SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 18
Downloaden Sie, um offline zu lesen
เรื่อง อนุกรมเลขคณิต

                                          ใบความรู้ที่ 8

สัญลักษณ์แทนการบวก (Sigma notation)
       สัญลักษณ์แทนการบวกจะใช้อักษรกรีก  (อ่านว่า ซิกมา) เป็นสัญลักษณ์แทนการบวก
                                                       n
      โดยที่          a1 + a2 + a3 + . . . + an   =    ai
                                                      i 1
                                                       
               และ     a1 + a2 + a3 + . . .       =     ai
                                                       i 1
                       n
               ซึ่ง    a i อ่านว่า การบวก aI เมื่อ i = 1 ถึง i = n
                      i 1
                      
                       a i อ่านว่า การบวก aI เมื่อ i มีค่าตั้งแต่ 1 ขึ้นไป
                      i 1


                       6
               เช่น  i = 1 + 2 + 3 + 4 + 5 + 6
                      i 1
                             2   2   2
                       i2 = 1 + 2 + 3 + . . .
                      i 1



      ตัวอย่างที่ 1 จงเขียน 2x2 + 2x3 + 2x4 + 2x5 + 2x6 + 2x7 โดยใช้สัญลักษณ์การบวก
      วิธีทา        2x2 + 2x3 + 2x4 + 2x5 + 2x6 + 2x7 =      2(x2 + x3 + x4 + x5 + x6 +
x7)
                                                                      7
                                                             =        2x i
                                                                     i2

      ตัวอย่างที่ 2 จงเขียน 2 + 4 + 6 + . . . + 100 โดยใช้เครื่องหมาย 
      วิธีทา        2 + 4 + 6 + . . . + 100     =     2(1) + 2(2) + 2(3) + . . . + 2(50)
                                                              50
                                                  =            2i
                                                              i 1



      ตัวอย่างที่ 3 จงเขียน 3 + 6 + 9 + . . . + 180 โดยใช้สัญลักษณ์การบวก
      วิธีทา        3 + 6 + 9 + . . . + 180     =     3(1) + 3(2) + 3(3) + . . . + 3(60)
                                                              60
                                                  =            3i
                                                              i 1
สาระสาคัญ
      สมบัติของ  ที่ควรทราบ มีดังนี้
                          n
                   1.  c                nc         เมื่อ c เป็นค่าคงตัว
                         i 1
                            n                        n
                   2.  c ai                   c    ai เมื่อ c เป็นค่าคงตัว
                          i 1                      i 1
                            n                                   n             n
                   3.  (ai               bi )                     ai     bi
                          i 1                                 i 1          i 1



สมบัติของ  ที่ควรทราบ
       สมบัติของ  ที่ควรทราบ มีดังนี้
              n
       1.  c             nc            เมื่อ c เป็นค่าคงตัว
             i 1


               n
   พิสูจน์    c                =             c + c + c + . . . + c (n พจน์)
              i 1

                                =             nc
              n
                   c          =             nc
             i 1




              n                         n
       2.  c ai               c       ai เมื่อ c เป็นค่าคงตัว
             i 1                      i 1


                          n
   พิสูจน์                c ai =                          ca1 + ca2 + ca3 + . . . + can
                         i 1

                                              =            c(a1 + a2 + a3 + . . . + an)
                                 n                         n
                       c ai                   c        ai
                                i 1                     i 1
n                                  n                    n
         3.  (ai            bi )                     ai           bi
              i 1                               i 1                 i 1


               n
     พิสูจน์  (ai           bi )               =    (a1  b1 )  (a2  b 2 )  (a3  b 3 )  . . .  (an  bn )
              i 1

                                                 =    (a1  a2  a3  . . .  an )  (b1  b 2  b 3  . . .  bn )
                      n                                  n                    n
                (ai              bi )                       ai          bi
                     i 1                               i 1                 i 1



ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่าของ
                                    5
                          1.1  8
                                  i 1
                                    4
                          1.2  3i2
                                  i 1
                              5
     วิธีทา 1.1             8
                             i 1
                                                 = 8+8+8+8+8
                                                 = 85
                                                 = 40
                              4                                  4
              1.2            5i
                             i 1
                                         2
                                                 =      5  i2
                                                             i 1

                                                 = 5(12 + 22 + 32 + 42)
                                                 = 5(30)
                                                 = 150
                                          5
ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่าของ  (4i 2 - 5i  8)
                                         i 1
               5                                             5                      5               5
     วิธีทา          (2i2 - 3i  7)             =        
                                                          i 1
                                                                     4i 2 -       
                                                                                  i 1
                                                                                         5i    8
                                                                                                i 1
              i 1
                                                             5                      5           5
                                                 =      4  i 2 - 5 i                       8
                                                          i 1                    i 1        i 1

                                                 = 4(1 + 2 + 3 + 4 + 52) – 5(1 + 2 + 3 + 4 + 5) + (5 
                                                             2         2            2     2

8)
                                                 = 4(55) – 5(15) + 40
                                                 = 220 – 75 + 40
                                                 = 185
สาระสาคัญ
                                  n
                                                          n(n  1)
        i หมายถึง  i                         
                                                             2
                              i 1
                                n
        i2 หมายถึง  i2                       
                                                          n(n  1)(2n  1)
                                                                 6
                              i 1
                                 n                                                      2
        i3 หมายถึง                      i3                i 2       n(n  1) 
                                                                        
                                                                              2     
                                  i 1                                             


การหาสูตรของ  i ,  i2 และ  i3
             n
                                  n(n  1)
       1.  i        
                                     2
            i 1


             n
   พิสูจน์  i = 1 + 2 + 3 + . . . + (n – 2) + (n – 1) + n                                  ………… 
            i 1
              n
             i = n + (n – 1) + (n – 2) + . . . + 3 + 2 + 1                                 ………… 
            i 1
                     n
   +             2i                              = (n + 1) + (n + 1) + (n + 1) + . . . + (n + 1) ;
                    i 1

                                                                      (n วงเล็บ)
                                      = n (n + 1)
                    n
                                           n(n  1)
             i                      
                                              2
                   i 1


