานอื่น1
พระราชกรณียกิจ พระราชนิพนธ์ และผลงานอื่น1
 
ทรัพย์สินส่วนพระองค์1
ทรัพย์สินส่วนพระองค์1ทรัพย์สินส่วนพระองค์1
ทรัพย์สินส่วนพระองค์1
 
ด้านศิลปวัฒนธรรมและวรรณคดี1
ด้านศิลปวัฒนธรรมและวรรณคดี1ด้านศิลปวัฒนธรรมและวรรณคดี1
ด้านศิลปวัฒนธรรมและวรรณคดี1
 
ทรงผนวช1
ทรงผนวช1ทรงผนวช1
ทรงผนวช1
 
ด้านดนตรี1
ด้านดนตรี1ด้านดนตรี1
ด้านดนตรี1
 
ทรงประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์1
ทรงประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์1ทรงประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์1
ทรงประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์1
 
ด้านศาสนา1
ด้านศาสนา1ด้านศาสนา1
ด้านศาสนา1
 
ด้านการแพทย์1
ด้านการแพทย์1ด้านการแพทย์1
ด้านการแพทย์1
 
ด้านการพัฒนาชนบท2
ด้านการพัฒนาชนบท2ด้านการพัฒนาชนบท2
ด้านการพัฒนาชนบท2
 
ด้านการปกครอง1
ด้านการปกครอง1ด้านการปกครอง1
ด้านการปกครอง1
 

จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymose

  • 1. จังหวัด ศรีส ะเกษ --จังงหวัด ศรีส ะเกษ จั หวัด ศรีส ะเกษ --ทรัพ ยากร ทรัพ ยากร --ประวัต ิ ิ ประวัต --ประชากร ประชากร --สัญ ลักษณป ระจําาจังงหวัด สัญ ลักษณป ระจํ จั หวัด --เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ --อาณาเขตติด ตอ อาณาเขตติด ตอ --การคมนาคม การคมนาคม --สถานที่ท องเที่ย ว สถานที่ท องเที่ย ว --การศึกษา การศึกษา --การปกครอง การปกครอง --แหลงงประวัต ิศ าสตร แหล ประวัต ิศ าสตร --ภูม ิอ ากาศ ภูม ิอ ากาศ --กีฬ าา กีฬ --หาางสรรพสิน คาา ห งสรรพสิน ค -- ภูม ิป ระเทศ ภูม ิป ระเทศ -- ชาวศรีส ะเกษที่ช ื่อเสีย งง      ชาวศรีส ะเกษที่ช ื่อเสีย
  • 2.  
  • 3. ศรีสะเกษ แดนปราสาทขอม หอมกระเทียมดี มีสวนสมเด็จ เขต ดงลําดวน หลากลวนวัฒ นธรรม เลิศล้ําสามัคคี จังหวัด ศรีสะเกษ ตราประจํา จัง หวัด ตราผา ผูกคอลูก เสือ ขอมูล ทั่ว ไป ชื่อ อัก ษรไทย ศรีส ะเกษ  ชื่อ อัก ษรโรมัน Si Sa Ket  ผูว า ราชการ นายกองเอกวิลาศ รุจ ิว ัฒ นพงษ (ตั้ง แต พ.ศ. 2553 )ISO 3166-2 TH-33  สีป ระจํา กลุม จังหวัด สีส ม ███  ตน ไมป ระจํา จังหวัด ลํา ดวน  ดอกไมป ระจํา จัง หวัด   ลํา ดวน  ขอมูล สถิต  ิ พื้น ที  8,839.976 ตร.กม. [1] (อัน ดับ ที่ 21)  ่ ประชากร 1,446,345 คน [2] (พ.ศ. 2552) (อัน ดับ ที่ 9)  ความหนาแนน 163.61 คน/ตร.กม. (อัน ดับ ที่ 19) 
  • 4. ศูน ยราชการ  ที่ต ั้ง   ศาลากลางจัง หวัด ศรีส ะเกษ ถนนเทพา ตํา บลเมือ งเหนือ อํา เภอเมือ งศรีส ะเกษ จัง หวัด ศรีส ะเกษ  33000  โทรศัพ ท (+66) 0 4561 1139  เว็บ ไซต จัง หวัด ศรีส ะเกษ    แผนที  ่ จังหวัด ศรีส ะเกษ เปน จัง หวัด หนึ่ง ใน 76 จัง หวัด ของประเทศไทย ตั้งอยูในภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ มีเนื้อ ที่ป ระมาณ 8,840 ตารางกิโลเมตร และมีป ระชากรประมาณ 1.44 ลา นคน มากเปน อัน ดับ ที่ 9 ของประเทศ ประชากรสว นใหญพ ูด ภาษาถิ่น อีส าน ภาษาเขมร(เขมรสูง) และภาษากวย (กูย, โกย, สว ย) ตั้ง ศาลากลางจังหวัด ที่ต ํา บลเมือ งเหนือ อํา เภอเมือ งศรีส ะเกษ จังหวัด ศรีส ะเกษ
  • 5. พัฒ นาการทางประวัต ิศ าสตร จังหวัด ศรีส ะเกษ เริ่ม ขึ้น ในสมัย กรุงศรีอ ยุธ ยาตอนปลาย เมื่อ พ.ศ. 2302 สมเด็จ พระเจา เอกทัศ น โปรดใหย กบา นปราสาทสี่เ หลี่ยมดงลํา ดวนขึ้น เปน เมือ งนครลํา ดวน ตอ มาเมือ งนครลํา ดวนเกิด ภาวะขาดแคลนน้ํา จึงโปรดเกลา ฯ ใหเทครัว ไปจัด ตั้งเมือ งใหมท ี่ริม หนองแตระหา งจากเมือ งเดิม ไป ทางใต เมือ งใหมเรีย ก "เมือ งขุข ัน ธ" หรือ "เมือ งคูข ัณ ฑ" ซึ่งไดแ กอ ํา เภอขุข ัน ธในปจ จุบ ัน ตอ มาพระบาทสมเด็จ พระพุท ธยอดฟา จุฬ าโลกโปรดเกลาฯ ใหแ ยกบา นโนนสามขาสระกํา แพง จากเมือ งขุขน ธ แลว ตั้งเปน เมือ งใหมเรีย ก เมือ งศรีส ะเกศ ั ครั้น รัช สมัย พระบาทสมเด็จ พระปรมิน ทรมหาจุฬ าลงกรณ พระจุล จอมเกลา เจา อยูห ัว ใน พ.ศ. 2455 จึงโปรดใหรวมบา นเมือ งขุข ัน ธ เมือ งศรีส ะเกศ และเมือ งเดชอุด ม เขา เปน เมือ งเดีย วกัน เรีย ก "เมือ งขุข ัน ธ" ซึ่งตอ มาใน พ.ศ. 2459 มีป ระกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อ ง ทรงพระกรุณ าโปรดเกลา ฯ ใหเปลี่ย นคํา วา เมือ งเรีย กวา จังหวัด ลงวัน ที่ 19 พฤษภาคม ปน ั้น เอง[3] เมือ งขุข ัน ธจ ึงเรียกใหมเปน "จังหวัด ขุ ขัน ธ" ตามนั้น ครั้น รัช สมัยพระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรมหาอานัน ทมหิด ล พระอัฐ มรามาธิบ ดิน ทร ในวัน ที11 ่ พฤศจิก ายน พ.ศ. 2481 คณะผูส ํา เร็จ ราชการแทนพระองคไ ดต ราพระราชกฤษฎีก าเปลี่ย นนาม จังหวัด และอํา เภอบางแหง พุท ธศัก ราช 2481[4] มาตรา 3 ใหเปลี่ย นชื่อ "จังหวัด ขุข ัน ธ" เปน จังหวัด ศรีส ะเกษ (เดิม ในพระราชกฤษฎีก าสะกดวา "ศีรษ ะเกษ") นับ แตน ั้น ทั้งนี้ พระราชกฤษฎีกา ดังกลา วมีผ ลใชบ ังคับ ตั้งแตว ัน ที่ 14 พฤศจิก ายน พ.ศ. 2481
