SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 22
การบวนการ                                                                       <br />           เทคโนโลยีสารสนเทศ                1<br />ตัวชี้วัดช่วงชั้น<br />แก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ (ง 3.1 ม.4-6/5)<br />ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้<br />         การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา<br />       การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอน<br />       การดำเนินการแก้ปํญหาการเขียนรหัสจำรอง<br />            การตรวจสอบและปรับปรุงการเขียนผังงาน<br />          กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ        ความหมายและ  ขั้นตอนการแก้ปัญหา  การถ่านทอดความคิดในการแก้ปัญหาด้วยอัลกอรึทึม  <br />                            ลองคิด  ลองตอบ1.กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงอะไร2.กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศมีประโยชน์อย่างไร            ประโยชน์จาการเรียน1.ใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการแก้ปัญหา2.ถ่ายการถ่านทอดความคิดในการแก้ปัญหาด้วยอัลกอรึทึมได้<br />การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของมนุษย์ในปัจจุบัน  มีจุดประสงค์หลักเพื่อแก้ปัญหาและอำนวยความสะดวกในการดำรงชีวิต  โดยอาศัยเครื่องมีที่สำคัญ  คือ  กระบวนการเทคโนโลยี<br />สารสนเทศ<br />      ความหมายและขั้นตอนการแก้ไขปัญหา<br />      กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศจัดเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศโดยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ  (Process  Information  Technology) คือ กระบวน<br />หรือขั้นตอนที่ใช้ในการแก้ไขปัญหา  เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์  ซึ่งปัญหาดังกล่าวจะเกี่ยวเนื่องกับการข้อมูล เช่น การรวบรวม  การตรวจสอบความถูกต้อง  การประมวลผลการเก็บรักษา  และการเผยแพร่ข้อมูล  โดยมีการถ่ายทอดกิด<br />การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศมีขั้นตอนการปฏิบัติ  4 ขั้นตอน ได้แก่ การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา  การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอน  การดำเนินการแก้ปัญหา  และการตรวจสอบและปรับปรุง<br />การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดไข้ปัญหา<br />  การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา  คือ การทำความเข้าใจกับปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างละเอียดหรือการกำหนดขอบเขตของปัญหา ด้วยการวิเคราะห์ปัญหาและผลลัพธ์ที่ต้องการโดยมีวิธีการดังนี้<br />ตัวอย่าง  ต้องการแก้ปัญหาการขาดทุนของร้านเช่าหนังสือวิเคราะห์สิ่งต้องการ  โดยวิเคราะห์ว่า  ต้องการแก้อะไร ผลผลิตอะไรหรืองานอะไรแล้วกำหนดวัตถุประสงค์ของสิ่งที่ต้องการนั้น<br />    2.วิเคราะห์ผลลัพธ์ที่ต้องการ  โดยวิเคราะห์สิ่งที่คาดว่าจะได้รับจากการแก้ปัญหาที่ต้องการโดยผลลัพธ์ที่ได้จากเนื้อหานี้อาจมีมากกว่า  1  ข้อ<br />ตัวอย่างมีความสะดวกรวดเร็วในการเช่าหนังสือป้องกันไม่ให้หนังสือสุญหายมีกำไรมากยิ่งขึ้น<br />   3.วิเคราะห์ทรัพยากร  โดยคำนึงถึงทรัพยากรที่สามารถนำใช้ในการแก้ปัญหา  ซึ่งควรเป็นทรัพยากรที่มีแล้วเป็นหลัก  ด้วยการวิเคราะห์ทั้งทรัพยากรในด้านวัสดุ  อุปกรณ์  ความรู้ของบุคลากร   แรงงาน  และงบประมาณ<br />ตัวอย่างเงินสด 50,000 บาทโต๊ะคอมพิวเตอร์  1  ตัวสมุดบันทึกและเครื่องเขียนหนังสือจำนวน 2,000 เล่มชั้นวางหนังสือจำนวน  5 ชิ้นคอมพิวเตอร์จำนวน  1  เครื่องตัวสำหรับจัดเก็บอุปกรณ์  1  ตู้พนักงานจบการศึกษาระดับปริญญาตรี  จำนวน  1 คน<br />     <br /> 4.วิเคราะห์ตัวแปรหรือผลกระทบในด้านต่างๆ  ที่ส่งผลต่อการแก้ปัญหาหรืองานนั้น  ซึ้งอาจสมมุติสถานการณ์ขึ้นเพื่อนำมาวิเคราะห์ตัวแปรที่เกิดขึ้น  โดยตัวแปรที่เกิดขึ้นมักเกิดจากการมีทรัพยากรที่ไม่เหมาะสม   มีทรัพยากรมากหรือน้อยเกินไป<br />ตัวอย่างหนังสือสูญหายคอมพิวเตอร์เสียคิดราคาค่าเช่าหนังสือผิดพนักงานไม่สามารถมาปฏิบัติงานได้มีจัดอับในร้านทำให้มองไม่เห็นลูกค้าข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้าและหนังสือมีจำนวนมากจำนวนลูกค้ามีมากจนไม่สามารถดูแลได้ทั้วถึง<br />5.วิเคราะห์การแก้ปัญหา ในขั้นตอนนี้ควรนำเสนอวิธีการแก้ปัญหาทั้งหมดก่อนโดยไม่ต้องคำนึงว่าจะสามารถทำได้หรือไม่  ด้วยการกำหนดวิธีการแก้ปัญหาให้ได้มากที่สุด  จากนั้นจึงนำวิธีการแก้ปัญหานั้นๆ  สามารถทำได้หรือไม่  เพราะอะไร  แล้วแล้วบันทึกลงบนตาราง<br />วิธีการแก้ปัญหาการแก้ปัญหาการวิเคราะห์ได้ไม่ได้จ้างพนักงานเพิ่มช่วยแก้ปัญหาได้มากกว่า  1 ข้อเก็บค่าสมาชิกสูงขึ้นเป็นการลดจำนวนลูกค้าลง     3.ติดกระจกนูนที่มุมร้านช่วยให้เห็นลูกค้าได้ทั่วทั้งร้าน     4.ติดกล้องวงจรปิดในจุดต่างๆมีต้นทุนในการดำเนินการสูง     5. จัดทำส่งเสริมการขายแบบต่างๆเพื่อส่งเสริมการเช่าหนังสือมากยิ่งขึ้น     6.จ้างเจ้าหน้าทีรักษาความปลอดภัยได้ผลลัพธ์ไม่คุ้มค่าต่อการลงทุน     7.ให้ลูกค้าฝากกระเป๋าที่ด้านหน้าร้านปฏิบัติได้ทันทีโดยไม่มีต้นทุนเพิ่ม     8.บันทึกข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติได้ทันทีโดยไม่มีต้นทุนเพิ่ม     9.เพิ่มขนาดหรือขยายร้านให้กว้างขึ้นได้ผลลัพธ์ไม่คุ้มค่าต่อการลงทุน    10.กำหนดคุณสมบัติของผู้เช่าให้กว้างขึ้นจำนวนลูกค้าอาจลดลงได้    11.แจกบัตรคิวให้ลูกเข้าร้านตามลำดับลูกค้าไม่ได้รับความสะดวกสบายในการเช่าหนังสือ    12.กำหนดลูกค้าให้เข้าร้านเป็นกลุ่มๆลูกค้าไม่ได้รับความสะดวกสบายในการเช่าหนังสือ    13.ขายสินค้าอื่นๆเพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ร้านช่วยเพิ่มรายได้   14.ชื้อหนังสือใหม่ๆเพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ร้านเพื่อเพิ่มความสนใจให้แก่ลูกค้าใหม่ๆ   15.ลดปริมาณหนังสือเพื่อให้ดูแลได้ง่ายขึ้นลูกค้าอาจลดจำนวนลงเนื่องจากมีหนังสือน้อย   16.ใช้ระบบบาร์โค้ดในการขึ้นทะเบียนหนังสือเพิ่มความน่าเชื่อถือและอำนวยความสะดวกในการทำงาน   17.ปรับร้านให้มีทางเข้าและทางออกจากทางเดียวสามารถปฏิบัติได้ทันทีโดยไม่มีต้นทุนเพิ่ม   18.จัดทำสมุดรายชื่อหนังสือเพื่อให้ลูกค้าเลือกหนังสือลูกค้าไม่ได้รับความสะดวกสบายในการเช่าหนังสือ<br />ตารางวิเคราะห์การแก้ไข(ต่อ)<br />วิธีแก้ปัญหาการแก้ปัญหาการวิเคราะห์ได้ไม่ได้19 . เพิ่มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ให้แก่พนักงานช่วยแก้ปัญหาคอมพิวเตอร์ชำรุดบ่อยๆ20. ลูกค้าแจ้งชื่อหนังสือที่ต้องการแล้วให้พนักงานเป็นผู้หยิบหนังสือลูกค้าไม่ได้รับความสะดวกสบาย<br />การเลือกเครื่องมือละออกแบบขั้นตอน<br />      การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนเป็นการนำตารางการวิเคราะห์วีการแก้ปัญหามากำหนดเครื่องมือและขั้นตอนในการปฏิบัติ  โดยกำหนดเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนเฉพาะวิธีการแก้ปัญหาที่สามารถปฏิบัติได้เท่านั้น<br />   1.การเลือกเครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหา  เป็นการกำหนดทรัพยากรที่ต้องใช้ในการแก้ปัญหาซึ่งควรจะเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่แล้ว  หรือเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องมือนั้นๆมากกว่าการจัดหามาเพิ่มเติม  โดยควรกำหนดรายละเอียดของเครื่องมือหรือทรัพยากรให้ชัดเจน  พร้อมประมาณการค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องมือหรือทรัพยากรนั้นๆ<br />ตัวอย่าง<br />   พนักงานจำนวน 1 คน วุฒิขั้นต่ำมะยมศึกษาปีที่ 3 หรือเทียบเท่ามีความสามารถด้านคอมพิวเตอร์ควรได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษ  อัตราค่าจ้างเดือนละ 2000 บาท<br />    กระจกนูน  จำนวน  3บาน สั่งซื้อจากร้านขายกระจกโดยมีข้อกำหนดว่าร้านขายกระจกจะต้องมีค่าช่างมาดำเนินการติดตั้งให้ใช้งบประมาณ  5000 บาท<br />บัตรสะสมแต้ม จัดให้ลูกค้าที่เช่าหนังสือครบ 200 บาท จะได้รับคุปองมูลค่า 10 บาท เพื่อใช้แทนเงินสดในการเช่าหนังสือครั้งต่อไปใช้งบประมาณ  100 บาท<br />    ที่ฝากกระเป๋าและบัตรฝากกระเป๋าสำหรับลูกค้า ใช้ตู้สำหรับจัดเก็บอุปกรณ์ที่มีอยู่แล้วมาดัดแปลงเพื่อเก็บกระเป๋า และจัดทำบัตรฝากกระเป่าเป็นหมายเลข1-20 หมายเลขละ 2 ใบ ใช้งบประมาร 50 บาท<br />คอมพิวเตอร์ ตรวจสอบว่าสามารถใช้งานได้ปกติ และมีโปรแกรมสำหรับใช้งานครบถ้วน<br />สินค้าอื่นๆ จัดซื้อในปริมาณที่ไม่มากนักแต้มีความหลากหลาย ได้แก่ ปากกา ดินสอ ไม้บรรทัด ที่คั่นหนังสือ ตุ๊กตาทับบรรทัด และโปสต์การ์ด ใช้งบประมาณ 2000 บาท<br />              β   หนังสือ  จัดหาโดยการซื้อหนังสือจากร้านหนังสือมือสองแล้วนำมาซ่อมแซมและห่อปกหนังสือใหม่  หรือติดต่อซื้อหนังสือใหม่จากสำนักพิมพ์โดยตรง ใช้งบประมาณ<br />5,000บาท<br />              β  ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ใช้ในระบบบาร์โค้ด  ใช้งบประมาณ 20,000บาท<br />              β  ความรู้ด้านการใช้และการซ่อมคอมพิวเตอร์  ให้เจ้าของร้านหรือผู้จัดการร้านเป็นผู้ไปฝึกอบรม  แล้วนำมาเผยแพร่ให้แก่พนักงานในร้าน  ใช้งบประมาณ 2,000บาท <br />        2.การออกแบบขั้นตอนในการปฏิบัติงาน  เป็นการกำหนดแนวทางการแก้ปัญหาก่อนการปฏิบัติจริง   โดยจะต้องกำหนดขั้นตอนการปฏิบัติงานเป็นลำดับขั้น  แล้วจึงนำมาระบุผู้รับผิดชอบและระยะเวลาการปฏิบัติงานในตารางการปฏิบัติงาน<br />ตัวอย่าง<br />        ขั้นตอนที่ 1 จัดทำป้ายและติดประกาศรับสมัครพนักงาน<br />          ขั้นตอนที่ 2 สร้างแผนผังการจัดวางชั้นหนังสือ โต๊ะคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ สินค้าอื่นๆ และตู้สำหรับจัดเก็บอุปกรณ์ โดยกำหนดให้มีทางเข้าและทางออกจากร้านเพียงทางเดียว<br />           ขั้นตอนที่ 3 ให้ช่างมาติดตั้งกระจกนูน<br />           ขั้นตอนที่ 4 จัดวางและติดตั้งชั้นหนังสือ โต๊ะคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ สินค้าอื่นๆ และตู้สำหรับจัดเก็บอุปกรณ์ตามแผนผังที่กำหนดไว้<br />           ขั้นตอนที่ 5 ติดตั้งฮารด์แวร์และซอฟต์แวร์ที่ใช้ในระบบบาร์โค้ด<br />           ขั้นตอนที่ 6 คัดแยกหนังสือตามหมวดหมู่ต่างๆ เช่น หมวดหนังสือนิยาย หมวดหนังสือแปลเยาวชน และหมวดหนังสือการ์ตูน<br />           ขั้นตอนที่ 7 ติดรหัสบาร์โค้ดที่หนังสิ แล้วบันทึกข้อมูลของหนังสือตามหมวดหมู่ที่กำหนดไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์<br />           ขั้นตอนที่ 8 จัดเรียงหนังสือเข้าชั้นหนังสือตามหมวดหมู่ที่กำหนดไว้<br />           ขั้นตอนที่ 9 บันทึกข้อมูลลูกค้าในเครื่องคอมพิวเตอร์<br />          ขั้นตอนที่ 10 จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับอัตราเช่าหนังสือ ข้อกำหนดต่างๆ และรายการส่งเสริมการขายต่างๆ ติดที่หน้าร้านหนังสือ<br />          ขั้นตอนที่ 11 ส่งพนักงานไปฝึกอบรมการใช้งานและการซ่อมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น<br />          ขั้นตอนที่ 12 ให้พนักงานที่ไปฝึกอบรมมาเผยแพร่ความรู้ให้แก่พนักงานคนอื่นๆ <br />การตรวจสอบและปรับปรุง<br />                         การตรวจสอบและปรับปรุงเป็นการนำกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศมาตรวจสอบและปรับปรุงโดยคำนึงถึงสิ่งที่ต้องการจากการวิเคราะห์ในขั้นตอนแรกว่า  กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถให้สิ่งที่ต้องการตามที่กำหนดไว้หรือไม่    แบ่งเป็น  2  ขั้นตอน   ได้แก่    การตรวจสอบและปรับปรุงโดยมีผู้ออกแบบและการตรวจสอบโดยผู้ใช้งานจริง<br />  <br /> ตัวอย่าง<br />                 การตรวจสอบระบบบาร์โค้ด<br />                 การตรวจสอบการมองผ่านกระจกนูน<br />                 การตรวจสอบข้อมูลลูกค้า<br />2  การตรวจสอบโดยผู้ใช้งานจริง  เป็นการตรวจสอบและปรับปรุงกระบวนการทำงานภายหลังจากการดำเนินการ  โดยจัดเก็บข้อมูลจากผู้ใช้งานกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศนั้นโดยตรงซึ่งสามารถทำได้หลายวิธี  เช่น  การสังเกต  การสัมภาษณ์  และการทำแบบสอบถามจากนั้นผู้ออกแบบจึงรวบรวมข้อมูลที่ได้ไปปรับปรุงกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศอีกทีหนึ่ง<br />ตัวอย่าง<br />แบบทดสอบร้านเช่าหนังสือ<br />คำชี้แจง กรุณาทำเครื่องหมาย     ลงใน  □   หรือตารางที่ถูกต้องหรือเหมาะสมมากที่สุด<br />เพศ     □     หญิง                 □                  ชาย<br />อายุ     □      ต่ำกว่า12 ปี            □             12-20 ปี<br />             □    20 ปีขึ้นไป<br />รายได้ต่อเดือน      □     ต่ำกว่า 2,000  บาท            □         2,000-5,000 บาท<br />                               □  สูงกว่า 5,000 บาท     <br />หนังสือที่ชอบมากที่สุด<br />      □    นิยาย               □   การ์ตูน                 □  หนังสือแปล              □   นิตยสาร<br />การใช้บริการ<br />      □   ทุกวัน              □   มากกว่าสัปดาห์ละ 3 วัน     □    น้อยกว่าสัปดาห์ละ  3  วัน<br />      □  สัปดาห์ละครั้ง     □       น้อยกว่าสัปดาห์ละครั้ง                                   <br />ราย                                               ควายคิดเห็น        ดีมาก            ดี          พอใช้ ควรปรับปรุง1.ความรวดเร็วในในการให้บริการ2.ปริมาณหนังสือ3.ความหลากหลายของหนังสือ4.ความสุขภาพของพนักงาน5.เวลาในการเปิดให้บริการ6.คุณภาพของหนังสือ7.อัตราการเช่าหนังสือ8.บรรยากาศภายในร้าน9.รายการส่งเสริมการขาย10.บริการร้านอื่นๆ<br />ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม<br />...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................<br />เมื่อผู้ดำเนินการได้ให้ข้อมูลจากผู้ให้บริการจริงแล้วจึงทำการแก้ไขปรับปรุงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามข้อมูลที่ได้รับการกำหนดปัญญาเป็นข้อๆแล้วใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศแก่ปัญหาไปทีละข้อ<br />ตารางการปฏิบัติงาน<br />ขั้นตอนที่ระยะเวลาผู้รับผิดชอบหมายเหตุ1-23456-891011123วัน2วัน2วัน1วัน5วัน3วัน1วัน7วัน1วันเจ้าของร้านเจ้าของร้าน และช่างพนักงานเจ้าของร้านและช่างพนักงานพนักงานพนักงานเจ้าของร้านพนักงานขั้นตอนที่1-3เริ่มปฏิบัติพร้อมๆกันหากขั้นตอนที่1ไม่สามารถทำให้สำเร็จภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ก็ให้ดำเนินต่อไปเรื่อยๆขั้นตอนที่6-8สามารถปฏิบัติไปพร้อมๆกันได้ระยะเวลาขึ้นอยู่กับการหลักสูตรที่เปิดสอน<br />การดำเนินการแก้ปัญหา<br />               การดำเนินการแก้ปัญหาเป็นขั้นตอนของการลงมือปฏิบัติตามที่เลือกออกแบบไว้ในตารางปฏิบัติงาน  โดยควรปฏิบัติให้ตรงกับที่ออกแบบไว้ให้ได้มากที่สุด   และควรบันทึกปัญหาที่พบในขณะปฏิบัติงาน เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบและปรับปรุงภายหลัง  <br />การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา<br />การเลือกเครื่องมือและออกแบบข้นตอน<br />การดำเนินการแก้ปัญหา<br />กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้<br />ร่วมกันอภิปรายเปรียบเทียบความหมายของคำว่า กระบวนการเทคโนโลยี กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ และกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร<br />สร้างแผนผังความคิดเกี่ยวกับกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ<br />จับกลุ่มกับเพื่อนสมมุติปัญหา แล้วใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศแก้ปัญหานั้น<br />การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาด้วยอัลกอริทึม<br />       อัลกอรึทึม (Algorithm)เป็นส่วนหนึ่งของการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ เกิดจากแนวคิดอย่างมีระบบเพื่อนำไปสู่ผลลัพท์ที่ต้องการ โดยทั่วไปนิยมใช้อัลกอริทึมในการวางแผนการสร้างซอฟต์แวร์ที่ใช้ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ เพื่อให้ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการหรือแก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง โดยทั่วไปการทำงานหรือการแก้ปัญหาต่างๆ ในชีวิตมนุษย์มักเกี่ยวกับอัลกอริทึมซึ่งอาจจะเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์หรือไม่ก็ตาม เช่น ตำราประกอบอาหาร วิธีการปฐมพยาบาล และวิธีการตัดเสื้อผ้า<br />         อัลกอรึทึมที่ดีจะต้องได้ผลลัพท์ตรงกับความต้องการเสมอ   อัลกอรึทึมที่ดีจึงควรมีสมบัติดังนี้<br />1.