SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 3
Downloaden Sie, um offline zu lesen
Transmedia Story Telling
“ถึงเวลา...เล่าเรื่องหลากสื่อ”
	 อาจารย์สกุลศรี ศรีสารคาม อาจารย์จาก
คณะนิเทศศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
ได้กรุณาให้สัมภาษณ์กับกองบรรณาธิการ 4PM ถึง
วิธีการประยุกต์ใช้สื่อที่มีอยู่อย่างหลากหลายให้เกิด
ประโยขน์และก้าวทันความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
การสื่อสาร ทั้งด้านพฤติกรรมผู้รับสาร เนื้อหา รูปแบบ
การนำ�เสนอ และจำ�นวนช่องทางการสื่อสารที่ถูก
พัฒนาให้หลากหลายมากขึ้น
อาจารย์สกุลศรี ศรีสารคาม (อาจารย์ไอซ์)
คณะนิเทศศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
Q: ในปัจจุบันเรามักได้ยินคำ�ว่า Transmedia Story
Telling อยู่บ่อยๆ สิ่งนี้คืออะไร
	 Transmedia Story Telling คือการเล่าเรื่องๆ
หนึ่งบนสื่อหลายๆ สื่อแต่ไม่ใช่การทำ�ซํ้าแต่เป็นการหยิบ
ชิ้นส่วนเรื่องราวแต่ละมุมมองมาเล่าบนสื่อที่แตกต่างกัน
มีวิธีการเล่าเรื่องที่หลากหลายเพื่อที่จะเชื่อมโยงให้คนจาก
สื่อหนึ่งไปดูอีกสื่อหนึ่งต่อเนื่องกันไปและเมื่อดูครบทุกสื่อ
แล้วผู้ชมจะได้เนื้อหาที่มีความรอบด้านมากขึ้นมีอรรถรส
และประสบการณ์ในการรับรู้เรื่องราวที่หลากหลายมากขึ้น
Q: Transmedia Story Telling ควรถูกนำ�ไปใช้
อย่างไร
	 เนื่องจากในยุคทีวีดิจิตอลนั้นผู้ชมมีพฤติกรรมใน
การรับข้อมูลข่าวสารที่เปลี่ยนแปลงไป ดังนี้
	 1. ผู้ชมไม่ได้ต้องการเพียงชมรายการเท่านั้น แต่
สิ่งที่เพิ่มมากขึ้นคือความต้องการที่จะมีส่วนร่วม เช่น
การมีปฏิสัมพันธ์กับทางรายการในระหว่างออกอากาศ
การแสดงความคิดเห็น การได้พูดคุยกับกลุ่มคนที่มีความ
ชื่นชอบเหมือนๆ กัน
	 2.ผู้ชมไม่ได้นั่งชมอยู่หน้าจอโทรทัศน์เพียงอย่าง
เดียว แต่ทำ�กิจกรรมอย่างอื่นไปด้วยขณะรับชม และ
รับข้อมูลข่าวสารผ่านหน้าจอที่หลากหลาย (Multiple
Screen) เช่น คอมพิวเตอร์ แท็ปเล็ต สมาร์ทโฟน เพราะ
ฉะนั้นจะต้องทำ�ให้ผู้ชมสามารถรับข้อมูลเกี่ยวกับรายการ
ได้จากทุกช่องทาง
3. ผู้ชมไม่ได้อยากรับชมเพียงลำ�พัง แต่อยากที่
จะมีสังคม มีความเชื่อมโยงกับบุคคลอื่นๆ สังเกตได้จาก
พฤติกรรมการโพสข้อคิดเห็นหรือพูดคุยเกี่ยวกับรายการ
ลงในเฟสบุ๊ค  
	 จากพฤติกรรมของผู้ชมในข้างต้น Transmedia
Story Telling สามารถตอบโจทย์นี้ได้ โดยการใช้สื่อ
ประเภทต่างๆให้สามารถเล่าเรื่องได้หลากหลายมีความ
สอดคล้องและเชื่อมโยงกันเช่นการทำ�เว็บไซต์ที่สามารถ
โต้ตอบกับผู้ชมได้(interactive)เกมหรือวิดีโอตอนพิเศษ
บนสังคมออนไลน์ แอพพลิเคชั่นบนโทรศัพท์มือถือ หรือ
แม้แต่รายการทำ�อาหารบางรายการที่ใช้สื่อประเภทอื่น
เข้ามาเสริมเช่นขณะที่ผู้ชมดูรายการทางโทรทัศน์อยู่นั้น
