SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 18
คําสั่ง ลินุกซ์ (linux) (ยังปรับแต่งไม่เสร็จ)

   1. unzip -C xxx.zip -d /yyyy
EXAMPLES
The simplest example:
zip stuff *
creates the archive stuff.zip (assuming it does not exist) and puts all the files in the current 
directory  in  it,  in
compressed  form  (the  .zip  suffix is added automatically, unless that archive name given contains
a dot already; this
allows the explicit specification of other suffixes).
Because of the way the shell does filename substitution, files starting with "." are not included; to
include  these  as
well:
zip stuff .* *
Even this will not include any subdirectories from the current directory.
To zip up an entire directory, the command:
zip -r foo foo
creates  the archive foo.zip, containing all the files and directories in the directory foo that is
contained within the
current directory.
You may want to make a zip archive that contains the files in foo, without recording the directory
name, foo.   You  can
use the -j option to leave off the paths, as in:
zip -j foo foo/*
If you are short on disk space, you might not have enough room to hold both the original directory
and the corresponding
compressed zip archive.  In this case, you can create the archive in steps using the -m option.   If 
foo  contains  the
subdirectories tom, dick, and harry, you can:
zip -rm foo foo/tom
zip -rm foo foo/dick
zip -rm foo foo/harry

       where  the  first  command creates foo.zip, and the next two add to it.  At the completion of
each zip command, the last

2. telnet [ชื่อ server]

ตัวอย่าง   ขั้นตอนสําหรับติดต่อ server ชื่อ unix.kmitl.ac.th
1.      คลิกเมาส์เลือก  Start, Run…..
2.      พิมพ์คําสั่ง  telnet unix.kmitl.ac.th
3.      ใส่ชื่อบัญชีผู้ใช้ (user name) หลัง  login:
5. ใส่รหัสผ่าน (password) หลัง  password:
6. เมื่อ connect ได้ จอภาพแสดงข้อความแนะนําผู้ใช้ดังรูป

3. คําสั่งเลิกติดต่อ           logout

ตัวอย่าง
$ Iogout
4. คําสั่งเปลี่ยนรหัสผ่าน (password)

การใช้งาน
passwd
ตัวอย่างการใช้
$ passwd
ให้ใส่รหัสผ่านที่ใช้อยู่ในขณะนั้น
จะมีข้อความแจ้งว่า ‘New password:’ ให้ใส่รหัสผ่านอันใหม่ที่จะใช้แทนอันเดิม
จะมีข้อความแจ้งว่า  ‘Re-enter new password:’ ระบบจะเตือนให้ใส่อีกครั้ง ต้องเหมือนกับที่ใส่ในช่อง
New
ถ้าใส่ทั้ง 2 ครั้งเหมือนกันและถูกต้องตามกฎการตั้งรหัสผ่านจะปรากฏเครื่องหมาย $
ถ้าแสดงเป็นอย่างอื่นเช่น ‘Password must contain at least two alphabetic characters and
at least one numeric or special character.’ หรือ  ‘New passwords must differ from the old by  at 
least  three  characters.’ และหรือ  ‘Each password must differ from the user's login name  and any
reverse or circular shift of that login name.’  แสดงว่าทําไม่ถูกต้องอยู่ให้เริ่มใหม่จากข้อ  2

5. คําสั่งตรวจสอบการใช้เนื้อที่

การใช้งาน

            quota [-v] [username]
ตัวอย่าง
$ quota -v
ข้อมูลแต่ละคอลัมน์มีความหมายดังนี้
Filesystem        คือ ชื่อไดเรกทอรีที่ถูกกําหนด quota
Usage              คือ จํานวนเนื้อที่ที่ใช้ไป มีหน่วยเป็น  Kbytes
quota               คือ จํานวนเนื้อที่ทีระบบจะเริ่มเตือนในช่อง timeleft มีหน่วยเป็น  Kbytes
limit                  คือ จํานวนเนื้อที่ที่อนุญาต  มีหน่วยเป็น  Kbytes
timeleft             คือ จํานวนเวลาที่เหลืออยู่ก่อนจะ loginเข้าไม่ได้ มีหน่วยเป็นวันเช่น 7 days
files                  คือ จํานวนไฟล์ที่ใช้ไป
quota               คือ จํานวนไฟล์ที่ที่ระบบจะเริ่มเตือนในช่อง  timeleft
timeleft             คือ จํานวนไฟล์ที่อนุญาต
timeleft             คือ จํานวนเวลาที่เหลืออยู่ก่อนจะ login เข้าไม่ได้มีหน่วยเป็น วัน เช่น 7 days

6. คําสั่งตรวจสอบการเข้าใช้งานที่ผ่านมา

การใช้งาน      last [username]
ตัวอย่าง
last | ชื่อบัญชีผู้ใช้   l  more
$last  knorasa  |  more 
หมายถึงดูการใช้งานของบัญชีผู้ใช้ชื่อ  knorasa
แต่ละคอลัมน์   มีความหมายดังนี้
คอลัมน์ 1  คือ ชื่อบัญชีผู้ใช้
คอลัมน์ 2  คือ หมายเลข  terminal ที่เครื่อง UNIX server ติดต่อกับ PC
คอลัมน์ 3  คือ  Address  ของ  PC ที่  telnet  ไปยัง  server
คอลัมน์ 4,5,6  คือ  วันที่
คอลัมน์ 7,8,9  คือ เวลาเริ่ม ถึง  เวลาเลิก
คอลัมน์ 10  คือ จํานวนเวลาที่ใช้งาน  มีหน่วยเป็น ชั่วโมง: นาที

7.คําสั่งดูรายชื่อไฟล์

การใช้

            ls [option]

ตัวอย่าง
$ls –la
la มาจาก List long and all
แต่ละคอลัมน์  มีความหมายดังนี้
1. คอลัมน์  1  คือสิทธิในไฟล์และมี   10  ช่อง
1.1  ช่องแรก- คือไฟล์และ d คือ ไดเรกทอรี
1.2  สิทธิประกอบด้วย read, w คือ write,x คือ  execute และ -คือไม่ให้สิทธิ
1.3  3 ช่องถัดมา คือสิทธิของเจ้าของ (owner)
1.4  3 ช่องถัดมา  คือสิทธิให้กลุ่ม (group)
1.5  3 ช่องถัดมา คือ สิทธิให้ผู้อื่น  (other)
2. คอลัมน์  2  คือจํานวน  inode
3. คอลัมน์  3  คือ  ชื่อเจ้าของไฟล์
4. คอลัมน์  4  คือ ชื่อกลุ่ม
5. คอลัมน์  5  คือ ขนาดไฟล์  มีหน่วยเป็นByte
6. คอลัมน์  6,7,8  คือ  วันและเวลา
7. คอลัมน์  9  คือ  ชื่อไฟล์

8. คําสั่งลบไฟล์

การใช้
rm [ชื่อไฟล์]
ตัวอย่าง
$rm dead.letter
หมายถึงลบไฟล์ชื่อ  dead.letter

9. คําสั่งเปลี่ยนไดเรกทอรี

การใช้
cd [Directory name]
ตัวอย่าง
$cd mail
หมายถึง เปลี่ยนเข้าไปยังไดเรกทอรีชื่อ mail
cd ..      หมายถึงให้ถอยหลังออกไปหนึ่ง directory
cd /     หมายถึงให้ถอยหลักออกไปนอกสุดสู่ root directory
cd ตามด้วยชื่อdirtory หมายถึงให้เข้าไปใน directory นั้น
cd / ตามด้วยชื่อdirtory1  dirtory2  dirtory3 หมายถึงให้ออกมาสู่ Root dirrectory แล้วเข้าไปสู่ dir นั้น
มีประโยชน์คือ ไม่ต้องเสียเวลาออกมาทีละ Dirtory

10.คําสั่งสร้างไดเรกทอรี

การใช้
mkdir [Directory name]
ตัวอย่าง
$mkdir example 
หมายถึง สร้างไดเรกทอรีชื่อ  example

11.คําสั่งลบไดเรกทอรีรวมไฟล์ที่อยู่ภายใน

การใช้
rm [Option] [Directory name]
ตัวอย่าง
$rm-r example
หมายถึงลบ Directory ชื่อ example ไม่ว่าภายในจะมีไฟล์อยู่เท่าไรก็ตาม ลบทั้งหมด
คําสั่งขอดูข้อมูลที่ละ  1 หน้าจอ
การใช้
more [File name]
ตัวอย่าง
$more .pinerc
หมายถึงขอดูค่า configuration ของโปรแกรม Pine  ทีละ  1  หน้าจอและกดปุ่ม  Space  bar  ดูหน้าถัด
ไป

12. แสดง Directory ปัจจุบัน

การใช้
pwd
ตัวอย่าง
คําสั่งในการแสดง user และรายละเอียด user
การใช้
finger
จะเป็นการแสดงรายชื่อผู้ที่กําลัง logon อยู่ในขณะนั้น
finger <user account>

               จะแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับ user ที่ระบุ

13. คําสั่งในการค้นหา

การใช้
grep <คําที่ต้องการค้นหา>
ตัวอย่าง
finger | grep kb
เป็นคําสั่งในการค้นหา user ที่กําลัง logon ที่มี user account ขึ้นต้นด้วย kb

14.คําสั่งในการแสดงผู้ใช้ปัจจุบัน

การใช้
whoami
ตัวอย่าง
$whoami

15.คําสั่ง Copy ไฟล์ข้อมูล

การใช้
cp [file1] [file2]
หมายถึงทําการ Copy ไฟล์1 ไปเป็นไฟล์2
ตัวอย่าง
$cp ret new

  1. คําสั่งย้ายไฟล์ข้อมูล
การใช้
mv [file1 ] [directory]
หมายถึง ย้าย file1 ไปยัง Directory ที่ระบุ
การใช้เพื่อเปลี่ยนชื่อไฟล์
mv [filename1] [file name2]
หมายถึง เปลี่ยนชื่อจาก filename1 ไปเป็น filename2

