SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 13
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ระบบปฏิบตการแอนดรอยด์(Android)
                      ัิ


                               ผู้จดทา
                                   ั
                       นายณัฐนันท์ รัตนคุณาวงศ์

                        รหัสนักศึกษา 13510163



                    รายงานประกอบรายวิชา 802407

                 ภาคการศึกษาภาคต้ น ปี การศึกษา 2554



สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการออกแบบ วิชาเอกออกแบบเว็บไซด์และสือโต้ ตอบ
                                                              ่

        คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร
คำนำ
        รายงานฉบับนี ้จัดทาเพื่อต้ องการอธิบายเกี่ยวกับระบบปฏิบติการแอนดรอยด์(Android) ให้ กับบุคคล
                                                               ั
ที่สนใจเกี่ยวกับระบบปฏิบติการบนอุปกรณ์สอสารไร้ สาย ซึงจะชี ้แจงถึงข้ อมูลรายละเอียดของระบบปฏิบติการ
                        ั              ื่            ่                                        ั
นี ้ ให้ กบผู้อ่านได้ เข้ าใจอย่างถูกต้ องเกี่ยวกับระบบปฏิบติการแอนดรอยด์ (Android) ซึ่งรายงานนี ้จะมี เนื ้อหา
          ั                                                ั
เกี่ ยวกับความรู้ เบือ งต้ น เกี่ ยวกับระบบปฏิบัติ การแอนดรอยด์ ( Android) ว่า มี ประวัติค วามเป็ นมาอย่างไร
                     ้
แอนดรอยด์คืออะไร มีการใช้ งานอย่างไร และแตกต่างจากระบบปฏิบติการอื่นอย่างไร โดยจะบอกถึงข้ อดีและ
                                                          ั
ข้ อเสียต่างๆของระบบปฏิบติการแอนดรอยด์( Android) ผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนี ้จะให้ ความรู้ และเป็ น
                        ั
ประโยชน์แก่ผ้ อ่านทุกๆท่าน
              ู




                                                                            นายณัฐนันท์ รัตนคุณาวงศ์

                                                                                         ผู้จดทา
                                                                                             ั
Android คืออะไร
                                       แอนดรอยด์ (Android) หรื อ กูเกิลแอนดรอยด์ (Google Android)
                               หรื อ ระบบปฏิบติการแอนดรอยด์ (Android Operating System) เป็ นชื่อ
                                             ั
                               เรี ย กชุ ด ซอฟท์ แ วร์ หรื อ แพลตฟอร์ ม (Platform)     ส าหรั บ อุ ป กรณ์
                               อี เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ มี ห น่ ว ยประมวลผลเป็ นส่ ว นประกอบ อาทิ เ ช่ น
                               คอมพิวเตอร์ , โทรศัพท์ (Telephone), โทรศัพท์ เคลื่อนที่ (Cell phone),
                               อุปกรณ์เล่นอินเตอร์ เน็ตขนาดพกพา (MID) เป็ นต้ น

       แอนดรอยด์ (Android) คือ ระบบปฏิบติการที่ทาหน้ าที่ควบคุมการทางานของฮาร์ ดแวร์ (Hardware)
                                       ั
ต่างๆ เช่น ควบคุมการทางานของระบบ sms การโทรศัพท์ กล้ อ งถ่ายรู ป การฟั งเพลงหรื อ เล่นเกม ซึ่งถ้ า
เปรี ยบเทียบกับคอมพิวเตอร์ ก็จะเท่ากับระบบปฏิบติการ Window 7ซึ่งคอมพิวเตอร์ ก็ต้องมี OS(Operating
                                              ั
System) ในการควบคุมการทางาน ใน iPhone ก็ต้องใช้ iOS เป็ นระบบปฏิบติการ
                                                                 ั




                        รูปภาพแสดงการเปรี ยบเทียบระบบปฏิบติการของแต่ละอุปกรณ์
                                                         ั
แอนดรอยด์นน ถือกาเนิดอย่างเป็ นทางการในวันที่ 5 พฤศจิกายน 2550 โดยบริ ษัท กูเกิล จุดประสงค์
                     ั้
ของแอนดรอยด์นน มีจุดเริ่ มต้ นมาจากบริ ษัท Android Inc. ที่ได้ นาเอาระบบปฏิบติการลีนุกซ์ (Linux) ซึ่งนิยม
             ั้                                                             ั
นาไปใช้ งานกับเครื่ องแม่ขาย (Server) เป็ นหลัก นามาลดทอนขนาดตัว (แต่ไม่ลดทอนความสามารถ) เพื่อให้
                          ่
เหมาะสมแกการนาไปติดตังบนอุปกรณ์พกพา ที่มีขนาดพื ้นที่จดเก็บข้ อมูลที่จากัด โดยหวังว่า แอนดรอยด์ นัน
                     ้                                ั                                           ้
จะเป็ นหุนยนต์ตวน้ อย ๆ ที่คอยช่วยเหลืออานวยความสะดวกแก่ผ้ ที่พกพามัน ไปในทุกที่ ทุกเวลา
         ่     ั                                           ู




                                            รูปภาพ ของบริ ษัท Android Inc.