สามารถดูสูตรอาหาร เคล็ดลับ แสดงความคิดเห็นหรือ
ตอบปัญหาชิงรางวัลกับทางรายการผ่านแอพพลิเคชั่น
ไปพร้อมกัน สิ่งเหล่านี้จะทำ�ให้การรับรู้ของผู้ชมมีความ
สนุกสนานมากขึ้น
	 นอกจากการนำ�สื่อหลายประเภทมาใช้ให้
สอดคล้องกันแล้ว สื่อจะต้องมีวิธีการเล่าเรื่องที่ทรงพลัง
และมีมุมมองของเรื่องที่หลากหลาย นอกเหนือไปจาก
เนื้อหาเดิมที่มีอยู่ ซึ่งสื่อยังคงสามารถใช้วิธีการเดิมได้อยู่
แต่จำ�เป็นที่จะต้องหาวิธีการนำ�เสนอที่แปลกใหม่มีลูกเล่น
ที่สามารถดึงดูดใจผู้ชมให้ได้มากกว่าเดิม
	 สารคดีเรื่อง The Code ช่อง BBC มีเนื้อหาที่
อยากจะสื่อไปยังผู้ชมว่าบางสิ่งบนโลกใบนี้ที่ไม่สามารถ
หาคำ�ตอบได้นั้น วิทยาศาสตร์สามารถที่จะแกะเป็น
รหัสลับและอธิบายสิ่งเหล่านั้นออกมาได้ซึ่งสารคดีเรื่องนี้
มีวิธีการทำ� TransmediaStoryTellingได้อย่างน่าสนใจ
คือ มีการทำ�เว็บไซต์ของสารคดีเรื่องนี้ขึ้น โดยในเว็บไซต์
จะมีบล็อก วิดีโอตอนพิเศษที่ไม่ได้ออกฉายทางโทรทัศน์
รวมทั้งเกมที่ให้ผู้ชมแกะรหัส ซึ่งการที่ผู้ชมจะสามารถ
หาโค้ดมาถอดรหัสในเกมได้นั้น จะต้องดูรายการทาง
โทรทัศน์ เล่นเกมในเว็บไซต์ อ่านข้อมูลในบล็อกแล้วนำ�
โค้ดที่ได้ทั้งหมดมาเรียงกันผู้ชมก็จะได้คำ�ตอบในสัปดาห์
นั้น และเมื่อถึงตอนสุดท้ายของรายการผู้ชมจะต้องนำ�
โค้ดคำ�ตอบของทุกสัปดาห์มารวมกันเพื่อที่จะได้ไปร่วม
ปาร์ตี้ที่ทางรายการจัดขึ้น
	 จะเห็นได้ว่าทั้งหมดนี้เป็นกลยุทธ์ที่สามารถดึงดูด
ความสนใจชองผู้ชมให้ติดตามรายการตั้งแต่ต้นจนจบ
และเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ จากสื่อหลายประเภท ซึ่ง
เนื้อหาที่ทางรายการใช้จะแบ่งย่อยออกเป็นส่วนๆ แล้ว
กระจายไปยังสื่อแต่ละประเภทให้มีความแตกต่างกันแต่
มีจุดที่เชื่อมโยงกันอยู่ นี่คือลักษณะของการเล่าเรื่องราว
ผ่านสื่อที่หลากหลายซึ่งจะมีประโยชน์มากในการทำ�ให้
ผู้ชมมีปฏิสัมพันธ์ ดึงผู้ชมเอาไว้กับรายการและในขณะ
เดียวกันก็สร้างสังคมของผู้ชมที่ดูรายการขึ้นมา
Q: ผู้ผลิตรายการจะมีวิธีการคัดเลือกเนื้อหาที่มีไปนำ�
เสนอผ่านสื่อแต่ละประเภทให้เหมาะสมได้อย่างไรบ้าง
	 สำ�หรับหลักในการคัดเลือกในหาแต่ละส่วนให้
สอดคล้องกับสื่อแต่ละประเภทนั้น ผู้ผลิตต้องพิจารณา
เนื้อหาให้เหมาะสมกับประเภทของสื่อและลักษณะการ
รับชมของผู้รับสาร หากเป็นการนำ�เสนอเรื่องราวบน
เว็บไซต์ต้องพิจารณาธรรมชาติและคุณสมบัติของเว็บไซต์
ว่าสามารถใช้ประโยชน์นในรูปแบบใดได้บ้างตัวอย่างเช่น
การทำ�รายการท่องเที่ยวและใช้เว็บไซต์เป็นองค์ประกอบ
เสริม ผู้ผลิตสามารถทำ�เว็บไซต์ท่องเที่ยวของรายการที่มี
ปฏิสัมพันธ์กับผู้ชมได้ โดยการทำ�แผนที่ท่องเที่ยว เมื่อ
ผู้ชมกดเข้าไปยังสถานที่บนแผนที่ จะปรากฎข้อมูล ภาพ