  • 6. ประวัติเมือ งศรีสะเกษ       กอ นสมัย กรุงศรีอ ยุธ ยา   ความเปน มาทางประวัต ิศ าสตรข องจัง หวัด ศรีสะเกษกอ นสมัย กรุงศรีอ ยุธ ยา ไมป รากฎ หลัก ฐานแนน อน มีก ารจดบัน ทึก ไวพ อสังเขป สว นมากไดจ ากคํา บอกเลา ของผูสูงอายุเลา ตอ ๆ กัน มา เอาความแนน อนไมไ ดน ัก นัก ประวัต ิศ าสตรแ ละนัก โบราณคดีสัน นิษ ฐานวา พื้น ที่ภ าคอีสานใน ปจ จุบ ัน เคยเปน ที่อ ยูข องพวกละวา และลาว มีแ วน แควน อาณาเขตปกครองเรียกวา"อาณาจัก ร ฟูน ัน" ประมาณป พ.ศ.1100 พวกละวา ที่เคยมีอ ํา นาจปกครอง อาณาจัก รฟูน ัน เสื่อ มอํา นาจลง ขอมเขา มามีอ ํา นาจแทนและตั้ง อาณาจัก รเจนละหรือ อิศ านปุร ะขึ้น พวกละวา ถอยรน ไปทาง เหนือ ปลอ ยใหพ ื้น ที่ภ าคอีส านรกรา งวา งเปลา เปน จํา นวนมาก เขตพื้น ที่จ ัง หวัด ศรีส ะเกษและจัง หวัด ใกลเคีย งจึงถูก ทิ้ง ใหเปน ที่รกรา งและเปน ปา ดง ขอมไดแ บงการปกครองเปน 3 ภาค โดยมีศ ูน ยก ารปกครองอยูท ี่ล ะโว(ลพบุร)ี พิม าย(นครราชสีม า) และสกลนคร มีฐ านะเปน เมือ งประเทศราช ขึ้น ตรงตอ ศูน ย กลางการปกครองใหญท ี่น ครวัด ในยุค ที่ข อมเรือ งอํา นาจ ศรีส ะเกษนา จะเปน ดิน แดนแหง หนึ่งที่ข อมใชเปน เสน ทางไปมาระหวา งเมือ งประเทศราชดัง กลา วแลว เพราะปรากฎโบราณสถานโบราณวัต ถุข องขอมซึ่งกรม ศิล ปากรสํา รวจในจัง หวัด ศรีส ะเกษเมื่อ พ.ศ.2512 จํา นวน 15 แหง ไมรวมเขาพระวิห ารซึ่งเปน เทวะสถานของขอมที่ย ิ่ง ใหญแ หงหนึ่ง นอกจากนี้ย ังมีป ราสาทหิน สระกํา แพงใหญ
  • 7. สระกํา แพงนอ ย ปราสาทลุม พุก ปราสาทบา นทามจาน(บา นสมอ) ปราสาทเยอ ปราสาทโดนต็ว ล (ชอ งตาเฒา อ.กัน ทรลัก ษ) สัน นิษ ฐานวา โบราณสถานเหลา นี้ม ีอ ายุป ระมาณ 1,000 ปเศษ มีอ ยูต ามทอ งที่อ ํา เภอตา งๆ ของจัง หวัด ศรีสะเกษ ขอมคงสรา งขึ้น เพื่อ เปน ที่พ ัก และประกอบพิธ ีท างศาสนาระหวา งเดิน ทางจาก นครวัด นครธมขา มเทือ กเขาพนมดงรัก ษม าสูศ ูน ยก ลางการ ปกครองภาคอีส านทั้ง 3 เมือ งดังกลา วแลว เมื่อ ขอมเสื่อ มอํา นาจลง ไทยเริ่ม มีอ ํา นาจครอบครองดิน แดน เหลา นี้ ขณะเดีย วกัน จัง หวัด ศรีส ะเกษมีส ภาพเปน ปา ดงอยูน าน เพราะแมแ ตส มัยกรุง ศรีอ ยุธ ยาตอนกลางก็ม ิไ ดบ ัน ทึก กลา วถึง จังหวัด ศรีส ะเกษในเอกสารใด เพิ่งจะไดม ีก ารบัน ทึก หลัก ฐานในพงศาวดารกลา วถึงเมือ งสุริน ทรด ว ย สมัย กรุง ศรีอ ยุธ ยา ในสมัย กรุงศรีอ ยุธ ยาอาณาจัก รไทยกวา งขวางมาก มีช าว บา นปา ซึ่งเปน ชนกลุม นอ ย ( MINORITY TRIBE )อาศัยอยูแ ถบ เมือ งอัต ปอ แสนแป แควน จํา ปาสัก ฝงซา ยแมน ้ํา โขง ประเทศ สาธารณรัฐ ประชาธิป ไตยประชาชนลาวปจ จุบ ัน ชนพวกนีเรียก ้ ตัว เองวา "ขา " สว ย" "กวย" หรือ "กุย" อยูใ นดิน แดนของราช อาณาจัก รไทย โดยสมบูร ณ (เพิ่งเสีย ใหฝ รั่งเศสเมื่อ พ.ศ.2436 หรือ ร.ศ.112) พากนี้ม ีค วามรูค วามสามารถในการจับ ชา งปา มา เลี้ย งไวใชงาน ชาวสว ยหรือ ชาวกวยไดอ พยพยา ยที่ท ํา มาหากิน ขา มมาฝง ขวาแมน ้ําโขง เนื่อ งจากชาวเมือ งศรีสัต นาคนหุต (เวีย งจัน ทน) ไดเขา ไปตั้งถิ่น ฐานแยงที่ท ํา มาหากิน ในป พ.ศ.2260 ชาวสว ยไดอ พยพแยกออกเปน หลายพวก ดว ยกัน แตล ะพวกมีห ัว หนา ควบคุม มา เชน เซีย งปุม เซีย งสี เซีย งสง ตากะจะและเซียงขัน เซีย งฆะ เซียงไชย หัว หนา แต ละคนก็ไดห าสมัค รพรรคพวกไปตั้ง รกรากในที่ต า ง ๆ กัน เวีย งปุม อยูท ี่บ า นที เซีย งสีห รือ ตะกะอาม อยูท ี่รัต นบุรี เซีย งสง อยูบ า นเมือ ลีง (อํา เภอจอมพระ) เซีย งฆะ อยูท ี่สังขะ เวีย งไชย อยูบ า นจารพัด (อํา เภอศรีข รภูม)ิ สว นตากะจะและเซียงขัน อยู
  • 8. ที่บ า นปราสาทสี่เหลี่ย มดงลําดวน(บา นดวนใหญป จ จุบ ัน) พวกสว ยเหลา นี้อ ยูรวมกัน เปน ชุม ชนใหญ หาเลี้ย งชีพ ดว ย การเกษตรและหาของปา มาบริโภคใชส อย มีก ารไปมาหาสูต ิด ตอ กัน ระหวา งพวกสว ยอยูเ สมอ มีส ภาพภูม ิป ระเทสติด ตอ เขต กัม พูช า และมีเทือ กเขาพนมดงรัก เปน เสน กัน เขตแดน ปา ดง เขตนี้ม ีฝ ูง สัต วป า อุด มสมบูรณ โขลงชา งพัง ชางพลาย ฝูงเกง กวาง ละมั่งและโคแดงอยูม ากมายตามทุง หญา และราวปา เหมาะ กับ การทํา มาหาเลี้ย งชีพ ของชาวสว ยอยา งยิ่ง ลุ พ.ศ.2302 ปเถาะ จุล ศัก ราช 1181 ตรงกับ สมัย แผน ดิน พระบรมราชาที่ 3 หรือ พระเจา อยูห ัว พระที่นง สุริย ามริน ทร ั่ (พระเจา เอกทัศ น) กษัต ริย อ งคส ุด ทา ยของกรุง ศรีอ ยุธ ยา พระยาชา งเผือ กของพระองคไ ดแ ตกออกจากโรงชา ง ตน ในกรุงศรีอ ยุธ ยา เดิน ทางมาทิศ ตะวัน ออกเฉีย งเหนือ โปรด ใหท หารเอกคูพ ระทัย สองพี่น อ ง (เขา ใจวา สมเด็จ เจา พระยามหา กษัต ริย ศ ึก พระนามเดิม ทองดว ง และกรมพระราชวังบวรมหา สุร สิง หนาท พระนามเดิม บุญ มา) คุม ไพรพ ล 30 นาย ออกติด ตามผา นมาแขวงพิม าย ทราบจากเจา เมือ งพิม ายวา ในดงริม เขา พนมดงรัก มีพ วกสว ยชํา นาญใชการจับ ชา ง เลี้ย งชา ง สองพี่น อ ง กับ ไพรพ ล จึงไดต ิด ตามสองพี่น อ งไปเซียงสีไ ปที่บ า นกุด หวาย (อํา เภอรัต นบุร)ี เซีย งสีจ ึงไดพ าสองพี่น อ งและไพรพ ลไปตามหา เซีย งสง ที่บ า นเมือ งลีง เซียงปุม ที่บ า นเมือ งที เซีย งไชยที่บ า น กุด ปะไท ตากะจะและเซีย งขัน ที่บ า นโคกลํา ดวน เซีย ฆะที่บ า น อัจ จะปะนึง (เขตอํา เภอสังขะ) ทุก คนรว มเดิน ทางติด ตาม พระยาชา งเผือ ก สองพี่น อ งและหัว หนา ปาดงทั้ง หมด ไดต ิด ตาม ลอ มจับ พระยาชา งเผือ กไดท ี่บ า นหนองโชก ไดค ืน มาและนํา สง ถึงกรุง ศรีอ ยุธ ยา ดว ยความดีค วามชอบในครั้งนี้สมเด็จ พระเจา อยูห ัว สริย ามริน ทร จึงทรงพระกรุณ าโปรดเกลา ฯ ตั้งใหห ัว หนา บา นปา ดงมีบ รรดาศัก ดท ั้งหมด ตากะจะหัว หนา หมูบ า นโคกลํา- ดวน ไดเปน หลวงแกว สุว รรณเซีย งขัน ไดเปน หลวงปราบอยูก ับ ตากะจะ