                                                   10
   ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่าของ  6i
                                                   i 1
                    10                                         10
   วิธีทา           
                    i 1
                             6i                =             6 i
                                                              i 1

                                                              10(10  1) 
                                               =             6           
                                                                  2      
                                               =            6(55)
                                               =            330
             n
                                  n(n  1)(2n  1)
       2.  i2           
                                         6
            i 1
n
พิสูจน์        ให้ S          =           i2
                                         i 1

                          = 12 + 22 + 32 + . . . + n2
       เนื่องจาก        x3 – (x – 1)3       =        3x2 – 3x + 1
   ถ้า x = 1 จะได้           13 – 03              =        3(1)2 – 3(1) + 1
   ถ้า x = 2 จะได้           23 – 13              =        3(2)2 – 3(2) + 1
   ถ้า x = 3 จะได้           33 – 23              =        3(3)2 – 3(3) + 1
            ..            ..                      ‘
                                                  ..
             .             . 3
   ถ้า x = n – 1 จะได้ (n – 1) – (n – 2) = 3(n – 1)2 – 3(n – 1) + 1
                                          3

   ถ้า x = n      จะได้ n3 – (n – 1)3         = 3(n)2 – 3(n) + 1
นาพจน์ทางซ้ายมือของทุกสมการบวกกัน และนาพจน์ทางขวามือของทุกสมการบวกกัน
จะได้
       n3 = 3(12 + 22 + 32 + . . . + n2) – 3(1 + 2 + 3 + . . . + n) + (1 1  1 . 
                                                                          
                                                                         
                                                                                  . . 1)
                                                                                     
                                                                            n พจน์
                               n(n  1) 
               =       3S - 3             n
                               2        
                            3n(n  1)
          n3   =       3S -               n
                                 2
                             3n(n  1)
          3S   =       n3                - n
                                  2
          6S   = 2n3 + 3n2 + n
          6S   = n(2n2 + 3n + 1)
          6S   = n(n + 1)(2n + 1)

                       n(n  1)(2n  1)
     S        =              6




                                   4
ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่าของ           - k2
                                  k 1
                   4                                  4
วิธีทา                - k2   =               (1)    k2
               k 1                                  k 1

                              =               (1)[1  22  32  4 2 ]
                                                       2

                                                    4(4 1)(8  1) 
                              =               (1) 
                                                           6        
                                                                   
                              =               (1)(30)
                              =               30
n                                    2
                                    n(n  1) 
        3.  i3                       2     
             i 1                            


                                             n
    พิสูจน์ ให้          S =                 i3
                                            i 1

                               =            13 + 23 + 33 + . . . + n3

                   แต่ x4 – (x – 1)4 =        4x3 – 6x2 + 4x – 1
   ถ้า x = 1 จะได้            14 - 04 =       4(1)3 – 6(1)2 + 4(1) – 1
   ถ้า x = 2 จะได้            24 - 14 =       4(2)3 – 6(2)2 + 4(2) – 1
   ถ้า x = 3 จะได้            34 - 24 =       4(3)3 – 6(3)2 + 4(3) – 1
               ..
                .
   ถ้า x = n – 1 จะได้ (n – 1)4 – (n – 1)4 =          4(n – 1)3 – 6(n – 1)2 + 4(n – 1) – 1
   ถ้า x = n จะได้            n4 – (n – 1)4           =        4(n)3 – 6(n)2 + 4(n) – 1
นาพจน์ทางซ้ายมือของทุกสมการบวกกัน และพจน์ทางขวามือของทุกสมการบวกกัน
   จะได้
       n4 =4(13 + 23 + 33 + . . . + n3) – 6(12 + 22 + 32 + . . . + n2) + (1 + 2 + 3 + . . . +
n)
             + (-1-1.
                  
                    - 1 1 - - . . - 1)

                               n พจน์
         4                     [(n(n  1)(2n  1)]     n       
        n = 4S –           6
                                        6
                                                    4  (n  1) - n
                                                         2
                                                               
        n4   = 4S – n(n + 1)(2n + 1) + 2n(n + 1) – n
        4S   = n4 + n(n + 1)(2n + 1) + 2n(n + 1) + n
        4S   = n [n3 + 2n2 + 3n + 1 – 2n – 2 + 1]
        4S   = n [n3 + 2n2 + n]
        4S   = n2 [n2 + 2n + 1]
                         n 2 (n  1) 2
         S =
                               4
                                        2
                          n(n  1) 
             =            2 
                                   

              n                                    2
                                    n(n  1) 
                  i3                2     
             i 1                            
10
ตัวอย่างที่ 3 จงหาค่าของ          (4i3 - 5)
                                 i 1
              10                               10             10
วิธีทา              (4i3 - 5)          =           4i 3 -   5
              i 1                             i 1           i 1
                                                  10            10
                                        =      4    i3 -  5
                                                   i 1       i 1
                                                                     2
                                                10(10  1) 
                                        =      4                       - (10  5)
                                                    2      
                                                   2
                                        =      4(55) – 50
                                        =      4(3025) – 50
                                        =      12100 – 50
                                        =      12,050
แบบฝึกหัดที่ 11
                            เรื่อง สัญลักษณ์แทนการบวก


คาชี้แจง ให้นักเรียนแสดงวิธีทาแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องโดยการกระจายในรูปการบวก
                  8
1. จงหาค่าของ  5
                k 1
                  4
2. จงหาค่าของ  5n2
                n 1
                 6
3. จงหาค่าของ  (5i2  3i  6)
                i 1
                 3
4. จงหาค่าของ  (6i - 4)
               i 1
                10
5. จงหาค่าของ  (5i - 2)
               i 1
                  4
6. จงหาค่าของ  5(k  3)
                k 1



คาชี้แจง    ให้นักเรียนแสดงวิธีทาแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องโดยการใช้สูตร
                12
7. จงหาค่าของ  5i
               i 1
                  8
8. จงหาค่าของ  (5n2 - 2n)
                n 1
                 7
9. จงหาค่าของ  (6i3 - 2)
                i 1
                   10
10. จงหาค่าของ  (i3  9i2  18i)
                 i 1
                  20
11. จงหาค่าของ  (3k 3  k)
                 k  11
เฉลยแบบฝึกหัดที่ 11
      เรื่อง สัญลักษณ์แทนการบวก