มีความถูกต้องแม่นยำ โดยเมื่อป้อนข้อมูลนำเข้าเดียวกันในอัลกอริทึมเดียวกันจะต้องทำงานได้ผลลัพธ์ออกมาเหมือนเดิมทุกครั้ง<br />2.เข้าใจได้ง่ายและชัดเจน แต่ละขั้นตอนในอัลกอริทึมต้องมีการแบ่งการทำงานออกเป็นขั้นตอนย่อยหลายๆ ขั้นตอนโดยที่แต่ละขั้นตอนมีวิธีการคิดหรือตรรกะที่ไม้ซับช้อน<br />3.มีขั้นตอนหลักและขั้นตอนย่อย จากข้อ2การเขียนอัลกอริทึมให้เข้าใจได้ง่ายนั้น<br />ไม่สามารถระบุความยากง่ายได้อย่างแน่ชัดเนื่องจากพื้นความรู้ของแต่ละคนไม่เท่ากันบางคนต้องการรายละเอียดที่มากกว่าจึงจะเข้าใจ  ดังนั้นจึงควรออกแบบอัลกอริทึมให้มีระดับชั้น เพื่อประกอบขั้นตอนการทำงานหลัก ในขณะที่แต่ละขั้นตอนการทำงานหลักสามารถแตกเป็นขั้นตอนย่อยๆ ซึ่งประกอบด้วยรายละเอียดที่มากขึ้น เรียกว่า มอดูล ( Module) โดยแต่ละมอดูลเป็นอิสระจากกันและสามารถเรียกขึ้นมาใช้งานช้ำได้หลายครั้ง<br />         อัลกอริทึมสามารถสร้างได้หลายวิธี  รวมไปถึงวิธีการบรรยายเป็นคำพูดด้วยภาษามนุษย์ซึ่งง่ายสำหรับผู้สร้างอัลกอริทึมแต่อาจเกิดความยุ่งยากในการนำไปใช้งานจริง เนื่องจากคำพูดอาจก่อให้เกิดความเข้าใจที่ไม่ตรงกัน จึงได้สร้างเครื่องมือสำหรับช่วยให้ทำอัลกอริทึมได้ง่ายขึ้นและสามารถสื่อความหมายได้อย่างชัดเจน  โดยไม่จำเป็นต้องใช้คำอธิบายที่ยาวเกินความจำเป็นซึ่งจะกล่าวถึง 2 วิธี ได้แก่ การเขียนรหัสจำลองและการเขียนผังงาน<br />การเขียนรหัสจำรอง<br />                        การเขียนรหัสจำรอง ( Pseudo Code) จะต้องเขียนลำดับการทำงานออกมาเป็นข้อ ๆ<br />เลียนแบบคำสั่งภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้เป็นแนวทางและง่านต่อการนำไปเขียนโปรแกรม<br />จริง เนื่องมีความใกล้เคียงกันจึงเป็นที่นิยมในการใช้ค่อนข้างมาก คำสั่งหรือสัญลักษณ์<br />ตัวอย่าง กำหนดให้มีการรับข้อมูลคะแนนเก็บ คะแนนสอบกลางภาค และคะแนนสอบปลายภาคและแสดงเกรดที่ได้ โดยมี่เกณฑ์ในการคิดเกรดดังนี้คะแนนรวม 0-49 เกรด 0 คะแนนรวม 50-59 เกรด 1คะแนนรวม 60-69 เกรด 2คะแนนรวม 70-79 เกรด 3คะแนนรวม 80 ขึ้นไป เกรด 4กำหนดตัวแปรCollect = คะแนนเก็บMid = คะแนนสอบกลางภาคFinal =คะแนนสอบปลายภาคTotal =คะแนนรวมGrade = เกรดที่ได้รหัสจำรองAlgorithm calculate grade Beginที่นิยมใช้ในการเขียนรหัสจำรองไม่กฎเกณฑ์ที่ตายตัว แต่จะใช้ข้อความเป็นประโยคภาษาอังกฤษอย่างง่ายๆ อธิบายแทนซึ่งประกอบด้วยคำสั่งต่างๆ ที่ใกล้เคียงกับภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมจริงๆ เช่น begin…end, if…else. Do…while. While, for. Read และ print การเขียนรหัสจำรองต้องมีการวางแผนสำหรับการอ้างอิงถึงข้อมูลต่างๆ ที่จะใช้ในการเขียนโปรแกรม โดยใช้เครื่องหมายเท่ากับ (=) แทนการกำหนดค่าให้ตัวแปรนั้นๆ<br />Read collect, mid, finalTotal = collect + mid + finalIf  total between  0 to 49 thenGrade = 0Else  if  total  beween 50 to 59 thenGrade  =  1Else  if  beween  60  to  69 thenGrade = 2 Else  if  total  beween  70 to 70 thenElse  grade  =  4 Print  grade End   อธิบายขั้นตอนการทำงาน รับข้อมูล collect, mid, finalTotal = collect + mid + finalพิจารณาเงื่อนไขที่ 1: ถ้า total อยู่ระหว่าง  0 ถึง 59จริง grade  =  0เท็จ : พิจารณาเงื่อนไขที่ 3: ถ้า total  อยู่ระหว่าง 60 ถึง 69จริง: grade = 2เท็จ: พิจารณาเงื่อนไขที่ 4: ถ้า total  อยู่ระหว่าง 70 ถึง 79จริง: grade = 3เท็จ: grade = 4แสดงผมลัพธ์ grade<br />                            การเขียนผังงาน<br />     การเขียนผังงาน  (Flowchart)  เป็นการเขียนอัลกอริทึมในรูปแบบของแผนภาพ    โดยใช้สัญลักษณ์ต่างๆ  ที่ได้กำหนดไว้เป็นมาตรฐานในการแสดงขั้นตอนและลักษณะการทำงาน  ซึ่งถูกเชื่อมโยงด้วยเส้นที่มีลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูล  เหมาะสำหรับผู้ที่เริ่มต้นเขียนโปรแกรมช่วยให้เห็นภาพรวมของการทำงานทั้งระบบ  นำไปใช้ในการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  และช่วยให้ทดสอบความถูกต้องของอัลกอริทึมได้ง่ายยิ่งขึ้นการเขียนผังงานมีการแบ่งประเภทของผังงาน  การใช้สัญลักษณ์  โครงสร้างการเขียนผังงานและการประยุกต์ใช้โครงสร้างแบบต่างๆ ในการเขียนโปรแกรม  ดังนี้<br />1.ประเภทของผังงาน  การเขียนผังงานแบ่งตามลำดับประเภทตัวอักษรใช้การเป็น 2 ประเภทหลักๆ ได้แก่<br />ผังงานระบบ  (System Flowchart)  จะแสดงภาพรวมของระบบ ได้แก่ แสดง ข้อมูลที่รับเข้า  การประมวลผล  และผลลัพธ์หรือข้อมูลที่ส่งออก จะเน้นแสดงเฉพาะสื่อที่ทำหน้าที่นำข้อมูลเข้า<br />ผังงานโปรแกรม  จะแสดงลำดับการทำงานภายในโปรแกรมตั้งแต่การรับข้อมูลเข้าไปจนถึงการแสดงผลลัพธ์  รวมไปถึงวิธีการประมวลผลว่ามีการคำนวณอย่างไร<br />2.การใช้สัญลักษณ์ การเขียนผังงานใช้สัญลักษณ์ที่เป็นรูปภาพแทนคำสั่งการทำงานโดยจะไม่ใช้คำอธิบายการทำงาน มีลูกสรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลตั้งแต่เริ่มต้นไปเป็นลำดับจนกระทั่งสิ้นสุดโปรแกรม การเขียนผังงานที่ดีต้องเลือกใช้สัญลักษณ์  คำอธิบายต่าง ๆ ควรจะสั้น  กะทัดรัดได้ใจความ  และควรเลียกเลี่ยงการเขียนลูกศรแสดงทิศทางที่มีจุดตัด  เพราะจะทำให้ผังงานอ่านและทำความเข้าใจยาก<br />ตัวอย่าง  สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน                                              เริ่มต้น/สิ้นสุดการทำงาน                               รับข้อมูลเข้า/แสดงผลลัพธ์  โดยไม่ระบุสื่อที่ใช้                                       รับข้อมูลเข้าจากมนุษย์  เช่น แป้นพิมพ์ เมาส์                                   แสดงผมลัพธ์บนกระดาษด้วยเครื่องพิมพ์       แสดงผมลัพธ์ทางหน้าจอ                                         การเปรียบเทียบหรือการตัดสินใจ                                                              การประมวลผล  เช่น การกำหนดค่าหรือการคำนวณจุดต่อเนื่องที่อยู่คนละหน้าของผังงานเดียวกัน              ลูกศรแสดงลำดับการทำงาน<br />การเขียนโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ต้องใช้โปรแกรมเฉพาะสำหรับเขียนโปรแกรมดังกล่าว  เช่นพิมพ์ภาษา c ด้วยโปรแกรม  Notepad  จากนั้นถึง Compile โปรแกรมด้วย DOS Prompt โดยจะต้องติดตั้งโปรแกรม  Visual  Studio ไว้ในคอมพิวเตอร์ด้วยสาระน่ารู้3.โครงสร้างการเขียนแผนผัง   มีการทำงานหลักๆ 3 รูปแบบ  แต่ละรูปแบบมีการเรียงลำดับของการทำงานในรูปแบบต่าง ๆ กัน  ได้แก่  โครงสร้างแบบลำดับ  โครงสร้างแบบทางเลือก  และโครงสร้างแบบทำซ้ำ<br />3.1 โครงสร้างแบบลำดับ ( Sequence  Structure ) เป็นรูปแบบพื้นฐานของการเขียนผังงาน เนื่องจากเขียนได้ง่ายและถูกใช้งานมากที่สุดในโปรแกรมส่วนใหญ่  เนื่องจากจะแสดงขั้นตอนการทำงานเป็นลำดับลงด้านล่างหรือด้วยช้ายไปชวาเท่านั้น<br />นาย  พีรพล  เกตุชาญ  เลขที่  19<br />นาย  อนุพล  น้อยถึง  เลขที่ 23<br />นางสาว  จารุวรรณ   แจ่มแจ้ง  เลขที่  28<br />นางสาว  อุมาพร  เปียจันทร์   เลขที่  29  <br />ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5/11<br />
การบวนการ
การบวนการ
การบวนการ
การบวนการ
การบวนการ
การบวนการ
การบวนการ
การบวนการ
การบวนการ
การบวนการ
การบวนการ
การบวนการ
การบวนการ
การบวนการ
การบวนการ
การบวนการ
การบวนการ
การบวนการ
การบวนการ
การบวนการ
การบวนการ