           กูเกิลแอนดรอยด์ เป็ นชื่อเรี ยกอย่างเป็ นทางการของเจ้ าแอนดรอยด์ เนื่องจากปั จจุบนนี ้ บริ ษัทกูเกิล
                                                                                            ั
เป็ นผู้ที่ถือสิทธิ บัตรในตราสัญญาลักษณ์ ชื่ อ และ รหัสต้ นฉบับ (Source Code) ของแอนดรอยด์ ภายใต้
เงื่อนไขการพัฒนาแบบ GNL โดยเปิ ดให้ นกพัฒนา (Developer) สามารถนารหัสต้ นฉบับ ไปพัฒนาปรับแต่งได้
                                     ั
อย่างเปิ ดเผย (Open source) ทาให้ แอนดรอยด์มีผ้ ูเข้ าร่ วมพัฒนาเป็ นจานวนมาก และพัฒนาไปได้ อ ย่าง
รวดเร็ ว
รูปภาพเว็บไซด์ของ Android Open Source Project


        แอนดรอยด์เปิ ดตัวอย่างเป็ นทางการเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พุทธศักราช 2550 ปั จจุบนมีผ้ ร่วมพัฒนา
                                                                                      ั ู
กว่า 52 องค์กร ประกอบด้ วยบริ ษัทซอฟท์แวร์ บริ ษัทผู้ผลิตอุปกรณ์ บริ ษัทผู้ผลิตชิ ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ บริ ษัทผู้
ให้ บริ การเครื อข่าย และบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกับการสือสาร ฯลฯ
                                                      ่




                              รูปภาพ ตัวอย่างบริ ษัทที่เข้ าร่วมพัฒนากับ Android
ประเภทของชุดซอฟท์ แวร์

        เนื่อ งจากแอนดรอยด์ นนเปิ ดให้ นักพัฒนาเข้ าไปชมรหัสต้ นฉบับได้ ทาให้ มีผ้ ูพฒนาจากหลายฝ่ าย
                             ั้                                                      ั
นาเอารหัสต้ นฉบับมาปรั บแต่ง และสร้ างแอนดรอยด์ในแบบฉบับของตนเองขึ ้น เราจึงแบ่งประเภทของแอน
ดรอยด์ออกได้ เป็ น 3 ประเภท ดังต่อไปนี ้

        1. Android Open Source Project (AOSP) เป็ นแอนดรอยด์ประเภทแรกที่กูเกิลเปิ ดให้ สามารถนา
“ต้ นฉบับแบบเปิ ด” ไปติดตังและใช้ งานในอุปกรณ์ตาง ๆ ได้ โดยไม่ต้องเสียค่าใช้ จ่ายได ๆ
                          ้                    ่

        2. Open Handset Mobile (OHM) เป็ นแอนดรอยด์ ที่ได้ รับการพัฒนาร่ วมกับกลุมบริ ษัทผู้ผลิต
                                                                                 ่
อุปกรณ์ พกพา ที่เข้ าร่ วมกับกูเกิลในนาม Open Handset Alliances (OHA) ซึ่งบริ ษัทเหล่านี ้จะพัฒนาแอน
ดรอยด์ ในแบบฉบับของตนออกมา โดยรู ปร่ างหน้ าตาการแสดงผล และฟั งค์ ชั่นการใช้ งาน จะมี ความเป็ น
เอกลักษณ์ และมีลขสิทธิ์เป็ นของตน พร้ อมได้ รับสิทธิ์ ในการมีบริ การเสริ มต่าง ๆ จากกูเกิล ที่เรี ยกว่า Google
                ิ
Mobile Service (GMS) ซึงเป็ นบริ การเสริ มที่ทาให้ แอนดรอยด์มีประสิทธิภาพ เป็ นไปตามจุดประสงค์ของแอน
                       ่
ดรอยด์ แต่การจะได้ มาซึง GMS นัน ผู้ผลิตจะต้ องทาการทดสอบระบบ และขออนุญาตกับทางกูเกิลก่อน จึงจะ
                       ่       ้
นาเครื่ องออกสูตลาดได้
               ่

        3. Cooking หรื อ Customize เป็ นแอนดรอยด์ที่นกพัฒนานาเอารหัสต้ นฉบับจากแหล่งต่าง ๆ มา
                                                     ั
ปรับแต่ง ในแบบฉบับของตนเอง โดยจะต้ องทาการปลดล๊ อคสิทธิ์ การใช้ งานอุปกรณ์ หรื อ Unlock เครื่ องก่อน
จึงจะสามารถติดตังได้ โดยแอนดรอยด์ ประเภทนี ้ถื อเป็ นประเภทที่มีความสามารถมากที่สุด เท่าที่อุปกรณ์
                ้
เครื่ องนัน ๆ จะรองรับได้ เนื่องจากได้ รับการปรับแต่งให้ เข้ ากับอุปกรณ์นน ๆ จากผู้ใช้ งานจริ ง
          ้                                                              ั้
รูปภาพตัวอย่าง ประเภทของชุดซอฟท์แวร์ แบบ Customize