วิดีโอท่องเที่ยวหรือแม้แต่สูตรอาหารท้องถิ่น ซึ่งจะช่วย
สร้างปฏิสัมพันธ์และความสนุกสนานให้กับผู้ชมมากขึ้น
	 ซึ่งผู้ผลิตรายการในปัจจุบันนิยมนำ�วิดีโอย้อน
หลังไปโพสบนโซเชียลมีเดียหรือการโปรโมทก่อนเข้า
รายการเท่านั้นแต่ผู้ผลิตต้องคำ�นึงว่าโซเชียลมีเดียคือการ
สร้างสังคม ดังนั้นจะต้องทำ�อย่างไรให้ผู้ชมเข้ามาพูดคุย
กัน เข้ามามีส่วนร่วม และมีความรู้สึกว่าผู้ชมเป็นเจ้าของ
รายการ
	 ในส่วนของการเลือกเนื้อหาให้เหมาะสมกับแต่ละ
สื่อนั้น จะต้องพิจารณาจากผู้ชมและแก่นเนื้อหาหลักที่
ต้องการจะนำ�เสนอ ให้ดูว่าสื่อหลักที่ใช้นำ�เสนอนั้นมีขีด
จำ�กัดใดบ้าง เช่น พื้นที่ไม่พอหรือถ้านำ�เสนอบนสื่อหลัก
แล้วไม่สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ ผู้ผลิตก็สามารถ
นำ�ไปพัฒนาและเชื่อมโยงกับสื่อรูปแบบอื่นแทนได้
ข้อแนะนำ� แนวคิด สำ�หรับคนทำ�สื่อในยุคดิจิตอล
	 ยุคดิจิตอล คือยุคของสื่อที่มีความหลากหลาย
มีลูกเล่นมาก สามารถตอบโจทย์ในเรื่องของการมี
ปฏิสัมพันธ์กับผู้ชมได้ ดังนั้นผู้ผลิตจึงควรเน้นเรื่องนี้เป็น
สำ�คัญ เพราะเมื่อผู้ชมรู้สึกตนเองมีส่วนร่วมแล้ว ก็จะ
เกิดความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของรายการ เมื่อผู้ชมมีความ
เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับรายการแล้ว จะมีผลต่อการปรับ
เปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ชมตามที่รายการนำ�เสนอซึ่งจะมี
ประโยชน์มากต่อรายการที่เป็นสาระความรู้ ซึ่งจากเดิม
บทบาทของสื่อคือการให้ความรู้และให้ความบันเทิง แต่
ในยุคดิจิตอลสิ่งที่เพิ่มขึ้นมาคือการทำ�ให้ผู้ชมมีส่วนร่วม
ผู้ชมจะรู้สึกว่าตนเองสามารถมีบทบาทเกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ
ทำ�ให้เรื่องไกลตัวกลายเป็นเรื่องใกล้ตัว แล้วสร้างความ
เปลี่ยนแปลงให้กับสังคม
ข้อแตกต่างของ Multiplatform กับ Transme-
dia Story Telling
	 - Multiplatform: การเล่าเรื่องใดเรื่อง
หนึ่งผ่านสื่อหลายประเภท เช่น การนำ�วิดีโอที่ออก
อากาศแล้วไปโพสขึ้นเฟสบุ๊ค อัพขึ้นยูทูป โดยใช้
วิดีโออันเดียวกัน
	 - Transmedia Story Telling: ในแต่ละสื่อ
จะต้องมีลูกเล่นของเนื้อหาที่แตกต่างกัน แยกส่วน
กัน และเมื่อดูครบทุกสื่อแล้วจะได้เนื้อหาในภาพรวม
ทั้งหมดอีกทีหนึ่ง แต่ผู้ผลิตต้องเลือกด้วยว่า
เนื้อหาส่วนหลักจะอยู่บนสื่อไหน แล้วใช้อื่นๆ เป็น
องค์ประกอบเสริมเพื่อเพิ่มอรรถรสให้กับผู้ชม
“สิ่งสำ�คัญคือการรู้จักธรรมชาติของสื่อที่
นำ�มาใช้และดูว่าผู้ชมที่อยู่ในแต่ละสื่อทำ�
กิจกรรมใดบ้างบนสื่อเหล่านั้น จากนั้นผู้ผลิต
จะต้องสร้างแก่นเนื้อหาหลักและรูปแบบการ
เล่าเรื่องที่ตอบโจทย์ประสบการณ์ในการรับรู้
ในแต่ละสื่อ แล้วพยายามดึงให้เชื่อมโยงกลับ
มายังสื่อหลักให้ได้”