  • 9. ตอ มาหัว หนา หมูบ า นปา ดงทั้ง 5 ไดพ ากัน ไปเฝา สมเด็จ พระ เจา อยูห ัว ณ กรุงศรีอ ยุธ ยา โดยนํา สิ่งของไปทูล เกลา ฯ ถวาย คือ ทาง มา แกน สน ยางสน ปก นก นกระมาด (นอแรด) งาชา ง ขี้ผ ึ้ง น้ํา ผึง เปน การสง สว ยตามพระราชประเพณี สมเด็จ พระเจา อยู ้ หัว พระที่น ั่ง สุริย ามริน ทร ทรงพิจ ารณาเห็น ความดีค วามชอบ เมื่อ ครั้งไดช ว ยเหลือ จับ พระยาชา งเผือ ก และเมื่อ หัว หนา หมูบ า นไดน ํา สิ่งของไปทูล เกลา ฯ ถวาย จึงทรงพระกรุณ าโปรด เกลา ฯ แตง ตั้ง บรรดาศัก ดิ์ใหห ัว หนาหมูบ า นสูงขึ้น ทุก คน ในป พ.ศ.2302 นี้เอง หลวงแกว สุว รรณ(ตากะจะ) บา นโคก ลํา ดวนไดบ รรดาศัก ดิ์เปน เปน พระยาไกรภัก ดีศ รีน ครลํา ดวน มีพ ระบรมราชโองการยกบา นปราสาทสี่เ หลี่ยมดงลํา ดวน ซึ่งเดิม เรีย กวา "เมือ งศรีน ครลํา ดวน" ขึ้น เปน เมือ งขุข ัน ธแ ปลวา "เมือ งปา ดง" ใหพ ระยาไกรภัก ดีศ รีน ครลํา ดวนเปน เจา เมือ งปกครอง สมัย กรุงธนบุรี เมื่อ กรุงศรีอ ยุธ ยาเสีย แกพ มา ในป พ.ศ.2310 แลว สมเด็จ พระเจา กรุงธนบุรี พระเจา ตากสิน มหาราช ไดท รงกอบกูอ ิสรภาพ และทรงตั้งกรุงธนบุรีเปน ราชธานี พ.ศ.2321 ปจ อ จุล ศัก ราช 1140 กรุงศรีสัต นาคนหุต (เวีย งจัน ทน)เปน กบฎตอ ไทย สมเด็จ พระเจา กรุงธนบุรีไ ดโปรดเกลา ฯ ใหสมเด็จ เจา พระยามหา กษัต ริย ศ ึก (พระบามสมเด็จ พระพุท ธยอดฟา จุฬ าโลกมหาราช) กับ เจา พระยาสุร สีย หเปน แมท ัพ ยกขึ้น ไปทางเมือ งพิม ายแมท ัพ สั่งใหเจา เมือ งพิม ายแตง ขา หลวงออกมาเกณฑ า ลังเมือ งประทาย กํ สมัน ต (จัง หวัด สุริน ทร) เมือ งสังฆะ เมือ งขุข ัน ธ เมือ งรัต นบุรี เปน ทัพ บกยกไปตีเมือ งเวีย งจัน ทน เมือ งจํา ปาศัก ดิ์ ไดช ัย ชนะยอมขึ้น ตอ ไทยทั้ง สองเมือ ง กองทัพ ไทย เขา เมือ งเวีย งจัน ทน ไดอ ัญ เชิญ พระแกว มรกต และพระบางพรอ มคุม ตัว นครจํา ปาศัก ดิ์ไ ชยกุม าร กลับ กรุงธนบุรีในการศึก ครั้งนี้เมื่อ เดิน ทางกลับ หลวงปราบ(เซียงขัน) ทหารเอกในกองทัพ ไดห ญิง มา ยชาวลาวคนหนึ่งกลับ มาเปน ภรรยา มีบ ุต รชายติด ตามมาดว ยชื่อ ทา วบุญ จัน ทน พ.ศ.2324 เมือ งเขมรเกิด จราจล สมเด็จ เจา พระยามหากษัต ริย ศ ึก กับ พระยาสุร สีห  ไดรับ พระ บรมราชโองการใหเปน แมท ัพ ยกกองทัพ ไปปราบจราจลครั้งนี้ โดยเกณฑก ํา ลังของเมือ งปะทาย สมัน ต เมือ งขุ-ขัน ธ และเมือ งสังฆะ สมทบกับ กองทัพ หลวงออกไปปราบปราม กองทัพ ไทยยกไปตี
  • 10. เมือ งเสีย มราฐ กํา พงสวาย บรรทายเพชร บรรทายมาศ และเมือ งรูงตํา แรย ํา ชา ง) เมือ งเหลา นี้ย อม (ถ้ แพ ขอขึ้น เปน ขอบขัณ ฑ-สีม า เสร็จ แลว ยกทัพ กลับ กรุงธนบุรี เมื่อ เสร็จ สงครามเวีย งจัน ทน และเมือ งเขมรแลว ไดป ูน บํา เหน็จ ใหแ กเจา เมือ งปะทายสมัน ต เมือ งขุข ัน ธ และเมือ งสังฆะ เลื่อ นบรรดาศัก ดิ์ใ หเปน พระยาใหพ ระยา ทั้งสามเมือ ง เจา เมือ งขุข ัน ธ ไดบ รรดาศัก ดิ์ใหม จากพระยาไกรภักดีศ รีน ครลํา ดวน เปน พระยาขุ ขัน ธภ ัก ดี ในปเดีย วกัน นั้น เอง พระยาขุข ัน ธภ ัก ดี(ตากะจะ) ถึงแกอ นิจ กรรมจึง โปรดใหห ลวงปราบ (เซีย งขัน) ขึ้น เปน พระยาไกรภัก ดีศ รีน ครลํา-ดวน เจา เมือ งขุข ัน ธ ตอ มาเมือ งขุข ัน ธท ี่บ า นปราสาท สี่เหลี่ย มดงลํา ดวนกัน ดารน้ํา พระยาไกรภัก ดีฯ จึงอพยพเมือ งยา ยมาอยูบ า นแตระ (แตระ)ตํา บล หว ยเหนือ ที่ต ั้งอํา เภอขุข ัน ธใ นปจ จุบ ัน สมัย กรุง รัต นโกสิน ทร ลุ พ.ศ.2325 ปข าล จุล ศัก ราช 1144 พระบามสมเด็จ พระพุท ธยอดฟา จุฬ าโลกมหาราช เสด็จ เถลิงถวัล ยราชสมบัต ิ พระยาไกรภัก ดีศ รีน ครลํา ดวน(เซีย งขัน) ไดบ รรดาสัก ดิ์เปน พระยาขุข ัน ธภ ัก ดี ไดม ีใบบอกกราบ บังคมทูล ขอ ตั้งทา วบุญ จัน ทร เปน พระยาไกรภัก ดีศ รีน ครลํา ดวน ผูช ว ยเจา เมือ ง อยูม าวัน หนึ่ง พระ ยาขุข ัน ธภ ัก ดี เผลอเรีย กพระยาไกรภัก ดีฯ(บุญ จัน ทร) วา "ลูก เชลย" พระยาไกรภัก ดีจ ึงโกรธและผูก พระยาบาทภายหลัง มีพ อ คา ญวน 30 คน มาซื้อ โคกระบือ ที่เมือ งขุข ัน ธ พระยาขุข ัน ธภ ัก ดีอ ํา นวย ความสะดวกและจัด ที่พ ัก ใหญ วนตลอดจนใหไ พรน ํา ทางไปชอ งโพย ใหพ วกญวนนํา โค กระบือ ไป ยังเมือ งพนมเปญไดส ะดวก พระยาไกรภัก ดีฯ (บุญ จัน ทร) ไดก ลา วโทษมายังกรุงเทพฯ และโปรด เกลา ใหเรีย กตัว พระยาขุข ัน ธไ ปลงโทษและจํา คุก ไวท ี่ก รุงเทพฯ แลว โปรดเกลา ฯ ใหต ั้งพระยาไกร ภัก ดีฯ -(บุญ จัน ทร) เปน เจา เมือ งขุข ัน ธแ ทนในป พ.ศ.2325 นี้ พระภัก ดีภ ูธ รสงคราม(อุน ) ปลัด เมือ งขุข ัน ธ กราบบังคมทูล ขอแยกจากขุข ัน ธไ ปตั้งที่บ า นโนนสามขาจึงทรงพระกรุณ าโปรดเกลา ฯ ใหย กบา นโนนสามขาขึ้น เปน เมือ ง "ศรีส ระเกศ" ตอ มาป พ.ศ.2328ไดย า ยเมือ งศรีสระเกศจากบา น โนนสามขา มาตั้ง ณ บา นพัน ทาเจียงอีอ ยูในเขตเทศบาลเมือ งศรีส ะเกษทุก วัน นี้ พ.ศ.2342 มีโปรด เกลา ฯ ใหเกณฑก ํา ลังเมือ งสุริน ทร เมือ งขุข ัน ธเมือ งสังฆะ เมือ งละ100 รวม 300 ยกทัพ ไปตีพ มา ซึ่ง ยกมาตั้ง ในเขตนครเชีย งใหม กองทัพ ไทยมิทัน ไปถึง กองทัพ พมา ก็ถ อยกลับ จึงโปรดเกลา ฯให กองทัพ ไทยยกกลับ พ.ศ.2350 ทรงพระราชดํา ริว า เมือ งสุริน ทร เมือ งสัง ฆะ และเมือ งขุข ัน ธ เปน เมือ งเคยตามเสด็จ พระราชดํา เนิน ในการพระราชสงครามหลายครั้งมีค วามชอบมาก จึงโปรดเกลา ฯ ใหท ั้ง 3 เมือ ง ขึ้น ตรงตอ กรุงเทพฯ มีอ ํา นาจชําระคดีไ ดเอง ไมต อ งขึ้น ตอ เมือ งพิม ายเหมือ นแตก อ น พ.ศ.2369 รัช สมัย สมเด็จ พระนั่งเกลา เจา อยูห ัว เจา อนุว งศ เมือ งเวีย งจัน ทนแ ตง ตั้งใหเจา อุป ราช(สี