   1. คําสั่งขอดูวิธีการใช้
การใช้
man [ชื่อคําสั่ง]
ตัวอย่าง
$man  passwd

            หมายถึงขอดูวิธีใช้คําสั่ง  passwd

    1. การใช้งาน VI
            VI (อ่านว่า วี-ไอ) เป็นเอดิเตอร์ตัวหนึ่งที่ใช้ในการแก้ไขเอกสารต่างๆ บนยูนิกซ์ ถ้าเปรียบเที่ย
บกับโปรแกรมบน Windows ก็คงเทียบได้กับ Notepad นั่นเอง
เริ่มต้นการใช้งานโดยใช้คําสั่ง
vi <ชื่อไฟล์>
เมื่อ ชื่อไฟล์เป็นไฟล์ที่คุณต้องการจะบันทึกข้อความ
สําหรับ vi คําสั่งหลักๆที่ควรทราบก็มี
ปุ่ม esc ใช้สลับระหว่างโหมด command กับโหมด editor
i - insert เพิ่มข้อความ ณ ตําแหน่ง cursor
:w บันทึกไฟล์
:q ออกจากโปรแกรม (ถ้ามีการแก้ไขจะออกไม่ได้)
:q! ออกจากโปรแกรมโดยยืนยันว่าไม่บันทึกการแก้ไข
:wq บันทึกแล้วออกจากโปรแกรม

สําหรับคําสั่งอื่นๆศึกษาเพิ่มเติมเอาครับ รู้ข้างบนก็พอเอาตัวรอดได้ละครับการใช้งาน PICO
PICO เป็นเอดิเตอร์ตัวหนึ่งที่ใช้ในการแก้ไขเอกสารเช่นเดียวกันกับ VI แต่การใช้งาน PICO จะใช้ได้
ง่ายกว่า VI  มีลักษณะหน้าจอการใช้งานคล้ายๆ กับโปรแกรม PINE
เริ่มต้นใช้งาน PICO โดยใช้คําสั่ง
pico <ชื่อไฟล์>
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมการใช้งาน PICO
created archive is deleted, making room for the next zip command to function.

   1. คําสั่ง telnet
เป็นคําสั่งที่เปลี่ยน host ที่ใช้อยู่ไปยัง host อื่น (ใน Windows 95 ก็มี)
รูปแบบ $ telnet hostname
เช่น c:> telnet student.rit.ac.th เปลี่ยนไปใช้ host ชื่อ student.rit.ac.th
$ telnet 202.44.130.165 เปลี่ยนไปใช้ host ที่มี IP = 202.44.130.165
$ telnet 0 telnet เข้า host ที่ใช้อยู่นะขณะนั้น
เมื่อเข้าไปได้แล้วก็จะต้องใส่ login และ password และเข้าสู่ระบบยูนิกส์นั้นเอง

    1. คําสั่ง ftp
ftp เป็นคําสั่งที่ใช้ถ่ายโอนไฟล์ข้อมูลจากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่ง โดยการติดต่อกับ host ที่เป็น ftp นั้นจะ
ต้องมี user name และมี password ที่สร้างขึ้นไว้แล้ว แต่ก็มี ftp host ที่เป็น public อยู่ไม่น้อยเช่นกัน ดัง
นั้นจะมี user name ที่เป็น publicเช่นกัน คือ user ที่ชื่อว่า anonymous ส่วน password ของ user
anonymous นี้จะใช้เป็น E-mail ของผู้ที่จะ connect เข้าไปและโปรแกรมส่วนใหญ่ก็จะอยู่ใน directory
ชื่อ pub
รูปแบบ $ ftp hostname
เช่น c:windows> ftp wihok.itgo.com
$ ftp ftp.nectec.or.th
คําสั่ง ftp จะมีคําสั่งย่อยที่สําคัญๆ ได้แก่
ftp> help ใช้เมื่อต้องการดูคําสั่งที่มีอยู่ใในคําสั่ง ftp
ftp> open hostname ใช้เมื่อต้องการ connect ไปยัง host ที่ต้องการ
ftp> close ใช้เมื่อต้องการ disconnect ออกจาก host ที่ใช้งานอยู่
ftp> bye หรือ quit ใช้เมื่อต้องการออกจากคําสั่ง ftp
ftp> ls หรีอ dir ใช้แสดงชื่อไฟล์ที่มีอยู่ใน current directory ของ host นั้น
ftp> get ใช้โอนไฟล์ทีละไฟล์จาก host ปลายทางมายัง localhost หรือเครื่องของเรานั้นเอง
ftp> mget ใช้โอนไฟล์ทีละหลายๆไฟล์จาก host ปลายทางมายัง localhost
ftp> put ใช้โอนไฟล์ทีละไฟล์จาก localhost ไปเก็บยัง host ปลายทาง
ftp> mput ใช้โอนไฟล์ทีละหลายๆไฟล์จาก localhost ไปเก็บยัง host ปลายทาง
ftp> cd ใช้เปลี่ยน directory
ftp> delete และ mdelete ใช้ลบไฟล์

   1. คําสั่ง ls
มีค่าเหมือนกับ คําสั่ง dir ของ dos
รูปแบบ $ ls [-option] [file]
option ที่สําคัญ
แสดงแบบไฟล์ละบรรทัด แสดง permission , เจ้าของไฟล์ , ชนิด , ขนาด , เวลาที่สร้าง
a แสดงไฟล์ที่ซ่อนไว้ ( dir /ah)
p แสดงไฟล์โดยมี / ต่อท้าย directory
F แสดงไฟล์โดยมีสัญญลักษณ์ชนิดของไฟล์ต่อท้ายไฟล์คือ
/ = directory
* = execute file
@ = link file
ld แสดงเฉพาะ directory (dir /ad)
R แสดงไฟล์ที่อยู่ใน directory ด้วย (dir /s)
เช่น
$ ls
$ ls -la a

   1. คําสั่ง more
แสดงข้อมูลทีละหน้าจอ อาจใช้ร่วมกับเครื่องหมาย pipe line ( | ) หากต้องการดูหน้าถัดไปกด space ดู
บรรทัดถัดไปกด Enter เช่น
$ ls -la | more
$ more filename a

  1. คําสั่ง cat
มีค่าเหมือนกับ คําสั่ง type ของ dos ใช้ดูข้อมูลในไฟล์ เช่น
$ cat filenama

  1. คําสั่ง clear
มีค่าเหมือนกับ คําสั่ง cls ของ dos ใช้ลบหน้าจอ terminal ให้ว่าง
$ clear

  1. คําสั่ง date
ใช้แสดง วันที่ และ เวลา
$ date 17 May 1999

   1. คําสั่ง cal
ใช้แสดง ปฏิทินของระบบ
รูปแบบ $ cal month year เช่น
$ cal 07 1999

   1. คําสั่ง logname
คําสั่งแสดงชื่อผู้ใช้ขณะใช้งาน
$ logname

   1. คําสั่ง id
ใช้แสดงชื่อและกลุ่มมของผู้ใช้งาน
$ id

  1.   คําสั่ง tty
แสดงหมายเลข terminal ที่ใช้งานอยู่
$ tty

   1. คําสั่ง hostname
คําสั่งแสดงชื่อเครื่องที่ใช้อยู่
$ hostname

   1. คําสั่ง uname
คําสั่งแสดง ชื่อและรุ่นของ OS ชื่อและรุ่นของ cpu ชื่อเครื่อง
$ uname -a

   1. คําสั่ง history
คําสั่งที่ใช้ดูคําสั่งที่ใช้ไปแล้วก่อนหน้านี้
$ history
เวลาเรียกใช้ต้องมี ! แล้วตามด้วยหมายเลขคําสั่งที่ต้องการ

  1. คําสั่ง echo และ banner
$ echo "Hello" ใช้แสดงข้อความ "Hello" ขนาดปกติ
$ banner "Hello" ใช้แสดงข้อความ "Hello" ขนาดใหญ่

  1. คําสั่ง who , w และ finger
ใช้แสดงว่าใครใช้งานอยู่บ้างขณะนั้น
$ who
$w
$ finger ดูผู้ใช้ที่ host เดียวกัน
$ finger @daidy.bu..ac.th ดูผู้ใช้โดยระบุ Host ที่จะดู
$ finger wihok ดูผู้ใช้โดยระบุคนที่จะดูลงไป
$ who am i แสดงชื่อผู้ใช้ เวลาที่เข้าใช้งาน และ หมายเลขเครื่อง
$ whoami เหมือนกับคําสั่ง logname

  1. คําสั่ง pwd
แสดง directory ที่เราอยู่ปัจจุบัน
$ pwd

  1. คําสั่ง mkdir
ใช้สร้าง directory เทียบเท่า MD ใน DOS
$ mkdir dir_name

   1. คําสั่ง cp
ใช้ copy ไฟล์หนึ่ง ไปยังอกไฟล์หนึ่ง
รูปแบบ $ cp [-irfp] file_source file_target
option -i หากมีการทับข้อมูลเดิมจะรอถามก่อนที่จะทับ
option -r copy ไฟล์ทั้งหมดรวมทั้ง directory ด้วย
option -f ไม่แสดงข้อความความผิดพลาดออกหน้าจอ
option -p ยืนยันเวลาและความเป็นเจ้าของเดิม
$ cp file_test /tmp/file_test
1. คําสั่ง mv
ใช้ move หรือเปลี่ยนชื่อไฟล์
รูปแบบ $ mv [-if] file_source file_target
ความหมายของ option เช่นเดียวกับ cp
$ mv index.html main.html เปลี่ยนชื่อไฟล์ index.html เป็น main.html

   1. คําสั่ง rm
ใช้ลบไฟล์หรือ directory โดยที่ยังมีข้อมูลภายในเทียบเท่า del และ deltree ของ dos
รูปแบบ $ rm [-irf] filename
$ rm -r dir_name ลบ dir_name โดยที่ dir_name เป็น directory ว่างหรือไม่ว่างก็ได้
$ rm -i * ลบทุกไฟล์โดยรอถามตอบ

   1. คําสั่ง rmdir
ใช้ลบ directory ที่ว่าง เทียบเท่ากับ rd ของ Dos
$ rmdir dir_name
ใช้ลบ directory ที่ว่าง เทียบเท่ากับ rd ของ Dos
$ rmdir dir_name

  1. คําสั่ง alias
ใช้ย่อคําสั่งให้สั้นลง
$ alias l = ls -l
$ alias c = clear

  1. คําสั่ง unalias
ใช้ยกเลิก alias เช่น
$ unalias c

   1. คําสั่ง type
ใช้ตรวจสอบว่าคําสั่งที่ใช้เก็บอยู่ที่ใดของระบบ
รูปแบบ $ type command
$ type clear

