SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 3
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




                                            ใบความรู
                             เรื่อง หลักการปฏิเสธและการเตือนเพื่อน
         ทุกคนมีสิทธิที่จะปฏิเสธการชวนไปทําในสิ่งที่ตนเองไมอยากทํา โดยเฉพาะอยางยิง
                                                                                   ่
การชวนไปทําในสิ่งที่ไมปลอดภัย การติดโรค การใชยาเสพติด หรือ ไปมีพฤติกรรมทางเพศ
ที่ไมเหมาะสม
ประโยคปฏิเสธที่ดีควรมีลักษณะอยางนี้
      1. การอางความรูสึกประกอบแทนการใชเหตุผลอยางเดียว เพราะการใชเหตุผลอยางเดียว
                         
          มักถูกโตแยงดวยเหตุผลอื่น แตความรูสึกเปนเรื่องที่โตแยงไดยาก
      2. ปฏิเสธอยางชัดเจนทั้งทาทาง คําพูด และน้ําเสียง
      3. การถามความคิดเห็น เปนการรักษาน้ําใจผูชวน ถาคูสนทนายอมรับคําปฏิเสธ ควรพูด
          คําวา “ ขอบคุณคะ (ครับ) ”
ตัวอยางคําพูดปฏิเสธ
สถานการณ เพื่อนตางเพศชวนเขาไปในหองพักสวนตัว
ประโยคคําพูด “ เราไมอยากเขาไป มันดูไมดี ขอตัวนะ เธอคงเขาใจ ”

                        ลักษณะ                                          ตัวอยาง
     1.    อางความรูสึกประกอบเหตุผล                   1.   มันดูไมดี
     2.    ปฏิเสธ                                       2.   เราไมอยากเขาไป
     3.    ถามความเห็น                                  3.   เธอคงเขาใจ
     4.    เมื่อถูกตื้อปฏิเสธซ้ําแลวรีบออกไปจาก        4.   ขอตัวนะ
           เหตุการณ


การหาทางออกเมื่อถูกเซาซี้
        เมื่อถูกเซาซี้ สบประมาท ไมควรหวั่นไหวหรือใจออนตอคําพูด ควรหาทางออกดังนี้
        1. ปฏิเสธซ้ํา แลวรีบเดินหนีจากพฤติกรรม เชน พูดวา “ ขอตัวนะ ” “ บอกวา
 ขอตัวนะ ”
        2. ผัดผอน คือ การพูดขอเลื่อนเวลาออกไปเพื่อใหผูชวนลมเลิกความตั้งใจ เชน พูดวา
“ ไววนหลังคอยวากัน ” “ คราวหนาคอยวากัน ” แลวรีบเดินหนีจากเหตุการณ
      ั


ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                    ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                            สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




         3. ตอรอง คือ การชวนไปทํากิจกรรมที่ไมเสี่ยง เชน “ ไปกินขาวบานเราดีกวา
 แมเราทํากับขาวอรอยนะ”
         การหาทางออกอาจเลือกวิธีเดียว หรือ หลายวิธีกได สิ่งที่สําคัญ คือ ตองรีบออกจาก
                                                      ็
เหตุการณใหเร็วที่สุด โดยไมยอมหยุดใหเซาซี้ หรือสบประมาทไปเรือยๆ เพราะอาจทําให
                                                                  ่
ใจออนได

ปญหาที่วัยรุนปฏิเสธไมสําเร็จ
           วัยรุนสวนใหญปฏิเสธเพื่อนไมได สาเหตุมาจากเกรงใจ กลัวเพื่อนโกรธ ใจไมมั่นคง
อยากทํา ทนคําพูดเซาซี้สบประมาทของเพือนไมได ถาวัยรุนปฏิเสธไมสําเร็จก็จะทําใหตนเองตอง
                                            ่
เขาไปเกียวของกับพฤติกรรมเสี่ยง หรือไดรับอันตรายอยางหลีกเลียงไมได
         ่                                                     ่

หลักสําคัญที่ชวยใหปฏิเสธไดสําเร็จ
        1. ตองมีจิตใจมั่นคง แนวแน วาจะตองปฏิเสธจริงๆ เพราะเปนเรื่องทีมีความเสี่ยง
                                                                           ่
หรือมีผลเสียตอชีวิต
        2. พูดปฏิเสธดวยน้ําเสียงและทาทางที่จริงจัง แตสุภาพไมหักหาญน้ําใจเพื่อน
        3. เมื่อปฏิเสธจบแลว ตองรีบเดินออกไปจากเหตุการณนนทันทีโดยไมรีรอ เพื่อปองกัน
                                                              ั้
การเซาซี้หรือสบประมาทที่อาจทําใหเราใจออน
        4. เมื่อพูดสบประมาท ไมควรไหวหวั่นหรือโตตอบ ใหรีบเดินหนีออกไปทันที