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

Media management
Media managementMedia management
Media managementUsman Khan
 
news media management ppt
news media management pptnews media management ppt
news media management pptprisid
 
Media management
Media managementMedia management
Media managementUsman Khan
 
Film & TV Production Roles and Departments
Film & TV Production Roles and DepartmentsFilm & TV Production Roles and Departments
Film & TV Production Roles and Departmentsdean dundas
 
TV Production Overview
TV Production OverviewTV Production Overview
TV Production OverviewJohn Grace
 
Production Management Introduction
Production Management IntroductionProduction Management Introduction
Production Management IntroductionDr. Gururaj Phatak
 

Andere mochten auch (7)

Media management
Media managementMedia management
Media management
 
news media management ppt
news media management pptnews media management ppt
news media management ppt
 
Media management
Media managementMedia management
Media management
 
Film & TV Production Roles and Departments
Film & TV Production Roles and DepartmentsFilm & TV Production Roles and Departments
Film & TV Production Roles and Departments
 
TV PRODUCTION
TV PRODUCTION TV PRODUCTION
TV PRODUCTION
 
TV Production Overview
TV Production OverviewTV Production Overview
TV Production Overview
 
Production Management Introduction
Production Management IntroductionProduction Management Introduction
Production Management Introduction
 

Mehr von Sakulsri Srisaracam

คู่มือ Design thinking & transmedia storytelling
คู่มือ Design thinking & transmedia storytellingคู่มือ Design thinking & transmedia storytelling
คู่มือ Design thinking & transmedia storytellingSakulsri Srisaracam
 