  1. คําสั่ง find
ใช้ค้นหาไฟล์ที่ต้องการ เช่น
$ find /usr/bin -name "*sh" -print หาไฟล์ที่ลงท้ายด้วย sh จาก /usr/bin

  1. คําสั่ง grep
ใช้คนหาข้อความที่ต้องการจากไฟล์
$ grep ข้อความ file

  1. คําสั่ง man
man เป็นคําสั่งที่เป็นคู่มือการใช้คําสั่งแต่ละคําสั่งเช่น
$ man ls
$ man cp

  1.    คําสั่ง write
ใช้ส่งข้อความไปปรากฎที่หน้าจอของเครื่องที่ระบุในคําสั่งไม่สามารถใช้ข้าม host ได้
เช่น $ write s0460003

  1. คําสั่ง mesg
$ mesg ดู status การรับการติดต่อของ terminal
$ mesg y เปิดให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้
$ mesg n ปิดไม่ให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้

   1. คําสั่ง talk
ใช้ติดต่อสื่อสารแบบสองทาง เหมือนกับการคุยโดยผู้ส่ง ๆ ไปแล้วรอการตอบกลับจาก ผู้รับ สามารถ
หยุดการติดต่อโดย Ctrl + c สามารถใช้ข้าม host ได้
รูปแบบ $ talk username@hostname

  1. คําสั่ง pine
ใช้อ่านและส่งจดหมายข้างในจะมี menu ให้ใช้

    1. คําสั่ง tar
ใช้สําหรับ รวมไฟล์ย่อยให้เป็นไฟล์ Packet คล้ายๆกับการ zip หลายๆไฟล์ให้เป็นไฟล์เดียวแต่ขนาด
ไฟล์ไม่ได้ลดลงอย่างการ zip โดยไฟล์ output ที่ได้จะตั้งชื่อเป็น filename.tar หรือการแตกไฟล์ packet
จาก filename.tar ให้เป็นไฟล์ย่อยมักจะใช้คู่กับ gzip หรือ compress เพื่อทําการลดขนาด packet ให้เล็ก
ลง
รูปแบบการใช้
$ tar -option output input
-option ประกอบด้วย -cvf , -tvf , -xvf แสดงดังด้านล่าง
output คือ ไฟล์.tar หรืออาจจะเป็น device เช่น tape ก็ได้
input คือ ไฟล์หรือกลุ่มไฟล์หรือ directory หรือรวมกันทั้งหมดที่กล่าวมา
$ tar -cvf Output_file.tar /home/myhome/*
Option -cvf ใช้สําหรับการรวมไฟล์ย่อยไปสู่ไฟล์ .tar จากตัวอย่าง รวมไฟล์ทุกไฟล์ที่อยู่ใน /home/
myhome/ เข้าสู่ไฟล์ชื่อ Output_file.tar
$ tar -tvf filename.tar
Option -tvf ใช้แตกไฟล์ .tar เป็นไฟล์ย่อยๆแบบ preview คือแสดงให้ดูไม่ได้แตกจริงอาจใช้คู่กับ คําสั่ง
อื่น เพื่อให้ได้ประโยชน์ตามต้องการ เช่น tar -tvf filename.tar |more
$ tar -xvf filename.tar
Option -xvf ใช้แตกไฟล์ .tar เป็นไฟล์ย่อยๆ โดยจะแตกลง ณ current directory

  1. คําสั่ง gzip
ใช้ zip หรือ Unzip ไฟล์ packet โดยมากแล้วจะเป็น .tar เช่น
$ gzip filename.tar ผลที่ได้จะได้ไฟล์ซึ่งมีการ zip แล้วชื่อ filename.tar.gz
$ gzip -d filename.tar.gz ใช้ unzip ไฟล์ผลที่ได้จะเป็น filename.tar

  1. คําสั่ง Compress และ Uncompress
หลังจากการ compress แล้วจะได้เป็นชื่อไฟล์เดิมแต่ต่อท้ายด้วย .Z การใช้งานเหมือนกับ gzip และ
gzip -d เช่น
$ compress -v file.tar จะได้ไฟล์ชื่อ file.tar.Z โดย Option -v จะเป็นการ verify การ compress
$ uncompress -v file.tar.Z 

การติดตั้ง linux

.     การแบ่ง partition แบ่งเป็น 9 partition ดังนี้

1.1      /boot  ใช้ประมาณ   5 MB

1.2      /usr  สําหรับติดตั้ง linux package  700 MB ขึ้นไป

1.3      /home  ที่เหลือจากทั้งหมด

1.4      /var  เก็บค่า log จากการใช้งาน ไม่ควรน้อยกว่า  256 MB

1.5      /cache สําหรับทํา proxy server  (squid)   250 MB ขึ้นไป

1.6      /chroot สําหรับติดตั้ง daemon ที่ต้องการความปลอดภัย  เช่น DNS  ใช้ประมาณ  256  MB

1.7      /tmp สําหรับเก็บไฟล์ชั่วคราวของระบบ  256 MB ก็พอ

1.8      /   ใช้ประมาณ  256 เป็น root directory

1.9      <swap> 2 เท่าของ RAM  

2.     Hostname และ Domainname  โดยทั่วไปคือ  hostname.domainname เช่น  ns.sample.co.th มี ns
เป็น hostname และมี sample.co.th เป็น domainname

3.     โปรแกรมที่ควรเลือกติดตั้ง

3.1      windows file server

3.2      Anomymous FTP server

3.3      SQL database Server

3.4      Web Server

3.5      DNS name Server

4.     คําสั่งที่สําคัญ

4.1      mount /dev/cdrom   Ã

4.2      rpm  -ivh /mnt/cdrom/ReD/RDlinuxconf-1D

4.3      reboot

4.4      netconf เพื่อปรับแต่งค่า

4.4.1  ใน hostname and IP
1)      hostname+domainname =     ns.sample.co.th

2)      adapter 1=  Q  Enable

3)      primaryname + domain =  ns.sample.co.th

4)      Aliases (opt)  =  ns

5)      IP Address = 192.168.100.1

6)      Netmark (opt) = 255.255.255.0

7)      Net device = eth0

4.4.2 ใน name server specification

1)      DNS usage =X  DNS is required

2)      default domain = sample.co.th

3)      IP  of name server = 192.168.100.1

4)      search  domain 1  = sample.co.th

4.4.3 Routing and gateway 

1)      default gateway =192.168.100.1 ,  Q Enable Routing

4.5      คําสั่งทดสอบระบบ network

4.5.1 ifconfig  Ã

4.5.2 /etc/init.d/network restart Ã

4.5.3 ping 192.168.100.1 Ã

4.5.4 ping nsÃ

4.5.5 ping 192.168.100.254Ã

 

5.     การติดตั้ง DNS Server (Domain name server)

6.     การตั้งค่า DNS  ใช้คําสั่ง  netconf ติดตั้งดังนี้

6.1      ที่ Domain name server (DNS) ใช้คําสั่ง

6.1.1    mount /dev/cdrom/  Ã

6.1.2    rpm /mnt/cdrom/ReD/RDbind-dDÃ

6.1.3    linuxconf –setmod dnsconfÃ
6.2      ที่ IP reverse mappings เลือก Add แล้วปรับแต่งดังนี้

6.2.1    Network number =192.168.100

6.2.2    Subnet Range x-y =1-254

6.2.3    Main Server ns.sample.co.th

6.2.4    Administrator Email =hostmaster.ns.sample.co.th อาจทดสอบเป็น mail.sample.co.thแล้วด้าน
ล่างของ Name Server (NS) เป็น ns.sample.co.th

6.3       ที่ Configure Domain (หน้าต่าง Primary Zone) คลิก add

6.4      ที่ Primary specification ปรับดังนี้

6.4.1    Domain =sample.co.th

6.4.2    Main server = ns.sample.co.th

6.4.3    Administater Mail =hostmaster.ns.sample.co.th  อาจทดสอบเป็น mail.sample.co.thแล้วด้าน
ล่างของ Name Server (NS) เป็น ns.sample.co.th  ล่าง mail server เป็น ns.sample.co.th ล่าง Default
IPs  เป็น 192.168.100.1 _ Accept  _ Dismiss

6.5      การ Map  Domain ให้กับเครือข่าย เลือก  netconf  ที่ DNS configurator เลือก Add /Edit host
information by Domain  เลือก Sample.co.th คลิก Add

6.5.1    พิมพ์  www.sample.co.th  _ เลือก Accept

6.5.2    host or subdomain  =www.sample.co.th

6.5.3    IP  number=192.168.100.1

6.5.4    เลือก Accept

6.5.5 การกําหนด IP reverse Mapping  เลือก IP  allocation confic resolution ดังนี้

6.5.6    192.168.100.1 Q  Do reverse Mapping on this IP

6.5.7    Allocated to  ns.sample.co.th เลือก Accept

6.6      ทํา FTP server  ที่ Host or Domain specification  

6.6.1    พิมพ์  ftp.sample.co.th  เลือก Accept

6.6.2    ที่ host or sub-domain = ftp.sample.co.th

6.6.3    ที่ IP number =192.168.100.1 เลือก Accept

6.6.4  กําหนด IP reverse Mapping  เลือก IP  allocation confic resolution ดังนี้
6.6.5    192.168.100.1 Q  Do reverse Mapping on this IP

6.6.6    Allocated to  ns.sample.co.th

                                                 www.sample.co.th

6.7      ทํา mail Server ที่ Host or Domain specification  

6.7.1    พิมพ์  mail.sample.co.th  เลือก Accept

6.7.2    ที่ host or sub-domain = mail.sample.co.th

6.7.3    ที่ IP number =192.168.100.1 เลือก Accept

6.7.4    ที่ Mail server MX บรรทัด Server  พิมพ์  mail.sample.co.th

6.7.5    กําหนด IP reverse Mapping  เลือก IP  allocation confic resolution ดังนี้