        สิทธิ์ ในการใช้ งานระบบ เช่นเดียวกับระบบปฏิบติการทั่วไป ที่มีการจากัดการใช้ งาน และการเข้ าถึง
                                                    ั
ส่วนต่าง ๆภายในระบบ เพื่อความปลอดภัยของระบบ และ ผู้ใช้ งาน อุปกรณ์ที่ติดตังระบบแอนดรอยด์จึงมีการ
                                                                                      ้
จากัดสิทธิ์ ไว้ (เว้ นแต่ได้ ทาการปลดล๊ อ คสิทธิ์ หรื อ root เครื่ อ งแล้ ว) สามารถแบ่งสิทธิ์ ของผู้ใช้ ในการเข้ าถึง
ระบบคร่าว ๆ ได้ ดงต่อไปนี ้
                 ั
1. สิทธิ์ root สิทธ์ การใช้ ใช้ งานระดับราก ซึงถือว่าเป็ นรากฐานของระบบ จึงมีความสามารถในการ
                                                         ่
เข้ าถึงทุก ๆ ส่วนของระบบ
          2. สิทธิ์ ADB (Android Develop Bridge) นักพัฒนาสามารถเข้ าถึงส่วนต่างๆ ของระบบได้ ผานสิทธิ์นี ้
                                                                                             ่
        3. Application & System สิทธิ์ของโปรแกรมในการเข้ าถึงระบบ และสิทธิ์ของระบบในการเข้ าถึง
อุปกรณ์ โดยสิทธิ์เหล่านี ้ ตัวระบบจะเป็ นตัวจัดการมอบและถอนสิทธิ์ ตามเงื่อนไขที่กาหนดซึงจะถูกแบ่งย่อย
                                                                                       ่
ออกเป็ นหลายหัวข้ อ(http://developer.android.com/reference/android/Manifest.permission.html)
          4. End-user ผู้ใช้ งานขันสุดท้ าย ซึ ้งก็คือ คุณ และ คุณ ทังหลาย ที่ใช้ การเข้ าถึงส่วนต่าง ๆ ของระบบ
                                  ้                                  ้
ผ่านช่องทางสิทธิ์ที่โปรแกรมได้ รับอีกที โดยจะถูกจากัดไม่ให้ เข้ าถึงในส่วนที่เป็ นอันตรายต่อแกนระบบและ
อุปกรณ์




                            รูปภาพ แสดงบนจอภาพของอุปกรณ์ที่กาลังทาการ Root

          จากด้ านบนจึงเป็ นที่มาของคาว่า “รูธเครื่ อง” ซึงหมายถึงการทาให้ End-user สามารถใช้ งานระบบได้
                                                          ่
ในถานะ root ผ่านแอพพลิเคชัน Superuser permission การรูธจึงเปรี ยบเสมือนดาบสองคม ซึ่งผู้ใช้ ที่ต้องการ
                          ่
จะรู ธ เครื่ อ งตนเองนัน ควรจะมี ความรู้ เกี่ ย วกับ แอนดรอยด์ ใ นระดับสูง และมี ความชานาญในการใช้ งาน
                       ้
ตัวเครื่ องเสียก่อน ไม่เช่นนันอาจเป็ นการเปิ ดทางให้ โปรแกรมบุคคลที่สามสร้ างความเสียหายให้ แก่เครื่ อง และ
                             ้
ระบบได้
ข้ อจากัดของแอนดรอยด์ แอนดรอยด์ที่ดีนนจะต้ องมี GMS ซึ่งก็จะต้ องขึ ้นอยู่กับกูเกิลว่าผู้ผลิตเครื่ อง
                                             ั้
ไหน สามารถสาเอา GMS ไปใช้ ได้ บ้าง โดยจะต้ องได้ รับการยอมรับ และอนุมติเป็ นลายลักษณ์ อักษร จากผู้ถือ
                                                                     ั
สิทธิบตรซึงก็คือ กูเกิล เสียก่อน หลังจากนันจึงจะเผยแพร่ได้ หากแต่เป็ นการเผยแพร่ ในเชิงพัฒนา หรื อแจกฟรี
      ั ่                                 ้
นัน ไม่จาเป็ นต้ องรอให้ ทางกูเกิลอนุมัติก็ได้ ส่งผลให้ อุปกรณ์ บางรุ่ นถูกจากัดความสามารถในการใช้ งาน แต่
  ้
อย่างไรก็ตาม ภายใต้ GNL สิทธิบตร จึงเป็ นการเปิ ดโอกาศให้ มีการพัฒนาได้ อย่างอิสระ ทาให้ ข้อจากัดต่าง ๆ
                              ั
หมดไป เมื่อมีคนใช้ ก็ยอมมีคนแก้ ยิ่งใช้ เยอะยิ่งมีคนช่วยแก้ เยอะ
                      ่


สถิติกำรใช้ งำน

        ปั จจุบน Android มีสถิติการใช้ งานที่กินส่วนแบ่งตลาดเป็ นอันดับ 1 แล้ วในสหรัฐอเมริ กา โดยรายงาน
               ั
ของสถานการณ์ตลาดมือถือสหรัฐจากบริ ษัทโฆษณา Millennial Media ประจาเดือน มีนาคม 2011 พบว่า
Android ยังกินส่วนแบ่งตลาดอันดับหนึงติดต่อกันมาสีเ่ ดือน โดยมีสวนแบ่งตลาด 48%
                                   ่                           ่