1)       40
2)      150
3)      554
4)        24
5)      255
6)      110
7)       390
8)      948
9)      770
10)    7480
11)    7610
เรื่องอนุกรมจากัดและอนุกรมอนันต์

      คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์

ข้อที่               ลาดับ                            อนุกรม              ประเภทของอนุกรม
                                                                        อนุกรม อนุกรมอนันต์
                                                                         จากัด
  1      1, 7, 14, 21, 28, 35               1 + 7 + 14 + 21 + 28 + 35                 /
  2      1 1 1        1
          , , , ... , n , ...
                                            1 1 1        1
                                                ...  n  ...           /
         2 4 8       2                      2 4 8       2
  3      3, 6, 9, 12, 15, 18
  4      9, 7, 5, 3, 1, -1, -3
  5      3, 4 , 5 , . . . , n + 2 , . . .
  6      3, 5,7 . . . , 2n+1, . . .
  7      -3, -6, -9, . . . , -3n, . . .
  8      5,10,15,20,25,30,35

   ดังนั้น อนุกรมจากัด คือ ………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
              อนุกรมอนันต์ คือ ……………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
เอกสารแนะแนวทางที่ 6
                           เรื่องอนุกรมจากัดและอนุกรมอนันต์


ข้อที่                        อนุกรม                                  ประเภทของอนุกรม
                                                                อนุกรมจากัด    อนุกรมอนันต์
  3       4 + 7 + 10 + 13 + 16 + 19                                  /
  4       8+6+4+2+0–2–4                                              /
  5       2 + 3 + 4 + . . . + (n + 1) + . . .                                       /
  6       1 + 3 + 5 + . . . + (2n – 1) + . . .                                      /
  7       – 2 – 4 – 6 – . . . – 2n – . . .                                          /
  8       10 + 13 + 16 + 19 + 22 + 25                                /


ดังนั้น    อนุกรมจากัด คือ อนุกรมที่ได้จากการบวกพจน์ของลาดับจากัด ถ้าให้
            a1, a2, a3, . . ., an เป็นลาดับจากัด จะได้ a1 + a2 + a3 + . . . + an เป็นอนุกรม
จากัด
              อนุกรมอนันต์ คือ อนุกรมที่ได้จากการบวกพจน์ทุกพจน์ของลาดับอนันต์ ถ้าให้
             a1, a2, a3, . . ., an, . . . เป็นลาดับอนันต์ จะได้ a1 + a2 + a3 + . . . + an + . . .
             เป็นอนุกรมอนันต์
เรื่อง อนุกรมเลขคณิต

                                           ใบกิจกรรมที่ 6

      คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์

ข้อที่                          อนุกรม                            ผลต่างร่วม   อนุกรมเลขคณิต
                                                                               เป็น     ไม่เป็น
  1      2 + 4 + 6 + 8 + 10                                           2         /          -
  2      1 + 3 + 5 + . . . + (2n – 1) + . . .                         2          -         /
  3      1 + 4 + 9 + 16 + 25
  4      7 + 11 + 15 + 19 + 23
  5      11 + 2 – 7 + . . . + (20 – 9n) + . . .
  6      1 1 1
             ... 
                      1
                          ...
         2 4 8        2n
  7      (x + 3) + (x + 6) + (x + 9) + . . . + (x + 3n) + . . .
  8      3 4 5
             ... 
                      n2
                           ...
         4 5 6        n3
  9 1 + 8 + 27 + 64 + . . .
 10 3 + 3 + 3 + 3 + 3

อนุกรมเลขคณิต คือ …………………………………………………………..……………
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
เอกสารแนะแนวทางที่ 7
                             เรื่อง อนุกรมเลขคณิต


           ข้อที่         ผลต่างร่วม               อนุกรมเลขคณิต
                                                  เป็น       ไม่เป็น
             4                  4                  /            –
             5                 -9                  /            –
             6                ไม่มี                –            /
             7                  3                  /            –
             8                ไม่มี                –            /
             9                ไม่มี                –            /
            10                  0                  /            –

อนุกรมเลขคณิต คือ
 ผลบวกของแต่ละพจน์ของลาดับเลขคณิต ถ้าให้ a1, a2, a3, . . ., an เป็น
 ลาดับเลขคณิต a1 + a2 + a3 + . . . + an เรียกว่า อนุกรมเลขคณิต
ใบความรู้ที่ 9
สาระสาคัญ

                                                               n
        ผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต คือ Sn =                 [2a1  (n - 1)d]
                                                               2
                                                                 n
                                               หรือ     Sn =       (a1  a n )
                                                                 2
สาระการเรียนรู้
                  การหาสูตรผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต
        ผลบวกของพจน์ของลาดับเลขคณิต เรียกว่า อนุกรมเลขคณิต ในการหาผลบวก n พจน์
แรกของอนุกรมเลขคณิต ทาได้ดังนี้
    ให้    Sn = a1 + a2 + a3 + . . . + an (เมื่อ a1, a2, a3, . . ., an เป็นลาดับเลข
คณิต)
                = a1 + (a1 + d) + (a1 + 2d) + . . . + [a1 + (n – 1)d]
                = a11 a11  d  2d  3d .
                     
                       a 
                               
                                   ...  a
                                             . .  (n - 1)d
                                                                   
                                n ตัว                      n - 1 ตัว
                  = na1 + [1 + 2 + 3 + . . . + (n – 1)]d
                  = na1  n - 1 [1  (n - 1)]d
                              2
                            (n - 1)
                  =   na1 
                               2
                                    nd
                      2na1  (n - 1) nd
                  =           2
                      n [2a1  (n - 1)d]
                  =           2


                       n
         Sn      =    2
                         [2a1  (n - 1)d]                          ……………….. 


                               n
        หรือ      Sn =         2
                                 [a1  a1  (n - 1)d]


                               n
                  Sn =         2
                                 (a1  a n )                       …………………. 