6.7.6    192.168.100.1 Q  Do reverse Mapping on this IP

6.7.7    Allocated to  ns.sample.co.th

                                                 www.sample.co.th

                                                 mail.sample.co.th และทําต่อจนเป็น

                                              ftp.sample.co.th           

6.8      เมื่อไม่ทําเพิ่มเลือก Cencel  _    Dismiss

6.9      ใช้คําสั่ง ntsysvà ทําให้เกิดเครื่องหมาย * หน้า named  

6.10   ใช้คําสั่ง /etc/init.d/named restart Ã

6.11    ทดสอบการทํางานด้วยการ ping ดังนี้

6.11.1        ping www.sample.co.th Ã

6.11.2        ping ftp.sample.co.thÃ

6.11.3        ping mail.sample.co.th Ã

6.12   ตรวจสอบโดยใช้คําสั่ง  nslookupÃ

6.12.1        Set  type=anyÃ

6.12.2        Sample.co.thÃ

6.12.3        exitÃ

7.     การติดตั้ง webserver
7.1      rpm –q apache à หากไม่มี  ติดตั้งด้วย

7.2      mount /dev/cdrom Ã

7.3      rpm –ivh /mnt/cdrom/ReD/RD/mm-1DÃ

7.4      rpm –ivh /mnt/cdrom/ReD/RD/apache-1DÃ โปรแกรมอาจแจ้งว่ายังไม่ได้ติดตั้ง php4  ต้องติด
ตั้งโดย

7.5      rpm –ivh/mnt/cdrom/ReD/RD/php-4DÃ

7.6      umount /dev/cdromÃ

7.7      ejectÃ

7.8      หากต้องการลบ apache เดิมออก ทําได้โดยใช้คําสั่ง

7.9      rpm –e apacheÃ

7.10   ที่ ntsysv Ã

7.11   เลือก * หน้า httpd

7.12   ทดสอบการใช้งาน โดย ps –aux|grep httpdÃ

7.13   /etc/init.d/httpd restartÃ

7.14   เปิด web โดยใช้คําสั่ง lynx  192.168.100.1Ã

7.15   telnet 192.168.100.1 80Ã

7.16   แก้ไข configuration ของ Apache โดย

7.16.1        pico +421 /etc/httpd/conf/httpd.conf หรือติดตั้งโปรแกรม mc

7.17   เปิดคําสั่ง firewall โดยสั่ง  lokkit   

                 ขณะนี้สามารถ add user ได้

8.     การทํา virtual host

8.1      สั่ง netconfÃ

8.2      ที่ IP aliases for virtual hosts เลือก eth0Ã ทําดังนี้

8.2.1    IP  Alias or range  192.168.100.5

8.2.2    Netmark  (opt) 255.255.255.0

8.2.3    IP  Alias or range  192.168.100.10-15

8.2.4    Netmark  (opt) 255.255.255.0
8.2.5    IP  Alias or range  192.168.100.200-254

8.2.6    Netmark  (opt) 255.255.255.0

8.2.7    Accept

8.3      ทดสอบด้วยการ ping  เลข IP ข้างต้น

8.4      สั่ง /etc/init.d/network restartÃ

8.5      สั่ง adduser –d /home/sale saleÃ

8.6      Passwd ******Ã

8.7      Retype ******Ã

8.8      chmod 755 /home/sale Ã

9.     ทํา dhcp server แก้ไขไฟล์ /etc/dhcpd.conf à ส่วนใหญ่ใช้ได้แล้ว เมื่อเสร็จสั่ง

9.1      /etc/init.d/dhcpd restart Ã

9.2      ntsysvà เลือก *  หน้า dhcpd

10.  ติดตั้ง proxy server โดย

10.1   rpm –ivh /mnt/cdrom/ReD/RD/squid-2DÃ

10.2   แก้ไขไฟล์  /etc/squid/squid.conf

10.2.1        cache_mem  16 MB แล้วบันทึกที่อยู่ใหม่

10.2.2        mkdir /cache/squidÃ

10.2.3        chown /squid.squid /cache/squidÃ

10.2.4        squid -zDÃ

10.2.5        /etc/init.d/squid restartÃ

10.2.6        ntsysvà * squid

10.2.7        ทดสอบการทํางาน ps –aux|grep squidÃ

10.2.8        ทดสอบ lynx www.scienctech.comÃ

11.  ติดตั้ง mail server

11.1   rpm –ivh /mnt/cdrom/ReD/RD/popt-1DÃ

11.2   rpm –ivh /mnt/cdrom/ReD/RD/imap-2DÃ

11.3   /etc/init.d/xinetd restartÃ
11.4   mailconfÃ

11.5   ที่ basic send mail configuration

11.5.1        Present your system as Q accept email for sample

11.5.2        Present your system as Q accept email for ns.sample.co.th

11.5.3        Q Enable reply control

11.5.4        Q Anyone may run mailq

11.5.5        QAnyome may run sendmail –q > Accept

11.5.6        pineà หากใช้ไม่ได้  /etc/mail/reay-domain เพิ่ม  192.168.100 หรือ

11.5.7        เรียก  mailconfà เลือก Reply email

12.  ทํา ftp server

12.1   rpm –q wu-ftpÃ

12.2   rpm –ivh /mnt/cdrom/ReD/RD/anonftpDÃ

12.3   rpm –ivh /mnt/cdrom/ReD/RD/wu-ftpDÃ

12.4   ntsysvÃ

12.5   * wu-ftpd

12.6   *xinetd

12.7   ftp 192.168.100.1Ã

12.8   byeÃ

13.  ติดตั้ง webmin

13.1   rpm –ivh /mnt/cdrom/MyBooks/webminÃ

13.2   จะเกิดที่ http://192.168.100.1:10000Ã

14.  คําสั่ง ทั่วไป

14.1   mount /dev/fd0Ã

14.2   cp /etc/passwd/  /mnt/floppyÃ

14.3   umount /mnt/floppyÃหรือ umount /dev/fd0

14.4   freeÃ

14.5   df -hÃ
14.6   ps -auxÃ

14.7   ps –aux|grep ชื่อ daemonÃ

14.8   ps –aux|grep squidÃ

14.9   rpm เพื่อติดตั้งหรือถอนโปรแกรม 

14.9.1        rpm <option> package

14.9.2        rpm –q  (query)ตรวจสอบว่าเป็นเวอร์ชั่นใด

14.9.3        rpm –e  (Erase)  ลบออกจาก harddisk

14.9.4        rpm –I  (install)  เติม v  ตรวจสอบ h บอกความก้าวหน้าของการติดตั้ง

14.9.5        rpm –U (update)เติม v  ตรวจสอบ h บอกความก้าวหน้าของการติดตั้ง

14.10             ติดตั้ง mc

14.10.1    rpm –ivh /mnt/cdrom/ReD/RD/mc-4.5DÃ

                                         เชื่อมโยง คําสั่งinux2



                               รวบรวมโดย ว่าที่ ร.ต.องอาจ ชาญเชาว์

อ้างอิง
สถาบันบรมราชชนก.  คําสั่งพื้นฐานในลินุกซ์. [ออนไลน์].  เข้าถึงได้จาก
          http://www.linuxlane.com/basic-linux-command  (วันที่ค้นข้อมูล : 16 กรกฎาคม 2551).

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การเย็บผ้าขั้นพื้นฐาน
การเย็บผ้าขั้นพื้นฐานการเย็บผ้าขั้นพื้นฐาน
การเย็บผ้าขั้นพื้นฐานssuserd0b7c2
 
ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1rubtumproject.com
 
ใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับdevilp Nnop
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานVi Vik Viv
 
จับจีบผ้าลายดอกไม้
จับจีบผ้าลายดอกไม้จับจีบผ้าลายดอกไม้
จับจีบผ้าลายดอกไม้eakmarin
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูบทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูDnnaree Ny
 
Admin_Réseaux_linux_cours.pptx
Admin_Réseaux_linux_cours.pptxAdmin_Réseaux_linux_cours.pptx
Admin_Réseaux_linux_cours.pptxsimomjidi
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์wiraja
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
การดูแลใช้ส่วนตัว
การดูแลใช้ส่วนตัวการดูแลใช้ส่วนตัว
การดูแลใช้ส่วนตัวWanlop Chimpalee
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

Was ist angesagt? (20)

โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
การเย็บผ้าขั้นพื้นฐาน
การเย็บผ้าขั้นพื้นฐานการเย็บผ้าขั้นพื้นฐาน
การเย็บผ้าขั้นพื้นฐาน
 
ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1
 
Value chain27 09-2556
Value chain27 09-2556Value chain27 09-2556
Value chain27 09-2556
 
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
 
ใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับ
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
จับจีบผ้าลายดอกไม้
จับจีบผ้าลายดอกไม้จับจีบผ้าลายดอกไม้
จับจีบผ้าลายดอกไม้
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูบทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ละเมิด
ละเมิดละเมิด
ละเมิด
 
Admin_Réseaux_linux_cours.pptx
Admin_Réseaux_linux_cours.pptxAdmin_Réseaux_linux_cours.pptx
Admin_Réseaux_linux_cours.pptx
 
Chapter 5 define
Chapter 5 defineChapter 5 define
Chapter 5 define
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
 
Pa+hait 2562
Pa+hait 2562Pa+hait 2562
Pa+hait 2562
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
System management
System managementSystem management
System management
 
การดูแลใช้ส่วนตัว
การดูแลใช้ส่วนตัวการดูแลใช้ส่วนตัว
การดูแลใช้ส่วนตัว
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 

Andere mochten auch

Andere mochten auch (15)

Linux command-reference
Linux command-referenceLinux command-reference
Linux command-reference
 
Basic linux
Basic linuxBasic linux
Basic linux
 
Gitbook
GitbookGitbook
Gitbook
 
Cent OS-book
Cent OS-bookCent OS-book
Cent OS-book
 
หนังสือ Yii framework 2 Web Application Basic ฉบับพื้นฐาน
หนังสือ Yii framework 2 Web Application Basic ฉบับพื้นฐานหนังสือ Yii framework 2 Web Application Basic ฉบับพื้นฐาน
หนังสือ Yii framework 2 Web Application Basic ฉบับพื้นฐาน
 
Ch04 linux-hosting-vps
Ch04 linux-hosting-vpsCh04 linux-hosting-vps
Ch04 linux-hosting-vps
 
Endian Firewall
Endian FirewallEndian Firewall
Endian Firewall
 
โครงการอบรม Rpi โดย บริษัท หาดใหญ่โรบ็อท จำกัด
โครงการอบรม Rpi โดย บริษัท หาดใหญ่โรบ็อท จำกัดโครงการอบรม Rpi โดย บริษัท หาดใหญ่โรบ็อท จำกัด
โครงการอบรม Rpi โดย บริษัท หาดใหญ่โรบ็อท จำกัด
 