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movementการขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social MovementSakulsri Srisaracam
 
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชนความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชนSakulsri Srisaracam
 
The role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting processThe role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting processSakulsri Srisaracam
 
Social Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวนSocial Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวนSakulsri Srisaracam
 

Mehr von Sakulsri Srisaracam (20)

คู่มือ Design thinking & transmedia storytelling
คู่มือ Design thinking & transmedia storytellingคู่มือ Design thinking & transmedia storytelling
คู่มือ Design thinking & transmedia storytelling
 
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movementการขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
 
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชนความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
 
Online community & journalism
Online community & journalismOnline community & journalism
Online community & journalism
 
The role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting processThe role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting process
 
Reseachconvergence
ReseachconvergenceReseachconvergence
Reseachconvergence
 
Social Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวนSocial Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวน
 
Newsreportprocess
NewsreportprocessNewsreportprocess
Newsreportprocess
 
Social Media & Journalism
Social Media & JournalismSocial Media & Journalism
Social Media & Journalism
 
Digital Media & University
Digital Media & UniversityDigital Media & University
Digital Media & University
 
Irregularverb
IrregularverbIrregularverb
Irregularverb
 
Agreement of verb
Agreement of verbAgreement of verb
Agreement of verb
 
Adjectiveadverb
AdjectiveadverbAdjectiveadverb
Adjectiveadverb
 
Conjunctions
ConjunctionsConjunctions
Conjunctions
 
Conjunctions
ConjunctionsConjunctions
Conjunctions
 
Adjective & Adverb
Adjective & AdverbAdjective & Adverb
Adjective & Adverb
 
News21century
News21century News21century
News21century
 
Radio drama
Radio dramaRadio drama