    สรุป          สูตรการหาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต คือ
                       Sn = n [2a1  (n - 1)d]
                             2
หรือ       Sn = n (a1  an )
                             2
        เมื่อ Sn       แทน ผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต
                 a1   แทน พจน์ที่ 1 ของอนุกรมเลขคณิต
                 d    แทน ผลต่างร่วมของอนุกรมเลขคณิต
                 an    แทน พจน์ที่ n ของอนุกรมเลขคณิต

ตัวอย่างที่ 1 จากอนุกรมเลขคณิต 100 + 95 + 90 + . . .          จงหา S15
วิธีทา จากสูตร       Sn = n [2a1  (n - 1)d]
                               2
         จากโจทย์ จะได้ a1 = 100 , d = 5 , n = 15
         แทนค่า      S15 = 15 2(100)  (15 - 1)(5)
                                   2
                                   15
                             =        [ 200 - 70 ]
                                    2
                                   15
                          =           (130)
                                    2
                          = 975
ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลบวกของอนุกรมเลขคณิต 1 + 2 + 3 + . . . + 300
วิธีทา จากอนุกรมเลขคณิต 1 + 2 + 3 + . . . + 300 จะได้
               a1 = 1 , n = 300 , an = 300
         จากสูตร       Sn = n (a1  an )
                                   2
                                   300
        แทนค่า         S300 =       2
                                       (1  300)

                            = 150(301)
                            = 45,150
ตัวอย่างที่ 3 ให้ลาดับเลขคณิตลาดับหนึ่งมีผลต่างร่วมเท่ากับ 4 และพจน์ที่ 13 คือ 51
                จงหาผลบวก 13 พจน์แรก
    วิธีทา จาก an = a1 + (n – 1)d
             จากโจทย์ จะได้ d = 4 และ a13 = 51
             แทนค่า         51 = a1 + 12(4)
                              a1 = 3
             จากสูตร Sn           = n (a1  an )
                                       2
                                          13
                                S13 =     2
                                              [a1  a13 ]

                                          13
                                    =      2
                                              [3  51]

                                           13
                                    =       2
                                               (54)      =   351
             ผลบวก 13 พจน์แรก มีค่าเท่ากับ 351
ตัวอย่างที่ 4    ให้อนุกรมเลขคณิตชุดหนึ่ง มีผลบวก 11 พจน์แรกเท่ากับ 77 และ
                          ผลต่างร่วมเท่ากับ 3 จงหาพจน์แรกและพจน์ที่ 11
        วิธีทา จากโจทย์ จะได้ d = 3 และ S11 = 77
                 จาก         an = a1 + (n – 1)d
                              a11= a1 + 0(3)
                  a11 – a1 – 30 = 0                  ……………………. 
                                        n
              จากสูตร         Sn =         (a1  a n )
                                   2
                                   11
                         S11 =        [a1  a11 ]
                                    2
                                    11
                            77 =        [a1  a11 ]
                                     2
                           154 = 11a1 + 11a11
           11a11 – 11a1 – 154 = 0 …………………… 
       11          11a11 – 11a1 – 330 = 0 …………………… 
     +                  22a11 – 484 = 0
                                  22a11 = 484
                                 a11      = 22
             แทนค่า a11 ใน 
                          22 – a1 – 30 = 0
                            – a1 – 8       = 0
                                   a1     = –8
          พจน์แรก มีค่าเท่ากับ – 8
             พจน์ที่ 11 มีค่าเท่ากับ 22
    ตัวอย่างที่ 5 จงหาผลบวกของทุกจานวนคี่จาก 61 ถึง 121
    วิธีทา จากโจทย์ จะได้ a1 = 61 , d = 2 และ an = 121
             จากสูตร        an = a1 + (n – 1)d
             แทนค่า        121 = 61 + (n – 1)(2)
                          121 = 61              + 2n – 2
                            2n = 62
                            n = 31
                                        n
             จากสูตร        Sn =        2
                                          (a1  a n )

                                     31
                แทนค่า   S31 =       2
                                        [61  121]

                                     31
                         =           2
                                        (182)

                         =      2,821
 ผลบวกของทุกจานวนคี่จาก 61 ถึง 121 คือ 2,821
แบบฝึกหัดที่ 12
                                   เรื่องอนุกรมเลขคณิต
คาชี้แจง   ให้นักเรียนแสดงวิธีทา

1.กาหนด จงหาผลบวก n พจน์แรกตามเงื่อนไขที่กาหนดในแต่ละข้อต่อไปนี้
    1.1 a1 = -3 , d = 6 จงหา S10
    1.2 a1 = 10 , d = 5 จงหา S20
    1.3 a1 = 60 , d = -2 จงหา S20
    1.4 a1 = 8 , d = 4 จงหา S30
    1.5 a1 = 8 , d = 14 จงหา S15
2. จงหาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิตต่อไปนี้
    2.1 2 + 4 + 6 + . . . + 100
    2.2 10 + 20 + 30 + . . . + 400
    2.3 1 + 3 + 5 + . . . + 41
3. อนุกรมเลขคณิตชุดหนึ่ง มีผลบวกพจน์ที่ 2 กับพจน์ที่ 4 เท่ากับ 15 และผลบวกของพจน์ที่ 5
กับพจน์ที่ 6 เท่ากับ 25 จงหาผลบวกของ 20 พจน์แรก
4. ผลบวกของจานวนเต็มที่อยู่ระหว่าง 50 และ 350 และมีหลักหน่วยเป็น 1 มีค่าเท่าไร
5. จงหาผลบวกของจานวนเต็มที่อยู่ระหว่าง 65 กับ 193 ที่หารด้วย 4 ลงตัว
6. นายปรีชาได้รับรายได้จากการขายของเดือนแรก 3,600 บาท และรายได้ดังกล่าวจะเพิ่มขึ้นเดือน
ละ 200 บาททุกเดือน จงหารายได้ทั้งหมดเมื่อเขาทางานครบ 12 เดือน
เฉลยแบบฝึกหัดที่ 12
                   เรื่องอนุกรมเลขคณิต