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie การบวนการ

ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
งานคอม อลิตา
งานคอม  อลิตางานคอม  อลิตา
งานคอม อลิตาalita122
 
ค่ากลางปี
ค่ากลางปีค่ากลางปี
ค่ากลางปีanutree pankulab
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2Orapan Chamnan
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์prang00
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
03แผนการจัดการเรียนรู้1 ความรู้เกี่ยวกับเว็บเพจ (HTML เว็บเพจสวยด้วยมือเรา)
03แผนการจัดการเรียนรู้1 ความรู้เกี่ยวกับเว็บเพจ (HTML เว็บเพจสวยด้วยมือเรา)03แผนการจัดการเรียนรู้1 ความรู้เกี่ยวกับเว็บเพจ (HTML เว็บเพจสวยด้วยมือเรา)
03แผนการจัดการเรียนรู้1 ความรู้เกี่ยวกับเว็บเพจ (HTML เว็บเพจสวยด้วยมือเรา)Tarinee Bunkloy
 
5 8-120816125651-phpapp02
5 8-120816125651-phpapp025 8-120816125651-phpapp02
5 8-120816125651-phpapp02Sky Aloha'
 
5 8-120816125651-phpapp02
5 8-120816125651-phpapp025 8-120816125651-phpapp02
5 8-120816125651-phpapp02Sky Aloha'
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Meaw Sukee
 