Radio drama
 
TV Production 2
TV Production 2TV Production 2
TV Production 2
 
TV Production 1
TV Production 1TV Production 1
TV Production 1
 

Transmedia Storytelling การเล่าเรื่องยุคดิจิตอล

  • 1. Transmedia Story Telling “ถึงเวลา...เล่าเรื่องหลากสื่อ” อาจารย์สกุลศรี ศรีสารคาม อาจารย์จาก คณะนิเทศศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ได้กรุณาให้สัมภาษณ์กับกองบรรณาธิการ 4PM ถึง วิธีการประยุกต์ใช้สื่อที่มีอยู่อย่างหลากหลายให้เกิด ประโยขน์และก้าวทันความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี การสื่อสาร ทั้งด้านพฤติกรรมผู้รับสาร เนื้อหา รูปแบบ การนำ�เสนอ และจำ�นวนช่องทางการสื่อสารที่ถูก พัฒนาให้หลากหลายมากขึ้น อาจารย์สกุลศรี ศรีสารคาม (อาจารย์ไอซ์) คณะนิเทศศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ Q: ในปัจจุบันเรามักได้ยินคำ�ว่า Transmedia Story Telling อยู่บ่อยๆ สิ่งนี้คืออะไร Transmedia Story Telling คือการเล่าเรื่องๆ หนึ่งบนสื่อหลายๆ สื่อแต่ไม่ใช่การทำ�ซํ้าแต่เป็นการหยิบ ชิ้นส่วนเรื่องราวแต่ละมุมมองมาเล่าบนสื่อที่แตกต่างกัน มีวิธีการเล่าเรื่องที่หลากหลายเพื่อที่จะเชื่อมโยงให้คนจาก สื่อหนึ่งไปดูอีกสื่อหนึ่งต่อเนื่องกันไปและเมื่อดูครบทุกสื่อ แล้วผู้ชมจะได้เนื้อหาที่มีความรอบด้านมากขึ้นมีอรรถรส และประสบการณ์ในการรับรู้เรื่องราวที่หลากหลายมากขึ้น Q: Transmedia Story Telling ควรถูกนำ�ไปใช้ อย่างไร เนื่องจากในยุคทีวีดิจิตอลนั้นผู้ชมมีพฤติกรรมใน การรับข้อมูลข่าวสารที่เปลี่ยนแปลงไป ดังนี้ 1. ผู้ชมไม่ได้ต้องการเพียงชมรายการเท่านั้น แต่ สิ่งที่เพิ่มมากขึ้นคือความต้องการที่จะมีส่วนร่วม เช่น การมีปฏิสัมพันธ์กับทางรายการในระหว่างออกอากาศ การแสดงความคิดเห็น การได้พูดคุยกับกลุ่มคนที่มีความ ชื่นชอบเหมือนๆ กัน 2.ผู้ชมไม่ได้นั่งชมอยู่หน้าจอโทรทัศน์เพียงอย่าง เดียว แต่ทำ�กิจกรรมอย่างอื่นไปด้วยขณะรับชม และ รับข้อมูลข่าวสารผ่านหน้าจอที่หลากหลาย (Multiple Screen) เช่น คอมพิวเตอร์ แท็ปเล็ต สมาร์ทโฟน เพราะ ฉะนั้นจะต้องทำ�ให้ผู้ชมสามารถรับข้อมูลเกี่ยวกับรายการ ได้จากทุกช่องทาง
  • 2. 3. ผู้ชมไม่ได้อยากรับชมเพียงลำ�พัง แต่อยากที่ จะมีสังคม มีความเชื่อมโยงกับบุคคลอื่นๆ สังเกตได้จาก พฤติกรรมการโพสข้อคิดเห็นหรือพูดคุยเกี่ยวกับรายการ ลงในเฟสบุ๊ค จากพฤติกรรมของผู้ชมในข้างต้น Transmedia Story Telling สามารถตอบโจทย์นี้ได้ โดยการใช้สื่อ ประเภทต่างๆให้สามารถเล่าเรื่องได้หลากหลายมีความ สอดคล้องและเชื่อมโยงกันเช่นการทำ�เว็บไซต์ที่สามารถ โต้ตอบกับผู้ชมได้(interactive)เกมหรือวิดีโอตอนพิเศษ บนสังคมออนไลน์ แอพพลิเคชั่นบนโทรศัพท์มือถือ หรือ แม้แต่รายการทำ�อาหารบางรายการที่ใช้สื่อประเภทอื่น เข้ามาเสริมเช่นขณะที่ผู้ชมดูรายการทางโทรทัศน์อยู่นั้น สามารถดูสูตรอาหาร เคล็ดลับ แสดงความคิดเห็นหรือ ตอบปัญหาชิงรางวัลกับทางรายการผ่านแอพพลิเคชั่น ไปพร้อมกัน สิ่งเหล่านี้จะทำ�ให้การรับรู้ของผู้ชมมีความ สนุกสนานมากขึ้น นอกจากการนำ�สื่อหลายประเภทมาใช้ให้ สอดคล้องกันแล้ว สื่อจะต้องมีวิธีการเล่าเรื่องที่ทรงพลัง และมีมุมมองของเรื่องที่หลากหลาย นอกเหนือไปจาก เนื้อหาเดิมที่มีอยู่ ซึ่งสื่อยังคงสามารถใช้วิธีการเดิมได้อยู่ แต่จำ�เป็นที่จะต้องหาวิธีการนำ�เสนอที่แปลกใหม่มีลูกเล่น ที่สามารถดึงดูดใจผู้ชมให้ได้มากกว่าเดิม สารคดีเรื่อง The Code ช่อง BBC มีเนื้อหาที่ อยากจะสื่อไปยังผู้ชมว่าบางสิ่งบนโลกใบนี้ที่ไม่สามารถ หาคำ�ตอบได้นั้น วิทยาศาสตร์สามารถที่จะแกะเป็น รหัสลับและอธิบายสิ่งเหล่านั้นออกมาได้ซึ่งสารคดีเรื่องนี้ มีวิธีการทำ� TransmediaStoryTellingได้อย่างน่าสนใจ คือ มีการทำ�เว็บไซต์ของสารคดีเรื่องนี้ขึ้น โดยในเว็บไซต์ จะมีบล็อก วิดีโอตอนพิเศษที่ไม่ได้ออกฉายทางโทรทัศน์ รวมทั้งเกมที่ให้ผู้ชมแกะรหัส ซึ่งการที่ผู้ชมจะสามารถ หาโค้ดมาถอดรหัสในเกมได้นั้น จะต้องดูรายการทาง โทรทัศน์ เล่นเกมในเว็บไซต์ อ่านข้อมูลในบล็อกแล้วนำ� โค้ดที่ได้ทั้งหมดมาเรียงกันผู้ชมก็จะได้คำ�ตอบในสัปดาห์ นั้น และเมื่อถึงตอนสุดท้ายของรายการผู้ชมจะต้องนำ� โค้ดคำ�ตอบของทุกสัปดาห์มารวมกันเพื่อที่จะได้ไปร่วม ปาร์ตี้ที่ทางรายการจัดขึ้น จะเห็นได้ว่าทั้งหมดนี้เป็นกลยุทธ์ที่สามารถดึงดูด ความสนใจชองผู้ชมให้ติดตามรายการตั้งแต่ต้นจนจบ และเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ จากสื่อหลายประเภท ซึ่ง เนื้อหาที่ทางรายการใช้จะแบ่งย่อยออกเป็นส่วนๆ แล้ว กระจายไปยังสื่อแต่ละประเภทให้มีความแตกต่างกันแต่ มีจุดที่เชื่อมโยงกันอยู่ นี่คือลักษณะของการเล่าเรื่องราว ผ่านสื่อที่หลากหลายซึ่งจะมีประโยชน์มากในการทำ�ให้ ผู้ชมมีปฏิสัมพันธ์ ดึงผู้ชมเอาไว้กับรายการและในขณะ เดียวกันก็สร้างสังคมของผู้ชมที่ดูรายการขึ้นมา Q: ผู้ผลิตรายการจะมีวิธีการคัดเลือกเนื้อหาที่มีไปนำ� เสนอผ่านสื่อแต่ละประเภทให้เหมาะสมได้อย่างไรบ้าง สำ�หรับหลักในการคัดเลือกในหาแต่ละส่วนให้ สอดคล้องกับสื่อแต่ละประเภทนั้น ผู้ผลิตต้องพิจารณา เนื้อหาให้เหมาะสมกับประเภทของสื่อและลักษณะการ รับชมของผู้รับสาร หากเป็นการนำ�เสนอเรื่องราวบน เว็บไซต์ต้องพิจารณาธรรมชาติและคุณสมบัติของเว็บไซต์ ว่าสามารถใช้ประโยชน์นในรูปแบบใดได้บ้างตัวอย่างเช่น การทำ�รายการท่องเที่ยวและใช้เว็บไซต์เป็นองค์ประกอบ เสริม ผู้ผลิตสามารถทำ�เว็บไซต์ท่องเที่ยวของรายการที่มี ปฏิสัมพันธ์กับผู้ชมได้ โดยการทำ�แผนที่ท่องเที่ยว เมื่อ ผู้ชมกดเข้าไปยังสถานที่บนแผนที่ จะปรากฎข้อมูล ภาพ วิดีโอท่องเที่ยวหรือแม้แต่สูตรอาหารท้องถิ่น ซึ่งจะช่วย