  • 11. ถาน) กับ เจา ราชวงศเมือ งเวีย งจัน ทรน คุม กองทัพ บกเขา ตีเมือ งรายทางเขา มาจนถึงเมือ ง นครราชสีม า ฝา ยทางเมือ งจํา ปาศัก ดิ์ เจา นครจํา ปาศัก ดิ(์ เจา โย) เกณฑก ํา ลังยกทัพ มาตีเมือ งขุข ัน ธ จับ พระไกรภัก ดีศ รีน ครลํา ดวน (บุญ จัน ทร) เจา เมือ งขุข ัน ธ กับ พระภัก ดีภ ูธ รสงคราม (มานะ) ปลัด เมือ งกับ พระแกว มนตรี(ทศ)ยกกระบัต รกับ กรมการได ฆา ตายทั้ง หมด เจา เมือ งสังฆะ และเมือ ง สุริน ทรห นีไ ดท ัน กองทัพ จํา ปาศัก ดิ์ ตั้งคา ยอยูท ี่บ า นสม ปอ ย แขวงเมือ งขุข ัน ธค า ยหนึ่ง และคา ยอื่น ๆ สี่ค า ย กวาดตอ นครอบครัว ไทยเขมรไปเมือ งจํา ปาศัก ดิ์ จากนั้น มาเมือ งขุข ัน ธ ไมม ีข า ราชการ ปกครอง โปรดเกลา ฯ ใหพ ระยาสังฆะ ไปเปน พระยาไกรภัก ดีศ รีน ครลํา ดวนเจา เมือ ง ใหพ ระไชย เปน พระภัก ดีภ ูธ รสงครามปลัด เมือ ง ใหพ ระสะเทื้อ น (นวน) เปน พระแกว มนตรียก กระบัต รเมือ ง ใหท า ยหลา บุต รพระยาขุข ัน ธ(เซียงขัน) เปน มหาดไทยชว ยกัน รัก ษาเมือ งขุข ัน ธ ตอ ไป จากนั้น มาไดม ีก ารเปลี่ยนแปลงตํา แหนงเจา เมือ งและนามเจา เมือ งหลายครั้ง พ.ศ.2426 รัช สมัย พระบาทสมเด็จ พระจุล จอมเกลา เจา อยูห ัว พระ ยาขุข ัน ธ(ปญ ญา) เจา เมือ งกับ พระปลัด(จัน ลี) ไดน ํา ชา งพัง สีป ระหลาดหนึ่งเชือ กลงมานอ มเกลา ฯ ถวายที่ก รุงเทพฯ พ.ศ.2433 มีส ารตราโปรดเกลา ฯ ใหเมือ งศรีส ระเกศ(ชื่อ เดิม) ไป อยูในบังคับ บัญ ชาของขา หลวงใหญไ ดโปรดใหห ลวงจํา นงยุท ธกิจ(อิม )กับ ขุน ไผทไทยพิท ัก ษ ่ (เกลื่อ น) เปน ขา หลวงเมือ งศรีส ระเกศ พ.ศ.2435 โปรดเกลา ฯ ใหจ ัด รูป การปกครองแบบมณทล เมือ งศรีสiะเกศขึ้น อยูก ับ เมณฑลอีส านกองบัญ ชาการมณฑลอยูท ี่จ ังหวัด อุบ ลราชธาณีพ.ศ.2445 เปลี่ย นชื่อ มณฑลอีส านเปน มณฑลอุบ ลมีเมือ งขึ้น 3 เมือ งคือ อุบ ลราชธานี ขุข ัน ธ และสุริน ทร ไม ปรากฎชื่อ เมือ งศรีส ระเกศสัน นิษ ฐานวา เมือ งศรีส ระเกศถูก ยุบ ลงเปน อํา เภอขึ้น กับ เมือ งขุข ัน ธซ ึ่ง เปน เมือ งเกา มาแตเดิม พ.ศ.2447 ยา ยที่ต ั้งเมือ งขุข ัน ธ (ซึ่งอยูท ี่บ า นแตระ ตํา บลหว เหนือ อํา เภอขุข ัน ธใ นปจ จุบ ัน) มาอยูท ี่ต ํา บลเมือ งเกา(ปจ จุบน คือ ตํา บลเมือ งเหนือ ในเขตเทศบาลเมือ งศรี ั สะเกษในปจ จุบ ัน) และยังคงใชช ื่อ"เมือ งขุข ัน ธ" ยุบ เมือ งขุข ัน ธเดิม เปน อํา เภอหว ยเหนือ(อํา เภอขุ ขัน ธใ นปจ จุบ ัน นี)้ พ.ศ.2459 กระทรวงมหาดไทย มีป ระกาศใหเปลี่ยนชื่อ เมือ งทุก เมือ งเปน จังหวัด เมือ งขุข ัน ธจ ึงเปน เปน จัง หวัด ขุข ัน ธ เมื่อ วัน ที่ 9พฤศจิก ายน พ.ศ.2459 เปลี่ย นผูว า ราชการเมือ งเปน ผูว า ราชการจังหวัด พ.ศ.2481 มีพ ระราชกฤษฎีก า เปลี่ย นชื่อ จัง หวัด ขุข ัน ธ เปน จังหวัด ศรีส ะเกษ ตั้งแตบ ัด นั้น เปน ตน มาจนถึงปจ จุบ ัน    
  • 12.                                                        สัญ ลัก ษณประจําจังหวัด ตราประจํา จัง หวัด  ธงประจํา จัง หวัด ดอกไมป ระจํา จังหวัด(ดอกลํา ดวน) ตน ไมป ระจํา จัง หวัด  (ตน ลําดวน)
  • 13. ตราปราสาทพระวิห าร ตราประจํา จัง หวัด ศรีส ะเกษระหวา ง พ.ศ. 2483 - 2512 • ตราประจํา จังหวัด : รูป ปรางคก ูม ีด อกลํา ดวน 6 กลีบ อยูเ บื้อ งลา ง (เดิม ใชภ าพปราสาทหิน เขาพระวิห ารเปน ตราประจํา จังหวัด มาเปลี่ย นเปน ตราปจ จุบ ัน เมื่อ พ.ศ. 2512[5] • ดอกไมป ระจํา จัง หวัด: ดอกลํา ดวน (Melodorum fruticosum) • ตน ไมป ระจํา จังหวัด: ลํา ดวน (Melodorum fruticosum) • คํา ขวัญ ประจํา จังหวัด: แดนปราสาทขอม หอมกระเทีย มเทียมดี มีส วนสมเด็จ เขตดง ลํา ดวน หลากลว นวัฒ นธรรม เลิศ ล้ํา สามัค คี • สีป ระจํา กลุม จังหวัด สีส ม
  • 14.   อาณาเขตติด ตอ                                                                                  • ทิศ เหนือ ติด ตอ กับ จังหวัด ยโสธร • ทิศ ตะวัน ออก ติด ตอ กับ จังหวัด อุบ ลราชธานี • ทิศ ใต ติด ตอ กับ ราชอาณาจัก รกัม พูช า • ทิศ ตะวัน ตก ติด ตอ กับ จัง หวัด สุริน ทรและจังหวัด รอ ยเอ็ด
  • 15. สถานที่ทอ งเที่ยวประเภทแหลงวัตถุโบราณ และวัด วัด สระกํา แพงใหญ  นารายณบ รรทมสิน ธุน อนตะแคงซา ย และตัว นาคเปน แบบบาปวน และที่เทา ของ  พระนารายณ จะมีศ ักติ 2 องค คือ  นางลักษมี และนางภูม ิ วัด สระกํา แพงใหญ  ปราสาทแหง นี้ไ ดพ บทับ หลัง ประมาณ 9  ชิ้น  และชิ้น ที่ส ํา คัญ สัน นิฐ านวา เปน ของปรางคอ งคท ิศ เหนือ เปน รูป คชลัก ษมี  ซึ่ง ไมค อ ยพบในประเทศไทย การสลัก เปน รูป คชลัก ษมี หมายถึง  ความอุด ม สมบูร ณ คชลัก ษมีม ีล ัก ษณะเปน รูป ชา ง 2 ตัว หัน หนา เขา หากัน และงวงประสานกัน เปน รูป วงกลม ภายในรูป พระนางลักษมี สํา หรับ หลัง ที่ป รางคอ งคป ระธานจะสลักเปน รูป พระอิน ทรท รงชา ง เอราวัณ  และสํา หรับ ทับ หลัง ชิ้น อื่น  ๆ เชน  พระกฤษณะประลองกํา ลัง ตา ง ๆ นา ๆ  
  • 16. วัด สระกํา แพงใหญ  ตั้ง อยูท ี่ หมูท ี่ 1 บา นสระกํา แพงใหญ ต.สระกํา แพงใหญ  อ.อุท ุม พรพิส ัย  จ.ศรีส ะเกษ   กอ สรา งประมาณกลางพุท ธศตวรรษที่ 1 6 ถึง พุท ธศตวรรษที่ 16 ตอนปลายเปน ศาสนสถาน  ในศาสนาพราหมณ ลัท ธิไ ศวนิกาย และจากการพบเทพนพเคราะหช ิ้น หนึ่ง สัน นิษ ฐานวา ใชง าน  สะเดาะห ใชว างอดกบัว แตล ะดอก และก็พ บพระพุท ธรูป นาคปรกองคห นึ่ง เปน ศิล ปแบบนายน   จึง อาจสัน นิษ บานไดว า เมื่อ พน สมัย ศาสนาพราหมณไ ปแลว คือ สมัย พระเจา ชัย วรมัน ที่ 7   ที่เขา มาปกครองแถบนี้ก็เปลี่ย นศาสนาจากศาสนาพราหมณเปน ศาสนาพุท ธมหายาน   กูส มบูร ณ  อยูบ ริเวณบา นหนองคูใหญ ตํา บลเปา ะ อํา เภอบึง บูร พ จัง หวัด ศรีส ะเกษ เปน ปราสาทสามหลัง บน ฐานศิล าแลงเดีย วกัน ปราสาทกอ นดว ยศิลาแลงรว มกับ อิฐ  กอ ดว ยศิล าแลง  ดา นใน หัน หนา ไปทางทิศ ตะวัน ออก ตัว ปราสาททั้ง หมดลอ มรอบดว ยคูน ้ํา รูป เกือ กมา เวน ทางเขา   ดา นทิศ ใต สัน นิษ ฐานวา ปราสาทแหง นี้ค งจะสรา งขึ้น ราวพุท ธศตวรรณที่ 1 7 ปจ จุบ ัน กรมศิลปากร   ไดข ึ้น ทะเบีย นและบูร ณะซอ มแซม ตํา บลเปา ะ อํา เภอบึง บูร พ จัง หวัด ศรีส ะเกษ   พระพุท ธบาทภูฝ า ย  ตั้ง อยูท ี่ หมูท ี่ 1 บา นภูฝ า ย ต.ภูฝ า ย อ.ขุน หาญ จ.ศรีส ะเกษ พระพุท ธบาทภูฝ า ย ตั้ง อยูบ นเขาภูฝ า ย  โดยการสรา งจํา ลองขึ้น ของพระในวัด บนภูเขาภูฝ า ยขนาดกวา ง 1  เมตร ยาว 2 เมตร ในทุก ๆ ป   จะมีร าษฎรจากตํา บลตา ง ๆ ไปทํา บุญ และกราบไหวเปน ประจํา ทุกป ปจ จุบ ัน บนเขาภูฝ า ย  ไดจ ดทะเบีย นจากกรมศิล ปากร พื้น ที่ 1,415 ไรเปน แหลง ทอ งเที่ย วที่อ ยูบ นภูเขาสูง  มีส ํา นัก 