        อันดับสองและสามคือ iOS 31% และ RIM/ BlackBerry 18% ส่วนที่เหลือน้ อยมากจนไม่มีนยยะ
                                                                                       ั
สาคัญ (สถิตินี ้นับตามปริ มาณโฆษณาที่แสดง ไม่ใช่ตวเลขยอดขายจริ งๆ ของมือถือ)
                                                 ั
เปรียบเทียบกำรทำงำนของ Android กับ iOS

          Android จะมีเลเยอร์ การทางานมากกว่า iOS สองเลเยอร์ คือ เลเยอร์ Home Screen และ เลเยอร์
Notification ซึงก็จะมีการใช้ งานที่คอนข้ างแตกต่างกันอย่างเห็นได้ ชด
               ่                    ่                              ั




Home Screen layer

                 จะเป็ นชันเลเยอร์ ที่เราสามารถปรับแต่งการใช้ งานได้ ตามต้ องการ โดยจุดนี ้ถือว่าเป็ นจุดเด่น
                          ้
ของระบบปฏิบติการ Android เลยก็ว่าได้ ซึ่งผู้ใช้ สามารถปรับแต่งให้ เข้ ากับความต้ องการของตัวเองได้ โดย
           ั
สามารถนา Widget มาวางตกแต่งได้ บาง Widget ยังสามารถใช้ งานได้ เทียบเท่ากับโปรแกรมในเครื่ องเลย
ทีเดียว
รูปภาพแสดงตัวอย่างหน้ า Home Screen




                                           รูปภาพแสดงตัวอย่าง Widget

Notification Layer

               เป็ นชันเลเยอร์ ที่ทาหน้ าที่แจ้ งเตือนกิจกรรมต่างๆที่เกิดขึ ้น เช่น แจ้ งเตือนว่ามีการอัพเดตของ
                      ้
โปรแกรมต่างๆ แจ้ งว่ามีข้อความเข้ า แจ้ งว่ามีคนมาโพสที่กระดานข้ อความของเราใน Facebook โดยการใช้
งานเราก็ต้อง กดที่บริ เวณ Notification Bar แล้ วลากลงมา เลเยอร์ Notification ก็จะค่อยๆเปิ ดออกตามที่เรา
กดลาก
รูปภาพแสดงตัวอย่าง Notification Layer

ข้ อเสียของ Android

          1.ระบบยังไม่เสถียร เมื่อเทียบกับ iOS บน iPhone โดยโทรศัพท์ที่มี spec เท่ากับ iPhone จะเห็นได้ ชด
                                                                                                         ั
ว่ายังไม่ลนไหลติดนิ ้วเท่ากับ iPhone
          ื่

          2.Android มีผ้ นามาพัฒนาหลากหลายค่ายมากทาให้ Application บางตัวไม่สามารถใช้ กบโทรศัพท์
                         ู                                                             ั
Android ได้ ทกรุ่น เพราะเนื่องมากจากการนา Code ไปดัดแปลงไว้ ไม่เหมือนกัน และบางรุ่นก็มีขนาดหน้ าจอที่
             ุ
ต่างกัน

          3.ความยืดหยุนของระบบปฏิบติการของ Android มีมาก โดยสามารถปรับตังค่าได้ แทบทุกส่วน จึงทา
                      ่           ั                                     ้
ให้ การใช้ งานค่อนข้ างยากลาบากต่อผู้ใช้ มือใหม่

          4.การตลาดของ Android ยังไม่คอยดี เห็นได้ จาก คนที่ไม่คอยรู้จก และภาพลักษณ์ที่ไม่ดีเกี่ยวกับ
                                      ่                         ่ ั
Android
อ้ ำงอิง
http://community.siamphone.com/viewtopic.php?t=287160

http://www.blognone.com/news/23092

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดพัน พัน
 
รายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองรายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองChainarong Maharak
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”Pitchapa Liamnopparat
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์Sitipun
 
4 กิตติกรรมประกาศ
4 กิตติกรรมประกาศ4 กิตติกรรมประกาศ
4 กิตติกรรมประกาศAugusts Programmer
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บทSittidet Nawee
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSattawat Backer
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพZnackiie Rn
 

Was ist angesagt? (20)

บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงานบทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
รายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองรายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเอง
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
 
กิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศกิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศ
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
4 กิตติกรรมประกาศ
4 กิตติกรรมประกาศ4 กิตติกรรมประกาศ
4 กิตติกรรมประกาศ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
 

Ähnlich wie รายงาน

รายงาน Google Android - Know2pro.com
รายงาน Google Android - Know2pro.comรายงาน Google Android - Know2pro.com
รายงาน Google Android - Know2pro.comKnow Mastikate
 
เอกสารประกอบการอบรม Adroidpdf
เอกสารประกอบการอบรม Adroidpdfเอกสารประกอบการอบรม Adroidpdf
เอกสารประกอบการอบรม AdroidpdfWeerachat Martluplao
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์BooBoo ChillChill
 