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศNattapon
 
ใบงานที่ 3 แบงค์
ใบงานที่ 3 แบงค์ใบงานที่ 3 แบงค์
ใบงานที่ 3 แบงค์ValenKung
 
งานคอมกลุ่มที่1ชั้น ม.5/1
งานคอมกลุ่มที่1ชั้น ม.5/1งานคอมกลุ่มที่1ชั้น ม.5/1
งานคอมกลุ่มที่1ชั้น ม.5/1Sanita Fakbua
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2Meaw Sukee
 
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3Nataya Younyee
 

Ähnlich wie การบวนการ (20)

ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
งานคอม อลิตา
งานคอม  อลิตางานคอม  อลิตา
งานคอม อลิตา
 
ค่ากลางปี
ค่ากลางปีค่ากลางปี
ค่ากลางปี
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
It1
It1It1
It1
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
03แผนการจัดการเรียนรู้1 ความรู้เกี่ยวกับเว็บเพจ (HTML เว็บเพจสวยด้วยมือเรา)
03แผนการจัดการเรียนรู้1 ความรู้เกี่ยวกับเว็บเพจ (HTML เว็บเพจสวยด้วยมือเรา)03แผนการจัดการเรียนรู้1 ความรู้เกี่ยวกับเว็บเพจ (HTML เว็บเพจสวยด้วยมือเรา)
03แผนการจัดการเรียนรู้1 ความรู้เกี่ยวกับเว็บเพจ (HTML เว็บเพจสวยด้วยมือเรา)
 
5 8-120816125651-phpapp02
5 8-120816125651-phpapp025 8-120816125651-phpapp02
5 8-120816125651-phpapp02
 
5 8-120816125651-phpapp02
5 8-120816125651-phpapp025 8-120816125651-phpapp02
5 8-120816125651-phpapp02
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบงานที่ 3 แบงค์
ใบงานที่ 3 แบงค์ใบงานที่ 3 แบงค์
ใบงานที่ 3 แบงค์
 
งานคอมกลุ่มที่1ชั้น ม.5/1
งานคอมกลุ่มที่1ชั้น ม.5/1งานคอมกลุ่มที่1ชั้น ม.5/1
งานคอมกลุ่มที่1ชั้น ม.5/1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
 