  • 17. สงฆ 1 แหง พระภิก ษุ 2 รูป  สระน้ํา ที่เกิด ขึ้น เองตามธรรมชาติ และรอยพระพุท ธบาทจํา ลอง   ตลอดจนสัต วป า  เชน ลิง  วัด ปา มหาเจดีย แ กว  (วัด ลา นขวด)  ตั้ง อยูห มูท ี่ 2 บา นดอน ต.โนนสูง  อ.ขุน หาญ จ.ศรีส ะเกษ ไดกอ สรา งเมื่อ ป  พ.ศ. 2524 โดยมีพ ระครู วิเวกธรรมจารย (รอด) ถิร คุโ ณ เปน เจา อาวาสองคแ รกจนถึง ปจ จุบ ัน พื้น ที่  บริเวณวัด  18 ไร พระภิก ษุ 8 รูป  สิ่ง ปลูก สรา งมีอ ุโ บสถ (ริม น้ํา) 1 หลัง ศาลาการเปรีย ญ   1 หลัง  กุฎ ิ 8 หลัง    ศาลาเอนกประสงค 1 หลัง  เปน ศาสนสถาน และสิ่ง กอ สรา ง ในบริเวณวัด ประดับ ตกแตง ดว ยขวดแกว  หลากสีห ลาย  แบบนับ ลา น ๆ ขวด ในแตล ะวัน จะมีน ักทอ งเที่ย วมาเยี่ย มชม และรว มทํา บุญ เปนจํา นวนมาก วัด บา นพราน (วัด สุพ รรณรัต น)   เปน วัด เกา แกข องตํา บลพราน โดยมีจ ํา นวนหมูบ า น 5  หมูบ า น รว มกิจ กรรม และเปน สถานที ่ ที่จ ัด งานบุญ ของตํา บลพราน เชน  ประเพณีส ารทเขมร (แซนโดนตา) มีท ับ หลัง นารายณบ รรทมสิน  
  • 18. วัด สํา โรงเกีย รติ (หลวงพอ ตาตน)  เปน พระพุท ธรูป เปน ที่เคารพสัก การะของชาวอํา เภอขุน หาญ มีช าวบา นไปบนบานศาล  กลา วใหท า นชว ย คลายทุกข ดับ โศก พน ภัย แตล ะปมีมาก  ปราสาทปรางคก ู ตั้ง อยูท ี่บ า นกู อ.ปรางคก ู หา งจากตัง จัง หวัด ศรีส ะเกาประมาณ 7 0 กิโ ลเมตร ปรางคอ งคน ี้ส รา งดว ย แผน อิฐ เรืย งเปน โต ๆ เหมือ นปราสาทศรีข รภูม ิ จัง หวัด สุร ิน ทร  ซึ่ง เปน ศาสนสถานสมัย ขอมที่เ กา แกม ากมีอ ายุกวา พัน ปห นา บริเวณปรางคกูมีส ระ  น้ํา กวา งยาวประมาณ 1 กิโ ลเมตร เปน ทํา เลพักหากิน ของนกพัน ธุต า ง ๆ ฝูง ใหญ  ปราสาทปรางคก ู พระพุท ธเจดีย ไ พรพึง  ตํา บลไพรบึง  อํา เภอไพรบึง จัง หวัด ศรีส ะเกษ 
  • 19. หลวงพอ ปูน ปน  วัด บา นไพรบึง   เปน ที่ป ระดิษ ฐานพระพุท ธเจดีย ไ พรบึง ซึ่ง รูป แบบสถาปต ยกรรมตามแบบ พุท ธคยา  ของอิน เดีย  ภายในองคพ ระธาตุบ รรจุพ ระบรมสารีร ิกธาตุ เปน ที่ส ัก การะของชาวศรีส ะเกษ   นอกนั้น ยัง มีโ บสถเ กา  อายุร าว 5 0 ป รูป แบบสถาปต ยกรรมของชา งเขมรโบราณ   สวยงามมากภายในประดิษ ฐานพระพุท ธรูป ปูน ปน ถือ เปน สิ่ง ศักดิ์ส ิท ธิ์ป ระจํา อํา เภอไพรบึง   วัด บูร พามหาพุท ธาราม   เปน วัด เกา แก  เปน ที่น ับ ถือ ของคนในตํา บล ภายในบริเวณวัด จะมีต น ไมใหญ รม รื่น   และมีพ ระพุท ธรูป ศักดิ์ส ิท ธิ์ คูบ า นคูเมือ งอายุห ลายรอ ยป ตั้ง อยูท ี่ ม. 4 บา นพราน  ต.หว ยเหนือ  อ.ขุข ัน ธ จ.ศรีส ะเกษ   วัด ถ้ํา สระพงษ  วัด ถ้ํา สระพงษต ั้ง อยูภ ายในโครงการทับ ทิมสยาม 0 6 บา นนาจะเรีย  หมูท ี่ 13  
  • 20. อยูท างทิศ ใตข องตํา บลตั้ง อยูบ นเทือ กเขาพนมรัก มีท ัศ นีย ภาพที่ส วยงาม ภาย  ในวัด มีน ้ํา ตก และถ้ํา  วัด ถ้ํา สระพงษ  พุท ธสถานศีร ษะอโศก  ตั้ง อยูห มูท ี่ 15 บา นศีร ษะอโศก ตํา บลกระแซง อํา เภอกัน ทรลัก ษ จัง หวัด ศรีส ะเกษ   ใชเปน สถานที่ท อ งเที่ย ว และศึก ษาดูง าน   พุท ธสถานศีร ษะอโศก  พระธาตุเ รือ งรอง  ตั้งอยูท ี่ หมูท ี่ 3 บานสรางเรือ ง ต.หญาปลอ ง อ.เมือ งศรีส ะเกษ จ.ศรีส ะเกษ   เปน พระธาตุท ี่ส รางแบบศิล ปะพื้น บาน สูง 49 เมตร แบงออกเปน  6 ชั้น  ชั้น ที่ 1   ใชส ําหรับ ประกอบพิธ ีท างศาสนา ชั้น ที ่ 2 - 3 ทําเปน พิพธ ภัณ ฑพ ื้น บานชนสีเ ผา  ิ ของศรีส ะเกษ คือ  เขมร สว ย ลาว เยอ ชั้น ที่ 4 ประดิษ ฐานพระพุท ธรูป สําคัญ  ชั้น ที่ 5    ใชส ําหรับ การทําสมาธิ ชั้น ที่ 6  เปนที่ป ระดิษ ฐานพระบรมสารีริก ธาตุ และเปน ที่ช ม  ทัศ นียภาพของพื้น ที ่  
  • 21. ภาพสลักหิน นูน ต่ํา อยูบ ริเวณ ผามออีแ ดง อ.กัน ทรลัก ษ  ภาพสลักหิน นูน  ต่ํา ศิล ปะเขมรอายุร าวศตวรรษที   ่ 15 สัน นิษ ฐานวา เกา แกท ี่ส ุด ใน ประเทศไทย ปรางคศ ิลาชอ งโดนตวล ตั้ง อยูร ิมหนา   ผาสูง ชัน  บนเทือ กเขาพนมดงรัก ใกลเขตแดนไทย-กัมพูช า หา งจากบา นภูมิซ รอลไป 8  กิโ ลเมตร  หรือ หา งจากตัว อํา เภอกัน ทรลักษณ ประมาณ38 กิโ ลเมตร เปน ปราสาทขอมขนาดเล็กประกอบ  ดว ยปรางคร ูป สี่เหลี่ย มยอ มุม  กอ ดว ยอิฐ  ซุม ประตูกอ ดว ยศิลา และมีร ูป สิง โตจํา หลักอยูห นา ปราสาท     สถานที่ท อ งเที่ย วประเภทแหลง ธรรมชาติ หว ยตะวัน  หว ยตะวัน อยูในเขตตํา บลบึง มะลู ติด กับ ตํา บลรุง เปน หว ยที่เพิ่ง คน พบเปน  หว ยที่ม ีน ้ํา ไหลลัก ษณะคลา ยน้ํา ตาก  พลาญจํา ปา  มีเ นื้อ ที่ป ระมาณ 184 ไร 3 งาน 56 ตารางวา เปน ที ่ นสล.ของหมูบ า นคลองทราย 