1)   1.1   240
     1.2   1,150
     1.3   820
     1.4   750
     1.5

2)   2.1 5,100
     2.2 82,000
     2.3 861
3)   2,660
4)   5,880
5)   4,160
6)   56,400

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามพัน พัน
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามPiyanouch Suwong
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองTum Anucha
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
คณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไรคณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไรJiraprapa Suwannajak
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงRitthinarongron School
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นInmylove Nupad
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วนInmylove Nupad
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน FBangon Suyana
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติRitthinarongron School
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวTutor Ferry
 

Was ist angesagt? (20)

เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
คณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไรคณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไร
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน F
 
อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิต
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
 

Ähnlich wie อนุกรมเลขคณิต

Ähnlich wie อนุกรมเลขคณิต (7)

Math8
Math8Math8
Math8
 
P2a
P2aP2a
P2a
 
Real content
Real contentReal content
Real content
 
Real content
Real contentReal content
Real content
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Math7
Math7Math7
Math7
 

Mehr von aoynattaya

อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตaoynattaya
 
ลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับaoynattaya
 
ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตaoynattaya
 
ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2aoynattaya
 
ลำดับ
ลำดับลำดับ
ลำดับaoynattaya
 
อนุกรสเรขาคณิต
อนุกรสเรขาคณิตอนุกรสเรขาคณิต
อนุกรสเรขาคณิตaoynattaya
 
อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตaoynattaya
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตaoynattaya
 
ลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับaoynattaya
 
ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตaoynattaya
 
ลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิตลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิตaoynattaya
 
ลำดับ
ลำดับลำดับ
ลำดับaoynattaya
 
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนaoynattaya
 
51ma m1 sosu8s302 [โหมดความเข้ากันได้]
51ma m1 sosu8s302 [โหมดความเข้ากันได้]51ma m1 sosu8s302 [โหมดความเข้ากันได้]
51ma m1 sosu8s302 [โหมดความเข้ากันได้]aoynattaya
 
51ma m1 sosu8s302
51ma m1 sosu8s30251ma m1 sosu8s302
51ma m1 sosu8s302aoynattaya
 

Mehr von aoynattaya (15)

อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิต
 
ลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับ
 
ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิต
 
ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2
 
ลำดับ
ลำดับลำดับ
ลำดับ
 
อนุกรสเรขาคณิต
อนุกรสเรขาคณิตอนุกรสเรขาคณิต
อนุกรสเรขาคณิต
 
อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิต
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 
ลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับ
 
ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิต
 
ลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิตลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิต
 
ลำดับ
ลำดับลำดับ
ลำดับ
 
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
 
51ma m1 sosu8s302 [โหมดความเข้ากันได้]
51ma m1 sosu8s302 [โหมดความเข้ากันได้]51ma m1 sosu8s302 [โหมดความเข้ากันได้]
51ma m1 sosu8s302 [โหมดความเข้ากันได้]
 