Onettemplate
OnettemplateOnettemplate
Onettemplatechycindy
 
ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)Sirinat Sawengthong
 
เปรียบเทียบระบบปฏิบัติการ
เปรียบเทียบระบบปฏิบัติการเปรียบเทียบระบบปฏิบัติการ
เปรียบเทียบระบบปฏิบัติการTKAomerz
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ jamiezaa123
 
Android and ระบบประฏิบัติการ
Android and ระบบประฏิบัติการAndroid and ระบบประฏิบัติการ
Android and ระบบประฏิบัติการjamiezaa123
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1Kriangx Ch
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์Pokypoky Leonardo
 
Software
SoftwareSoftware
Softwaresa
 

Ähnlich wie รายงาน (20)

รายงาน Google Android - Know2pro.com
รายงาน Google Android - Know2pro.comรายงาน Google Android - Know2pro.com
รายงาน Google Android - Know2pro.com
 
เอกสารประกอบการอบรม Adroidpdf
เอกสารประกอบการอบรม Adroidpdfเอกสารประกอบการอบรม Adroidpdf
เอกสารประกอบการอบรม Adroidpdf
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
13510163
1351016313510163
13510163
 
5
55
5
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Android report
Android reportAndroid report
Android report
 
Onettemplate
OnettemplateOnettemplate
Onettemplate
 
ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)
 
Android architecture
Android architectureAndroid architecture
Android architecture
 
เปรียบเทียบระบบปฏิบัติการ
เปรียบเทียบระบบปฏิบัติการเปรียบเทียบระบบปฏิบัติการ
เปรียบเทียบระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
 
Jamie
JamieJamie
Jamie
 
Android and ระบบประฏิบัติการ
Android and ระบบประฏิบัติการAndroid and ระบบประฏิบัติการ
Android and ระบบประฏิบัติการ
 
Ch04 slide
Ch04 slideCh04 slide
Ch04 slide
 
Chapter6 software
Chapter6 softwareChapter6 software
Chapter6 software
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 