  • 22. หมู7  มีพ ลาญหิน กวา งใหญ  สวยงาม มีพ ืช พรรณตน ไมห ลากหลายชนิด    นอกจากนี้ย ัง มีเปง หิน ทีส วยงามรูป ทรงตา งๆ มีถ้ํา และมีห นา ผา   ่ จุด ชุม วิว ที่ส วยยิ่ง เหมาะแกการพัฒ นาปรับ ปรุง สภาพแวดลอ มใหเปน แหลง  ทอ งเที่ย วเชิง อนุร ัก ษข องตํา บลรุง ตํา บลรุง  อํา เภอกัน ทรลัก ษ จัง หวัด ศรีส ะเกษ  อา งเก็บ น้ํา หว ยตามาย  อา งเก็บ น้ํา หว ยตามาย ตั้ง อยูท ี่  ม. 2 บา นตูมนอ ย ต. ภูเงิน  มีท ัศ นีย ภาพที่ส วยงาม   มีบ ริเวณลอ มรอบดว ยทิว ทัศ นอ ัน สวยงามจะมีเรือ ชาวบา นหาปลา มีป ลาน้ํา จืด หลายชนิด  อา งเก็บ น้ํา หว ยตามาย   ตั้ง อยูห มูท ี่ 6 บา นโนนจิก ตํา บลกระแชง เปน สถานที่พ ัก ผอ นรับ ประทานอาหาร   ตํา บลกระแชง อํา เภอกัน ทรลักษ จัง หวัด ศรีส ะเกษ   หาดสํา ราญ  มีแ หลง น้ํา ธรรมชาติใสสะอาด ชายหาดสวยงาม มีจ ัก รยานน้ํา ไวบ ริการใหน ักทอ ง  เที่ย วชมธรรมชาติร อบ ๆ หาด ชว งเทศกาลสงกรานต มีการจัด การแขง ขัน วอลเลย  บอลชายหาด บรรยากาศเหมาะสํา หรับ พัก ผอ นหยอ นใจตํา บลโนนสํา ราญ  อํา เภอกัน ทรลัก ษ จัง หวัด ศรีส ะเกษ  
  • 23. ฝายหนองหญา ลาด  ฝายหนองหญา ลาด มีเนื้อ ที่ป ระมาณ 3 36 ไร ตั้ง อยูท ี่ห มูท  ี่ 13 บา นหนองหญา  ลาดพัฒ นา เปน ที่เก็บ น้ํา สํา หรับ ทํา การเกษตรและเพาะปลูก เหมาะสํา หรับ  เปน แหลง ทอ งเที่ย วและพัก ผอ นบรรยากาศดีส งบ ตํา บลหนองหญา ลาด  อํา เภอกัน ทรลัก ษ จัง หวัด ศรีส ะเกษ   อุท ยานแหง ชาติเขาพระวิห าร  ตั้ง ขึ้น ในป  พ.ศ.2542 โดยมีอ าณาเขตติด พื้น ที่ต ํา บลเสาธงชัย  มีแ หลง ทอ ง  เที่ย วที่ส ํา คัญ คือ ผามออีแ ดง ปราสาทโดนตรอน และเปน เสน ทางผา นเขา ชม  ปราสาทเขาพระวิห าร ประเทศกัม พูช า ตํา บลเสาธงชัย  อํา เภอกัน ทรลัก ษ จัง หวัด ศรีส ะเกษ   อา งเก็บ น้ํา หว ยขนุน  เปน อา งเก็บ น้ํา ขนาดเล็ก  บรรจุป ริม าณน้ํา  1 0 ลูกบาศกเ มตร ตั้ง อยูเขตบา นดา นใต  หมูท ี่ 2 ตํา บลภูผ าหมอก อยูใ นเขตอุท ยานแหง ชาติเขาพระวิห ารจัด เปน แหลง ทอ ง  เที่ย วที่ส ํา คัญ ของตํา บลภูผ าหมอกมีท ัศ นีย ภาพที่ส วยงาม ตน ไมห ลากหลายนานาพัน ธ   พรอ มมีพ ลาญหิน  ซึ่ง มีอ ายุไ มน อ ยกวา  1 00 ป มีเทือ กเขาลอ มรอบ ซึ่ง สวยงามมาก  ตํา บลภูผ าหมอก อํา เภอกัน ทรลัก ษ จัง หวัด ศรีส ะเกษ   เขื่อ นหว ยขนุน    ประกอบกับ อุท ยานแหง ชาติ ไดกํา หนดใหเปน แหลง ทอ งเที่ย ว  
  • 24. โดยมีป ระชาชนทั่ว สารทิศ ไดม าเที่ย วชมปละไมน อ ยกวา  2 0,000 คน   ตํา บลภูผ าหมอก อํา เภอกัน ทรลัก ษ จัง หวัด ศรีส ะเกษ   สถานีเพาะพัน ธส ัต วป า  ตั้ง อยูภายในโครงการทับ ทิม สยาม 06 บา นนาจะเรีย หมู1 3 อยูท างทิศ ใตข องตํา บลตั่ง อยูบ นเทือ กเขา พนมดงรักระยะทางหา งจากอํา เภอขุข ัน ธ ประมาณ 18 กิโ ลเมตรตํา บลปรือ ใหญ  อํา เภอขุข ัน ธ  จัง หวัด ศรีส ะเกษ   หนองสะอาด  อยูท ี่ห มู 12 บา นสะอาง ต.หว ยเหนือ  เปน หนองน้ํา ที่มีข นาดใหญ และเปน หนอง  ที่เกา แกแ หง หนึ่ง ของอํา เภอขุข ัน ธ หรือ ของตํา บลหว ยเหนือ และยัง เปน แหลง หา  ปลาของคน ในชุม ชน บรรยากาศรม รื่น  ตํา บลหว ยเหนือ  อํา เภอขุข ัน ธ จัง หวัด ศรีส ะเกษ   หนองใหญ   มีพ ื้น ที่อ ยูบ ริเวณ บา นสวาย หมูท ี่ 2  ตํา บลไพรบึง  อํา เภอไพรบึง จัง หวัด ศรีศ รีส ะเกษ  หา งจากที่ว า การประมาณ 2  กิโ ลเมตร เนื้อ ที่ป ระมาณ 100 ไร  เปน แหลง อาศัย นกเปด   น้ํา นับ แสนตัว ในฤดูห นาว มีถ นนรอบหนองสํา หรับ เปน สถานที่อ อกกํา ลัง กายหรือ พัก  ผอ นของชาวไพรบึง  ตํา บลไพรบึง อํา เภอไพรบึง  จัง หวัด ศรีส ะเกษ  
  • 25. น้ํา ตกสํา โรงเกีย รติ  ตั้ง อยูห มูท ี่ 5 บา นสํา โรงเกีย รติ ต.บักดอง อ.ขุน หาญ จ.ศรีส ะเกษ เดิมชื่อ วา  น้ํา ตกปศ าจ   เรีย กตามชื่อ หนว ยทหารพรานที่ม ีส มญานาม พ.ศ. 2519 ตอ มาในป พ.ศ. 2524   ไดป รับ ปรุง ใหเปน สถานที่ท ทอ งเที่ย ว และไดเปลี่ย นชื่อ เปน น้ํา ตกสํา โรงเกีย รติ ตาม  ชื่อ หมูบ า นสํา โรงเกีย รติ โดยมีแ หลง กํา เนิน มาจากภูเขากัน ทุง บนเทือ กเขาบรรทัด เปน น้ํา ตก  ขนาดกลางที่ง ดงามแหง หนึ่ง ของจัง หวัด ศรีส ะเกษ  หนองกราม  เปน หนองน้ํา ขนาดใหญท ี่เ กิด ขึ้น จากธรรมชาติ มีพ ื้น ที่เก็บ น้ําประมาณ 1,300 ไร   เปน แหลง อาศัย ของสัต วน ้ํา และนกจํา นวนมาก ปจ จุบ ัน อยูในความดูแ ลสของกรมชลประทาน   เขื่อ นตาจู  เขื่อ นตาจู สรา งเมื่อ ป 2532 เปน แหลง ทอ งเที่ย วและเพาะพัน ธุป ลาน้ํา จืด  เนื้อ ที่บ รรจุน ้ํา  ได 13,000 ไร 2,200,000 ลม.ม. สง น้ํา ตามคลองสง น้ํา  ระยะทาง 8  กม. ครอบคลุม  พื้น ที่การเกษตร ต.โนนสูง  ต.กัน ทรอม,ต.หว ยจัน ทร ตํา บลภูฝ า ย อํา เภอขุน หาญ จัง หวัด ศรีส ะเกษ  
  • 26. น้ํา ตกหว ยจัน ทร  ตั้ง อยูท ี่ หมูท ี่ 5 บา นน้ํา ตกหว ยจัน ทร ต.หว ยจัน ทร อ.ขุน หาญ จ.ศรีส ะเกษ น้ํา ตกหว ยจัน ทร  หรือ น้ํา ตกกัน ทรอม มีต น กํา เนิน จากเทือ กเขาบรรทัด  บริเวณเขาเสลา (ภูเ สลา) แลว ไหลลง  สูแ มน ้ํา มูลที ่ อ.เมือ ง จ.ศรีส ะเกษ เดิม ภายในบริเวณมีต น จัน ทรแ ดง และจัน ทรข าวขึ้น อยู  หนาแนน น้ํา ตกหว ยจัน ทรเปน น้ํา ตกที่ส วยงาม และมีน ้ํา ตลอดทั้ง ป บริเวณโดยรอบรมรื่น  ดว ยพัน ธุไ มน านาชนิด  แกง พระพุทธบาท  ตั้ง อยูห มูท ี่ 8 บา นโนน ตํา บลรัง แรง  อํา เภออุท ุม พรพิส ัย จัง หวัด ศรีส ะเกษ ซึ่ง อยูต าม  ลํา นํา มูล กับ ตํา บลสม ปอ ย อํา เภอราษีไ ศล จัง หวัด ศรีส ะเกษ หา งจากตัว จัง หวัด ประมาณ 2 0 กม.   เปน สถานที่ท อ งเที่ย วที่ส วยงามตามธรรมชาติม ีแ กง หิน สวยงามมากมาย บรรยากาศรมรื่น   เหมาะแกการทอ งเที่ย วพัก ผอ น     น้ํา ตกนาตราว  เปน น้ํา ตกที่เพิ่ง คน พบ มีค วามอุด มสมบูร ณข องธรรมชาติมาก น้ํา ตกสวยงาม   บรรยากาศนา ทอ งเที่ย ว ตํา บลดงรัก อํา เภอภูส ิง ห จัง หวัด ศรีสะเกษ          หนองบัว ดง  ตั้ง อยูห มูท ี่ 1 ตํา บลหนองบัว ดง กิ่ง อํา เภศิล าลาด จัง หวัด ศรีส ะเกษ เปน แหลง ทอ งเที่ย ว   พัก ผอ นหยอ นใจ และเปน ที่อ อกกํา ลัง กายของประชาชน   