51ma m1 sosu8s302
51ma m1 sosu8s30251ma m1 sosu8s302
51ma m1 sosu8s302
 

อนุกรมเลขคณิต

  • 1. เรื่อง อนุกรมเลขคณิต ใบความรู้ที่ 8 สัญลักษณ์แทนการบวก (Sigma notation) สัญลักษณ์แทนการบวกจะใช้อักษรกรีก  (อ่านว่า ซิกมา) เป็นสัญลักษณ์แทนการบวก n โดยที่ a1 + a2 + a3 + . . . + an =  ai i 1  และ a1 + a2 + a3 + . . . =  ai i 1 n ซึ่ง  a i อ่านว่า การบวก aI เมื่อ i = 1 ถึง i = n i 1   a i อ่านว่า การบวก aI เมื่อ i มีค่าตั้งแต่ 1 ขึ้นไป i 1 6 เช่น  i = 1 + 2 + 3 + 4 + 5 + 6 i 1  2 2 2  i2 = 1 + 2 + 3 + . . . i 1 ตัวอย่างที่ 1 จงเขียน 2x2 + 2x3 + 2x4 + 2x5 + 2x6 + 2x7 โดยใช้สัญลักษณ์การบวก วิธีทา 2x2 + 2x3 + 2x4 + 2x5 + 2x6 + 2x7 = 2(x2 + x3 + x4 + x5 + x6 + x7) 7 =  2x i i2 ตัวอย่างที่ 2 จงเขียน 2 + 4 + 6 + . . . + 100 โดยใช้เครื่องหมาย  วิธีทา 2 + 4 + 6 + . . . + 100 = 2(1) + 2(2) + 2(3) + . . . + 2(50) 50 =  2i i 1 ตัวอย่างที่ 3 จงเขียน 3 + 6 + 9 + . . . + 180 โดยใช้สัญลักษณ์การบวก วิธีทา 3 + 6 + 9 + . . . + 180 = 3(1) + 3(2) + 3(3) + . . . + 3(60) 60 =  3i i 1
  • 2. สาระสาคัญ สมบัติของ  ที่ควรทราบ มีดังนี้ n 1.  c  nc เมื่อ c เป็นค่าคงตัว i 1 n n 2.  c ai  c  ai เมื่อ c เป็นค่าคงตัว i 1 i 1 n n n 3.  (ai  bi )   ai   bi i 1 i 1 i 1 สมบัติของ  ที่ควรทราบ สมบัติของ  ที่ควรทราบ มีดังนี้ n 1.  c  nc เมื่อ c เป็นค่าคงตัว i 1 n พิสูจน์ c = c + c + c + . . . + c (n พจน์) i 1 = nc n   c = nc i 1 n n 2.  c ai  c  ai เมื่อ c เป็นค่าคงตัว i 1 i 1 n พิสูจน์  c ai = ca1 + ca2 + ca3 + . . . + can i 1 = c(a1 + a2 + a3 + . . . + an) n n   c ai  c  ai i 1 i 1
  • 3. n n n 3.  (ai  bi )   ai   bi i 1 i 1 i 1 n พิสูจน์  (ai  bi ) = (a1  b1 )  (a2  b 2 )  (a3  b 3 )  . . .  (an  bn ) i 1 = (a1  a2  a3  . . .  an )  (b1  b 2  b 3  . . .  bn ) n n n   (ai  bi )   ai   bi i 1 i 1 i 1 ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่าของ 5 1.1  8 i 1 4 1.2  3i2 i 1 5 วิธีทา 1.1 8 i 1 = 8+8+8+8+8 = 85 = 40 4 4 1.2  5i i 1 2 = 5  i2 i 1 = 5(12 + 22 + 32 + 42) = 5(30) = 150 5 ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่าของ  (4i 2 - 5i  8) i 1 5 5 5 5 วิธีทา  (2i2 - 3i  7) =  i 1 4i 2 -  i 1 5i  8 i 1 i 1 5 5 5 = 4  i 2 - 5 i  8 i 1 i 1 i 1 = 4(1 + 2 + 3 + 4 + 52) – 5(1 + 2 + 3 + 4 + 5) + (5  2 2 2 2 8) = 4(55) – 5(15) + 40 = 220 – 75 + 40 = 185
  • 4. สาระสาคัญ n n(n  1)  i หมายถึง  i  2 i 1 n  i2 หมายถึง  i2  n(n  1)(2n  1) 6 i 1 n 2  i3 หมายถึง  i3    i 2  n(n  1)    2  i 1   การหาสูตรของ  i ,  i2 และ  i3 n n(n  1) 1.  i  2 i 1 n พิสูจน์  i = 1 + 2 + 3 + . . . + (n – 2) + (n – 1) + n …………  i 1 n  i = n + (n – 1) + (n – 2) + . . . + 3 + 2 + 1 …………  i 1 n + 2i = (n + 1) + (n + 1) + (n + 1) + . . . + (n + 1) ; i 1 (n วงเล็บ) = n (n + 1) n n(n  1)  i  2 i 1 10 ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่าของ  6i i 1 10 10 วิธีทา  i 1 6i = 6 i i 1 10(10  1)  = 6   2  = 6(55) = 330 n n(n  1)(2n  1) 2.  i2  6 i 1
  • 5. n พิสูจน์ ให้ S =  i2 i 1 = 12 + 22 + 32 + . . . + n2 เนื่องจาก x3 – (x – 1)3 = 3x2 – 3x + 1 ถ้า x = 1 จะได้ 13 – 03 = 3(1)2 – 3(1) + 1 ถ้า x = 2 จะได้ 23 – 13 = 3(2)2 – 3(2) + 1 ถ้า x = 3 จะได้ 33 – 23 = 3(3)2 – 3(3) + 1 .. .. ‘ .. . . 3 ถ้า x = n – 1 จะได้ (n – 1) – (n – 2) = 3(n – 1)2 – 3(n – 1) + 1 3 ถ้า x = n จะได้ n3 – (n – 1)3 = 3(n)2 – 3(n) + 1 นาพจน์ทางซ้ายมือของทุกสมการบวกกัน และนาพจน์ทางขวามือของทุกสมการบวกกัน จะได้ n3 = 3(12 + 22 + 32 + . . . + n2) – 3(1 + 2 + 3 + . . . + n) + (1 1  1 .      . . 1)  n พจน์  n(n  1)  = 3S - 3    n  2  3n(n  1) n3 = 3S -  n 2 3n(n  1) 3S = n3  - n 2 6S = 2n3 + 3n2 + n 6S = n(2n2 + 3n + 1) 6S = n(n + 1)(2n + 1) n(n  1)(2n  1)  S = 6 4 ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่าของ  - k2 k 1 4 4 วิธีทา  - k2 = (1)  k2 k 1 k 1 = (1)[1  22  32  4 2 ] 2  4(4 1)(8  1)  = (1)  6    = (1)(30) = 30