ตัวอยางประโยคปฏิเสธ

         สถานการณทควรปฏิเสธ
                    ี่                                                 ตัวอยางประโยคปฏิเสธ
1. เพื่อนชายชวนดื่มเหลา                                “เราไมชอบ กลัวจะเมา ไมดมนะ นายคงไมวา”
                                                                                    ื่
                                                        “ ไมอยากดื่ม เหม็น ขอไมดื่มนะ นายคงไมวา ”
2. เพื่อนตางเพศชวนไปคางคืน                            “ เราไมชอบไปคางคืนที่อื่น พอแมเราไมอนุญาต
ตางจังหวัด                                             เราไมไปนะ เธอคงเขาใจ ”
3. เพื่อนชวนเที่ยวเธค                                   “ เราไมชอบไปที่อยางนั้น เขาไปแลวอึดอัด ไมไปนะ
                                                        เธอคงไมวา ”




ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                             ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




ทักษะการเตือนเพื่อน

         การใชทักษะการเตือนเพื่อนและผูใกลชิดที่มีพฤติกรรมเสี่ยงตอการมีเพศสัมพันธ เชน
ควรแนะนําใหเพื่อนมีเหตุผลในการกระทําที่ถูกตอง กลาปฏิเสธในเรื่องที่ควรปฏิเสธ และรูจัก
การเลือกใชคําพูดในการปฏิเสธ ควรแนะนําใหรูจักผลเสียที่จะเกิดขึนถาหากมีเพศสัมพันธ
                                                                 ้
ในวัยเรียนและโรคที่ติดตอทางเพศ การเตือนตองใชคําพูดที่สุภาพและเหมาะสมดวย 1




1
    แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรูเพศศึกษา ชวงชั้นที่ 3 ชันมัธยมศึกษาปที่ 1-3
                                                           ้
    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ รวมกับ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
    สนับสนุนโดยกองทุนโลก
ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                                ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                                        สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von tassanee chaicharoen

แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตแผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตtassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเราแผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเราtassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
บทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียนบทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียน
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนtassanee chaicharoen
 
โภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรโภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรtassanee chaicharoen
 
โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์tassanee chaicharoen
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาtassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพtassanee chaicharoen
 
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหาใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหาtassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้tassanee chaicharoen
 
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1tassanee chaicharoen
 

Mehr von tassanee chaicharoen (20)

แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตแผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเราแผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
 
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
บทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียนบทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียน
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
โภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรโภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพร
 
โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
 
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหาใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้
 