รายงาน

  • 1. ระบบปฏิบตการแอนดรอยด์(Android) ัิ ผู้จดทา ั นายณัฐนันท์ รัตนคุณาวงศ์ รหัสนักศึกษา 13510163 รายงานประกอบรายวิชา 802407 ภาคการศึกษาภาคต้ น ปี การศึกษา 2554 สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการออกแบบ วิชาเอกออกแบบเว็บไซด์และสือโต้ ตอบ ่ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • 2. คำนำ รายงานฉบับนี ้จัดทาเพื่อต้ องการอธิบายเกี่ยวกับระบบปฏิบติการแอนดรอยด์(Android) ให้ กับบุคคล ั ที่สนใจเกี่ยวกับระบบปฏิบติการบนอุปกรณ์สอสารไร้ สาย ซึงจะชี ้แจงถึงข้ อมูลรายละเอียดของระบบปฏิบติการ ั ื่ ่ ั นี ้ ให้ กบผู้อ่านได้ เข้ าใจอย่างถูกต้ องเกี่ยวกับระบบปฏิบติการแอนดรอยด์ (Android) ซึ่งรายงานนี ้จะมี เนื ้อหา ั ั เกี่ ยวกับความรู้ เบือ งต้ น เกี่ ยวกับระบบปฏิบัติ การแอนดรอยด์ ( Android) ว่า มี ประวัติค วามเป็ นมาอย่างไร ้ แอนดรอยด์คืออะไร มีการใช้ งานอย่างไร และแตกต่างจากระบบปฏิบติการอื่นอย่างไร โดยจะบอกถึงข้ อดีและ ั ข้ อเสียต่างๆของระบบปฏิบติการแอนดรอยด์( Android) ผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนี ้จะให้ ความรู้ และเป็ น ั ประโยชน์แก่ผ้ อ่านทุกๆท่าน ู นายณัฐนันท์ รัตนคุณาวงศ์ ผู้จดทา ั
  • 3. Android คืออะไร แอนดรอยด์ (Android) หรื อ กูเกิลแอนดรอยด์ (Google Android) หรื อ ระบบปฏิบติการแอนดรอยด์ (Android Operating System) เป็ นชื่อ ั เรี ย กชุ ด ซอฟท์ แ วร์ หรื อ แพลตฟอร์ ม (Platform) ส าหรั บ อุ ป กรณ์ อี เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ มี ห น่ ว ยประมวลผลเป็ นส่ ว นประกอบ อาทิ เ ช่ น คอมพิวเตอร์ , โทรศัพท์ (Telephone), โทรศัพท์ เคลื่อนที่ (Cell phone), อุปกรณ์เล่นอินเตอร์ เน็ตขนาดพกพา (MID) เป็ นต้ น แอนดรอยด์ (Android) คือ ระบบปฏิบติการที่ทาหน้ าที่ควบคุมการทางานของฮาร์ ดแวร์ (Hardware) ั ต่างๆ เช่น ควบคุมการทางานของระบบ sms การโทรศัพท์ กล้ อ งถ่ายรู ป การฟั งเพลงหรื อ เล่นเกม ซึ่งถ้ า เปรี ยบเทียบกับคอมพิวเตอร์ ก็จะเท่ากับระบบปฏิบติการ Window 7ซึ่งคอมพิวเตอร์ ก็ต้องมี OS(Operating ั System) ในการควบคุมการทางาน ใน iPhone ก็ต้องใช้ iOS เป็ นระบบปฏิบติการ ั รูปภาพแสดงการเปรี ยบเทียบระบบปฏิบติการของแต่ละอุปกรณ์ ั
  • 4. แอนดรอยด์นน ถือกาเนิดอย่างเป็ นทางการในวันที่ 5 พฤศจิกายน 2550 โดยบริ ษัท กูเกิล จุดประสงค์ ั้ ของแอนดรอยด์นน มีจุดเริ่ มต้ นมาจากบริ ษัท Android Inc. ที่ได้ นาเอาระบบปฏิบติการลีนุกซ์ (Linux) ซึ่งนิยม ั้ ั นาไปใช้ งานกับเครื่ องแม่ขาย (Server) เป็ นหลัก นามาลดทอนขนาดตัว (แต่ไม่ลดทอนความสามารถ) เพื่อให้ ่ เหมาะสมแกการนาไปติดตังบนอุปกรณ์พกพา ที่มีขนาดพื ้นที่จดเก็บข้ อมูลที่จากัด โดยหวังว่า แอนดรอยด์ นัน ้ ั ้ จะเป็ นหุนยนต์ตวน้ อย ๆ ที่คอยช่วยเหลืออานวยความสะดวกแก่ผ้ ที่พกพามัน ไปในทุกที่ ทุกเวลา ่ ั ู รูปภาพ ของบริ ษัท Android Inc. กูเกิลแอนดรอยด์ เป็ นชื่อเรี ยกอย่างเป็ นทางการของเจ้ าแอนดรอยด์ เนื่องจากปั จจุบนนี ้ บริ ษัทกูเกิล ั เป็ นผู้ที่ถือสิทธิ บัตรในตราสัญญาลักษณ์ ชื่ อ และ รหัสต้ นฉบับ (Source Code) ของแอนดรอยด์ ภายใต้ เงื่อนไขการพัฒนาแบบ GNL โดยเปิ ดให้ นกพัฒนา (Developer) สามารถนารหัสต้ นฉบับ ไปพัฒนาปรับแต่งได้ ั อย่างเปิ ดเผย (Open source) ทาให้ แอนดรอยด์มีผ้ ูเข้ าร่ วมพัฒนาเป็ นจานวนมาก และพัฒนาไปได้ อ ย่าง รวดเร็ ว
  • 5. รูปภาพเว็บไซด์ของ Android Open Source Project แอนดรอยด์เปิ ดตัวอย่างเป็ นทางการเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พุทธศักราช 2550 ปั จจุบนมีผ้ ร่วมพัฒนา ั ู กว่า 52 องค์กร ประกอบด้ วยบริ ษัทซอฟท์แวร์ บริ ษัทผู้ผลิตอุปกรณ์ บริ ษัทผู้ผลิตชิ ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ บริ ษัทผู้ ให้ บริ การเครื อข่าย และบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกับการสือสาร ฯลฯ ่ รูปภาพ ตัวอย่างบริ ษัทที่เข้ าร่วมพัฒนากับ Android
  • 6. ประเภทของชุดซอฟท์ แวร์ เนื่อ งจากแอนดรอยด์ นนเปิ ดให้ นักพัฒนาเข้ าไปชมรหัสต้ นฉบับได้ ทาให้ มีผ้ ูพฒนาจากหลายฝ่ าย ั้ ั นาเอารหัสต้ นฉบับมาปรั บแต่ง และสร้ างแอนดรอยด์ในแบบฉบับของตนเองขึ ้น เราจึงแบ่งประเภทของแอน ดรอยด์ออกได้ เป็ น 3 ประเภท ดังต่อไปนี ้ 1. Android Open Source Project (AOSP) เป็ นแอนดรอยด์ประเภทแรกที่กูเกิลเปิ ดให้ สามารถนา “ต้ นฉบับแบบเปิ ด” ไปติดตังและใช้ งานในอุปกรณ์ตาง ๆ ได้ โดยไม่ต้องเสียค่าใช้ จ่ายได ๆ ้ ่ 2. Open Handset Mobile (OHM) เป็ นแอนดรอยด์ ที่ได้ รับการพัฒนาร่ วมกับกลุมบริ ษัทผู้ผลิต ่ อุปกรณ์ พกพา ที่เข้ าร่ วมกับกูเกิลในนาม Open Handset Alliances (OHA) ซึ่งบริ ษัทเหล่านี ้จะพัฒนาแอน ดรอยด์ ในแบบฉบับของตนออกมา โดยรู ปร่ างหน้ าตาการแสดงผล และฟั งค์ ชั่นการใช้ งาน จะมี ความเป็ น เอกลักษณ์ และมีลขสิทธิ์เป็ นของตน พร้ อมได้ รับสิทธิ์ ในการมีบริ การเสริ มต่าง ๆ จากกูเกิล ที่เรี ยกว่า Google ิ Mobile Service (GMS) ซึงเป็ นบริ การเสริ มที่ทาให้ แอนดรอยด์มีประสิทธิภาพ เป็ นไปตามจุดประสงค์ของแอน ่ ดรอยด์ แต่การจะได้ มาซึง GMS นัน ผู้ผลิตจะต้ องทาการทดสอบระบบ และขออนุญาตกับทางกูเกิลก่อน จึงจะ ่ ้ นาเครื่ องออกสูตลาดได้ ่ 3. Cooking หรื อ Customize เป็ นแอนดรอยด์ที่นกพัฒนานาเอารหัสต้ นฉบับจากแหล่งต่าง ๆ มา ั ปรับแต่ง ในแบบฉบับของตนเอง โดยจะต้ องทาการปลดล๊ อคสิทธิ์ การใช้ งานอุปกรณ์ หรื อ Unlock เครื่ องก่อน จึงจะสามารถติดตังได้ โดยแอนดรอยด์ ประเภทนี ้ถื อเป็ นประเภทที่มีความสามารถมากที่สุด เท่าที่อุปกรณ์ ้ เครื่ องนัน ๆ จะรองรับได้ เนื่องจากได้ รับการปรับแต่งให้ เข้ ากับอุปกรณ์นน ๆ จากผู้ใช้ งานจริ ง ้ ั้
  • 7. รูปภาพตัวอย่าง ประเภทของชุดซอฟท์แวร์ แบบ Customize สิทธิ์ ในการใช้ งานระบบ เช่นเดียวกับระบบปฏิบติการทั่วไป ที่มีการจากัดการใช้ งาน และการเข้ าถึง ั ส่วนต่าง ๆภายในระบบ เพื่อความปลอดภัยของระบบ และ ผู้ใช้ งาน อุปกรณ์ที่ติดตังระบบแอนดรอยด์จึงมีการ ้ จากัดสิทธิ์ ไว้ (เว้ นแต่ได้ ทาการปลดล๊ อ คสิทธิ์ หรื อ root เครื่ อ งแล้ ว) สามารถแบ่งสิทธิ์ ของผู้ใช้ ในการเข้ าถึง ระบบคร่าว ๆ ได้ ดงต่อไปนี ้ ั
  • 8. 1. สิทธิ์ root สิทธ์ การใช้ ใช้ งานระดับราก ซึงถือว่าเป็ นรากฐานของระบบ จึงมีความสามารถในการ ่ เข้ าถึงทุก ๆ ส่วนของระบบ 2. สิทธิ์ ADB (Android Develop Bridge) นักพัฒนาสามารถเข้ าถึงส่วนต่างๆ ของระบบได้ ผานสิทธิ์นี ้ ่ 3. Application & System สิทธิ์ของโปรแกรมในการเข้ าถึงระบบ และสิทธิ์ของระบบในการเข้ าถึง อุปกรณ์ โดยสิทธิ์เหล่านี ้ ตัวระบบจะเป็ นตัวจัดการมอบและถอนสิทธิ์ ตามเงื่อนไขที่กาหนดซึงจะถูกแบ่งย่อย ่ ออกเป็ นหลายหัวข้ อ(http://developer.android.com/reference/android/Manifest.permission.html) 4. End-user ผู้ใช้ งานขันสุดท้ าย ซึ ้งก็คือ คุณ และ คุณ ทังหลาย ที่ใช้ การเข้ าถึงส่วนต่าง ๆ ของระบบ ้ ้ ผ่านช่องทางสิทธิ์ที่โปรแกรมได้ รับอีกที โดยจะถูกจากัดไม่ให้ เข้ าถึงในส่วนที่เป็ นอันตรายต่อแกนระบบและ อุปกรณ์ รูปภาพ แสดงบนจอภาพของอุปกรณ์ที่กาลังทาการ Root จากด้ านบนจึงเป็ นที่มาของคาว่า “รูธเครื่ อง” ซึงหมายถึงการทาให้ End-user สามารถใช้ งานระบบได้ ่ ในถานะ root ผ่านแอพพลิเคชัน Superuser permission การรูธจึงเปรี ยบเสมือนดาบสองคม ซึ่งผู้ใช้ ที่ต้องการ ่ จะรู ธ เครื่ อ งตนเองนัน ควรจะมี ความรู้ เกี่ ย วกับ แอนดรอยด์ ใ นระดับสูง และมี ความชานาญในการใช้ งาน ้ ตัวเครื่ องเสียก่อน ไม่เช่นนันอาจเป็ นการเปิ ดทางให้ โปรแกรมบุคคลที่สามสร้ างความเสียหายให้ แก่เครื่ อง และ ้ ระบบได้