  • 6. n 2  n(n  1)  3.  i3   2  i 1   n พิสูจน์ ให้ S =  i3 i 1 = 13 + 23 + 33 + . . . + n3 แต่ x4 – (x – 1)4 = 4x3 – 6x2 + 4x – 1 ถ้า x = 1 จะได้ 14 - 04 = 4(1)3 – 6(1)2 + 4(1) – 1 ถ้า x = 2 จะได้ 24 - 14 = 4(2)3 – 6(2)2 + 4(2) – 1 ถ้า x = 3 จะได้ 34 - 24 = 4(3)3 – 6(3)2 + 4(3) – 1 .. . ถ้า x = n – 1 จะได้ (n – 1)4 – (n – 1)4 = 4(n – 1)3 – 6(n – 1)2 + 4(n – 1) – 1 ถ้า x = n จะได้ n4 – (n – 1)4 = 4(n)3 – 6(n)2 + 4(n) – 1 นาพจน์ทางซ้ายมือของทุกสมการบวกกัน และพจน์ทางขวามือของทุกสมการบวกกัน จะได้ n4 =4(13 + 23 + 33 + . . . + n3) – 6(12 + 22 + 32 + . . . + n2) + (1 + 2 + 3 + . . . + n) + (-1-1.  - 1 1 - - . . - 1) n พจน์ 4 [(n(n  1)(2n  1)] n  n = 4S – 6 6  4  (n  1) - n 2   n4 = 4S – n(n + 1)(2n + 1) + 2n(n + 1) – n 4S = n4 + n(n + 1)(2n + 1) + 2n(n + 1) + n 4S = n [n3 + 2n2 + 3n + 1 – 2n – 2 + 1] 4S = n [n3 + 2n2 + n] 4S = n2 [n2 + 2n + 1] n 2 (n  1) 2 S = 4 2  n(n  1)  =  2    n 2  n(n  1)    i3   2  i 1  
  • 7. 10 ตัวอย่างที่ 3 จงหาค่าของ  (4i3 - 5) i 1 10 10 10 วิธีทา  (4i3 - 5) =  4i 3 - 5 i 1 i 1 i 1 10 10 = 4  i3 -  5 i 1 i 1 2 10(10  1)  = 4  - (10  5)  2  2 = 4(55) – 50 = 4(3025) – 50 = 12100 – 50 = 12,050
  • 8. แบบฝึกหัดที่ 11 เรื่อง สัญลักษณ์แทนการบวก คาชี้แจง ให้นักเรียนแสดงวิธีทาแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องโดยการกระจายในรูปการบวก 8 1. จงหาค่าของ  5 k 1 4 2. จงหาค่าของ  5n2 n 1 6 3. จงหาค่าของ  (5i2  3i  6) i 1 3 4. จงหาค่าของ  (6i - 4) i 1 10 5. จงหาค่าของ  (5i - 2) i 1 4 6. จงหาค่าของ  5(k  3) k 1 คาชี้แจง ให้นักเรียนแสดงวิธีทาแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องโดยการใช้สูตร 12 7. จงหาค่าของ  5i i 1 8 8. จงหาค่าของ  (5n2 - 2n) n 1 7 9. จงหาค่าของ  (6i3 - 2) i 1 10 10. จงหาค่าของ  (i3  9i2  18i) i 1 20 11. จงหาค่าของ  (3k 3  k) k  11
  • 9. เฉลยแบบฝึกหัดที่ 11 เรื่อง สัญลักษณ์แทนการบวก 1) 40 2) 150 3) 554 4) 24 5) 255 6) 110 7) 390 8) 948 9) 770 10) 7480 11) 7610
  • 10. เรื่องอนุกรมจากัดและอนุกรมอนันต์ คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ ข้อที่ ลาดับ อนุกรม ประเภทของอนุกรม อนุกรม อนุกรมอนันต์ จากัด 1 1, 7, 14, 21, 28, 35 1 + 7 + 14 + 21 + 28 + 35 / 2 1 1 1 1 , , , ... , n , ... 1 1 1 1    ...  n  ... / 2 4 8 2 2 4 8 2 3 3, 6, 9, 12, 15, 18 4 9, 7, 5, 3, 1, -1, -3 5 3, 4 , 5 , . . . , n + 2 , . . . 6 3, 5,7 . . . , 2n+1, . . . 7 -3, -6, -9, . . . , -3n, . . . 8 5,10,15,20,25,30,35 ดังนั้น อนุกรมจากัด คือ ……………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. อนุกรมอนันต์ คือ ………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………….
  • 11. เอกสารแนะแนวทางที่ 6 เรื่องอนุกรมจากัดและอนุกรมอนันต์ ข้อที่ อนุกรม ประเภทของอนุกรม อนุกรมจากัด อนุกรมอนันต์ 3 4 + 7 + 10 + 13 + 16 + 19 / 4 8+6+4+2+0–2–4 / 5 2 + 3 + 4 + . . . + (n + 1) + . . . / 6 1 + 3 + 5 + . . . + (2n – 1) + . . . / 7 – 2 – 4 – 6 – . . . – 2n – . . . / 8 10 + 13 + 16 + 19 + 22 + 25 / ดังนั้น อนุกรมจากัด คือ อนุกรมที่ได้จากการบวกพจน์ของลาดับจากัด ถ้าให้ a1, a2, a3, . . ., an เป็นลาดับจากัด จะได้ a1 + a2 + a3 + . . . + an เป็นอนุกรม จากัด อนุกรมอนันต์ คือ อนุกรมที่ได้จากการบวกพจน์ทุกพจน์ของลาดับอนันต์ ถ้าให้ a1, a2, a3, . . ., an, . . . เป็นลาดับอนันต์ จะได้ a1 + a2 + a3 + . . . + an + . . . เป็นอนุกรมอนันต์
  • 12. เรื่อง อนุกรมเลขคณิต ใบกิจกรรมที่ 6 คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ ข้อที่ อนุกรม ผลต่างร่วม อนุกรมเลขคณิต เป็น ไม่เป็น 1 2 + 4 + 6 + 8 + 10 2 / - 2 1 + 3 + 5 + . . . + (2n – 1) + . . . 2 - / 3 1 + 4 + 9 + 16 + 25 4 7 + 11 + 15 + 19 + 23 5 11 + 2 – 7 + . . . + (20 – 9n) + . . . 6 1 1 1    ...  1  ... 2 4 8 2n 7 (x + 3) + (x + 6) + (x + 9) + . . . + (x + 3n) + . . . 8 3 4 5    ...  n2  ... 4 5 6 n3 9 1 + 8 + 27 + 64 + . . . 10 3 + 3 + 3 + 3 + 3 อนุกรมเลขคณิต คือ …………………………………………………………..…………… ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………….
  • 13. เอกสารแนะแนวทางที่ 7 เรื่อง อนุกรมเลขคณิต ข้อที่ ผลต่างร่วม อนุกรมเลขคณิต เป็น ไม่เป็น 4 4 / – 5 -9 / – 6 ไม่มี – / 7 3 / – 8 ไม่มี – / 9 ไม่มี – / 10 0 / – อนุกรมเลขคณิต คือ ผลบวกของแต่ละพจน์ของลาดับเลขคณิต ถ้าให้ a1, a2, a3, . . ., an เป็น ลาดับเลขคณิต a1 + a2 + a3 + . . . + an เรียกว่า อนุกรมเลขคณิต