การบวนการ

  • 1. การบวนการ <br /> เทคโนโลยีสารสนเทศ 1<br />ตัวชี้วัดช่วงชั้น<br />แก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ (ง 3.1 ม.4-6/5)<br />ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้<br /> การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา<br /> การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอน<br /> การดำเนินการแก้ปํญหาการเขียนรหัสจำรอง<br /> การตรวจสอบและปรับปรุงการเขียนผังงาน<br /> กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายและ ขั้นตอนการแก้ปัญหา การถ่านทอดความคิดในการแก้ปัญหาด้วยอัลกอรึทึม <br /> ลองคิด ลองตอบ1.กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงอะไร2.กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศมีประโยชน์อย่างไร ประโยชน์จาการเรียน1.ใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการแก้ปัญหา2.ถ่ายการถ่านทอดความคิดในการแก้ปัญหาด้วยอัลกอรึทึมได้<br />การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของมนุษย์ในปัจจุบัน มีจุดประสงค์หลักเพื่อแก้ปัญหาและอำนวยความสะดวกในการดำรงชีวิต โดยอาศัยเครื่องมีที่สำคัญ คือ กระบวนการเทคโนโลยี<br />สารสนเทศ<br /> ความหมายและขั้นตอนการแก้ไขปัญหา<br /> กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศจัดเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศโดยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ (Process Information Technology) คือ กระบวน<br />หรือขั้นตอนที่ใช้ในการแก้ไขปัญหา เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ ซึ่งปัญหาดังกล่าวจะเกี่ยวเนื่องกับการข้อมูล เช่น การรวบรวม การตรวจสอบความถูกต้อง การประมวลผลการเก็บรักษา และการเผยแพร่ข้อมูล โดยมีการถ่ายทอดกิด<br />การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศมีขั้นตอนการปฏิบัติ 4 ขั้นตอน ได้แก่ การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอน การดำเนินการแก้ปัญหา และการตรวจสอบและปรับปรุง<br />การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดไข้ปัญหา<br /> การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา คือ การทำความเข้าใจกับปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างละเอียดหรือการกำหนดขอบเขตของปัญหา ด้วยการวิเคราะห์ปัญหาและผลลัพธ์ที่ต้องการโดยมีวิธีการดังนี้<br />ตัวอย่าง ต้องการแก้ปัญหาการขาดทุนของร้านเช่าหนังสือวิเคราะห์สิ่งต้องการ โดยวิเคราะห์ว่า ต้องการแก้อะไร ผลผลิตอะไรหรืองานอะไรแล้วกำหนดวัตถุประสงค์ของสิ่งที่ต้องการนั้น<br /> 2.วิเคราะห์ผลลัพธ์ที่ต้องการ โดยวิเคราะห์สิ่งที่คาดว่าจะได้รับจากการแก้ปัญหาที่ต้องการโดยผลลัพธ์ที่ได้จากเนื้อหานี้อาจมีมากกว่า 1 ข้อ<br />ตัวอย่างมีความสะดวกรวดเร็วในการเช่าหนังสือป้องกันไม่ให้หนังสือสุญหายมีกำไรมากยิ่งขึ้น<br /> 3.วิเคราะห์ทรัพยากร โดยคำนึงถึงทรัพยากรที่สามารถนำใช้ในการแก้ปัญหา ซึ่งควรเป็นทรัพยากรที่มีแล้วเป็นหลัก ด้วยการวิเคราะห์ทั้งทรัพยากรในด้านวัสดุ อุปกรณ์ ความรู้ของบุคลากร แรงงาน และงบประมาณ<br />ตัวอย่างเงินสด 50,000 บาทโต๊ะคอมพิวเตอร์ 1 ตัวสมุดบันทึกและเครื่องเขียนหนังสือจำนวน 2,000 เล่มชั้นวางหนังสือจำนวน 5 ชิ้นคอมพิวเตอร์จำนวน 1 เครื่องตัวสำหรับจัดเก็บอุปกรณ์ 1 ตู้พนักงานจบการศึกษาระดับปริญญาตรี จำนวน 1 คน<br /> <br /> 4.วิเคราะห์ตัวแปรหรือผลกระทบในด้านต่างๆ ที่ส่งผลต่อการแก้ปัญหาหรืองานนั้น ซึ้งอาจสมมุติสถานการณ์ขึ้นเพื่อนำมาวิเคราะห์ตัวแปรที่เกิดขึ้น โดยตัวแปรที่เกิดขึ้นมักเกิดจากการมีทรัพยากรที่ไม่เหมาะสม มีทรัพยากรมากหรือน้อยเกินไป<br />ตัวอย่างหนังสือสูญหายคอมพิวเตอร์เสียคิดราคาค่าเช่าหนังสือผิดพนักงานไม่สามารถมาปฏิบัติงานได้มีจัดอับในร้านทำให้มองไม่เห็นลูกค้าข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้าและหนังสือมีจำนวนมากจำนวนลูกค้ามีมากจนไม่สามารถดูแลได้ทั้วถึง<br />5.วิเคราะห์การแก้ปัญหา ในขั้นตอนนี้ควรนำเสนอวิธีการแก้ปัญหาทั้งหมดก่อนโดยไม่ต้องคำนึงว่าจะสามารถทำได้หรือไม่ ด้วยการกำหนดวิธีการแก้ปัญหาให้ได้มากที่สุด จากนั้นจึงนำวิธีการแก้ปัญหานั้นๆ สามารถทำได้หรือไม่ เพราะอะไร แล้วแล้วบันทึกลงบนตาราง<br />วิธีการแก้ปัญหาการแก้ปัญหาการวิเคราะห์ได้ไม่ได้จ้างพนักงานเพิ่มช่วยแก้ปัญหาได้มากกว่า 1 ข้อเก็บค่าสมาชิกสูงขึ้นเป็นการลดจำนวนลูกค้าลง 3.ติดกระจกนูนที่มุมร้านช่วยให้เห็นลูกค้าได้ทั่วทั้งร้าน 4.ติดกล้องวงจรปิดในจุดต่างๆมีต้นทุนในการดำเนินการสูง 5. จัดทำส่งเสริมการขายแบบต่างๆเพื่อส่งเสริมการเช่าหนังสือมากยิ่งขึ้น 6.จ้างเจ้าหน้าทีรักษาความปลอดภัยได้ผลลัพธ์ไม่คุ้มค่าต่อการลงทุน 7.ให้ลูกค้าฝากกระเป๋าที่ด้านหน้าร้านปฏิบัติได้ทันทีโดยไม่มีต้นทุนเพิ่ม 8.บันทึกข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติได้ทันทีโดยไม่มีต้นทุนเพิ่ม 9.เพิ่มขนาดหรือขยายร้านให้กว้างขึ้นได้ผลลัพธ์ไม่คุ้มค่าต่อการลงทุน 10.กำหนดคุณสมบัติของผู้เช่าให้กว้างขึ้นจำนวนลูกค้าอาจลดลงได้ 11.แจกบัตรคิวให้ลูกเข้าร้านตามลำดับลูกค้าไม่ได้รับความสะดวกสบายในการเช่าหนังสือ 12.กำหนดลูกค้าให้เข้าร้านเป็นกลุ่มๆลูกค้าไม่ได้รับความสะดวกสบายในการเช่าหนังสือ 13.ขายสินค้าอื่นๆเพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ร้านช่วยเพิ่มรายได้ 14.ชื้อหนังสือใหม่ๆเพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ร้านเพื่อเพิ่มความสนใจให้แก่ลูกค้าใหม่ๆ 15.ลดปริมาณหนังสือเพื่อให้ดูแลได้ง่ายขึ้นลูกค้าอาจลดจำนวนลงเนื่องจากมีหนังสือน้อย 16.ใช้ระบบบาร์โค้ดในการขึ้นทะเบียนหนังสือเพิ่มความน่าเชื่อถือและอำนวยความสะดวกในการทำงาน 17.ปรับร้านให้มีทางเข้าและทางออกจากทางเดียวสามารถปฏิบัติได้ทันทีโดยไม่มีต้นทุนเพิ่ม 18.จัดทำสมุดรายชื่อหนังสือเพื่อให้ลูกค้าเลือกหนังสือลูกค้าไม่ได้รับความสะดวกสบายในการเช่าหนังสือ<br />ตารางวิเคราะห์การแก้ไข(ต่อ)<br />วิธีแก้ปัญหาการแก้ปัญหาการวิเคราะห์ได้ไม่ได้19 . เพิ่มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ให้แก่พนักงานช่วยแก้ปัญหาคอมพิวเตอร์ชำรุดบ่อยๆ20. ลูกค้าแจ้งชื่อหนังสือที่ต้องการแล้วให้พนักงานเป็นผู้หยิบหนังสือลูกค้าไม่ได้รับความสะดวกสบาย<br />การเลือกเครื่องมือละออกแบบขั้นตอน<br /> การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนเป็นการนำตารางการวิเคราะห์วีการแก้ปัญหามากำหนดเครื่องมือและขั้นตอนในการปฏิบัติ โดยกำหนดเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนเฉพาะวิธีการแก้ปัญหาที่สามารถปฏิบัติได้เท่านั้น<br /> 1.การเลือกเครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหา เป็นการกำหนดทรัพยากรที่ต้องใช้ในการแก้ปัญหาซึ่งควรจะเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่แล้ว หรือเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องมือนั้นๆมากกว่าการจัดหามาเพิ่มเติม โดยควรกำหนดรายละเอียดของเครื่องมือหรือทรัพยากรให้ชัดเจน พร้อมประมาณการค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องมือหรือทรัพยากรนั้นๆ<br />ตัวอย่าง<br /> พนักงานจำนวน 1 คน วุฒิขั้นต่ำมะยมศึกษาปีที่ 3 หรือเทียบเท่ามีความสามารถด้านคอมพิวเตอร์ควรได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษ อัตราค่าจ้างเดือนละ 2000 บาท<br /> กระจกนูน จำนวน 3บาน สั่งซื้อจากร้านขายกระจกโดยมีข้อกำหนดว่าร้านขายกระจกจะต้องมีค่าช่างมาดำเนินการติดตั้งให้ใช้งบประมาณ 5000 บาท<br />บัตรสะสมแต้ม จัดให้ลูกค้าที่เช่าหนังสือครบ 200 บาท จะได้รับคุปองมูลค่า 10 บาท เพื่อใช้แทนเงินสดในการเช่าหนังสือครั้งต่อไปใช้งบประมาณ 100 บาท<br /> ที่ฝากกระเป๋าและบัตรฝากกระเป๋าสำหรับลูกค้า ใช้ตู้สำหรับจัดเก็บอุปกรณ์ที่มีอยู่แล้วมาดัดแปลงเพื่อเก็บกระเป๋า และจัดทำบัตรฝากกระเป่าเป็นหมายเลข1-20 หมายเลขละ 2 ใบ ใช้งบประมาร 50 บาท<br />คอมพิวเตอร์ ตรวจสอบว่าสามารถใช้งานได้ปกติ และมีโปรแกรมสำหรับใช้งานครบถ้วน<br />สินค้าอื่นๆ จัดซื้อในปริมาณที่ไม่มากนักแต้มีความหลากหลาย ได้แก่ ปากกา ดินสอ ไม้บรรทัด ที่คั่นหนังสือ ตุ๊กตาทับบรรทัด และโปสต์การ์ด ใช้งบประมาณ 2000 บาท<br /> β หนังสือ จัดหาโดยการซื้อหนังสือจากร้านหนังสือมือสองแล้วนำมาซ่อมแซมและห่อปกหนังสือใหม่ หรือติดต่อซื้อหนังสือใหม่จากสำนักพิมพ์โดยตรง ใช้งบประมาณ<br />5,000บาท<br /> β ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ใช้ในระบบบาร์โค้ด ใช้งบประมาณ 20,000บาท<br /> β ความรู้ด้านการใช้และการซ่อมคอมพิวเตอร์ ให้เจ้าของร้านหรือผู้จัดการร้านเป็นผู้ไปฝึกอบรม แล้วนำมาเผยแพร่ให้แก่พนักงานในร้าน ใช้งบประมาณ 2,000บาท <br /> 2.การออกแบบขั้นตอนในการปฏิบัติงาน เป็นการกำหนดแนวทางการแก้ปัญหาก่อนการปฏิบัติจริง โดยจะต้องกำหนดขั้นตอนการปฏิบัติงานเป็นลำดับขั้น แล้วจึงนำมาระบุผู้รับผิดชอบและระยะเวลาการปฏิบัติงานในตารางการปฏิบัติงาน<br />ตัวอย่าง<br /> ขั้นตอนที่ 1 จัดทำป้ายและติดประกาศรับสมัครพนักงาน<br /> ขั้นตอนที่ 2 สร้างแผนผังการจัดวางชั้นหนังสือ โต๊ะคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ สินค้าอื่นๆ และตู้สำหรับจัดเก็บอุปกรณ์ โดยกำหนดให้มีทางเข้าและทางออกจากร้านเพียงทางเดียว<br /> ขั้นตอนที่ 3 ให้ช่างมาติดตั้งกระจกนูน<br /> ขั้นตอนที่ 4 จัดวางและติดตั้งชั้นหนังสือ โต๊ะคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ สินค้าอื่นๆ และตู้สำหรับจัดเก็บอุปกรณ์ตามแผนผังที่กำหนดไว้<br /> ขั้นตอนที่ 5 ติดตั้งฮารด์แวร์และซอฟต์แวร์ที่ใช้ในระบบบาร์โค้ด<br /> ขั้นตอนที่ 6 คัดแยกหนังสือตามหมวดหมู่ต่างๆ เช่น หมวดหนังสือนิยาย หมวดหนังสือแปลเยาวชน และหมวดหนังสือการ์ตูน<br /> ขั้นตอนที่ 7 ติดรหัสบาร์โค้ดที่หนังสิ แล้วบันทึกข้อมูลของหนังสือตามหมวดหมู่ที่กำหนดไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์<br /> ขั้นตอนที่ 8 จัดเรียงหนังสือเข้าชั้นหนังสือตามหมวดหมู่ที่กำหนดไว้<br /> ขั้นตอนที่ 9 บันทึกข้อมูลลูกค้าในเครื่องคอมพิวเตอร์<br /> ขั้นตอนที่ 10 จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับอัตราเช่าหนังสือ ข้อกำหนดต่างๆ และรายการส่งเสริมการขายต่างๆ ติดที่หน้าร้านหนังสือ<br /> ขั้นตอนที่ 11 ส่งพนักงานไปฝึกอบรมการใช้งานและการซ่อมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น<br /> ขั้นตอนที่ 12 ให้พนักงานที่ไปฝึกอบรมมาเผยแพร่ความรู้ให้แก่พนักงานคนอื่นๆ <br />การตรวจสอบและปรับปรุง<br /> การตรวจสอบและปรับปรุงเป็นการนำกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศมาตรวจสอบและปรับปรุงโดยคำนึงถึงสิ่งที่ต้องการจากการวิเคราะห์ในขั้นตอนแรกว่า กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถให้สิ่งที่ต้องการตามที่กำหนดไว้หรือไม่ แบ่งเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ การตรวจสอบและปรับปรุงโดยมีผู้ออกแบบและการตรวจสอบโดยผู้ใช้งานจริง<br /> <br /> ตัวอย่าง<br /> การตรวจสอบระบบบาร์โค้ด<br /> การตรวจสอบการมองผ่านกระจกนูน<br /> การตรวจสอบข้อมูลลูกค้า<br />2 การตรวจสอบโดยผู้ใช้งานจริง เป็นการตรวจสอบและปรับปรุงกระบวนการทำงานภายหลังจากการดำเนินการ โดยจัดเก็บข้อมูลจากผู้ใช้งานกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศนั้นโดยตรงซึ่งสามารถทำได้หลายวิธี เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ และการทำแบบสอบถามจากนั้นผู้ออกแบบจึงรวบรวมข้อมูลที่ได้ไปปรับปรุงกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศอีกทีหนึ่ง<br />ตัวอย่าง<br />แบบทดสอบร้านเช่าหนังสือ<br />คำชี้แจง กรุณาทำเครื่องหมาย ลงใน □ หรือตารางที่ถูกต้องหรือเหมาะสมมากที่สุด<br />เพศ □ หญิง □ ชาย<br />อายุ □ ต่ำกว่า12 ปี □ 12-20 ปี<br /> □ 20 ปีขึ้นไป<br />รายได้ต่อเดือน □ ต่ำกว่า 2,000 บาท □ 2,000-5,000 บาท<br /> □ สูงกว่า 5,000 บาท <br />หนังสือที่ชอบมากที่สุด<br /> □ นิยาย □ การ์ตูน □ หนังสือแปล □ นิตยสาร<br />การใช้บริการ<br /> □ ทุกวัน □ มากกว่าสัปดาห์ละ 3 วัน □ น้อยกว่าสัปดาห์ละ 3 วัน<br /> □ สัปดาห์ละครั้ง □ น้อยกว่าสัปดาห์ละครั้ง <br />ราย ควายคิดเห็น ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง1.ความรวดเร็วในในการให้บริการ2.ปริมาณหนังสือ3.ความหลากหลายของหนังสือ4.ความสุขภาพของพนักงาน5.เวลาในการเปิดให้บริการ6.คุณภาพของหนังสือ7.อัตราการเช่าหนังสือ8.บรรยากาศภายในร้าน9.รายการส่งเสริมการขาย10.บริการร้านอื่นๆ<br />ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม<br />...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................<br />เมื่อผู้ดำเนินการได้ให้ข้อมูลจากผู้ให้บริการจริงแล้วจึงทำการแก้ไขปรับปรุงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามข้อมูลที่ได้รับการกำหนดปัญญาเป็นข้อๆแล้วใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศแก่ปัญหาไปทีละข้อ<br />ตารางการปฏิบัติงาน<br />ขั้นตอนที่ระยะเวลาผู้รับผิดชอบหมายเหตุ1-23456-891011123วัน2วัน2วัน1วัน5วัน3วัน1วัน7วัน1วันเจ้าของร้านเจ้าของร้าน และช่างพนักงานเจ้าของร้านและช่างพนักงานพนักงานพนักงานเจ้าของร้านพนักงานขั้นตอนที่1-3เริ่มปฏิบัติพร้อมๆกันหากขั้นตอนที่1ไม่สามารถทำให้สำเร็จภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ก็ให้ดำเนินต่อไปเรื่อยๆขั้นตอนที่6-8สามารถปฏิบัติไปพร้อมๆกันได้ระยะเวลาขึ้นอยู่กับการหลักสูตรที่เปิดสอน<br />การดำเนินการแก้ปัญหา<br /> การดำเนินการแก้ปัญหาเป็นขั้นตอนของการลงมือปฏิบัติตามที่เลือกออกแบบไว้ในตารางปฏิบัติงาน โดยควรปฏิบัติให้ตรงกับที่ออกแบบไว้ให้ได้มากที่สุด และควรบันทึกปัญหาที่พบในขณะปฏิบัติงาน เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบและปรับปรุงภายหลัง <br />การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา<br />การเลือกเครื่องมือและออกแบบข้นตอน<br />การดำเนินการแก้ปัญหา<br />กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้<br />ร่วมกันอภิปรายเปรียบเทียบความหมายของคำว่า กระบวนการเทคโนโลยี กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ และกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร<br />สร้างแผนผังความคิดเกี่ยวกับกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ<br />จับกลุ่มกับเพื่อนสมมุติปัญหา แล้วใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศแก้ปัญหานั้น<br />การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาด้วยอัลกอริทึม<br /> อัลกอรึทึม (Algorithm)เป็นส่วนหนึ่งของการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ เกิดจากแนวคิดอย่างมีระบบเพื่อนำไปสู่ผลลัพท์ที่ต้องการ โดยทั่วไปนิยมใช้อัลกอริทึมในการวางแผนการสร้างซอฟต์แวร์ที่ใช้ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ เพื่อให้ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการหรือแก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง โดยทั่วไปการทำงานหรือการแก้ปัญหาต่างๆ ในชีวิตมนุษย์มักเกี่ยวกับอัลกอริทึมซึ่งอาจจะเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์หรือไม่ก็ตาม เช่น ตำราประกอบอาหาร วิธีการปฐมพยาบาล และวิธีการตัดเสื้อผ้า<br /> อัลกอรึทึมที่ดีจะต้องได้ผลลัพท์ตรงกับความต้องการเสมอ อัลกอรึทึมที่ดีจึงควรมีสมบัติดังนี้<br />1.