  • 9. ข้ อจากัดของแอนดรอยด์ แอนดรอยด์ที่ดีนนจะต้ องมี GMS ซึ่งก็จะต้ องขึ ้นอยู่กับกูเกิลว่าผู้ผลิตเครื่ อง ั้ ไหน สามารถสาเอา GMS ไปใช้ ได้ บ้าง โดยจะต้ องได้ รับการยอมรับ และอนุมติเป็ นลายลักษณ์ อักษร จากผู้ถือ ั สิทธิบตรซึงก็คือ กูเกิล เสียก่อน หลังจากนันจึงจะเผยแพร่ได้ หากแต่เป็ นการเผยแพร่ ในเชิงพัฒนา หรื อแจกฟรี ั ่ ้ นัน ไม่จาเป็ นต้ องรอให้ ทางกูเกิลอนุมัติก็ได้ ส่งผลให้ อุปกรณ์ บางรุ่ นถูกจากัดความสามารถในการใช้ งาน แต่ ้ อย่างไรก็ตาม ภายใต้ GNL สิทธิบตร จึงเป็ นการเปิ ดโอกาศให้ มีการพัฒนาได้ อย่างอิสระ ทาให้ ข้อจากัดต่าง ๆ ั หมดไป เมื่อมีคนใช้ ก็ยอมมีคนแก้ ยิ่งใช้ เยอะยิ่งมีคนช่วยแก้ เยอะ ่ สถิติกำรใช้ งำน ปั จจุบน Android มีสถิติการใช้ งานที่กินส่วนแบ่งตลาดเป็ นอันดับ 1 แล้ วในสหรัฐอเมริ กา โดยรายงาน ั ของสถานการณ์ตลาดมือถือสหรัฐจากบริ ษัทโฆษณา Millennial Media ประจาเดือน มีนาคม 2011 พบว่า Android ยังกินส่วนแบ่งตลาดอันดับหนึงติดต่อกันมาสีเ่ ดือน โดยมีสวนแบ่งตลาด 48% ่ ่ อันดับสองและสามคือ iOS 31% และ RIM/ BlackBerry 18% ส่วนที่เหลือน้ อยมากจนไม่มีนยยะ ั สาคัญ (สถิตินี ้นับตามปริ มาณโฆษณาที่แสดง ไม่ใช่ตวเลขยอดขายจริ งๆ ของมือถือ) ั
  • 10. เปรียบเทียบกำรทำงำนของ Android กับ iOS Android จะมีเลเยอร์ การทางานมากกว่า iOS สองเลเยอร์ คือ เลเยอร์ Home Screen และ เลเยอร์ Notification ซึงก็จะมีการใช้ งานที่คอนข้ างแตกต่างกันอย่างเห็นได้ ชด ่ ่ ั Home Screen layer จะเป็ นชันเลเยอร์ ที่เราสามารถปรับแต่งการใช้ งานได้ ตามต้ องการ โดยจุดนี ้ถือว่าเป็ นจุดเด่น ้ ของระบบปฏิบติการ Android เลยก็ว่าได้ ซึ่งผู้ใช้ สามารถปรับแต่งให้ เข้ ากับความต้ องการของตัวเองได้ โดย ั สามารถนา Widget มาวางตกแต่งได้ บาง Widget ยังสามารถใช้ งานได้ เทียบเท่ากับโปรแกรมในเครื่ องเลย ทีเดียว
  • 11. รูปภาพแสดงตัวอย่างหน้ า Home Screen รูปภาพแสดงตัวอย่าง Widget Notification Layer เป็ นชันเลเยอร์ ที่ทาหน้ าที่แจ้ งเตือนกิจกรรมต่างๆที่เกิดขึ ้น เช่น แจ้ งเตือนว่ามีการอัพเดตของ ้ โปรแกรมต่างๆ แจ้ งว่ามีข้อความเข้ า แจ้ งว่ามีคนมาโพสที่กระดานข้ อความของเราใน Facebook โดยการใช้ งานเราก็ต้อง กดที่บริ เวณ Notification Bar แล้ วลากลงมา เลเยอร์ Notification ก็จะค่อยๆเปิ ดออกตามที่เรา กดลาก
  • 12. รูปภาพแสดงตัวอย่าง Notification Layer ข้ อเสียของ Android 1.ระบบยังไม่เสถียร เมื่อเทียบกับ iOS บน iPhone โดยโทรศัพท์ที่มี spec เท่ากับ iPhone จะเห็นได้ ชด ั ว่ายังไม่ลนไหลติดนิ ้วเท่ากับ iPhone ื่ 2.Android มีผ้ นามาพัฒนาหลากหลายค่ายมากทาให้ Application บางตัวไม่สามารถใช้ กบโทรศัพท์ ู ั Android ได้ ทกรุ่น เพราะเนื่องมากจากการนา Code ไปดัดแปลงไว้ ไม่เหมือนกัน และบางรุ่นก็มีขนาดหน้ าจอที่ ุ ต่างกัน 3.ความยืดหยุนของระบบปฏิบติการของ Android มีมาก โดยสามารถปรับตังค่าได้ แทบทุกส่วน จึงทา ่ ั ้ ให้ การใช้ งานค่อนข้ างยากลาบากต่อผู้ใช้ มือใหม่ 4.การตลาดของ Android ยังไม่คอยดี เห็นได้ จาก คนที่ไม่คอยรู้จก และภาพลักษณ์ที่ไม่ดีเกี่ยวกับ ่ ่ ั Android