Raspberry Pi
Raspberry Pi Raspberry Pi
Raspberry Pi
 
Cisco packet tracer
Cisco packet tracerCisco packet tracer
Cisco packet tracer
 
Unix docs
Unix docsUnix docs
Unix docs
 
Git ฉบับอนุบาล 2
Git ฉบับอนุบาล 2Git ฉบับอนุบาล 2
Git ฉบับอนุบาล 2
 
Editors for-linux
Editors for-linuxEditors for-linux
Editors for-linux
 
Yii framework 2 basic training
Yii framework 2 basic trainingYii framework 2 basic training
Yii framework 2 basic training
 
Formulas kiln
Formulas kilnFormulas kiln
Formulas kiln
 

Ähnlich wie คำสั่ง ลินุกซ์ (Linux)

Basic Linux
Basic LinuxBasic Linux
Basic Linuxminafaw2
 
การใช้เครื่องมือต่างๆ1
การใช้เครื่องมือต่างๆ1การใช้เครื่องมือต่างๆ1
การใช้เครื่องมือต่างๆ1guestdfabcfa
 
การใช้เครื่องมือต่างๆ
การใช้เครื่องมือต่างๆการใช้เครื่องมือต่างๆ
การใช้เครื่องมือต่างๆguest3f77f6
 
การใช้เครื่องมือต่างๆ1
การใช้เครื่องมือต่างๆ1การใช้เครื่องมือต่างๆ1
การใช้เครื่องมือต่างๆ1guestdfabcfa
 
การใช้เครื่องมือต่างๆ
การใช้เครื่องมือต่างๆการใช้เครื่องมือต่างๆ
การใช้เครื่องมือต่างๆguest3f77f6
 
การใช้เครื่องมือต่างๆ12
การใช้เครื่องมือต่างๆ12การใช้เครื่องมือต่างๆ12
การใช้เครื่องมือต่างๆ12guest7878b9
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05Jenchoke Tachagomain
 

Ähnlich wie คำสั่ง ลินุกซ์ (Linux) (20)

Basic Linux
Basic LinuxBasic Linux
Basic Linux
 
Unix
UnixUnix
Unix
 
ระบบ UNIX
ระบบ UNIXระบบ UNIX
ระบบ UNIX
 
NETWORK SERVICEOPENSSH + NTP + SQUID
NETWORK SERVICEOPENSSH + NTP + SQUIDNETWORK SERVICEOPENSSH + NTP + SQUID
NETWORK SERVICEOPENSSH + NTP + SQUID
 
การใช้เครื่องมือต่างๆ1
การใช้เครื่องมือต่างๆ1การใช้เครื่องมือต่างๆ1
การใช้เครื่องมือต่างๆ1
 
การใช้เครื่องมือต่างๆ
การใช้เครื่องมือต่างๆการใช้เครื่องมือต่างๆ
การใช้เครื่องมือต่างๆ
 
การใช้เครื่องมือต่างๆ1
การใช้เครื่องมือต่างๆ1การใช้เครื่องมือต่างๆ1
การใช้เครื่องมือต่างๆ1
 
การใช้เครื่องมือต่างๆ
การใช้เครื่องมือต่างๆการใช้เครื่องมือต่างๆ
การใช้เครื่องมือต่างๆ
 
การใช้เครื่องมือต่างๆ12
การใช้เครื่องมือต่างๆ12การใช้เครื่องมือต่างๆ12
การใช้เครื่องมือต่างๆ12
 
Cent os
Cent osCent os
Cent os
 
Untitled
UntitledUntitled
Untitled
 
Untitled
UntitledUntitled
Untitled
 
Hotspotubuntu8
Hotspotubuntu8Hotspotubuntu8
Hotspotubuntu8
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันโปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน
 
Python Course #1
Python Course #1Python Course #1
Python Course #1
 
Ch08 mail-systems
Ch08 mail-systemsCh08 mail-systems
Ch08 mail-systems
 
Ch05 name-services
Ch05 name-servicesCh05 name-services
Ch05 name-services
 
นายจักรวาล มูลแก้ว Dropbox
นายจักรวาล มูลแก้ว Dropboxนายจักรวาล มูลแก้ว Dropbox
นายจักรวาล มูลแก้ว Dropbox
 

คำสั่ง ลินุกซ์ (Linux)