  • 27. การปกครอง               แผนที่อ ํา เภอในจัง หวัด ศรีสะเกษ จังหวัด ศรีส ะเกษแบงการปกครองออกเปน 22 อํา เภอ 206 ตํา บล และอีก 2,557 หมูบ า น อํา เภอไดแ ก 1. อํา เภอเมือ งศรีส ะเกษ 2. อํา เภอยางชุม นอ ย 3. อํา เภอกัน ทรารมย 4. อํา เภอกัน ทรลัก ษ 5. อํา เภอขุข ัน ธ 6. อํา เภอไพรบึง 7. อํา เภอปรางคก ู 8. อํา เภอขุน หาญ 9. อํา เภอราษีไ ศล
  • 28. 10. อํา เภออุท ุม พรพิสัย 11. อํา เภอบึงบูรพ 12. อํา เภอหว ยทับ ทัน 13. อํา เภอโนนคูณ 14. อํา เภอศรีรัต นะ 15. อํา เภอน้ํา เกลี้ย ง 16. อํา เภอวังหิน 17. อํา เภอภูสิงห 18. อํา เภอเมือ งจัน ทร 19. อํา เภอเบญจลัก ษ 20. อํา เภอพยุห  21. อํา เภอโพธิ์ศ รีสุว รรณ 22. อํา เภอศิล าลาด การปกครองสว นทอ งถิ่น องคก รปกครองสว นทอ งถิ่น (อปท.) ประกอบดว ย องคก ารบริห ารสว นจัง หวัด 1 แหง เทศบาลเมือ ง 2 แหง เทศบาลตํา บล 18 แหง และองคก ารบริห ารสว นตํา บล 196 แหง • องคก ารบริห ารสว นจัง หวัด ศรีส ะเกษ • เทศบาลเมือ งศรีส ะเกษ • เทศบาลเมือ งกัน ทรลัก ษ
  • 29. รายพระนามและรายนามผูว า ราชการจังหวัด รายพระนามและรายนาม ปท ี่ด ํา รงตํา แหนง 1. พระยาบํา รุงบุรประจัน ทต (จัน ดี) พ.ศ. 2450 – พ.ศ. 2452 2. พระยาประชากิจ (ทับ มหาเปาระยะ) พ.ศ. 2452 – พ.ศ. 2454 3. พระยาวิเศษสิง หนาท (ปว บุญ นาค) พ.ศ. 2454 – พ.ศ. 2456 4. รอ ยเอก พระอิน ทรป ระสิท ธิศ ร (เชื้อ ทองอุท ัย) พ.ศ. 2456 – พ.ศ. 2457 5. อํา มาตยต รี หมอ มเจา ถูก กวิล สุข สวัส ดิ์ พ.ศ. 2457 – พ.ศ. 2459 6. อํา มาตยโท พระภัก ดีศ รีส ุน ทรราช (ดิศ โกมลบุต ร) พ.ศ. 2459 – พ.ศ. 2461 7. อํา มาตยเอก พระยาวิเศษชัย ชาญ (ชอุม อมัต ติรัต น) พ.ศ. 2461 – พ.ศ. 2465 8. อํา มาตยโท พระยานครพระราม (สวัสดิ์ มหากายี) พ.ศ. 2465 9. อํา มาตยโท พระวิส ุท ธราชรังสรรค (ใหญ บุญ นาค) พ.ศ. 2465 – พ.ศ. 2472 10. อํา มาตยต รี พระยาประชากิจ กรจัก ร (ชุบ โอสถานนท) พ.ศ. 2472 – พ.ศ. 2473 11. อํา มาตยโท พระศรีว ิช ัย บริบ าล (สวัสดิ์ ปท มดิล ก) พ.ศ. 2473 – พ.ศ. 2478 12. หลวงศรีราชรัก ษา (ผิว ชาศรีรัฐ) พ.ศ. 2478 – พ.ศ. 2481 13. พระศรีราชสงคราม (ศรีส ุข วาที) พ.ศ. 2481 14. พระบริรัก ษภ ูธ ร (เพิ่ม ขนิษ ฐายนต พ.ศ. 2482 – พ.ศ. 2483 15. หลวงปริว รรควรจิต ร (จัน ทร เจริญ ไชยา) พ.ศ. 2484 – พ.ศ. 2485 16. นายชอบ ชัย ประภา พ.ศ. 2485 – พ.ศ. 2488
  • 30. 17. ขุน บํา รุง รัต นบุรี (ปกรณ จุฑ ะพุท ธิ) พ.ศ. 2488 – พ.ศ. 2489 18. นายศิริ วรนารถ พ.ศ. 2489 – พ.ศ. 2490 19. นายเติม ศิล ป พ.ศ. 2490 – พ.ศ. 2492 20. นายพิน ิต โพธิพ ัน ธ พ.ศ. 2492 – พ.ศ. 2495 21. ขุน วัฒ นานุรัก ษ (ประจัก ษ วงศรัต น) พ.ศ. 2495 – พ.ศ. 2498 22. นายกิต ิ ยธการี พ.ศ. 2498 – พ.ศ. 2500 23. นายจาด อุรัส ยะนัน ทน พ.ศ. 2500 – พ.ศ. 2501 24. นายวรวิท ย รังสิโ ยทัย พ.ศ. 2501 – พ.ศ. 2504 25. นายรัง สรรค รัง สิก ุล พ.ศ. 2504 – พ.ศ. 2512 26. นายกํา เกิง สุรการ พ.ศ. 2512 – พ.ศ. 2514 27. นายประมวล รัง สิค ุต พ.ศ. 2514 – พ.ศ. 2516 28. นายเชื้อ เพ็ช รชอ พ.ศ. 2516 – พ.ศ. 2517 29. นายพิศ าล มูล ศาสตรสาทร พ.ศ. 2517 – พ.ศ. 2518 30. นายกรี รอดคํา ดี พ.ศ. 2518 – พ.ศ. 2521 31. นายสมบูรณ ไทยวัช รามาศ พ.ศ. 2521 – พ.ศ. 2524 32. เรือ ตรี ดนัย เกตุส ิริ ร.น. พ.ศ. 2524 – พ.ศ. 2528 33. นายจํา ลอง ราษฎรป ระเสริฐ พ.ศ. 2528 – พ.ศ. 2531 34. นายธวัช โพธิส ุน ทร พ.ศ. 2531 – พ.ศ. 2533 35. รอ ยตรี สมจิต ต จุล พงษ พ.ศ. 2533 – พ.ศ. 2535 36. นายอุท ัย พัน ธุ สงวนเสริม ศรี พ.ศ. 2535 – พ.ศ. 2536
  • 31. 37. นายจิโรจน โชติพ ัน ธุ พ.ศ. 2536 – พ.ศ. 2540 38. นายพจน ใจมั่น พ.ศ. 2540 – พ.ศ. 2542 39. นายโกสิน ทร เกษทอง พ.ศ. 2542 – พ.ศ. 2544 40. นายสุจ ริต นัน ทมนตรี พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2545 41. นายสวัส ดิ์ ศรีส ุว รรณดี พ.ศ. 2545 – พ.ศ. 2546 42. นายถนอม สงเสริม พ.ศ. 2546 – พ.ศ. 2548 43. นายสัน ทัด จัต ุช ัย พ.ศ. 2548 – พ.ศ. 2550 44. นายกอ งเกีย รติ อัค รประเสริฐ กุล พ.ศ. 2550 45. นายเสนีย  จิต ตเกษม พ.ศ. 2550 – พ.ศ. 2552 46. นายระพี ผอ งบุพ กิจ พ.ศ. 2552 – พ.ศ. 2553 47. นายกองเอก วิล าศ รุจ ิว ัฒ นพงศ พ.ศ. 2553 – ปจ จุบ ัน การเลือ กตั้ง จังหวัด ศรีส ะเกษ แบงเขตเลือ กตั้งออกเปน 3 เขต มีจ ํา นวนสมาชิก สภาผูแ ทนราษฎรทั้ง สิ้น 9 คน โดยแตล ะเขตแบงออกดัง นี้ • เขต 1 ประกอบดว ย อํา เภอเมือ งศรีส ะเกษ อํา เภอยางชุม นอ ย อํา เภอกัน ทรารมย อํา เภอโนนคูณ อํา เภอพยุห  อํา เภอราษีไ ศล อํา เภอศิล าลาด อํา เภอบึงบูรพ และอํา เภอโพธิ์ศ รีสุว รรณ • เขต 2 ประกอบดว ย อําเภอเมือ งจัน ทร อํา เภออุท ุม พรพิสัย อํา เภอหว ยทับ ทัน อํา เภอวัง หิน อํา เภอ ปรางคก ู อํา เภอขุข ัน ธ และอํา เภอภูส ิง ห • เขต 3 ประกอบดว ย อํา เภอกัน ทรลัก ษ อํา เภอขุน หาญ อํา เภอไพรบึง อํา เภอศรีรัต น อํา เภอเบญจ ลัก ษ และอํา เภอน้ํา เกลี้ย ง    