  • 3. สร้างปฏิสัมพันธ์และความสนุกสนานให้กับผู้ชมมากขึ้น ซึ่งผู้ผลิตรายการในปัจจุบันนิยมนำ�วิดีโอย้อน หลังไปโพสบนโซเชียลมีเดียหรือการโปรโมทก่อนเข้า รายการเท่านั้นแต่ผู้ผลิตต้องคำ�นึงว่าโซเชียลมีเดียคือการ สร้างสังคม ดังนั้นจะต้องทำ�อย่างไรให้ผู้ชมเข้ามาพูดคุย กัน เข้ามามีส่วนร่วม และมีความรู้สึกว่าผู้ชมเป็นเจ้าของ รายการ ในส่วนของการเลือกเนื้อหาให้เหมาะสมกับแต่ละ สื่อนั้น จะต้องพิจารณาจากผู้ชมและแก่นเนื้อหาหลักที่ ต้องการจะนำ�เสนอ ให้ดูว่าสื่อหลักที่ใช้นำ�เสนอนั้นมีขีด จำ�กัดใดบ้าง เช่น พื้นที่ไม่พอหรือถ้านำ�เสนอบนสื่อหลัก แล้วไม่สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ ผู้ผลิตก็สามารถ นำ�ไปพัฒนาและเชื่อมโยงกับสื่อรูปแบบอื่นแทนได้ ข้อแนะนำ� แนวคิด สำ�หรับคนทำ�สื่อในยุคดิจิตอล ยุคดิจิตอล คือยุคของสื่อที่มีความหลากหลาย มีลูกเล่นมาก สามารถตอบโจทย์ในเรื่องของการมี ปฏิสัมพันธ์กับผู้ชมได้ ดังนั้นผู้ผลิตจึงควรเน้นเรื่องนี้เป็น สำ�คัญ เพราะเมื่อผู้ชมรู้สึกตนเองมีส่วนร่วมแล้ว ก็จะ เกิดความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของรายการ เมื่อผู้ชมมีความ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับรายการแล้ว จะมีผลต่อการปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ชมตามที่รายการนำ�เสนอซึ่งจะมี ประโยชน์มากต่อรายการที่เป็นสาระความรู้ ซึ่งจากเดิม บทบาทของสื่อคือการให้ความรู้และให้ความบันเทิง แต่ ในยุคดิจิตอลสิ่งที่เพิ่มขึ้นมาคือการทำ�ให้ผู้ชมมีส่วนร่วม ผู้ชมจะรู้สึกว่าตนเองสามารถมีบทบาทเกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ ทำ�ให้เรื่องไกลตัวกลายเป็นเรื่องใกล้ตัว แล้วสร้างความ เปลี่ยนแปลงให้กับสังคม ข้อแตกต่างของ Multiplatform กับ Transme- dia Story Telling - Multiplatform: การเล่าเรื่องใดเรื่อง หนึ่งผ่านสื่อหลายประเภท เช่น การนำ�วิดีโอที่ออก อากาศแล้วไปโพสขึ้นเฟสบุ๊ค อัพขึ้นยูทูป โดยใช้ วิดีโออันเดียวกัน - Transmedia Story Telling: ในแต่ละสื่อ จะต้องมีลูกเล่นของเนื้อหาที่แตกต่างกัน แยกส่วน กัน และเมื่อดูครบทุกสื่อแล้วจะได้เนื้อหาในภาพรวม ทั้งหมดอีกทีหนึ่ง แต่ผู้ผลิตต้องเลือกด้วยว่า เนื้อหาส่วนหลักจะอยู่บนสื่อไหน แล้วใช้อื่นๆ เป็น องค์ประกอบเสริมเพื่อเพิ่มอรรถรสให้กับผู้ชม “สิ่งสำ�คัญคือการรู้จักธรรมชาติของสื่อที่ นำ�มาใช้และดูว่าผู้ชมที่อยู่ในแต่ละสื่อทำ� กิจกรรมใดบ้างบนสื่อเหล่านั้น จากนั้นผู้ผลิต จะต้องสร้างแก่นเนื้อหาหลักและรูปแบบการ เล่าเรื่องที่ตอบโจทย์ประสบการณ์ในการรับรู้ ในแต่ละสื่อ แล้วพยายามดึงให้เชื่อมโยงกลับ มายังสื่อหลักให้ได้”