  • 1. คําสั่ง ลินุกซ์ (linux) (ยังปรับแต่งไม่เสร็จ) 1. unzip -C xxx.zip -d /yyyy EXAMPLES The simplest example: zip stuff * creates the archive stuff.zip (assuming it does not exist) and puts all the files in the current  directory  in  it,  in compressed  form  (the  .zip  suffix is added automatically, unless that archive name given contains a dot already; this allows the explicit specification of other suffixes). Because of the way the shell does filename substitution, files starting with "." are not included; to include  these  as well: zip stuff .* * Even this will not include any subdirectories from the current directory. To zip up an entire directory, the command: zip -r foo foo creates  the archive foo.zip, containing all the files and directories in the directory foo that is contained within the current directory. You may want to make a zip archive that contains the files in foo, without recording the directory name, foo.   You  can use the -j option to leave off the paths, as in: zip -j foo foo/* If you are short on disk space, you might not have enough room to hold both the original directory and the corresponding compressed zip archive.  In this case, you can create the archive in steps using the -m option.   If  foo  contains  the subdirectories tom, dick, and harry, you can: zip -rm foo foo/tom zip -rm foo foo/dick zip -rm foo foo/harry        where  the  first  command creates foo.zip, and the next two add to it.  At the completion of each zip command, the last 2. telnet [ชื่อ server] ตัวอย่าง   ขั้นตอนสําหรับติดต่อ server ชื่อ unix.kmitl.ac.th 1.      คลิกเมาส์เลือก  Start, Run….. 2.      พิมพ์คําสั่ง  telnet unix.kmitl.ac.th 3.      ใส่ชื่อบัญชีผู้ใช้ (user name) หลัง  login: 5. ใส่รหัสผ่าน (password) หลัง  password: 6. เมื่อ connect ได้ จอภาพแสดงข้อความแนะนําผู้ใช้ดังรูป 3. คําสั่งเลิกติดต่อ           logout ตัวอย่าง $ Iogout
  • 2. 4. คําสั่งเปลี่ยนรหัสผ่าน (password) การใช้งาน passwd ตัวอย่างการใช้ $ passwd ให้ใส่รหัสผ่านที่ใช้อยู่ในขณะนั้น จะมีข้อความแจ้งว่า ‘New password:’ ให้ใส่รหัสผ่านอันใหม่ที่จะใช้แทนอันเดิม จะมีข้อความแจ้งว่า  ‘Re-enter new password:’ ระบบจะเตือนให้ใส่อีกครั้ง ต้องเหมือนกับที่ใส่ในช่อง New ถ้าใส่ทั้ง 2 ครั้งเหมือนกันและถูกต้องตามกฎการตั้งรหัสผ่านจะปรากฏเครื่องหมาย $ ถ้าแสดงเป็นอย่างอื่นเช่น ‘Password must contain at least two alphabetic characters and at least one numeric or special character.’ หรือ  ‘New passwords must differ from the old by  at  least  three  characters.’ และหรือ  ‘Each password must differ from the user's login name  and any reverse or circular shift of that login name.’  แสดงว่าทําไม่ถูกต้องอยู่ให้เริ่มใหม่จากข้อ  2 5. คําสั่งตรวจสอบการใช้เนื้อที่ การใช้งาน             quota [-v] [username] ตัวอย่าง $ quota -v ข้อมูลแต่ละคอลัมน์มีความหมายดังนี้ Filesystem        คือ ชื่อไดเรกทอรีที่ถูกกําหนด quota Usage              คือ จํานวนเนื้อที่ที่ใช้ไป มีหน่วยเป็น  Kbytes quota               คือ จํานวนเนื้อที่ทีระบบจะเริ่มเตือนในช่อง timeleft มีหน่วยเป็น  Kbytes limit                  คือ จํานวนเนื้อที่ที่อนุญาต  มีหน่วยเป็น  Kbytes timeleft             คือ จํานวนเวลาที่เหลืออยู่ก่อนจะ loginเข้าไม่ได้ มีหน่วยเป็นวันเช่น 7 days files                  คือ จํานวนไฟล์ที่ใช้ไป quota               คือ จํานวนไฟล์ที่ที่ระบบจะเริ่มเตือนในช่อง  timeleft timeleft             คือ จํานวนไฟล์ที่อนุญาต timeleft             คือ จํานวนเวลาที่เหลืออยู่ก่อนจะ login เข้าไม่ได้มีหน่วยเป็น วัน เช่น 7 days 6. คําสั่งตรวจสอบการเข้าใช้งานที่ผ่านมา การใช้งาน      last [username] ตัวอย่าง last | ชื่อบัญชีผู้ใช้   l  more $last  knorasa  |  more  หมายถึงดูการใช้งานของบัญชีผู้ใช้ชื่อ  knorasa แต่ละคอลัมน์   มีความหมายดังนี้ คอลัมน์ 1  คือ ชื่อบัญชีผู้ใช้ คอลัมน์ 2  คือ หมายเลข  terminal ที่เครื่อง UNIX server ติดต่อกับ PC คอลัมน์ 3  คือ  Address  ของ  PC ที่  telnet  ไปยัง  server
  • 3. คอลัมน์ 4,5,6  คือ  วันที่ คอลัมน์ 7,8,9  คือ เวลาเริ่ม ถึง  เวลาเลิก คอลัมน์ 10  คือ จํานวนเวลาที่ใช้งาน  มีหน่วยเป็น ชั่วโมง: นาที 7.คําสั่งดูรายชื่อไฟล์ การใช้             ls [option] ตัวอย่าง $ls –la la มาจาก List long and all แต่ละคอลัมน์  มีความหมายดังนี้ 1. คอลัมน์  1  คือสิทธิในไฟล์และมี   10  ช่อง 1.1  ช่องแรก- คือไฟล์และ d คือ ไดเรกทอรี 1.2  สิทธิประกอบด้วย read, w คือ write,x คือ  execute และ -คือไม่ให้สิทธิ 1.3  3 ช่องถัดมา คือสิทธิของเจ้าของ (owner) 1.4  3 ช่องถัดมา  คือสิทธิให้กลุ่ม (group) 1.5  3 ช่องถัดมา คือ สิทธิให้ผู้อื่น  (other) 2. คอลัมน์  2  คือจํานวน  inode 3. คอลัมน์  3  คือ  ชื่อเจ้าของไฟล์ 4. คอลัมน์  4  คือ ชื่อกลุ่ม 5. คอลัมน์  5  คือ ขนาดไฟล์  มีหน่วยเป็นByte 6. คอลัมน์  6,7,8  คือ  วันและเวลา 7. คอลัมน์  9  คือ  ชื่อไฟล์ 8. คําสั่งลบไฟล์ การใช้ rm [ชื่อไฟล์] ตัวอย่าง $rm dead.letter หมายถึงลบไฟล์ชื่อ  dead.letter 9. คําสั่งเปลี่ยนไดเรกทอรี การใช้ cd [Directory name] ตัวอย่าง $cd mail หมายถึง เปลี่ยนเข้าไปยังไดเรกทอรีชื่อ mail cd ..      หมายถึงให้ถอยหลังออกไปหนึ่ง directory cd /     หมายถึงให้ถอยหลักออกไปนอกสุดสู่ root directory
  • 4. cd ตามด้วยชื่อdirtory หมายถึงให้เข้าไปใน directory นั้น cd / ตามด้วยชื่อdirtory1  dirtory2  dirtory3 หมายถึงให้ออกมาสู่ Root dirrectory แล้วเข้าไปสู่ dir นั้น มีประโยชน์คือ ไม่ต้องเสียเวลาออกมาทีละ Dirtory 10.คําสั่งสร้างไดเรกทอรี การใช้ mkdir [Directory name] ตัวอย่าง $mkdir example  หมายถึง สร้างไดเรกทอรีชื่อ  example 11.คําสั่งลบไดเรกทอรีรวมไฟล์ที่อยู่ภายใน การใช้ rm [Option] [Directory name] ตัวอย่าง $rm-r example หมายถึงลบ Directory ชื่อ example ไม่ว่าภายในจะมีไฟล์อยู่เท่าไรก็ตาม ลบทั้งหมด คําสั่งขอดูข้อมูลที่ละ  1 หน้าจอ การใช้ more [File name] ตัวอย่าง $more .pinerc หมายถึงขอดูค่า configuration ของโปรแกรม Pine  ทีละ  1  หน้าจอและกดปุ่ม  Space  bar  ดูหน้าถัด ไป 12. แสดง Directory ปัจจุบัน การใช้ pwd ตัวอย่าง คําสั่งในการแสดง user และรายละเอียด user การใช้ finger จะเป็นการแสดงรายชื่อผู้ที่กําลัง logon อยู่ในขณะนั้น finger <user account>                จะแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับ user ที่ระบุ 13. คําสั่งในการค้นหา การใช้ grep <คําที่ต้องการค้นหา> ตัวอย่าง
  • 5. finger | grep kb เป็นคําสั่งในการค้นหา user ที่กําลัง logon ที่มี user account ขึ้นต้นด้วย kb 14.คําสั่งในการแสดงผู้ใช้ปัจจุบัน การใช้ whoami ตัวอย่าง $whoami 15.คําสั่ง Copy ไฟล์ข้อมูล การใช้ cp [file1] [file2] หมายถึงทําการ Copy ไฟล์1 ไปเป็นไฟล์2 ตัวอย่าง $cp ret new 1. คําสั่งย้ายไฟล์ข้อมูล การใช้ mv [file1 ] [directory] หมายถึง ย้าย file1 ไปยัง Directory ที่ระบุ การใช้เพื่อเปลี่ยนชื่อไฟล์ mv [filename1] [file name2] หมายถึง เปลี่ยนชื่อจาก filename1 ไปเป็น filename2 1. คําสั่งขอดูวิธีการใช้ การใช้ man [ชื่อคําสั่ง] ตัวอย่าง $man  passwd             หมายถึงขอดูวิธีใช้คําสั่ง  passwd 1. การใช้งาน VI             VI (อ่านว่า วี-ไอ) เป็นเอดิเตอร์ตัวหนึ่งที่ใช้ในการแก้ไขเอกสารต่างๆ บนยูนิกซ์ ถ้าเปรียบเที่ย บกับโปรแกรมบน Windows ก็คงเทียบได้กับ Notepad นั่นเอง เริ่มต้นการใช้งานโดยใช้คําสั่ง vi <ชื่อไฟล์> เมื่อ ชื่อไฟล์เป็นไฟล์ที่คุณต้องการจะบันทึกข้อความ สําหรับ vi คําสั่งหลักๆที่ควรทราบก็มี ปุ่ม esc ใช้สลับระหว่างโหมด command กับโหมด editor i - insert เพิ่มข้อความ ณ ตําแหน่ง cursor :w บันทึกไฟล์ :q ออกจากโปรแกรม (ถ้ามีการแก้ไขจะออกไม่ได้) :q! ออกจากโปรแกรมโดยยืนยันว่าไม่บันทึกการแก้ไข
  • 6. :wq บันทึกแล้วออกจากโปรแกรม สําหรับคําสั่งอื่นๆศึกษาเพิ่มเติมเอาครับ รู้ข้างบนก็พอเอาตัวรอดได้ละครับการใช้งาน PICO PICO เป็นเอดิเตอร์ตัวหนึ่งที่ใช้ในการแก้ไขเอกสารเช่นเดียวกันกับ VI แต่การใช้งาน PICO จะใช้ได้ ง่ายกว่า VI  มีลักษณะหน้าจอการใช้งานคล้ายๆ กับโปรแกรม PINE เริ่มต้นใช้งาน PICO โดยใช้คําสั่ง pico <ชื่อไฟล์> ดูรายละเอียดเพิ่มเติมการใช้งาน PICO created archive is deleted, making room for the next zip command to function. 1. คําสั่ง telnet เป็นคําสั่งที่เปลี่ยน host ที่ใช้อยู่ไปยัง host อื่น (ใน Windows 95 ก็มี) รูปแบบ $ telnet hostname เช่น c:> telnet student.rit.ac.th เปลี่ยนไปใช้ host ชื่อ student.rit.ac.th $ telnet 202.44.130.165 เปลี่ยนไปใช้ host ที่มี IP = 202.44.130.165 $ telnet 0 telnet เข้า host ที่ใช้อยู่นะขณะนั้น เมื่อเข้าไปได้แล้วก็จะต้องใส่ login และ password และเข้าสู่ระบบยูนิกส์นั้นเอง 1. คําสั่ง ftp ftp เป็นคําสั่งที่ใช้ถ่ายโอนไฟล์ข้อมูลจากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่ง โดยการติดต่อกับ host ที่เป็น ftp นั้นจะ ต้องมี user name และมี password ที่สร้างขึ้นไว้แล้ว แต่ก็มี ftp host ที่เป็น public อยู่ไม่น้อยเช่นกัน ดัง นั้นจะมี user name ที่เป็น publicเช่นกัน คือ user ที่ชื่อว่า anonymous ส่วน password ของ user anonymous นี้จะใช้เป็น E-mail ของผู้ที่จะ connect เข้าไปและโปรแกรมส่วนใหญ่ก็จะอยู่ใน directory ชื่อ pub รูปแบบ $ ftp hostname เช่น c:windows> ftp wihok.itgo.com $ ftp ftp.nectec.or.th คําสั่ง ftp จะมีคําสั่งย่อยที่สําคัญๆ ได้แก่ ftp> help ใช้เมื่อต้องการดูคําสั่งที่มีอยู่ใในคําสั่ง ftp ftp> open hostname ใช้เมื่อต้องการ connect ไปยัง host ที่ต้องการ ftp> close ใช้เมื่อต้องการ disconnect ออกจาก host ที่ใช้งานอยู่ ftp> bye หรือ quit ใช้เมื่อต้องการออกจากคําสั่ง ftp ftp> ls หรีอ dir ใช้แสดงชื่อไฟล์ที่มีอยู่ใน current directory ของ host นั้น ftp> get ใช้โอนไฟล์ทีละไฟล์จาก host ปลายทางมายัง localhost หรือเครื่องของเรานั้นเอง ftp> mget ใช้โอนไฟล์ทีละหลายๆไฟล์จาก host ปลายทางมายัง localhost ftp> put ใช้โอนไฟล์ทีละไฟล์จาก localhost ไปเก็บยัง host ปลายทาง ftp> mput ใช้โอนไฟล์ทีละหลายๆไฟล์จาก localhost ไปเก็บยัง host ปลายทาง ftp> cd ใช้เปลี่ยน directory ftp> delete และ mdelete ใช้ลบไฟล์ 1. คําสั่ง ls มีค่าเหมือนกับ คําสั่ง dir ของ dos รูปแบบ $ ls [-option] [file]
  • 7. option ที่สําคัญ แสดงแบบไฟล์ละบรรทัด แสดง permission , เจ้าของไฟล์ , ชนิด , ขนาด , เวลาที่สร้าง a แสดงไฟล์ที่ซ่อนไว้ ( dir /ah) p แสดงไฟล์โดยมี / ต่อท้าย directory F แสดงไฟล์โดยมีสัญญลักษณ์ชนิดของไฟล์ต่อท้ายไฟล์คือ / = directory * = execute file @ = link file ld แสดงเฉพาะ directory (dir /ad) R แสดงไฟล์ที่อยู่ใน directory ด้วย (dir /s) เช่น $ ls $ ls -la a 1. คําสั่ง more แสดงข้อมูลทีละหน้าจอ อาจใช้ร่วมกับเครื่องหมาย pipe line ( | ) หากต้องการดูหน้าถัดไปกด space ดู บรรทัดถัดไปกด Enter เช่น $ ls -la | more $ more filename a 1. คําสั่ง cat มีค่าเหมือนกับ คําสั่ง type ของ dos ใช้ดูข้อมูลในไฟล์ เช่น $ cat filenama 1. คําสั่ง clear มีค่าเหมือนกับ คําสั่ง cls ของ dos ใช้ลบหน้าจอ terminal ให้ว่าง $ clear 1. คําสั่ง date ใช้แสดง วันที่ และ เวลา $ date 17 May 1999 1. คําสั่ง cal ใช้แสดง ปฏิทินของระบบ รูปแบบ $ cal month year เช่น $ cal 07 1999 1. คําสั่ง logname คําสั่งแสดงชื่อผู้ใช้ขณะใช้งาน $ logname 1. คําสั่ง id ใช้แสดงชื่อและกลุ่มมของผู้ใช้งาน $ id 1. คําสั่ง tty
  • 8. แสดงหมายเลข terminal ที่ใช้งานอยู่ $ tty 1. คําสั่ง hostname คําสั่งแสดงชื่อเครื่องที่ใช้อยู่ $ hostname 1. คําสั่ง uname คําสั่งแสดง ชื่อและรุ่นของ OS ชื่อและรุ่นของ cpu ชื่อเครื่อง $ uname -a 1. คําสั่ง history คําสั่งที่ใช้ดูคําสั่งที่ใช้ไปแล้วก่อนหน้านี้ $ history เวลาเรียกใช้ต้องมี ! แล้วตามด้วยหมายเลขคําสั่งที่ต้องการ 1. คําสั่ง echo และ banner $ echo "Hello" ใช้แสดงข้อความ "Hello" ขนาดปกติ $ banner "Hello" ใช้แสดงข้อความ "Hello" ขนาดใหญ่ 1. คําสั่ง who , w และ finger ใช้แสดงว่าใครใช้งานอยู่บ้างขณะนั้น $ who $w $ finger ดูผู้ใช้ที่ host เดียวกัน $ finger @daidy.bu..ac.th ดูผู้ใช้โดยระบุ Host ที่จะดู $ finger wihok ดูผู้ใช้โดยระบุคนที่จะดูลงไป $ who am i แสดงชื่อผู้ใช้ เวลาที่เข้าใช้งาน และ หมายเลขเครื่อง $ whoami เหมือนกับคําสั่ง logname 1. คําสั่ง pwd แสดง directory ที่เราอยู่ปัจจุบัน $ pwd 1. คําสั่ง mkdir ใช้สร้าง directory เทียบเท่า MD ใน DOS $ mkdir dir_name 1. คําสั่ง cp ใช้ copy ไฟล์หนึ่ง ไปยังอกไฟล์หนึ่ง รูปแบบ $ cp [-irfp] file_source file_target option -i หากมีการทับข้อมูลเดิมจะรอถามก่อนที่จะทับ option -r copy ไฟล์ทั้งหมดรวมทั้ง directory ด้วย option -f ไม่แสดงข้อความความผิดพลาดออกหน้าจอ option -p ยืนยันเวลาและความเป็นเจ้าของเดิม $ cp file_test /tmp/file_test
  • 9. 1. คําสั่ง mv ใช้ move หรือเปลี่ยนชื่อไฟล์ รูปแบบ $ mv [-if] file_source file_target ความหมายของ option เช่นเดียวกับ cp $ mv index.html main.html เปลี่ยนชื่อไฟล์ index.html เป็น main.html 1. คําสั่ง rm ใช้ลบไฟล์หรือ directory โดยที่ยังมีข้อมูลภายในเทียบเท่า del และ deltree ของ dos รูปแบบ $ rm [-irf] filename $ rm -r dir_name ลบ dir_name โดยที่ dir_name เป็น directory ว่างหรือไม่ว่างก็ได้ $ rm -i * ลบทุกไฟล์โดยรอถามตอบ 1. คําสั่ง rmdir ใช้ลบ directory ที่ว่าง เทียบเท่ากับ rd ของ Dos $ rmdir dir_name ใช้ลบ directory ที่ว่าง เทียบเท่ากับ rd ของ Dos $ rmdir dir_name 1. คําสั่ง alias ใช้ย่อคําสั่งให้สั้นลง $ alias l = ls -l $ alias c = clear 1. คําสั่ง unalias ใช้ยกเลิก alias เช่น $ unalias c 1. คําสั่ง type ใช้ตรวจสอบว่าคําสั่งที่ใช้เก็บอยู่ที่ใดของระบบ รูปแบบ $ type command $ type clear 1. คําสั่ง find ใช้ค้นหาไฟล์ที่ต้องการ เช่น $ find /usr/bin -name "*sh" -print หาไฟล์ที่ลงท้ายด้วย sh จาก /usr/bin 1. คําสั่ง grep ใช้คนหาข้อความที่ต้องการจากไฟล์ $ grep ข้อความ file 1. คําสั่ง man man เป็นคําสั่งที่เป็นคู่มือการใช้คําสั่งแต่ละคําสั่งเช่น $ man ls $ man cp 1. คําสั่ง write
  • 10. ใช้ส่งข้อความไปปรากฎที่หน้าจอของเครื่องที่ระบุในคําสั่งไม่สามารถใช้ข้าม host ได้ เช่น $ write s0460003 1. คําสั่ง mesg $ mesg ดู status การรับการติดต่อของ terminal $ mesg y เปิดให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้ $ mesg n ปิดไม่ให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้ 1. คําสั่ง talk ใช้ติดต่อสื่อสารแบบสองทาง เหมือนกับการคุยโดยผู้ส่ง ๆ ไปแล้วรอการตอบกลับจาก ผู้รับ สามารถ หยุดการติดต่อโดย Ctrl + c สามารถใช้ข้าม host ได้ รูปแบบ $ talk username@hostname 1. คําสั่ง pine ใช้อ่านและส่งจดหมายข้างในจะมี menu ให้ใช้ 1. คําสั่ง tar ใช้สําหรับ รวมไฟล์ย่อยให้เป็นไฟล์ Packet คล้ายๆกับการ zip หลายๆไฟล์ให้เป็นไฟล์เดียวแต่ขนาด ไฟล์ไม่ได้ลดลงอย่างการ zip โดยไฟล์ output ที่ได้จะตั้งชื่อเป็น filename.tar หรือการแตกไฟล์ packet จาก filename.tar ให้เป็นไฟล์ย่อยมักจะใช้คู่กับ gzip หรือ compress เพื่อทําการลดขนาด packet ให้เล็ก ลง รูปแบบการใช้ $ tar -option output input -option ประกอบด้วย -cvf , -tvf , -xvf แสดงดังด้านล่าง output คือ ไฟล์.tar หรืออาจจะเป็น device เช่น tape ก็ได้ input คือ ไฟล์หรือกลุ่มไฟล์หรือ directory หรือรวมกันทั้งหมดที่กล่าวมา $ tar -cvf Output_file.tar /home/myhome/* Option -cvf ใช้สําหรับการรวมไฟล์ย่อยไปสู่ไฟล์ .tar จากตัวอย่าง รวมไฟล์ทุกไฟล์ที่อยู่ใน /home/ myhome/ เข้าสู่ไฟล์ชื่อ Output_file.tar $ tar -tvf filename.tar Option -tvf ใช้แตกไฟล์ .tar เป็นไฟล์ย่อยๆแบบ preview คือแสดงให้ดูไม่ได้แตกจริงอาจใช้คู่กับ คําสั่ง อื่น เพื่อให้ได้ประโยชน์ตามต้องการ เช่น tar -tvf filename.tar |more $ tar -xvf filename.tar Option -xvf ใช้แตกไฟล์ .tar เป็นไฟล์ย่อยๆ โดยจะแตกลง ณ current directory 1. คําสั่ง gzip ใช้ zip หรือ Unzip ไฟล์ packet โดยมากแล้วจะเป็น .tar เช่น $ gzip filename.tar ผลที่ได้จะได้ไฟล์ซึ่งมีการ zip แล้วชื่อ filename.tar.gz $ gzip -d filename.tar.gz ใช้ unzip ไฟล์ผลที่ได้จะเป็น filename.tar 1. คําสั่ง Compress และ Uncompress หลังจากการ compress แล้วจะได้เป็นชื่อไฟล์เดิมแต่ต่อท้ายด้วย .Z การใช้งานเหมือนกับ gzip และ gzip -d เช่น
  • 11. $ compress -v file.tar จะได้ไฟล์ชื่อ file.tar.Z โดย Option -v จะเป็นการ verify การ compress $ uncompress -v file.tar.Z  การติดตั้ง linux .     การแบ่ง partition แบ่งเป็น 9 partition ดังนี้ 1.1      /boot  ใช้ประมาณ   5 MB 1.2      /usr  สําหรับติดตั้ง linux package  700 MB ขึ้นไป 1.3      /home  ที่เหลือจากทั้งหมด 1.4      /var  เก็บค่า log จากการใช้งาน ไม่ควรน้อยกว่า  256 MB 1.5      /cache สําหรับทํา proxy server  (squid)   250 MB ขึ้นไป 1.6      /chroot สําหรับติดตั้ง daemon ที่ต้องการความปลอดภัย  เช่น DNS  ใช้ประมาณ  256  MB 1.7      /tmp สําหรับเก็บไฟล์ชั่วคราวของระบบ  256 MB ก็พอ 1.8      /   ใช้ประมาณ  256 เป็น root directory 1.9      <swap> 2 เท่าของ RAM   2.     Hostname และ Domainname  โดยทั่วไปคือ  hostname.domainname เช่น  ns.sample.co.th มี ns เป็น hostname และมี sample.co.th เป็น domainname 3.     โปรแกรมที่ควรเลือกติดตั้ง 3.1      windows file server 3.2      Anomymous FTP server 3.3      SQL database Server 3.4      Web Server 3.5      DNS name Server 4.     คําสั่งที่สําคัญ 4.1      mount /dev/cdrom   Ã 4.2      rpm  -ivh /mnt/cdrom/ReD/RDlinuxconf-1D 4.3      reboot 4.4      netconf เพื่อปรับแต่งค่า 4.4.1  ใน hostname and IP