  • 32. ภูมิอากาศ ลัก ษณะภูม ิอ ากาศโดยทั่ว ไปของจัง หวัด ศรีส ะเกษ มีอ ากาศรอ นจัด ในฤดูรอ นและคอ นขา งหนาวจัด ในฤดูห นาว สว นฤดูฝ นจะมีฝ นตกหนัก ในเดือ นกัน ยายน โดยมัก จะตกหนัก ในพื้น ที่ต อนกลางและ ตอนใตข องจัง หวัด สว นพื้น ที่ท างตอนเหนือ ของจัง หวัด จะมีป ริม ารฝนตกนอ ย และไมค อ ย สม่ํา เสมอ โดยเฉลี่ยแลว ในปห นึ่ง ๆ จะมีฝ นตก 100 วัน ปริม าณฝนเฉลี่ย 1,200-1,400 มิล ลิเมตรตอ ป อุณ หภูม ิต ่ํา สุด ประมาณ 10 องศาเซลเซียส สูงสุด ประมาณ 40 องศาเซลเซียส เฉลี่ย ประมาณ 26- 28 องศาเซลเซีย ส ความชื้น สัม พัน ธเฉลี่ยรอ ยละ 66-73  
  • 33. หางสรรพสินคา • บิ๊กซี ศรีสะเกษ • เทสโก โลตัส ศรีสะเกษ • ซุน เฮง • แม็ค โคร ศรีส ะเกษ         
  • 34.   ชาวศรีสะเกษทีมี ่   ชื่อเสียง           • นกนอ ย อุไ รพร นัก รอ งลูก ทุง ศิล ปน พื้น บา น • ฉัน ทนา กิต ิยพัน ธ นัก รอ ง นัก แสดง • ธนัญ ชัย บริบ าล นัก ฟุต บอลทีม ชาติไ ทย • ปย ะณัฐ วัช ราภรณ อดีต รัฐ มนตรีว า การกระทรวงสาธารณสุข • พยอม สีน ะวัฒ น ศิล ปน แหงชาติ สาขาทัศ นศิล ป พ.ศ. 2530 • ภูม ิน ทร ลีธ ีร ะประเสริฐ รองโฆษกประจํา สํา นัก นายกรัฐ มนตรี • มานะ มหาสุว ีระชัย อดีต สมาชิก สภาผูแ ทนราษฎรจังหวัด ศรีส ะเกษ , หัว หนา พรรคแทน คุณ แผน ดิน • ยิ่งยง ยอดบัว งาม นัก รอ งลูก ทุง • ร็อ คกี้ ส.จิต รลดา นัก มวย • สุด า ศรีล ํา ดวน นัก รอ งลูก ทุง • สุริย ะใส กตะศิล า ผูป ระสานงานพัน ธมิต รประชาชนเพื่อ ประชาธิป ไตย
  • 35. ทรัพยากร ปา ไม ลัก ษณะปา ไมข องจัง หวัด ศรีส ะเกษ สว นใหญเปน ปา โปรง  ประกอบดว ยปา ยาง ไมเต็ง  ไมป ระดู  ไมแ ดง ไมก ระบาก และไมเบญจพรรณ จัง หวัด ศรีส ะเกษมีพ ื้น ที่ป า ไมแ ยกเปน ปา อนุร ัก ษ( 3 แหง   472,075 ไร)  ปา สงวน (4 ปา  92,042 ไร)  ปา ชุมชน (อยูในเขตปา สงวน 25,621 ไร, ปา ไม 1,845 ไร,  ปา สาธารณะประโยชน 7,094 ไร)  ปา เศรษฐกิจ  (Zone E: 825,246 ไร) พื้น ที่ป า ไมท ี่ส มบูร ณร อ ยละ  11.67 ของพื้น ที่จ ัง หวัด ศรีส ะเกษ  แหลงน้ํา จัง หวัด ศรีส ะเกษ มีแ หลง น้ํา ที่ส ํา คัญ และมีผ ลตอ กิจ กรรมการเกษตร การประมง ดัง นี้          แมน ้ํา มูล    ตน น้ํา เกิด จากเทือ กเขาดงพญาเย็น ในทอ งที่อ ํา เภอปกธงชัย  จัง หวัด นครราชสีมา ไหลเขา สูจ ัง หวัด ศรีส ะเกษ บริเวณอํา เภอราษีไ ศล ไหลผา นอํา เภอยางชุม นอ ย อํา เภอเมือ งศรีส ะเกษ และอํา เภอ กัน ทรารมย แลว ไหลไปบรรจบแมน ้ํา ชี ที่จ ัง หวัด อุบ ลราชธานี พื้น ที่ท างทิศ เหนือ ของแมน ้ํา มูล ลัก ษณะเปน ที่ร าบลุม มีส ภาวะน้ํา ทว มขัง ในฤดูฝ น   •  หว ยทับ ทัน  ไหลมาจากอํา เภอบัว เชด จัง หวัด สุร ิน ทร เปน เสน แบง เขตระหวา งจัง หวัด สุร ิน ทรแ ละจัง หวัด ศรีส ะเกษในเขตอํา เภออุท ุม พรพิส ัย  ไหลลงไปบรรจบแมน ้ํา มูล บริเวณอํา เภอรัต นบุร ี จัง หวัด สุร ิน ทร   •  หว ยสํา ราญ ไหลมาจากเขตอํา เภอปรางคกู  ผา นอํา เภอเมือ งศรีส ะเกษ แลว ไหลลงแมน้ํา มูล  ที่เขตอํา เภอเมือ งศรีส ะเกษ 
  • 36. •  หว ยศาลา เปน แหลง น้ํา ธรรมชาติท ี่ด ัด แปลงทํา เปน เขื่อ นเก็บ น้ํา ที่ไ หลมาจากหว ยสํา ราญ และมีต น น้ํา จากหว ยพนมดงรัก  สามารถบรรจุน ้ํา ไดส ูง สุด  5 2.5 ลา นลูกบาศกเ มตร มีพ ื้น ที่ท ํา การ ชลประทาน จํา นวน 20,400 ไร  มีน ้ํา ตลอดป 
  • 37. ประชากร ในจังหวัด ศรีส ะเกษมีช ุม ชนหลายกลุม อาศัย อยูรว มกัน ทั้งนีเ้ ปน ผลมาจากการอพยพยาย ครัว เขามาของคนเชื้อชาติต าง ๆ ในอดีต แมป จ จุบ ัน ยังคงเห็น ลัก ษณะเฉพาะทางกายภาพ และวัฒ นธรรมของกลุม คนเหลานั้น อยู กลุม คนที่ว านี้ไ ดแ ก ชาวลาว ชาวเขมร ชาวสว ย หรือ กูย และเยอ
  • 38. เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ ของจังหวัด ศรีส ะเกษขึ้น อยูก ับ เกษตรกรรมเปน หลัก จัง หวัด ไมม ีท รัพ ยาการแรท ี่สํา คัญ แตอ ยา งใด แตม ีแ รรัต นชาติอ ยูบ า งเล็ก นอ ยในอํา เภอกัน ทรลัก ษ โดยในป พ.ศ. 2550 มีสัด สว นตอ ผลิต ภัณ ฑม วลรวม (GPP) 44,191 ลา นบาท และรายไดเฉลี่ยของประชากร 29,174 บาทตอ คนตอ ป ซึ่ง ต่ํา ที่ส ุด ของประเทศชาวศรีส ะเกษทํา นากัน มากตามที่ราบลุม แมน ้ํา มูล และในเขตชลประทานของลํา น้ํา สายตา ง ๆ สว นใหญเปน นาปซ ึ่งมีก ารเก็บ เกี่ย วปล ะครั้ง พืช ไรท ี่ส ํา คัญ คือ ขา วโพด มัน สํา ปะหลัง ปอ แกว และผัก ตา ง ๆ นอกจากนี้ ชาวศรีส ะเกษนิย มปลูก หอมแดงมากดังปรากฏในคํา ขวัญ ประจํา จังหวัด จังหวัด ศรีส ะเกษ เปน จัง หวัด ที่ม ีพ ื้น ที่ต ิด ตอ กับ ประเทศเพื่อ นบา น (ประเทศกัม พูช า) มีจ ุด ผา นแดน ถาวร 1 แหง คือ จุด ผา นแดนถาวรชอ งสะงํา ซึ่งเปน ชอ งสํา หรับ การคา ระหวา งประเทศ มีม ูล คา การซื้อ ขายระหวา งเดือ นมกราคม-พฤษภาคม พ.ศ. 2552 ประมาณ 571.756 ลา นบาท
  • 39. การคมนาคม แผนที่ท อ งเที่ย วจังหวัด ศรีส ะเกษ จากกรุงเทพมหานครสามารถเดิน ทางไปยังจังหวัด ศรีส ะเกษไดด ัง นี้ • โดยรถไฟ สายตะวัน ออกเฉีย งเหนือ มาลงที่สถานีศ รีสะเกษ ระยะทาง515.09 กิโลเมตร • โดยทางหลวงแผน ดิน หมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) ถึงทางแยกเขา ทางหลวงแผน ดิน หมายเลข 2 (ถนนมิต รภาพ) ที่ก ิโลเมตรที่ 107 แลว ไปตามทางหลวงแผน ดิน หมายเลข 2 ถึงจังหวัด นครราชสีม า แยกทางขวาเขา ทางหลวงหมายเลข 226 ผา นจัง หวัด บุรีรัม ยแ ละจัง หวัด สุริน ทรจ ึงถึง จังหวัด ศรีส ะเกษ รวมระยะทาง 571 กิโลเมตร • โดยรถโดยสารประจํา ทาง สามารถเดิน ทางจากสถานีข นสงผูโ ดยสารกรุงเทพฯ สาย ตะวัน ออกเฉีย งเหนือ มาลงที่ส ถานีร ขนสง ผูโดยสารจังหวัด ศรีส ะเกษไดโ ดยตรง • โดยเครื่อ งบิน สามารถเดิน ทางโดยสายการบิน ภายในประเทศมายังทา อากาศยาน อุบ ลราชธานี และเดิน ทางตอ มายังจังหวัด ศรีส ะเกษ ดวยระยะทางอีก ประมาณ 60 กิโลเมตร