มีความถูกต้องแม่นยำ โดยเมื่อป้อนข้อมูลนำเข้าเดียวกันในอัลกอริทึมเดียวกันจะต้องทำงานได้ผลลัพธ์ออกมาเหมือนเดิมทุกครั้ง<br />2.เข้าใจได้ง่ายและชัดเจน แต่ละขั้นตอนในอัลกอริทึมต้องมีการแบ่งการทำงานออกเป็นขั้นตอนย่อยหลายๆ ขั้นตอนโดยที่แต่ละขั้นตอนมีวิธีการคิดหรือตรรกะที่ไม้ซับช้อน<br />3.มีขั้นตอนหลักและขั้นตอนย่อย จากข้อ2การเขียนอัลกอริทึมให้เข้าใจได้ง่ายนั้น<br />ไม่สามารถระบุความยากง่ายได้อย่างแน่ชัดเนื่องจากพื้นความรู้ของแต่ละคนไม่เท่ากันบางคนต้องการรายละเอียดที่มากกว่าจึงจะเข้าใจ ดังนั้นจึงควรออกแบบอัลกอริทึมให้มีระดับชั้น เพื่อประกอบขั้นตอนการทำงานหลัก ในขณะที่แต่ละขั้นตอนการทำงานหลักสามารถแตกเป็นขั้นตอนย่อยๆ ซึ่งประกอบด้วยรายละเอียดที่มากขึ้น เรียกว่า มอดูล ( Module) โดยแต่ละมอดูลเป็นอิสระจากกันและสามารถเรียกขึ้นมาใช้งานช้ำได้หลายครั้ง<br /> อัลกอริทึมสามารถสร้างได้หลายวิธี รวมไปถึงวิธีการบรรยายเป็นคำพูดด้วยภาษามนุษย์ซึ่งง่ายสำหรับผู้สร้างอัลกอริทึมแต่อาจเกิดความยุ่งยากในการนำไปใช้งานจริง เนื่องจากคำพูดอาจก่อให้เกิดความเข้าใจที่ไม่ตรงกัน จึงได้สร้างเครื่องมือสำหรับช่วยให้ทำอัลกอริทึมได้ง่ายขึ้นและสามารถสื่อความหมายได้อย่างชัดเจน โดยไม่จำเป็นต้องใช้คำอธิบายที่ยาวเกินความจำเป็นซึ่งจะกล่าวถึง 2 วิธี ได้แก่ การเขียนรหัสจำลองและการเขียนผังงาน<br />การเขียนรหัสจำรอง<br /> การเขียนรหัสจำรอง ( Pseudo Code) จะต้องเขียนลำดับการทำงานออกมาเป็นข้อ ๆ<br />เลียนแบบคำสั่งภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้เป็นแนวทางและง่านต่อการนำไปเขียนโปรแกรม<br />จริง เนื่องมีความใกล้เคียงกันจึงเป็นที่นิยมในการใช้ค่อนข้างมาก คำสั่งหรือสัญลักษณ์<br />ตัวอย่าง กำหนดให้มีการรับข้อมูลคะแนนเก็บ คะแนนสอบกลางภาค และคะแนนสอบปลายภาคและแสดงเกรดที่ได้ โดยมี่เกณฑ์ในการคิดเกรดดังนี้คะแนนรวม 0-49 เกรด 0 คะแนนรวม 50-59 เกรด 1คะแนนรวม 60-69 เกรด 2คะแนนรวม 70-79 เกรด 3คะแนนรวม 80 ขึ้นไป เกรด 4กำหนดตัวแปรCollect = คะแนนเก็บMid = คะแนนสอบกลางภาคFinal =คะแนนสอบปลายภาคTotal =คะแนนรวมGrade = เกรดที่ได้รหัสจำรองAlgorithm calculate grade Beginที่นิยมใช้ในการเขียนรหัสจำรองไม่กฎเกณฑ์ที่ตายตัว แต่จะใช้ข้อความเป็นประโยคภาษาอังกฤษอย่างง่ายๆ อธิบายแทนซึ่งประกอบด้วยคำสั่งต่างๆ ที่ใกล้เคียงกับภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมจริงๆ เช่น begin…end, if…else. Do…while. While, for. Read และ print การเขียนรหัสจำรองต้องมีการวางแผนสำหรับการอ้างอิงถึงข้อมูลต่างๆ ที่จะใช้ในการเขียนโปรแกรม โดยใช้เครื่องหมายเท่ากับ (=) แทนการกำหนดค่าให้ตัวแปรนั้นๆ<br />Read collect, mid, finalTotal = collect + mid + finalIf total between 0 to 49 thenGrade = 0Else if total beween 50 to 59 thenGrade = 1Else if beween 60 to 69 thenGrade = 2 Else if total beween 70 to 70 thenElse grade = 4 Print grade End อธิบายขั้นตอนการทำงาน รับข้อมูล collect, mid, finalTotal = collect + mid + finalพิจารณาเงื่อนไขที่ 1: ถ้า total อยู่ระหว่าง 0 ถึง 59จริง grade = 0เท็จ : พิจารณาเงื่อนไขที่ 3: ถ้า total อยู่ระหว่าง 60 ถึง 69จริง: grade = 2เท็จ: พิจารณาเงื่อนไขที่ 4: ถ้า total อยู่ระหว่าง 70 ถึง 79จริง: grade = 3เท็จ: grade = 4แสดงผมลัพธ์ grade<br /> การเขียนผังงาน<br /> การเขียนผังงาน (Flowchart) เป็นการเขียนอัลกอริทึมในรูปแบบของแผนภาพ โดยใช้สัญลักษณ์ต่างๆ ที่ได้กำหนดไว้เป็นมาตรฐานในการแสดงขั้นตอนและลักษณะการทำงาน ซึ่งถูกเชื่อมโยงด้วยเส้นที่มีลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูล เหมาะสำหรับผู้ที่เริ่มต้นเขียนโปรแกรมช่วยให้เห็นภาพรวมของการทำงานทั้งระบบ นำไปใช้ในการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ และช่วยให้ทดสอบความถูกต้องของอัลกอริทึมได้ง่ายยิ่งขึ้นการเขียนผังงานมีการแบ่งประเภทของผังงาน การใช้สัญลักษณ์ โครงสร้างการเขียนผังงานและการประยุกต์ใช้โครงสร้างแบบต่างๆ ในการเขียนโปรแกรม ดังนี้<br />1.ประเภทของผังงาน การเขียนผังงานแบ่งตามลำดับประเภทตัวอักษรใช้การเป็น 2 ประเภทหลักๆ ได้แก่<br />ผังงานระบบ (System Flowchart) จะแสดงภาพรวมของระบบ ได้แก่ แสดง ข้อมูลที่รับเข้า การประมวลผล และผลลัพธ์หรือข้อมูลที่ส่งออก จะเน้นแสดงเฉพาะสื่อที่ทำหน้าที่นำข้อมูลเข้า<br />ผังงานโปรแกรม จะแสดงลำดับการทำงานภายในโปรแกรมตั้งแต่การรับข้อมูลเข้าไปจนถึงการแสดงผลลัพธ์ รวมไปถึงวิธีการประมวลผลว่ามีการคำนวณอย่างไร<br />2.การใช้สัญลักษณ์ การเขียนผังงานใช้สัญลักษณ์ที่เป็นรูปภาพแทนคำสั่งการทำงานโดยจะไม่ใช้คำอธิบายการทำงาน มีลูกสรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลตั้งแต่เริ่มต้นไปเป็นลำดับจนกระทั่งสิ้นสุดโปรแกรม การเขียนผังงานที่ดีต้องเลือกใช้สัญลักษณ์ คำอธิบายต่าง ๆ ควรจะสั้น กะทัดรัดได้ใจความ และควรเลียกเลี่ยงการเขียนลูกศรแสดงทิศทางที่มีจุดตัด เพราะจะทำให้ผังงานอ่านและทำความเข้าใจยาก<br />ตัวอย่าง สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน เริ่มต้น/สิ้นสุดการทำงาน รับข้อมูลเข้า/แสดงผลลัพธ์ โดยไม่ระบุสื่อที่ใช้ รับข้อมูลเข้าจากมนุษย์ เช่น แป้นพิมพ์ เมาส์ แสดงผมลัพธ์บนกระดาษด้วยเครื่องพิมพ์ แสดงผมลัพธ์ทางหน้าจอ การเปรียบเทียบหรือการตัดสินใจ การประมวลผล เช่น การกำหนดค่าหรือการคำนวณจุดต่อเนื่องที่อยู่คนละหน้าของผังงานเดียวกัน ลูกศรแสดงลำดับการทำงาน<br />การเขียนโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ต้องใช้โปรแกรมเฉพาะสำหรับเขียนโปรแกรมดังกล่าว เช่นพิมพ์ภาษา c ด้วยโปรแกรม Notepad จากนั้นถึง Compile โปรแกรมด้วย DOS Prompt โดยจะต้องติดตั้งโปรแกรม Visual Studio ไว้ในคอมพิวเตอร์ด้วยสาระน่ารู้3.โครงสร้างการเขียนแผนผัง มีการทำงานหลักๆ 3 รูปแบบ แต่ละรูปแบบมีการเรียงลำดับของการทำงานในรูปแบบต่าง ๆ กัน ได้แก่ โครงสร้างแบบลำดับ โครงสร้างแบบทางเลือก และโครงสร้างแบบทำซ้ำ<br />3.1 โครงสร้างแบบลำดับ ( Sequence Structure ) เป็นรูปแบบพื้นฐานของการเขียนผังงาน เนื่องจากเขียนได้ง่ายและถูกใช้งานมากที่สุดในโปรแกรมส่วนใหญ่ เนื่องจากจะแสดงขั้นตอนการทำงานเป็นลำดับลงด้านล่างหรือด้วยช้ายไปชวาเท่านั้น<br />นาย พีรพล เกตุชาญ เลขที่ 19<br />นาย อนุพล น้อยถึง เลขที่ 23<br />นางสาว จารุวรรณ แจ่มแจ้ง เลขที่ 28<br />นางสาว อุมาพร เปียจันทร์ เลขที่ 29 <br />ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/11<br />