  • 12. 1)      hostname+domainname =     ns.sample.co.th 2)      adapter 1=  Q  Enable 3)      primaryname + domain =  ns.sample.co.th 4)      Aliases (opt)  =  ns 5)      IP Address = 192.168.100.1 6)      Netmark (opt) = 255.255.255.0 7)      Net device = eth0 4.4.2 ใน name server specification 1)      DNS usage =X  DNS is required 2)      default domain = sample.co.th 3)      IP  of name server = 192.168.100.1 4)      search  domain 1  = sample.co.th 4.4.3 Routing and gateway  1)      default gateway =192.168.100.1 ,  Q Enable Routing 4.5      คําสั่งทดสอบระบบ network 4.5.1 ifconfig  à 4.5.2 /etc/init.d/network restart à 4.5.3 ping 192.168.100.1 à 4.5.4 ping nsà 4.5.5 ping 192.168.100.254à   5.     การติดตั้ง DNS Server (Domain name server) 6.     การตั้งค่า DNS  ใช้คําสั่ง  netconf ติดตั้งดังนี้ 6.1      ที่ Domain name server (DNS) ใช้คําสั่ง 6.1.1    mount /dev/cdrom/  à 6.1.2    rpm /mnt/cdrom/ReD/RDbind-dDà 6.1.3    linuxconf –setmod dnsconfÃ
  • 13. 6.2      ที่ IP reverse mappings เลือก Add แล้วปรับแต่งดังนี้ 6.2.1    Network number =192.168.100 6.2.2    Subnet Range x-y =1-254 6.2.3    Main Server ns.sample.co.th 6.2.4    Administrator Email =hostmaster.ns.sample.co.th อาจทดสอบเป็น mail.sample.co.thแล้วด้าน ล่างของ Name Server (NS) เป็น ns.sample.co.th 6.3       ที่ Configure Domain (หน้าต่าง Primary Zone) คลิก add 6.4      ที่ Primary specification ปรับดังนี้ 6.4.1    Domain =sample.co.th 6.4.2    Main server = ns.sample.co.th 6.4.3    Administater Mail =hostmaster.ns.sample.co.th  อาจทดสอบเป็น mail.sample.co.thแล้วด้าน ล่างของ Name Server (NS) เป็น ns.sample.co.th  ล่าง mail server เป็น ns.sample.co.th ล่าง Default IPs  เป็น 192.168.100.1 _ Accept  _ Dismiss 6.5      การ Map  Domain ให้กับเครือข่าย เลือก  netconf  ที่ DNS configurator เลือก Add /Edit host information by Domain  เลือก Sample.co.th คลิก Add 6.5.1    พิมพ์  www.sample.co.th  _ เลือก Accept 6.5.2    host or subdomain  =www.sample.co.th 6.5.3    IP  number=192.168.100.1 6.5.4    เลือก Accept 6.5.5 การกําหนด IP reverse Mapping  เลือก IP  allocation confic resolution ดังนี้ 6.5.6    192.168.100.1 Q  Do reverse Mapping on this IP 6.5.7    Allocated to  ns.sample.co.th เลือก Accept 6.6      ทํา FTP server  ที่ Host or Domain specification   6.6.1    พิมพ์  ftp.sample.co.th  เลือก Accept 6.6.2    ที่ host or sub-domain = ftp.sample.co.th 6.6.3    ที่ IP number =192.168.100.1 เลือก Accept 6.6.4  กําหนด IP reverse Mapping  เลือก IP  allocation confic resolution ดังนี้
  • 14. 6.6.5    192.168.100.1 Q  Do reverse Mapping on this IP 6.6.6    Allocated to  ns.sample.co.th                                                  www.sample.co.th 6.7      ทํา mail Server ที่ Host or Domain specification   6.7.1    พิมพ์  mail.sample.co.th  เลือก Accept 6.7.2    ที่ host or sub-domain = mail.sample.co.th 6.7.3    ที่ IP number =192.168.100.1 เลือก Accept 6.7.4    ที่ Mail server MX บรรทัด Server  พิมพ์  mail.sample.co.th 6.7.5    กําหนด IP reverse Mapping  เลือก IP  allocation confic resolution ดังนี้ 6.7.6    192.168.100.1 Q  Do reverse Mapping on this IP 6.7.7    Allocated to  ns.sample.co.th                                                  www.sample.co.th                                                  mail.sample.co.th และทําต่อจนเป็น                                               ftp.sample.co.th            6.8      เมื่อไม่ทําเพิ่มเลือก Cencel  _    Dismiss 6.9      ใช้คําสั่ง ntsysvà ทําให้เกิดเครื่องหมาย * หน้า named   6.10   ใช้คําสั่ง /etc/init.d/named restart à 6.11    ทดสอบการทํางานด้วยการ ping ดังนี้ 6.11.1        ping www.sample.co.th à 6.11.2        ping ftp.sample.co.thà 6.11.3        ping mail.sample.co.th à 6.12   ตรวจสอบโดยใช้คําสั่ง  nslookupà 6.12.1        Set  type=anyà 6.12.2        Sample.co.thà 6.12.3        exità 7.     การติดตั้ง webserver
  • 15. 7.1      rpm –q apache à หากไม่มี  ติดตั้งด้วย 7.2      mount /dev/cdrom à 7.3      rpm –ivh /mnt/cdrom/ReD/RD/mm-1Dà 7.4      rpm –ivh /mnt/cdrom/ReD/RD/apache-1Dà โปรแกรมอาจแจ้งว่ายังไม่ได้ติดตั้ง php4  ต้องติด ตั้งโดย 7.5      rpm –ivh/mnt/cdrom/ReD/RD/php-4Dà 7.6      umount /dev/cdromà 7.7      ejectà 7.8      หากต้องการลบ apache เดิมออก ทําได้โดยใช้คําสั่ง 7.9      rpm –e apacheà 7.10   ที่ ntsysv à 7.11   เลือก * หน้า httpd 7.12   ทดสอบการใช้งาน โดย ps –aux|grep httpdà 7.13   /etc/init.d/httpd restartà 7.14   เปิด web โดยใช้คําสั่ง lynx  192.168.100.1à 7.15   telnet 192.168.100.1 80à 7.16   แก้ไข configuration ของ Apache โดย 7.16.1        pico +421 /etc/httpd/conf/httpd.conf หรือติดตั้งโปรแกรม mc 7.17   เปิดคําสั่ง firewall โดยสั่ง  lokkit                     ขณะนี้สามารถ add user ได้ 8.     การทํา virtual host 8.1      สั่ง netconfà 8.2      ที่ IP aliases for virtual hosts เลือก eth0à ทําดังนี้ 8.2.1    IP  Alias or range  192.168.100.5 8.2.2    Netmark  (opt) 255.255.255.0 8.2.3    IP  Alias or range  192.168.100.10-15 8.2.4    Netmark  (opt) 255.255.255.0
  • 16. 8.2.5    IP  Alias or range  192.168.100.200-254 8.2.6    Netmark  (opt) 255.255.255.0 8.2.7    Accept 8.3      ทดสอบด้วยการ ping  เลข IP ข้างต้น 8.4      สั่ง /etc/init.d/network restartà 8.5      สั่ง adduser –d /home/sale saleà 8.6      Passwd ******à 8.7      Retype ******à 8.8      chmod 755 /home/sale à 9.     ทํา dhcp server แก้ไขไฟล์ /etc/dhcpd.conf à ส่วนใหญ่ใช้ได้แล้ว เมื่อเสร็จสั่ง 9.1      /etc/init.d/dhcpd restart à 9.2      ntsysvà เลือก *  หน้า dhcpd 10.  ติดตั้ง proxy server โดย 10.1   rpm –ivh /mnt/cdrom/ReD/RD/squid-2Dà 10.2   แก้ไขไฟล์  /etc/squid/squid.conf 10.2.1        cache_mem  16 MB แล้วบันทึกที่อยู่ใหม่ 10.2.2        mkdir /cache/squidà 10.2.3        chown /squid.squid /cache/squidà 10.2.4        squid -zDà 10.2.5        /etc/init.d/squid restartà 10.2.6        ntsysvà * squid 10.2.7        ทดสอบการทํางาน ps –aux|grep squidà 10.2.8        ทดสอบ lynx www.scienctech.comà 11.  ติดตั้ง mail server 11.1   rpm –ivh /mnt/cdrom/ReD/RD/popt-1Dà 11.2   rpm –ivh /mnt/cdrom/ReD/RD/imap-2Dà 11.3   /etc/init.d/xinetd restartÃ
  • 17. 11.4   mailconfà 11.5   ที่ basic send mail configuration 11.5.1        Present your system as Q accept email for sample 11.5.2        Present your system as Q accept email for ns.sample.co.th 11.5.3        Q Enable reply control 11.5.4        Q Anyone may run mailq 11.5.5        QAnyome may run sendmail –q > Accept 11.5.6        pineà หากใช้ไม่ได้  /etc/mail/reay-domain เพิ่ม  192.168.100 หรือ 11.5.7        เรียก  mailconfà เลือก Reply email 12.  ทํา ftp server 12.1   rpm –q wu-ftpà 12.2   rpm –ivh /mnt/cdrom/ReD/RD/anonftpDà 12.3   rpm –ivh /mnt/cdrom/ReD/RD/wu-ftpDà 12.4   ntsysvà 12.5   * wu-ftpd 12.6   *xinetd 12.7   ftp 192.168.100.1à 12.8   byeà 13.  ติดตั้ง webmin 13.1   rpm –ivh /mnt/cdrom/MyBooks/webminà 13.2   จะเกิดที่ http://192.168.100.1:10000à 14.  คําสั่ง ทั่วไป 14.1   mount /dev/fd0à 14.2   cp /etc/passwd/  /mnt/floppyà 14.3   umount /mnt/floppyÃหรือ umount /dev/fd0 14.4   freeà 14.5   df -hÃ
  • 18. 14.6   ps -auxà 14.7   ps –aux|grep ชื่อ daemonà 14.8   ps –aux|grep squidà 14.9   rpm เพื่อติดตั้งหรือถอนโปรแกรม  14.9.1        rpm <option> package 14.9.2        rpm –q  (query)ตรวจสอบว่าเป็นเวอร์ชั่นใด 14.9.3        rpm –e  (Erase)  ลบออกจาก harddisk 14.9.4        rpm –I  (install)  เติม v  ตรวจสอบ h บอกความก้าวหน้าของการติดตั้ง 14.9.5        rpm –U (update)เติม v  ตรวจสอบ h บอกความก้าวหน้าของการติดตั้ง 14.10             ติดตั้ง mc 14.10.1    rpm –ivh /mnt/cdrom/ReD/RD/mc-4.5Dà เชื่อมโยง คําสั่งinux2 รวบรวมโดย ว่าที่ ร.ต.องอาจ ชาญเชาว์ อ้างอิง สถาบันบรมราชชนก.  คําสั่งพื้นฐานในลินุกซ์. [ออนไลน์].  เข้าถึงได้จาก           http://www.linuxlane.com/basic-linux-command  (วันที่ค้นข้อมูล : 16 กรกฎาคม 2551).