  • 14. ใบความรู้ที่ 9 สาระสาคัญ n ผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต คือ Sn = [2a1  (n - 1)d] 2 n หรือ Sn = (a1  a n ) 2 สาระการเรียนรู้ การหาสูตรผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต ผลบวกของพจน์ของลาดับเลขคณิต เรียกว่า อนุกรมเลขคณิต ในการหาผลบวก n พจน์ แรกของอนุกรมเลขคณิต ทาได้ดังนี้ ให้ Sn = a1 + a2 + a3 + . . . + an (เมื่อ a1, a2, a3, . . ., an เป็นลาดับเลข คณิต) = a1 + (a1 + d) + (a1 + 2d) + . . . + [a1 + (n – 1)d] = a11 a11  d  2d  3d .  a     ...  a    . .  (n - 1)d   n ตัว n - 1 ตัว = na1 + [1 + 2 + 3 + . . . + (n – 1)]d = na1  n - 1 [1  (n - 1)]d 2 (n - 1) = na1  2 nd 2na1  (n - 1) nd = 2 n [2a1  (n - 1)d] = 2 n  Sn = 2 [2a1  (n - 1)d] ………………..  n หรือ Sn = 2 [a1  a1  (n - 1)d] n Sn = 2 (a1  a n ) ………………….  สรุป สูตรการหาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต คือ Sn = n [2a1  (n - 1)d] 2
  • 15. หรือ Sn = n (a1  an ) 2 เมื่อ Sn แทน ผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต a1 แทน พจน์ที่ 1 ของอนุกรมเลขคณิต d แทน ผลต่างร่วมของอนุกรมเลขคณิต an แทน พจน์ที่ n ของอนุกรมเลขคณิต ตัวอย่างที่ 1 จากอนุกรมเลขคณิต 100 + 95 + 90 + . . . จงหา S15 วิธีทา จากสูตร Sn = n [2a1  (n - 1)d] 2 จากโจทย์ จะได้ a1 = 100 , d = 5 , n = 15 แทนค่า S15 = 15 2(100)  (15 - 1)(5) 2 15 = [ 200 - 70 ] 2 15 = (130) 2 = 975 ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลบวกของอนุกรมเลขคณิต 1 + 2 + 3 + . . . + 300 วิธีทา จากอนุกรมเลขคณิต 1 + 2 + 3 + . . . + 300 จะได้ a1 = 1 , n = 300 , an = 300 จากสูตร Sn = n (a1  an ) 2 300 แทนค่า S300 = 2 (1  300) = 150(301) = 45,150 ตัวอย่างที่ 3 ให้ลาดับเลขคณิตลาดับหนึ่งมีผลต่างร่วมเท่ากับ 4 และพจน์ที่ 13 คือ 51 จงหาผลบวก 13 พจน์แรก วิธีทา จาก an = a1 + (n – 1)d จากโจทย์ จะได้ d = 4 และ a13 = 51 แทนค่า 51 = a1 + 12(4) a1 = 3 จากสูตร Sn = n (a1  an ) 2 13  S13 = 2 [a1  a13 ] 13 = 2 [3  51] 13 = 2 (54) = 351  ผลบวก 13 พจน์แรก มีค่าเท่ากับ 351
  • 16. ตัวอย่างที่ 4 ให้อนุกรมเลขคณิตชุดหนึ่ง มีผลบวก 11 พจน์แรกเท่ากับ 77 และ ผลต่างร่วมเท่ากับ 3 จงหาพจน์แรกและพจน์ที่ 11 วิธีทา จากโจทย์ จะได้ d = 3 และ S11 = 77 จาก an = a1 + (n – 1)d  a11= a1 + 0(3) a11 – a1 – 30 = 0 …………………….  n จากสูตร Sn = (a1  a n ) 2 11  S11 = [a1  a11 ] 2 11 77 = [a1  a11 ] 2 154 = 11a1 + 11a11 11a11 – 11a1 – 154 = 0 ……………………    11 11a11 – 11a1 – 330 = 0 ……………………  + 22a11 – 484 = 0 22a11 = 484 a11 = 22 แทนค่า a11 ใน  22 – a1 – 30 = 0 – a1 – 8 = 0  a1 = –8  พจน์แรก มีค่าเท่ากับ – 8 พจน์ที่ 11 มีค่าเท่ากับ 22 ตัวอย่างที่ 5 จงหาผลบวกของทุกจานวนคี่จาก 61 ถึง 121 วิธีทา จากโจทย์ จะได้ a1 = 61 , d = 2 และ an = 121 จากสูตร an = a1 + (n – 1)d แทนค่า 121 = 61 + (n – 1)(2) 121 = 61 + 2n – 2 2n = 62  n = 31 n จากสูตร Sn = 2 (a1  a n ) 31 แทนค่า S31 = 2 [61  121] 31 = 2 (182) = 2,821  ผลบวกของทุกจานวนคี่จาก 61 ถึง 121 คือ 2,821
  • 17. แบบฝึกหัดที่ 12 เรื่องอนุกรมเลขคณิต คาชี้แจง ให้นักเรียนแสดงวิธีทา 1.กาหนด จงหาผลบวก n พจน์แรกตามเงื่อนไขที่กาหนดในแต่ละข้อต่อไปนี้ 1.1 a1 = -3 , d = 6 จงหา S10 1.2 a1 = 10 , d = 5 จงหา S20 1.3 a1 = 60 , d = -2 จงหา S20 1.4 a1 = 8 , d = 4 จงหา S30 1.5 a1 = 8 , d = 14 จงหา S15 2. จงหาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิตต่อไปนี้ 2.1 2 + 4 + 6 + . . . + 100 2.2 10 + 20 + 30 + . . . + 400 2.3 1 + 3 + 5 + . . . + 41 3. อนุกรมเลขคณิตชุดหนึ่ง มีผลบวกพจน์ที่ 2 กับพจน์ที่ 4 เท่ากับ 15 และผลบวกของพจน์ที่ 5 กับพจน์ที่ 6 เท่ากับ 25 จงหาผลบวกของ 20 พจน์แรก 4. ผลบวกของจานวนเต็มที่อยู่ระหว่าง 50 และ 350 และมีหลักหน่วยเป็น 1 มีค่าเท่าไร 5. จงหาผลบวกของจานวนเต็มที่อยู่ระหว่าง 65 กับ 193 ที่หารด้วย 4 ลงตัว 6. นายปรีชาได้รับรายได้จากการขายของเดือนแรก 3,600 บาท และรายได้ดังกล่าวจะเพิ่มขึ้นเดือน ละ 200 บาททุกเดือน จงหารายได้ทั้งหมดเมื่อเขาทางานครบ 12 เดือน
  • 18. เฉลยแบบฝึกหัดที่ 12 เรื่องอนุกรมเลขคณิต 1) 1.1 240 1.2 1,150 1.3 820 1.4 750 1.5 2) 2.1 5,100 2.2 82,000 2.3 861 3) 2,660 4) 5,880 5) 4,160 6) 56,400