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
 
ใบงานที่ 5.2
ใบงานที่ 5.2ใบงานที่ 5.2
ใบงานที่ 5.2
 
ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1
 
ใบงานที่ 1.2
ใบงานที่ 1.2ใบงานที่ 1.2
ใบงานที่ 1.2
 
ใบงานที่ 1.1
ใบงานที่ 1.1ใบงานที่ 1.1
ใบงานที่ 1.1
 

ใบความรู้ เรื่องหลักการปฏิเสธและการเตือนเพื่อน

  • 1. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ใบความรู เรื่อง หลักการปฏิเสธและการเตือนเพื่อน ทุกคนมีสิทธิที่จะปฏิเสธการชวนไปทําในสิ่งที่ตนเองไมอยากทํา โดยเฉพาะอยางยิง ่ การชวนไปทําในสิ่งที่ไมปลอดภัย การติดโรค การใชยาเสพติด หรือ ไปมีพฤติกรรมทางเพศ ที่ไมเหมาะสม ประโยคปฏิเสธที่ดีควรมีลักษณะอยางนี้ 1. การอางความรูสึกประกอบแทนการใชเหตุผลอยางเดียว เพราะการใชเหตุผลอยางเดียว  มักถูกโตแยงดวยเหตุผลอื่น แตความรูสึกเปนเรื่องที่โตแยงไดยาก 2. ปฏิเสธอยางชัดเจนทั้งทาทาง คําพูด และน้ําเสียง 3. การถามความคิดเห็น เปนการรักษาน้ําใจผูชวน ถาคูสนทนายอมรับคําปฏิเสธ ควรพูด คําวา “ ขอบคุณคะ (ครับ) ” ตัวอยางคําพูดปฏิเสธ สถานการณ เพื่อนตางเพศชวนเขาไปในหองพักสวนตัว ประโยคคําพูด “ เราไมอยากเขาไป มันดูไมดี ขอตัวนะ เธอคงเขาใจ ” ลักษณะ ตัวอยาง 1. อางความรูสึกประกอบเหตุผล 1. มันดูไมดี 2. ปฏิเสธ 2. เราไมอยากเขาไป 3. ถามความเห็น 3. เธอคงเขาใจ 4. เมื่อถูกตื้อปฏิเสธซ้ําแลวรีบออกไปจาก 4. ขอตัวนะ เหตุการณ การหาทางออกเมื่อถูกเซาซี้ เมื่อถูกเซาซี้ สบประมาท ไมควรหวั่นไหวหรือใจออนตอคําพูด ควรหาทางออกดังนี้ 1. ปฏิเสธซ้ํา แลวรีบเดินหนีจากพฤติกรรม เชน พูดวา “ ขอตัวนะ ” “ บอกวา ขอตัวนะ ” 2. ผัดผอน คือ การพูดขอเลื่อนเวลาออกไปเพื่อใหผูชวนลมเลิกความตั้งใจ เชน พูดวา “ ไววนหลังคอยวากัน ” “ คราวหนาคอยวากัน ” แลวรีบเดินหนีจากเหตุการณ ั ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 2. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 3. ตอรอง คือ การชวนไปทํากิจกรรมที่ไมเสี่ยง เชน “ ไปกินขาวบานเราดีกวา แมเราทํากับขาวอรอยนะ” การหาทางออกอาจเลือกวิธีเดียว หรือ หลายวิธีกได สิ่งที่สําคัญ คือ ตองรีบออกจาก ็ เหตุการณใหเร็วที่สุด โดยไมยอมหยุดใหเซาซี้ หรือสบประมาทไปเรือยๆ เพราะอาจทําให ่ ใจออนได ปญหาที่วัยรุนปฏิเสธไมสําเร็จ วัยรุนสวนใหญปฏิเสธเพื่อนไมได สาเหตุมาจากเกรงใจ กลัวเพื่อนโกรธ ใจไมมั่นคง อยากทํา ทนคําพูดเซาซี้สบประมาทของเพือนไมได ถาวัยรุนปฏิเสธไมสําเร็จก็จะทําใหตนเองตอง ่ เขาไปเกียวของกับพฤติกรรมเสี่ยง หรือไดรับอันตรายอยางหลีกเลียงไมได ่ ่ หลักสําคัญที่ชวยใหปฏิเสธไดสําเร็จ 1. ตองมีจิตใจมั่นคง แนวแน วาจะตองปฏิเสธจริงๆ เพราะเปนเรื่องทีมีความเสี่ยง ่ หรือมีผลเสียตอชีวิต 2. พูดปฏิเสธดวยน้ําเสียงและทาทางที่จริงจัง แตสุภาพไมหักหาญน้ําใจเพื่อน 3. เมื่อปฏิเสธจบแลว ตองรีบเดินออกไปจากเหตุการณนนทันทีโดยไมรีรอ เพื่อปองกัน ั้ การเซาซี้หรือสบประมาทที่อาจทําใหเราใจออน 4. เมื่อพูดสบประมาท ไมควรไหวหวั่นหรือโตตอบ ใหรีบเดินหนีออกไปทันที ตัวอยางประโยคปฏิเสธ สถานการณทควรปฏิเสธ ี่ ตัวอยางประโยคปฏิเสธ 1. เพื่อนชายชวนดื่มเหลา “เราไมชอบ กลัวจะเมา ไมดมนะ นายคงไมวา” ื่ “ ไมอยากดื่ม เหม็น ขอไมดื่มนะ นายคงไมวา ” 2. เพื่อนตางเพศชวนไปคางคืน “ เราไมชอบไปคางคืนที่อื่น พอแมเราไมอนุญาต ตางจังหวัด เราไมไปนะ เธอคงเขาใจ ” 3. เพื่อนชวนเที่ยวเธค “ เราไมชอบไปที่อยางนั้น เขาไปแลวอึดอัด ไมไปนะ เธอคงไมวา ” ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 3. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ทักษะการเตือนเพื่อน การใชทักษะการเตือนเพื่อนและผูใกลชิดที่มีพฤติกรรมเสี่ยงตอการมีเพศสัมพันธ เชน ควรแนะนําใหเพื่อนมีเหตุผลในการกระทําที่ถูกตอง กลาปฏิเสธในเรื่องที่ควรปฏิเสธ และรูจัก การเลือกใชคําพูดในการปฏิเสธ ควรแนะนําใหรูจักผลเสียที่จะเกิดขึนถาหากมีเพศสัมพันธ ้ ในวัยเรียนและโรคที่ติดตอทางเพศ การเตือนตองใชคําพูดที่สุภาพและเหมาะสมดวย 1 1 แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรูเพศศึกษา ชวงชั้นที่ 3 ชันมัธยมศึกษาปที่ 1-3 ้ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ รวมกับ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข สนับสนุนโดยกองทุนโลก ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน